You are on page 1of 9

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 คุณลักษณะผู้อำนวยการสถานศึกษาที่พึงประสงค์

1. การสร้างอุดมการณ์และปรับกระบวนทัศน์ในการเป็ นผู้อำนวยการ
สถานศึกษา

2. การพัฒนาบุคลิกภาพและสุนทรียภาพ

3. บทบาทของผู้บริหารกับพิธีการ

4. การพัฒนาทักษะการพูด

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ภาวะผู้นำทางวิชาการ

5. วิสัยทัศน์และภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการสู่ความสำเร็จ

6. ผู้นำแห่งความศรัทธา

7. ทักษะการตัดสินใจ

8. การสื่อสารภาษาอังกฤษด้วย Echo English

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การบริหารและการจัดการในสถานศึกษา

9. การบริหารจัดการสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์

10. การบริหารจัดการสถานศึกษายุค 4.0

11. ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

12. การบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็ นเลิศ


1. การสร้างอุดมการณ์และปรับกระบวนทัศน์ในการเป็ นรองผู้อำนวย
การสถานศึกษา

อุดมการณ์ หมายถึง หลักปฏิบัติที่ยึดเหนี่ยวจิตใจในการปฏิบัติงาน


มุ่งมั่น ศรัทธา ในวิชาชีพ ใช้หลักคุณธรรมในการบริหาร และปฏิบัติตน
เป็ นแบบอย่าง มีความเป็ นผู้นำทางการบริหารและภาวะผู้นำทางวิชาการ
สู่แนวทางปฏิบัติที่เป็ นเลิศขององค์กร
ภาวะผู้นำ เป็ นความสามารถด้านอิทธิพลของบุคคลที่มีต่อ
กลุ่มเพื่อนำไปสู่เป้ าหมายที่กำหนดไว้
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นำทีสำ
่ คัญ ได้แก่ทฤษฎี Blake and Mouton
ได้แบ่งลักษณะผู้นำตามรูปแบบการบริหารได้ ๕ แบบ คือ แบบมุ่งงาน
แบบมุ่งคน แบบมุ่งงานต่ำ มุง่ คนต่ำ แบบทางสายกลางและแบบการ
ทำงานเป็ นทีม และทฤษฎีมนุษย์ X Y Z
แบ่งลักษณะของบุคคลไว้ ดังนี ้
Theory X พื้นฐานของคน คือ ไม่ชอบทำงาน บุคคลกลุ่มนีจำ
้ เป็ น
ต้องคอยควบคุมและลงโทษ
Theory Y เป็ นกลุ่มที่ตระหนักในหน้าที่ความรับผิดชอบ เต็มใจ
ทำงาน มีศักยภาพในตนเอง
Theory Z มนุษย์ทุกคนมีความคิดสร้างสรรค์และมีความดีอยู่ในตัว
ควรเปิ ดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้มส
ี ่วนร่วมในการพัฒนางาน
การวางแผนในการบริหารสถานศึกษา ผู้บริหารต้องดำเนินการ
วางแผนเตรียมการ จัดการองค์กร จัดหาบุคคลเข้าปฏิบัติงาน อำนวย
การ ประสานงาน รายงานผลการปฏิบัติงานและจัดสรรเงินงบประมาณ
ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารสถานศึกษา จากการศึกษาองค์
ความรู้ที่ได้เรียนรู้ คือ
๑. ทฤษฎีทางการบริหารซึ่งเป็ นอาวุธที่สำคัญ เพราะการบริหาร
ต้องใช้ทงั ้ ศาสตร์และศิลป์ ในการบริหารงานและบริหารบุคคล
๒. คุณลักษณะของภาวะผู้นำทางการบริหารและทางวิชาการการ
จัดการสถานศึกษาและพัฒนาสถานศึกษาสูค
่ วามเป็ นเลิศ
๓. กระบวนการวางแผนโรงเรียน และปั จจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ
จากแผนที่กำหนด
๔. ศึกษาทักษะที่สำคัญของการบริหารในยุคกระแสโลกาภิวัฒน์
ซึ่งมีทักษะที่สำคัญ คือ ทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดแก้ปัญหา และการ
คิดเชิงสร้างสรรค์ ซึ่งจัดเป็ นทักษะที่สำคัญในสังคมยุคศตวรรษที่ ๒๑
ในฐานะผู้บริหารต้องฝึ กฝนและพัฒนาอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดในการจัดการศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถนำความรู้เรื่องการปรับกระบวนทัศน์
และการสร้างอุดมการณ์มาใช้ในการพัฒนาตนเองและบุคลากรภายใน
องค์กรมาใช้ในการบริหารสถานศึกษาและประยุกต์แนวคิดทฤษฎีภาวะ
ผู้นำมาปรับใช้ ได้แก่ คุณลักษณะของผู้นำแบบมีส่วนร่วม สามารถนำมา
ใช้ในการบริหารงาน สังเกตพฤติกรรมของบุคลากรในองค์กรเพื่อได้วาง
งานให้ตรงกับศักยภาพและพฤติกรรมของบุคคลเพื่อวางแนวทางกระตุ้น
และพัฒนาศักยภาพของบุคลากร โดยเน้นการสร้างแรงจูงใจและโน้มน้าว
ใจบุคลากร และชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และสร้าง
วัฒนธรรมที่ดีขององค์กร ให้สามารถเป็ นแนวปฏิบัติที่เป็ นเลิศขององค์กร

2. การพัฒนาบุคลิกภาพและสุนทรียภาพ

บุคลิกภาพ หมายถึง ภาพของบุคคลที่ปรากฏแก่สายตาของผู้อ่ น


ื ซึ่ง
เกิดจากผลรวมจากพันธุกรรม สิ่งแวดล้อม การเลีย
้ งดู จนสะท้อนออกมา
เป็ นคุณสมบัติประจำตัว ออกเป็ นลักษณะเด่นเฉพาะบุคคล แสดงออกได้
๒ ลักษณะ คือ บุคลิกภาพภายนอก บุคลิกภาพภายใน ลักษณะของ
บุคคลที่มีบุคลิกภาพที่ดีลักษณะของบุคคลที่มีบุคลิกภาพที่สมบูรณ์
(INTEGRATED PERSONALITY) เป็ นที่ปรารถนาของสังคมบุคคลที่มี
บุคลิกภาพที่สมบูรณ์ ยอมเป็ นบุคคลที่เป็ นที่ยอมรับของบุคคลในสังคม
สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข การพัฒนาบุคลิกภาพ เป็ นการ
สร้างภาพลักษณ์ ของบุคคลเพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือ เลื่อมใส และ
ศรัทธา นอกจากสิง่ ที่กล่าวถึงในเบื้องต้นที่เป็ นบุคลิกภาพทัง้ ภายในและ
ภายนอก จะเริ่มจากการแต่งกายที่เหมาะสมกับกาลเทศะ โอกาสช่วยส่ง
เสริมบุคลิกได้ดียิ่งขึน

องค์ประกอบของบุคลิกภาพ

1. บุคลิกภาพทางกาย แบ่งเป็ นองค์ประกอบย่อย 2 องค์ประกอบ


ประการแรก คือ รูปลักษณ์ภายนอกของผู้บริหาร เพราะนี่
เป็ นสิง่ แรกที่ปรากฏแก่สายตาผู้คน ดังนัน
้ ความสะอาดของร่างกายจึง
เป็ นสิง่ สำคัญ รองลงมาคือ การแต่งกายที่เรียบร้อย เหมาะสมกับตำแหน่ง
วัย และสถานการณ์ ทัง้ สองส่วนนีจ
้ ะเป็ นตัวสื่อสารให้คนภายนอกรู้จักตัว
คุณเอง ไม่ว่าจะเป็ น ระดับการศึกษา ฐานะ ตำแหน่ง ฯลฯ โดยไม่ต้องใช้
คำพูดด้านวิชาการบางท่านเรียกสิ่งนีว้ ่า การสื่อสารที่ไร้ศัพท์ ผู้บริหารที่
ขาดการใส่การสื่อสารที่ไร้ศัพท์นี ้ อาจจะสื่อสารให้ผู้พบเห็นเข้าใจในเรื่อง
ต่างๆ ผิดไปจากความจริงได้
ประการที่สอง คือ บุคลิกภาพภายใน หมายถึงการใช้ภาษา
ผู้นำต้องสามารถพูดโต้ตอบได้ฉลาด สามารถเป็ นผู้นำกลุ่มได้ และต้อง
อ่านหนังสืออยู่เสมอ เพื่อก้าวทันสมัย และเป็ นข้อมูลในการแสดงความคิด
เห็น ให้คำปรึกษา โต้ตอบกับคู่สนทนา นีค
่ ือสิ่งที่จะก่อให้เกิดการยอมรับ
จากผู้ใต้บังคับบัญชา
2. บุคลิกภาพทางอารมณ์และจิตวิทยา
อารมณ์เป็ นสิ่งที่แสดงให้คนรู้จักเราได้อย่างชัดเจน ผู้นำ
ที่มีบุคลิกภาพดีต้องมีความมั่นคงทางอารมณ์ ทนต่อความกดดันได้
ระงับอารมณ์โกรธได้อย่างรวดเร็ว ไม่หงุดหงิด บ่นว่าตลอดเวลา ต้องกล้า
เผชิญอุปสรรคอย่างไม่ย่อท้อ เคารพสิทธิผู้อ่ น
ื รับฟั งความคิดเห็นของผู้
อื่น และต้องมีจิตวิทยาในการพูด พูดจาชมเชย โน้มน้าวจูงใจให้คนทำงาน
เพื่อความเจริญก้าวหน้าของหน่วยงานได้ รวมทัง้ มีจิตใจที่จะส่งเสริมความ
ก้าวหน้าของผู้ใต้บังคับบัญชาด้วย
3. บุคลิกภาพทางสังคม
ผู้บริหารควรเป็ นผู้นำในการศึกษาหาความรู้ในพิธีการ
ต่างๆ ตามบรรทัดฐาน (Norms) ของสังคม เพื่อจะได้ปฏิบัติตามมารยาท
สากลได้อย่างถูกต้อง สามารถเป็ นตัวอย่างให้คำแนะนำแก่ผู้ใต้บังคับ
บัญชา ตลอดทัง้ คนรอบข้างได้

4. บุคลิกภาพทางสติปัญญา
ความรอบรู้และมองการณ์ไกลเป็ นสิ่งสำคัญกับผู้ที่อยู่ใน
สถานะ “ผู้บริหาร” ผู้บริหารที่มีบุคลิกภาพที่ดีจะต้องมีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์พอที่จะเป็ นผู้นำกลุ่มได้ สามารถสร้างสิง่ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์
ต่อองค์กรได้ อีกทัง้ การมีบุคลิกภาพที่ดีทางสติปัญญา จะยิ่งทำให้ลูกน้อง
เคารพและให้เกียรติมากยิ่งขึน
้ ด้วย
บุคลิกภาพทัง้ 4 ด้านนี ้ หากเป็ นบุคคลธรรมดาๆ จะได้รับ
ความคาดหวังว่าต้องมีในระดับหนึ่ง แต่ยิ่งเป็ นที่คาดหวังสูงในบุคคลระดับ
ผู้นำ ไม่ว่าจะเป็ นหัวหน้า ผู้จัดการ ผู้บริหาร ฯลฯ เพราะคนรอบข้างจะ
มองว่า บุคคลข้างต้นจะต้องมีบุคลิกที่ดีเป็ นอย่างมาก หากทำอะไรผิด
พลาดเพียงนิดเดียวก็อาจถูกตำหนิได้ ดังนัน
้ ผู้บริหารจึงต้องระวัง และ
ใส่ใจต่อทุกการกระทำ ทุกคำพูด ทุกความคิด ฯลฯ เพราะคนระดับผู้นำ
ทำอะไรแล้ว จะเป็ นที่จับตามองของคนอื่นๆ อยู่ตลอดเวลาและที่สำคัญ
ผู้นำต้องหมั่นสร้าง และฝึ กฝนบุคลิกภาพของตัวเองให้ดียิ่งขึน
้ จนเป็ น
ภาพลักษณ์ประจำตัวเพื่อให้เกิดความนับถือแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา

การพัฒนาบุคลิกภาพและสุนทรียภาพ โดยการฝึ กทักษะ ดังต่อไปนี ้


ทักษะการคิด คือ ความสามารถในการคิดที่เป็ นพื้นฐานของการคิด
ระดับสูง ทักษะของการคิดมีหลายทักษะ เช่น การจำแนก การแยกแยะ
การขยายความ การสรุป การคิดริเริ่ม เป็ นต้น ลักษณะการคิดคือ รูปแบบ
ของการคิดที่ประกอบด้วยทักษะการคิดหลายๆ ทักษะที่แตกต่างกัน ซึ่ง
การแก้ปัญหาหนึ่งๆได้นน
ั ้ อาจต้องใช้ทักษะการคิดหลายแบบประกอบกัน
ทักษะการคิดและลักษณะการคิดที่สำคัญ ที่มักใช้เป็ นประจำในชีวิต
ประจำวัน
ทักษะการฟั ง เป็ นทักษะสำคัญที่จำเป็ นต้องเรียนรู้ไม่ยิ่งหย่อนไป
กว่าทักษะการสื่อสารด้านอื่นๆ เช่นทักษะการอ่าน พูด เขียน ฯลฯ ทักษะ
การฟั งที่ดีนำมาซึ่งความสำเร็จในชีวิต เนื่องจากเป็ นพื้นฐานสำคัญของ
ทักษะการเข้าสังคม ลดความเข้าใจผิด ความขัดแย้ง ในการปฏิสัมพันธ์กับ
คน นอกจากนีก
้ ารพัฒนาทักษะการฟั งส่งผลต่อการพัฒนาในด้านสติ
ปั ญญา ในแง่ของการฝึ กใช้ความคิด การจับประเด็น ฝึ กความจำและ
ฝึ กฝนการจดจ่อแน่วแน่กับสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ต้องการเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
การเขียน เป็ นระบบการสื่อสารหรือบันทึกถ่ายทอดภาษาเพื่อ
แสดงออกซึ่งความรู้ความคิด ความรู้สึก และอารมณ์โดยใช้ตัวหนังสือและ
เครื่องหมายต่างๆ เป็ นสื่อ ดังนัน
้ การเขียนจึงเป็ นทักษะการใช้ภาษาแทน
คำพูดที่สามารถสื่อความหมายให้เป็ นหลักฐานปรากฏได้นานกว่าการพูด
การเขียนที่เป็ นเรื่องราวเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจตรงตามความมุ่งหมายของผู้
เขียนนัน
้ จะประสบความสำเร็จมากน้อยเพียงใดส่วนสำคัญขึน
้ อยู่กับว่าผู้
เขียนมีทักษะในการใช้ภาษาเขียนได้ดีเพียงใด ทักษะการใช้ภาษาเขียน
ต้องอาศัยพื้นฐานความรู้จากการฟั ง การพูด และการอ่าน เพราะจากพื้น
ฐานดังกล่าวจะทำให้มีความรู้ มีข้อมูลและมีประสบการณ์เพียงพอที่จะให้
เกิดความคิด ความสามารถในการเรียบเรียงและถ่ายทอดความคิดออกมา
สื่อสารกับผู้อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. บทบาทของผู้บริหารกับพิธีการ

4. การพัฒนาทักษะการพูด

การพูด คือ การส่งสารโดยใช้วัจนภาษาและอวัจนภาษาเพื่อให้ผู้


ฟั งได้รับสาร แล้วเกิดความเข้าใจในสารนัน
้ ๆ ลักษณะการพูดที่ดี
ประกอบไปด้วย
๑. เข้าใจจุดมุ่งหมายในการพูด
๒. เลือกช่องทางที่เหมาะสมในการพูดติดต่อสื่อสารแบบสองทาง
เช่น เจอหน้า, โทรศัพท์
๓. เน้นที่ผู้รับสาร มากกว่าผู้ส่งสาร
๔. รู้เทคนิคในการพูดติดต่อสื่อสาร
๕. สร้างบรรยากาศที่ดี เช่น เริ่มต้นด้วยการทักทาย สนทนากันก่อน
๖. รับฟั งอย่างตัง้ ใจและใส่ใจ
๗. สังเกตความสอดคล้องของวัจนภาษาและอวัจนภาษา
๘. สอบถามเมื่อจำเป็ น
๙. ทบทวนเพื่อให้เข้าใจตรงกัน

ทักษะการพูดเป็ นทัง้ ศาสตร์และศิลป์


ศาสตร์ในการพูด ก็คือ การเรียนรู้หลักการพูด เช่น การใช้ภาษา
การออกเสียง การใช้โทนเสียง การวิเคราะห์ผฟ
ู้ ั ง
ศิลป์ การพูด เป็ นเรื่องเกี่ยวกับการฝึ กฝนภายใต้ศาสตร์ที่กล่าวมา
ศิลปะเป็ นความ สามารถส่วนบุคคล ความมีไหวพริบ ปฏิภาณ ความถนัด
ตลอดจนศักยภาพของแต่ละคนที่ ดังนัน
้ นักพูดต้องเรียนรู้ทงั ้ ศาสตร์และ
ศิลป์ ไปพร้อมๆ กัน
การมีทักษะการพูดที่ดี เป็ นการทำงานที่ไม่ต้องลงทุนใช้แต่ความ
จริงใจ ความตัง้ ใจ เพราะคำพูดเหล่านีค
้ ือการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ สร้าง
มิตรภาพแห่งกันและกัน เพื่อให้งานประสบความสำเร็จ ซึง่ ต้องยึดหลักที่
ว่า ใช้วจีสุจริต หรือ มธุรสวาจา เพราะการพูดในเชิงสร้างสรรค์และทำให้
เกิดประโยชน์แก่ผพ
ู้ ูดและผูฟ
้ ัง

You might also like