You are on page 1of 13

� Ϊ ±¹ ÆÀ๛

๘�๕ȹ Ò¹Ȩ̈¯¹ Ï�
ปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง และแนวทางการปองกันความเสี่ยงตอสุขภาพ

พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ
พฤติกรรม หรือการกระทําของบุคคลที่สงผลกระทบตอสุขภาพของตนเอง
ครอบครัว สังคม และสิ่งแวดลอม สามรถพบเห็นไดบอย ดังนี้

พฤติกรรมการรับประทานอาหาร พฤติกรรมการติดสารเสพติด

พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร

การรับประทานอาหารที่มีประโยชนและใหไดสัดสวนสงผลใหมีสุขภาพที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข
เจ็บ ในขณะเดียวกันหากรับประทานอาหารที่เสี่ยงตอสุขภาพ ทั้งสุกๆ ดิบๆ อาหารหมักดอง อาหารที่มี
สารปนเปอน สงผลกระทบตอสุขภาพและทําใหเกิดดรคภัยไขเจ็บตางๆ ไดงาย เชน โรคความดัน โรค
อวนโรคเบาหวาน โรคโลหิตสูง โรคไขมันในเสนเลือด โรคพยาธิตางๆ
พฤติกรรมการติดสารเสพติด

เปนพฤติกรรมเสี่ยงที่มีผลกระทบตอสุขภาพของผูเสพ ครอบครัว สังคม และเปนปญหาสําคัญ


ระดับประเทศ เพราะเปนบอเกิดของปญหาหลายดาน ทั้งรางกายและการเกิดอุบัติเหตุบนทองถนนเกิด
จากการดื่มสุราแลวขับรถ และหากไมมีเงินซื้อสารเสพติดอาจกออาชญากรรม ที่สรางความเดือดรอน
ใหกับครอบครัวและสังคม

กดระบบประสาทในเครื่องดื่มตางๆ โรคถุงลมโปงพองจากการสูบบุหรี่

โรคตับแข็งจากการดื่มสุรา สารเสพติดประเภทกระตุน
พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ

เปนสาเหตุที่ทําใหเกิดโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ไดแก โรคเอดส กามโรค โรคซิฟลิส และโรคหนองใน


สาเหตุมาจากการมีเพศสัมพันธ โดยไมใชถุงยางอนามัย การสําสอนทางเพศ การมีเพศสัมพันธกับบุคคลที่
มีพฤติกรรมเสี่ยง
ปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง และแนวทางการปองกันความเสี่ยงตอสุขภาพ

ปจจัยเสี่ยงตอสุขภาพ
เปนสถานการณ การกระทํา หรือสิ่งแวดลอมที่สงผลใหประชาชนมีโอกาสเสี่ยงตอ
การเกิดโรคมีอยูมากมาย

พันธุกรรม เปนลักษณะความผิดปกติที่ไดรับจากการถายทอดยีน บางลักษณะไมสงผล


กระทบตอสุขภาพ แตบางลักษณะสงผลตอสุขภาพโดยตรง เชน โรคเบาหวาน โรคธลัสซีเมีย
ภาวะพรองเอนไซม จี-6-พีดี

สิ่งแวดลอม เปนสิ่งที่อยูรอบตัวเรา มีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตเปนอยางมาก มีทั้งทาง


กายภาพ และทางชีวภาพ

เศรษฐกิจ เปนปจจัยเสี่ยงทสงผลตอสุขภาพ เนื่องจากการมีรายไดนอย การใชจายฟุมเฟอย


การติดพนัน การมีหนี้สิน จึงมีเงินมาใชจายไมเพียงพอกับการบริโภค หรือไดรับคุณภาพต่ํา
ไมมีคุณคาทางโภชนาการ ขาดแคลนเครื่องนุงหม ที่อยูอาสัยคับแคบ
แนวทางการปองกันและแกไขความเสี่ยงตอสุขภาพ

• ตระหนักถึงคุณคาของการมีสุขภาพดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เอื้อตอการมีสุขภาพดี และพยายามหมั่นศึกษา


หาความรูเกี่ยวกับสุขภาพอยูเ สมอ เพื่อใหรูเทาทันเกี่ยวกับโรคตางๆ และสามารถปฏิบัติในการปองกันและแกไข
ไดอยางทันทวงที

• มีทักษะชีวิตในการจัดการกับปจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพตางๆ ใชประสบการณในการดําเนิน
ชีวิตใหเกิดประโยชน คิดวิเคราะหอยูเสมอวาสิ่งใดควรทําตอการมีสุขภาพที่ดี และสิ่งใดที่กอใหเกิดความเสี่ยง
ตอสุขภาพ เพื่อหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ และสิ่งมีชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

• มีทักษะในการปฏิเสธที่ดี หรือที่เรียกวา “Just Say No” เปนทักษะสําคัญในการเอาตัวรอด หรือหลีกเลี่ยงตอ


ปจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงที่สงผลกระทบตอสุขภาพของตนเอง เชน การปฏิเสธที่จะไมอยูในสถานการณ
เสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ การหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลและสารเสพติด
เครื่องดื่มแอลกอฮอลตอสุขภาพและอุบัติเหตุ
ความสัมพันธของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลตอสุขภาพ
เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล หรือสุรา เปนสารเสพติดชนิดหนึ่งซึ่งมีผลตอการทํางานของ
ระบบตางๆ ภายในรางกายที่สรุปไดดังนี้
หัวใจ เอทิลแอลกอฮอรที่อยูในสุราจะไป สมอง เมื่อดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล
กระตุนหัวใจ จะสงผลกระทบตอหัวใจ ในปริมาณมากเปนประจํา จะสงผลหระทบ
• ทําใหหัวใจเตนเร็วและทําใหความดัน ตอสมอง
โลหิตสูง • โรคสมองพิการ มีอาการสมองเสื่อม
• ทําใหเสนเลือกในสมองแตกตนเปน • โรคพิษสุราเรื้อรัง มีอาการพูดไมชัด
อัมพาตหรือเสียชีวิต
กระเพาะอาหาร เมื่อดื่มในปริมาณมากๆ
จะสงผลกระทบตอกระเพาะอาหาร
ตับ เปนอวัยวะที่คอยรับพิษจากสุรามาก • เลือดออกในกระเพาะอาหาร อาเจียน
ที่สุด เมื่อดื่มประจําจะสงผลกระทบตอตับ • โรคมะเร็งในกระเพาะอาหาร
• ภาวะตับแข็ง
• โรคมะเร็งตับ ไต เมื่อดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลเปน
ประจํา จะสงผลกระทบตอไต
• เกิดความผิดปกติในการผลิตออรโมน
จากไต
• เกิดภาวะไตวายเฉียบพลันขึ้น
ความสัมพันธของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลตออุบัติเหตุ
เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลนอกจากจะสงผลตอสุขภาพแลว ยังกอใหเกิดอุบัติเหตุอีกทั้งยังสงผลกระทบ
ตอสมองที่ควบคุมการประสานงานของแขน ขา และสายตา ทําใหเกิดการทํางานที่ไมสมดุลกันและ
ไมสามารถควบคุมยานพาหนะไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงทําใหมีความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุ

เกิดการบาดเจ็บ ทุพพลภาพ เสียชีวิต

ความพิการ กระทบตอสมอง
ประเภทของความรุนแรง
ความรุนแรง

ความรุนแรงในครอบครัว
ความรุนแรงทางสังคม
• ความรุนแรงตอเด็ก
• การใชความรุนแรงจากความเกลียดชัง
• ความรุนแรงระหวางสามี ภรรยา
• การกระทําของผูกอการราย
• ความรุนแรงตอผูสูงอายุ
• การใชความรุนแรงโดยกลุมผูประทวง
พฤติกรรมการทํารายตนเอง ความรุนแรงในสังคม
ความรุนแรงทางการเมือง
• การกระทําใหตนเองบาดเจ็บ • การใชความรุนแรงทางเพศ
• สงคราม
• ทํารายตนเอง หรือทําใหตนเองอยูใน • การถูกขมขืน
• การใชความรุนแรงของภาครัฐ
ภาวะเสี่ยงอันตราย • การใชความรุนแรงแบบสุมกระทําตอ
• การขมขืนระหวางสงคราม
ใครก็ได
• การทรมารเชลยทางการเมือง
พฤติกรรมการฆาตัวตาย • การใชความรุนแรงทางกายระหวาง
ความรุนแรงทางเศรษฐกิจ • มีความคิดฆาตัวตาย วัยรุน
• การโจมตีทางเศรษฐกิจ • ความพยายามฆาตัวตาย • ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในคูรัก
• การกระทําที่กอใหเกิดการแตกแยกทาง • การฆาตัวตายโดยสมบูรณ • ความรุนแรงในโรงเรียน ที่ทํางาน
เศรษฐกิจ • ความรุนแรงในสถานพยาบาล
ปญหาและผลกระทบที่เกิดจากการใชความรุนแรง

เสียชีวิต

บาดเจ็บ
เสียอนาคต

ผลกระทบตอ
เด็กและวัยรุน

รางกาย จิตใจ

• พิการ • มีนิสัยกาวราว
• มีบาดแผลตามรางกาย • เกิดปมดวย
• เปนโรคติดตอทาง • ขาดความอบอุน
เพศสัมพันธ • หนีออกจากบาน
• ตั้งครรภไมพึงประสงค
วิธีหลีกเลี่ยงการใชความรุนแรง
การจัดการความเครียด การจัดการความโกรธ การจัดการแบบสันติวิธี

๑. การพักผอนเพื่อใหรางกายและสมองได ๑. ตั้งสติใหมั่นคง ทําใหจิตใจสงบ ระงับ วิธีการจัดการกับความขัดแยง หลีกเลี่ยง


ผอนคลาย ทําใหจิตใจสดชื่น คลาย อารมณที่พลุงพลานกอนทําความตกลง การใชความรุนแรงวิธีหนึ่ง เปนวิธีที่มีการ
ความกังวล ๒. แสดงความรูสึกและความตองการของ สูญเสียนอยที่สุดทั้งระยะสั้นและระยะยาว
๒. การออกกําลังกาย เปนการสรางเสริม ตนเองดวยทาทีที่ไมกาวราว ไมขมขู รูปธรรมและนามธรรม จําเปนตองใชความ
สมรรถภาพมีผลตอสุขภาพและการมี ๓. หากไมสามารถจัดการกับความโกรธได เขาใจอันดี และความสามัคคีปรองดอง
ชีวิตที่ยืดยาว ใหหาทางระบายความโกรธดวยการ รวมกัน
๓. การทํากิจกรรมเพื่อใหเกิดการผอน พูดคุย
คลาย ๔. หากทําใจเลาใหคนอื่นฟงไมได อาจใช
วิธีเขียนลงบนกระดาษ เพื่อใหความ
โกรธลดลง
๕. อยาเก็บความขุนมัวโกรธเคืองไวตาม
ลําพัง เพราะจะทําใหเปคนเครียดงาย
๖. ทํากิจกรรมที่ชวยระงับอารมณ
๗. ใชเทคนิคการผอนคลายที่เหมาะสมกับ
ตนเอง
๘. ทํากิจกรรมผอนคลายที่ตนเองสนใจ
หรือชื่นชอบ
อิทธิพลของสื่อตอพฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง
ปจจุบันเด็กและเยาวชนกําลังถูกแวดลอมไปดวยอิทธิพลของสื่อตางๆ มากมาย สงผลกระทบโดยตรง
ตอพฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรงของเยาวชน จะสงผลกระทบไปถึงครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติ

You might also like