You are on page 1of 50

อาจารย์นายแพทย์อาคม บุญเลิศ

หน่วยเวชศาสตร์ครอบครัว ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

10-Sep-18 1
เพื่อให้นักศึกษาฝึกการเยี่ยมบ้าน เข้าใจถึงวิถีชีวิต และ
ระบบสุขภาพของชาวบ้านในระดับครอบครัวอย่างถูกต้อง
เป็นจริงภายใต้สถานการณ์ที่ใกล้เคียงกับการดาเนินชีวิต
ตามปกติวิสัยของชาวบ้านให้มากที่สุด

10-Sep-18 2
Family study
Structural-functional Theory
Family System Theory
Eco-map
การเลือกครอบครัวกรณีศึกษาเพื่อเขียนรายงาน
ประเด็นการเขียนรายงาน (INHOMESSS)

10-Sep-18 3
10-Sep-18 4
10-Sep-18 5
Structural-functional Theory
มองครอบครัวมีลักษณะเป็นระบบเปิด
มีโครงสร้างของครอบครัวที่เป็นลักษณะเฉพาะ
มีเป้าหมายการเกิดและดารงอยู่ของครอบครัว
เป็นโครงสร้างด้านบทบาทของสมาชิก ค่านิยม
การสื่อสารและรูปแบบการสื่อสาร อานาจ
หน้าทีข่ องครอบครัว
หน้าที่ในการให้ความรักความเอาใจใส่ การอบรมเลี้ยงดูสมาชิก
การสืบเผ่าพันธุ์ การจัดการด้านเศรษฐกิจ
การจัดการด้านการดูแลสุขภาพและจัดหาสิ่งที่จาเป็นพื้นฐานให้แก่
การเผชิญปัญหาครอบครัว
(Merton, 1980)

10-Sep-18 6
Family System Theory
ครอบครัวเป็นระบบสังคม
ประกอบด้วยคนหลายคนอยู่ร่วมกัน
มีบทบาทที่คาดหวังในครอบครัว
มีการปฏิสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และพึ่งพาซึ่งกันและกัน
มีโครงสร้าง มีหน้าที่ มีการดารงไว้ซึ่งขอบเขต
มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งครอบครัวจะสนองตอบความต้องการ
ของสมาชิกแต่ละคน

(von Bertalanffy, 1990; Cox & Paley, 2003)

10-Sep-18 7
Family System Theory

Input
ปัจจัยภายใน Process Output
ภายนอก หน้าที่ของ ครอบครัว
ครอบครัว สมาชิก รักษาสมดุล

(von Bertalanffy, 1990; Cox & Paley, 2003)

10-Sep-18 8
แผนผังความสัมพันธ์ทางสังคม (Eco-map)
แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ทั้งหมดของสมาชิกแต่ละคนใน
ครอบครัว
ความสัมพันธ์ของครอบครัวกับบุคคลหรือครอบครัวอื่นๆ
ใช้ในการให้คาปรึกษารายบุคคลและครอบครัว
ใช้ในการทางานทางสังคม การสาธารณสุข
ใช้ในทางเวชศาสตร์ครอบครัว
วาดระบบนิเวศที่ครอบคลุมในครอบครัวหรือบุคคล

(Hartman, 1995)

10-Sep-18 9
10-Sep-18 10
10-Sep-18 11
เพื่อนบ้ าน ตลาด
กองทุนเงิน
ล้ าน วัด

ศาลา
กลางบ้ าน
ไร่ นา

อบต./เทศบาล
ครอบครัวของคุณ............

อาสาสมัคสาธารณสุ ข ร้ านขายา
ประจาหมู่บ้าน
คลินิกหมอ
โรงพยาบาลส่ งเสริม
กมล
สุ ขภาพตาบล โรงพยาบาลชุมชน

10-Sep-18 12
10-Sep-18 13
• Health care or supportive care provided in the patient's home

10-Sep-18 14
การเลือกครอบครัวกรณีศึกษา
1) ใน 1-2 วันแรกที่เข้าหมู่บ้าน นักศึกษาอาจสารวจด้วย
ตนเองในคุ้มบ้านที่รับผิดชอบ
2) ใช้การสอบถามจากชาวบ้าน หรือสังเกตจากสภาพบ้านและ
สภาพความเป็นอยู่
3) เลือกครอบครัวที่น่าสนใจเพื่อสะท้อนคุณภาพชีวิตทีม่ ี
ทุกขภาวะหรือสุขภาวะ

10-Sep-18 15
ครอบครัวที่มีทุกขภาวะ
ครอบครัวที่มีความทุกข์ยาก ลาบากในชีวิตเนื่องจากความยากจน
เจ็บป่วยหรือพิการ
เป็นโรคเรื้อรังในระดับที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต เช่น ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน วัณโรค เอดส์ ปวดข้อเรื้อรัง โรคผิวหนังเรื้อรัง โรคกระเพาะ
เรื้อรัง ปวดหัวเรื้อรัง นิ่วในไต ไตวายเรื้อรัง ภาวะเมื่อยหรือเหนื่อยจน
ทางานไม่ได้ ภาวะหัวใจโต/วาย ลิ้นหัวใจผิดปกติ โรคลมชัก
สมาชิกในครอบครัวมีปัญหาทางสังคม เช่น พ่อแม่อพยพแรงงานไปทา
งานทีอ่ ื่นทอดทิ้งเด็กเล็กไว้ให้คนแก่ดูแลโดยไม่รับผิดชอบ
ครอบครัวพ่อแม่หย่าร้าง แยกกันอยู่ หรือเสียชีวิต
ผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง ผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยที่มีภาวะติดบ้านติดเตียง
10-Sep-18 16
ครอบครัวที่มีสุขภาวะ
ครอบครัวที่เป็นสุข หรือยากจนทางเศรษฐกิจก็ได้
สมาชิกในครอบครัวมีศักยภาพในการปรับตัวและทัศนคติที่จะนา
ชีวิตสู่ความสุขตามควรแก่อัตภาพ
มีหลักและแนวคิดที่ดีในการดาเนินชีวิต
ครอบครัวอบอุ่น หรือมีวิธีการดูแลสุขภาพป้องกันโรคทีเ่ หมาะสม
ครอบครัวผู้สูงอายุ สุขภาพดี มีคนดูแล
ครอบครัวเกษตรกรที่ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง
ครอบครัวหญิงหลังคลอด แม่ลูกอ่อน
ครอบครัวนักปฏิบัติที่มีแนวคิดพึ่งพาตนเอง มีหลักธรรมในการดาเนิน
ชีวิต
10-Sep-18 17
กาหนดการเยี่ยมบ้าน Family study
นักศึกษาแต่ละบ้าน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม เพื่อทาการศึกษาครอบครัว
การเยี่ยมครอบครัวที่ศึกษาให้เยี่ยมอย่างน้อย 3 ครั้ง
แผนกาหนดการเยี่ยม
เยี่ยมครั้งที่ 1 เยี่ยมทาความรู้จักครอบครัว
เยี่ยมครั้งที่ 2 เยี่ยมเพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูล
เยี่ยมครั้งที่ 3 เยี่ยมเพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูล
ควรเยี่ยมสมาชิกทุกคนในบ้าน

10-Sep-18 18
IN HOME SSS
I Immobility (ADL, IADL)
N Nutrition
H Home environment
O Other people
M Medication
E Examination
S Safety
S Spiritual health
S Story*** Unwin BK, Jerant AF. The home visit. Am Fam Physician [Internet]. 1999 Oct 1 [cited 2017 Aug 14];60(5):1481–8. Available from:
http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10524492
10-Sep-18 สายพิณ หัตถีรัตน์. คู่มือหมอครอบครัว ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์หมอชาวบ้าน; 2551. 19
Immobility
ศึกษาการทางานต่างๆของสมาชิกในครอบครัว
การเดินทางไปทางานของสมาชิกในครอบครัว
การดาเนินชีวิตประจาวันของแต่ละคนในครอบครัว
หากมีผู้สูงอายุ ผู้ป่วยหรือผู้พิการในบ้านควรประเมิน
Basic ADL
Instrumental ADL

10-Sep-18 20
Immobility
1.การประเมินกิจวัตรประจาวัน
(Basic activity daily living)
การอาบน้า
การแต่งตัว
การเข้าห้องน้า
การปัสสาวะ อุจจาระ
การกินอาหาร
การเคลื่อนย้ายตัว

10-Sep-18 21
Immobility (cont.)
2. Instrumental activity daily living
การใช้อุปกรณ์ เช่น โทรศัพท์
การกินยา จัดยากินเอง
การไปตลาด
การเตรียมอาหาร
การล้างรถ
การเลี้ยงสุนัข

10-Sep-18 22
Nutrition
ศึกษาชนิดของอาหารที่รับประทานเป็นประจา
อาหารที่ชอบ
แหล่งที่มาของอาหาร ซื้อจากตลาด ปลูกกินเอง
พฤติกรรมการรับประทานอาหารของสมาชิกใน
ครอบครัว
ก่อนหรือหลังกินข้าวชอบสูบบุหรี่หรือดื่มสุรา

10-Sep-18 23
Nutrition
ประเมินภาวะโภชนาการมีผลต่อสุขภาพอย่างไร

10-Sep-18 24
Nutrition
ประเมินภาวะโภชนาการมีผลต่อสุขภาพอย่างไร

10-Sep-18 25
Housing/Home environment
ประเมินสภาพความเป็นอยู่
ภายในบ้าน โปร่ง แออัด สะอาด ของวาง สัตว์เลี้ยงในบ้าน
รูปแขวน โล่รางวัล
ภายนอกบ้าน สิ่งแวดล้อมในชุมชน สัตว์เลี้ยง
ลักษณะของเพื่อนบ้าน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของครอบครัวกับชุมชน

10-Sep-18 26
Home environment
ประเมินสิ่งแวดล้อมภายในบ้านและรอบๆบ้าน

10-Sep-18 27
Other people
ผังเครือญาติ (Family genogram)
แผนผังความสัมพันธ์ทางสังคม (Eco-map)
ประเมินบทบาทหน้าที่ภายในบ้านของสมาชิกแต่ละคน
ในครอบครัว
บทบาทในชุมชนและปฏิสัมพันธ์ กับสังคม
การเข้าถึงบริการต่างๆของสังคม

10-Sep-18 28
10-Sep-18 29
ใช้การศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลของครอบครัวที่สนใจ
วาดผังสัญลักษณ์เข้าใจโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงเครือญาติ
อันเป็นพื้นฐานของครอบครัวและสังคม
เข้าใจบทบาททางครอบครัวและสังคมของบุคคลได้ง่าย
ทาให้สร้างความสัมพันธ์อันดี
บอกข้อมูลรายละเอียดต่างๆ
ความเจ็บป่วยทางกาย
โรคทางพันธุกรรม
นิสัย พฤติกรรม
ฐานะทางสังคม
10-Sep-18 ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว 30
ชาย แต่งงาน
หญิง อยู่ด้วยกัน
ตาย หย่าร้างหรือแยกกันอยู่
ผู้ป่วย
สมาชิกที่อยู่ด้วยกัน
ไม่ทราบเพศ
ทะเลาะหรือขัดแย้ง
แท้งเอง
ห่างเหินกัน
ทาแท้ง
กาลังตั้งครรภ์ สนิทกัน
แฝดเหมือน สนิทกันมากเป็นพิเศษ
แฝดต่าง ควบคุมหรือมีอานาจเหนือกว่า
เลี้ยง
ลูกบุญธรรม ใช้ความรุนแรง
10-Sep-18 31
อ. ท.
62 ปี 58 ปี
สุรา บุหรี่ No U/D
No U/D ขยัน

ไพ ต 37 ปี ร บ
41 ปี ว.
สาส่อน Bisexual 40 ปี ขี้หึง 38 ปี
Smoking 38 ปี ส.
Smoking Alcohol No U/D No U/D
Alcohol No U/D 39 ปี
ขยัน พนักงาน
3rd 2nd 1st
โรงแรม
DM HT

นรงค์ฤทธิ์ ส
16 ปี 11 ปี
No U/D No U/D
เด็กดี ตั้งใจเรียน

10-Sep-18 32
10-Sep-18 33
Medication
การใช้บริการด้านสุขภาพ
ระบบการแพทย์ภาคประชาชน
การแพทย์สมัยใหม่
การแพทย์พื้นบ้าน หรือการแพทย์ทางเลือกอื่นๆ
ความเชื่อต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
หากมียาเก็บอยู่ในบ้านควรเก็บข้อมูลเรื่องยาทีร่ ับประทาน
การเก็บยา และการเตรียมยา

10-Sep-18 34
Medication
ประเมินการใช้ยาและการเข้าถึงการบริการด้านสุขภาพ

10-Sep-18 35
Medication
ประเมินการใช้ยาและการเข้าถึงการบริการด้านสุขภาพ

10-Sep-18 36
ประเมินการเข้าถึงการบริการด้านสุขภาพ

10-Sep-18 37
Examination
ให้สอบถามข้อมูลเบื้องต้นของสมาชิกในครอบครัว เช่น น้าหนัก
ส่วนสูง BMI ความดันโลหิต พร้อมแปลผลนั้น
ประเมินภาวะอื่นที่สามารถสังเกตได้ เช่น ภาวะซีด ภาวะเหลือง มีแผล
ที่ผิวหนัง การเคลื่อนไหว ลักษณะความพิการหรือลักษณะผิดรูป การ
ตรวจฟัน เป็นต้น
ศึกษาสภาวะสุขภาพของสมาชิกในบ้านโดยให้ประเมินสุขภาพตนเอง
ว่าอยู่ในระดับดีมาก ดี หรือแย่
สอบถามความกังวลและความเครียดของสมาชิกครอบครัวต่อเรื่อง
ต่างๆ เช่น โรค/ความเจ็บป่วย ปัญหาครอบครัว ปัญหาด้านเศรษฐกิจ/
สังคม (เท่าที่สามารถประเมินได้)
10-Sep-18 38
Examination
ประเมินสุขภาพ ด้วยการตรวจร่างกาย

10-Sep-18 39
Examination
ประเมินสุขภาพ ด้วยการตรวจร่างกาย

10-Sep-18 40
Safety
การประเมินด้านความปลอดภัยภายในบ้าน ฝุ่นละออง
ความรก ของวางเกะกะ ปลั๊กไฟ ธรณีประตู สภาพ
ห้องน้า ความลื่นของพื้นในบ้าน
เพื่อให้ปรับสภาพบ้านทีอ่ าจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วย และ
สมาชิกคนอื่นๆในครอบครัว

10-Sep-18 41
Safety
ประเมินความปลอดภัยภายในบ้านที่อาจจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
โดยเฉพาะคนสูงอายุ เด็ก และผู้ป่วยในบ้าน

10-Sep-18 42
Spiritual health
ประเมินความเชือ่ ด้านจิตวิญญาณ ค่านิยมต่อคนในบ้าน
จากศาสนวัตถุภายในบ้าน วารสาร นิตยสารที่อ่านเป็น
ประจา
แนวคิดต่อเรื่องการดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว
สิ่งที่มีคุณค่าทางจิตใจที่ทาให้ทกุ คนอยากดูแลตนเอง เช่น
“ดูแลสุขภาพตนเองเพื่อจะได้อยู่กับคนที่รักไปนานๆ”
หรือ “อยู่เพื่อเห็นความสาเร็จของลูกหลาน” โดยให้
นักศึกษาฝึกการสังเกตและการพูดคุยกับชาวบ้าน/ผู้ป่วย
10-Sep-18 43
Spiritual health
ประเมินด้านความเชื่อ ทัศนคติ วัฒนธรรมประเพณี
สิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ การใช้ชีวิตอย่างมีความหมาย/มีคุณค่า
ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพอย่างไร

10-Sep-18 44
Family Story
ศึกษาความเป็นมาของครอบครัวตั้งแต่การเริ่มต้นของครอบครัว แล้ว
เรียงลาดับเหตุการณ์สาคัญของครอบครัว
ประเมินความคิดความรู้สึกของสมาชิกในครอบครัวต่อเหตุการณ์
สาคัญต่างๆเหล่านั้น
ตัวอย่างเหตุการณ์ของครอบครัวสุขภาวะ เช่น การแต่งงานของคนใน
ครอบครัว การประสบความสาเร็จของลูกหลาน การมีครอบครัวที่
อบอุ่นคอยช่วยเหลือกัน
ตัวอย่างเหตุการณ์ของครอบครัวทุกขภาวะ เช่น การประสบอุบัติเหตุ
ของคนในครอบครัว สมาชิกในครอบครัวป่วยเป็นโรคร้ายแรง เช่น
มะเร็ง การล้มป่วยของคนที่เป็นเสาหลักครอบครัว เป็นต้น
10-Sep-18 45
ลาดับแรก ควรแนะนาตัวและสร้างความคุ้นเคย
ไม่จดบันทึกข้อมูลต่อหน้าชาวบ้าน
ถ้าไม่มีความรู้พอ ไม่แน่ใจ ไม่ควรให้คาแนะนาในทันที
ระวังกริยามารยาทที่จะถูกเข้าใจว่าเป็นการดูถูกดูหมิ่น
ต้องคานึงถึงความปลอดภัย เลือกเวลา สถานที่ในการพูดคุย
ให้พูดคุยอย่างเป็นกันเอง
ข้อมูลบางอย่างต้องใช้เวลาในการทาความคุ้นเคย
หากมีปัญหาอย่างใดเกิดขึ้น ให้ปรึกษาอาจารย์ประจาบ้าน
นักศึกษา ควรเลือกครอบครัวในบริเวณคุ้มบ้านที่ตนเองรับผิดชอบ และ
ใช้เวลาให้มีประสิทธิภาพโดยเก็บข้อมูลจากครอบครัวที่สนใจ ในช่วงที่
ใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
10-Sep-18 46
10-Sep-18 47
https://kkucommed.kku.ac.th/

48
อย่ าลืมศึกษาเพิม่ เติม
ในคู่มือด้ วยนะครับ

49
10-Sep-18 50

You might also like