You are on page 1of 29

เศรษฐกิจพอเพียงกับระบบการเกษตร

ของประเทศไทย
ความยากจน ...
วัฏจักรปัญหาเกษตรกรไทย
• ครัวเรือนที่มหี ัวหน้าครัวเรือนเป็ นเกษตรกร เป็ น
กลุ่มที่ยากจนที่สดุ
• เกษตรกรยากจน คิดเป็ นร้อยละ 53.5 ของ
จํานวนคนจนทั้งประเทศ
• เกษตรกรที่มพ ี ้นื ที่น้อยกว่า 5 ไร่ เป็ นกลุ่มที่มี
ปัญหาความยากจนมากที่สดุ
ผลกระทบจากการพัฒนาการเกษตร
ปัญหาและผลกระทบจากการพัฒนา
 การสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
 ดิ นเสื่อมความอุดมสมบูรณ์
 สารเคมีตกค้าง
ดิน ที่ดิน
• 2548 มีท่ีดินมี
ปัญหาการชะล้าง
การพังทลาย พังทลายของดิน
ดิน 108 ล้านไร่ หรือ
ร้อยละ 33.7
ของพื้นที่ประเทศ
ป่าไม้

• พื้นที่ป่าลดลงจาก
ถูกทําลาย จน
ร้อยละ 53.3 ในปี 2540 เหลือ
ระบบนิเวศเสีย ร้อยละ 32.6 ในปี 2546
สมดุล • ปลูกป่าเพิม่ ขึ้น แต่ขาดความ
หลากหลายทางชีวภาพ
ปริมาณใช้ปัจจัยการผลิตการเกษตร

• ปี 2546 มีพ้นื ที่เกษตรกรรม


ปุ๋ยเคมี 97 ล้านไร่ ใช้ป๋ ุยเคมี 3.95
ล้านตัน มูลค่า 26,000 ล้าน
บาท
สารกําจัด • ปี 2547 นําเข้าสารกําจัด
วัชพืช 86.9 พันตัน มูลค่า
วัชพืช 11,135 ล้านบาท
สถานการณ์ด้านการเกษตรในอนาคต

อาหาร

สิง่ แวดล้อม พลังงาน


เศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- เศรษฐกิจพอเพียง : เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารง
อยู่ และปฏิ บตั ิตนของประชาชนทุกระดับ (ครอบครัว
ชุมชน รัฐ) ให้ดาํ เนินไปในทางสายกลาง
- ความพอเพียง : ความพอประมาณ ความมีเหตุผล
ความจําเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมคิ ้มุ กันในตัวที่ดีพอ
เศรษฐกิจพอเพียง
พอประมาณ

มีภมู ิคุม้ กันที่ดี มีเหตุมีผล

เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม
(รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) (ซื่อสัตย์ สุ จริ ต ขยัน อดทน
แบ่งปัน)

ชีวติ /เศรษฐกิจ/สังคม

สมดุล/มัน่ คง/ยัง่ ยืน


เศรษฐกิจพอเพียง
 ยึ ดเส้นทางสายกลาง ในการดํารงชีวิต
 หลักการพึง่ พาตนเอง ดังนี้ :-
เศรษฐกิจพอเพียง
1. ด้ าน
จิ
ต ใจ
ทําตนให้ เป็ นทีพ
่ งึ่ ตนเอง
มีจติ สํ านึกทีด่ ี
สร้ างสรรค์ ให้ ตนเองและชาติโดยรวม
มีจติ ใจเอือ้ อาทร ประนีประนอม
เห็นประโยชน์ ส่วนรวมเป็ นทีต่ ้งั
เศรษฐกิจพอเพียง
2. ด้ านสั งคมและชุมชน
ช่ วยเหลือเกือ้ กูลซึ่งกันและกัน
เชื่อมโยงกันเป็ นเครือข่ ายชุ มชนทีเ่ ข้ มแข็ง
3. ด้ านทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้ อม
การจัดการอย่ างชาญฉลาด
ตั้งอยู่บนพืน้ ฐานแห่ งความยัง่ ยืน
เศรษฐกิจพอเพียง
4. ด้ าน
เทคโนโลยี
ใช้ เทคโนโลยีเฉพาะ ทีส่ อดคล้ องกับความต้ องการ
และสภาพแวดล้ อม
ใช้ พน
ื้ ฐานของภูมปิ ัญญาชาวบ้ าน
พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมป ิ ัญญาของเราเอง
เศรษฐกิจพอเพียงกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
 การผลิตแบบพอเพียง
- สอดคล้องและสมดุลกับธรรมชาติ
- อยู่บนพื้นฐานของการใช้ทรัพยากรในชุมชนอย่าง
เหมาะสม ไม่ทาํ ลายธรรมชาติและไม่ส่งผลกระทบต่อ
ชุมชน
เศรษฐกิจพอเพียง
5. ด้ าน
เศรษฐกิ
เดิม
จ มุ่งเน้ นการเพิม่ รายได้
ใหม่ มุ่งลดรายจ่ ายก่ อนเป็ นสํ าคัญ

“ลดการพึง่ พิงปัจจัยภายนอก”
วิสาหกิจ
เพิม่ รายได้ ชุมชน ธุรกิจ

ขยายโอกาส กลุ่มและเครือข่ าย เกิดพลัง

การพึง่ พาตนเองได้
ลดรายจ่ าย ครอบครัว ความเข้ มแข็ง

เศรษฐกิจฐานราก
การพัฒนาการเกษตรแบบยัง่ ยืน
 ลักษณะการเกษตรในปัจจุบนั จําแนกเป็ น 2 ลักษณะ
1. การเกษตรเพือ่ การแข่งขัน
2. การเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
จําแนกการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
เป็ น 5 ลักษณะ ดังนี้
1. เกษตรทฤษฎี ใหม่
- ความมั่นคงด้านอาหาร
- การจัดการทรัพยากรนํ้า
- เศรษฐกิจพอเพียงขั้นพื้นฐาน
การเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
2. เกษตรผสมผสาน
- การจัดการความเสี่ยง
- ลดการพึง่ พิงปัจจัยภายนอก
3. เกษตรอิ นทรีย์
- ความปลอดภัยด้านอาหาร
- การฟื้ นฟู ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
การเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
4. วนเกษตร
- การอยู่ร่วมกันระหว่างต้นไม้กับพืชเกษตร
- ความหลากหลายทางชีวภาพ
5. เกษตรธรรมชาติ
- การฟื้ นฟู ความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศ
- ลดการพึง่ พิงปัจจัยภายนอก
การจัดการฟาร์ม
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
เพือ่ การเกษตรทีพ่ งึ่ พาตนเอง
แนวทางด้ านการผลิตการเกษตร

1.ส่ งเสริมการทําไร่ นาสวนผสม และการเกษตร


ผสมผสาน เพือ่ ให้ เกษตรกรพัฒนาตนเอง แบบ
เศรษฐกิจพอเพียง
2.ส่ งเสริมการปลูกพืชผักสวนครัว ลดค่ าใช้ จ่าย
เศรษฐกิจพอเพียง
เพือ่ การเกษตรทีพ่ งึ่ พาตนเอง
3.ส่ งเสริมการทําปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก และใช้ วสั ดุเหลือใช้
เป็ นปัจจัยการผลิต (ปุ๋ ย)
4.ส่ งเสริมการเพาะเห็ดฟาง จาก วัสดุเหลือใช้ ในไร่ นา
5.ส่ งเสริมการปลูกไม้ ผลสวนหลังบ้ าน และไม้ ใช้ สอย
ในครัวเรือน
6.ส่ งเสริมการปลูกสมุนไพร ช่ วยส่ งเสริมสุ ขภาพ
อนามัย
เศรษฐกิจพอเพียง
เพือ่ การเกษตรทีพ่ งึ่ พาตนเอง
7.การเลีย้ งปลาในร่ องสวน ในนาข้ าวและแหล่ งนํา้
เพือ่ เป็ นอาหารโปรตีนและรายได้ เสริม
8.การเลีย้ งไก่ พนื้ เมือง และไก่ ไข่ ประมาณ 10-15
ตัวต่ อครัวเรือน เพือ่ เป็ นอาหารในครัวเรือน
9.การทําก๊ าซชีวภาพจากมูลสั ตว์
10. อืน่ ๆ
การปฏิบตั ติ นตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
 ยึดหลัก “พออยู่ พอกิน พอใช้ ”
 ยึดความประหยัด ตัดทอนค่ าใช้ จ่าย ลดความ
ฟุ่ มเฟื อยในการดํารงชีพ
“… ความเป็ นอย่ ทู ตี่ ้ องไม่ ฟ่ ุงเฟ้ อ ต้ องประหยัด
ไปในทางทีถ่ ูกต้ อง …”
การปฏิบตั ติ นตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
 ยึดถือการประกอบอาชีพด้ วยความถูกต้ อง
และสุ จริต
“… ความเจริ ญของคนทัง้ หลาย ย่ อมเกิดมาจาก
การประพฤติชอบ และการหาเลีย้ งชีพชอบ เป็ น
สําคัญ …”
การปฏิบตั ติ นตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
 ละเลิกการแก่ งแย่ งผลประโยชน์ และแข่ งขันในการ
ค้ าขายประกอบอาชีพแบบต่ อสู้ กนั อย่ างรุนแรง
“… ความสุขความเจริ ญอันแท้ จริ งนั้น หมายถึง
ความสุข ความเจริ ญทีบ่ ุคคลแสวงหามาได้ ด้วย
ความเป็ นธรรม ทัง้ ในเจตนาและการกระทํา ไม่ ใช่
ได้ มาด้ วยความบังเอิญหรื อด้ วยการแก่ งแย่ งเบียดบัง
จากผ้ อู ื่น …”
การปฏิบตั ติ นตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
 มุ่งเน้ นหาข้ าวปลา ก่ อนมุ่งเน้ นหาเงินทอง
 ทํามาหากิน ก่ อนทํามาค้ าขาย
 ภูมป
ิ ัญญาชาวบ้ านและทีด่ นิ ทํากิน คือทุนทางสั งคม
 ตั้งสติทม
ี่ นั่ คง ร่ างกายทีแ่ ข็งแรงปัญญาทีเ่ ฉียบแหลม
นําความรู้ ความเข้ าใจอย่ างลึกซึ้ง เพือ่ ปรับวิถชี ีวติ
สู่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
กรอบความสั มพันธ์ ทฤษฎีใหม่ 3 ขั้นตอน สู่ เศรษฐกิจพอเพียง
ใช้ แรงงานในครอบครัว ทํางานในพืน้ ที่ คุณภาพชีวติ ทีด่ ี
มีงานทําตลอดปี

ครอบครัวเข้ มแข็ง
ครอบครัวมีความสุ ข
มีกจิ กรรมหลากหลาย พึง่ พาตนเอง
มีเวลาอยู่กบั ครอบครัว

ชุมชน/องค์ กร/
- หมุนเวียนทรัพยากร ผลผลิต กลุ่ม เข้ มแข็ง
- ลดความเสี่ ยง อาหารบริโภค
- ลดการระบาดศัตรู พชื รายได้ ต่อเนื่อง ร่ วมมือกับบุคคลภายนอก
- ลดค่ าใช้ จ่าย ค้ าขายประสานผล
- ลดการใช้ สารเคมี ประโยชน์ ร่วมกัน
ลดการพึง่ พา
- คุณภาพดินดี
ภายนอก
- ระบบนิเวศดี การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน

You might also like