You are on page 1of 5

แนวโนมเทรนออาหารป 2023

ดัดแปลงจาก https://freshket.co/blog/2022/12/23/food-trends-2023-for-business/ Access 6 กย 2566

เทรนดอาหารป 2023 นี้ ตอบโจทย ดีตอสุขภาพ ปลอดภัย และรักษโลก (Healthy-Safety-Save the Earth)

1. ไมไดโฟกัสแครางกาย แตโฟกัสที่อารมณดวย กับ Food for Your Mood

นอกจากผูบริโภคจะสนใจอาหารที่ดีตอสุขภาพแลว ก็ตองดีตอระบบประสาท และสมอง


รวมไปถึงสงผลดีตออารมณและสุขภาพจิตอีกดวย! โดยขณะนี้เศรษฐกิจดานสุขภาพจิตทั่วโลกมีมูลคาสูงถึง 120,800
ลานดอลลาร โดยกลุมสารอาหารที่สงเสริมการทำงานของระบบประสาทและสมอง (Brain-Boosting Nutraceuticals)
มีสัดสวนมากกวา 1 ใน 3 ของทั้งหมดเลยทีเดียว ทั้งนี้จากผลสำรวจ 2022 Food and Health survey from the
International Food Information Council ยังกลาวอีกวาคนรุนใหมโดยเฉพาะ Gen Z
มีแนวโนมบริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่สงผลดีตอสุขภาพจิต

American Psychological Association ยังเผยขอมูลอีกวาแบคทีเรียและจุลินทรียตางๆ ในลำไสของเรา


มีสวนชวยในการผลิตสารสื่อประสาทชวยควบคุมกระบวนการทางจิตใจ โดยเชื่อวา 95%
ของปริมาณฮอรโมนเซโรโทนินซึ่งเปนฮอรโมนแหงความสุข ถูกผลิตจากแบคทีเรียในลำไส
ฉะนั้นถาไดกินอาหารที่ดีตอลำไสก็สามารถสงผลดีตอสุขภาพจิตของเราดวย

2. อาหารแบบ Good for Gut เพราะแคลำไสดี สุขภาพโดยรวมก็ดีดวย

ตอนนี้พรีไบโอติกส (Prebiotics) และโพรไบโอติกส (Probiotics) มาแรงในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มเปนอยางมาก


อยางพวกอาหารหมักดองตางๆ เชน โยเกิรต กิมจิ คอมบูชา ขนมปง sourdough รวมไปถึงผัก ผลไมตางๆ เปนตน
เพราะทั้งพรีและโพรไบโอติกสนั้นดีตอสุขภาพทางเดินอาหารของเรา
ที่สำคัญคือมันยังดีตอสุขภาพองครวมทั้งรางกายและจิตใจอยางที่เรากลาวไปขางตนอีกดวย

1
นอกจากนี้ นักวิเคราะหเกี่ยวกับการใชชีวิตของผูบริโภคสูงอายุประเทศไทย กลาววา ผูบริโภคชาวไทย 46%
เห็นดวยวาประเภทอาหารที่บริโภคเปนประจำสงผลกระทบตอสุขภาพมากที่สุด จึงกลายเปนเหตุผลที่ผลักดันให 70%
ของผูบริโภคพยายามรับประทานอาหารที่สมดุลกวาเพื่อสุขภาพที่ดีที่สุดของพวกเขา

ฉะนั้นยิ่งรานอาหารมีการโปรโมตอาหารหรือเครื่องดื่มที่ชูเรื่องประโยชนทางสุขภาพ
ทำการตลาดที่นำเสนอและชูจุดเดนเรื่องสุขภาพโดยเฉพาะอาหารที่ดีกับระบบทางเดินอาหารที่กำลังเปนเทรนดอยูตอนนี้
ก็สามารถขยับขยายชองทางในการหารายไดที่ไมตกเทรนด ตอบโจทยผูบริโภคไดดียิ่งขึ้น

3. กินที่มากกวากิน กับ Eating Experience

ปจจุบันผูบริโภคไมไดกินอาหารเพื่อความอรอย หรือเพื่อดำรงชีวิตไดเพียงอยางเดียว แตเปนการกินเพื่อประสบการณอีกดวย


โดยขอมูลจาก FI-Asia กลาววาตอนนี้การทองเที่ยวเชิงอาหาร หรือ Gastronomy Tourism
ก็เปนอีกกิจกรรมสรางประสบการณการกินที่มีแนวโนมวาจะเติบโตอยางมากหลังสถานการณโควิด-19 คลี่คลายลง
โดยคาดวามูลคาตลาดการทองเที่ยวดานอาหารทั่วโลกจะสูงถึง 1,796.5 พันลานดอลลารภายในป 2027 ดังนั้น
การผลิตอาหารออกมาในรูปแบบใหมๆ ก็จะชวยสรางความนาสนใจใหกับผูบริโภคมากขึ้น

ยิ่งรานอาหารแสดงความนาสนใจผานการเลาเรื่อง ไมวาจะเปนการเดินทางของวัตถุดิบตั้งแตแรก
กอนจะมาจบลงบนจานอาหาร ก็ถือวาเปนการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงเกษตร สรางงาน สรางรายไดใหเกษตรกร
และสนับสนุนใหผูบริโภคตระหนักรูถึงการใชวัตถุดิบที่ปลอดภัยสงตรงจากฟารม หรือสามารถเลาเรื่องราวที่เปนมรดกภูมิปญ
ญาที่มอบอรรถรสไดมากกวาแครสชาติ ก็เปนสิ่งที่ผูบริโภคใหความสนใจมากในชวงนี้

4. การกินอาหาร ที่ตองรักษโลกกับเทรนด Upcycling and Sustainable Foods

ปจจุบันผูบริโภคตระหนักถึงความไมยั่งยืนทางสิ่งแวดลอมจากขยะอาหารมากขึ้น
ความมั่นคงทางอาหารเลยกลายเปนอีกหนึ่งปจจัยที่จุดประเด็นใหเทรนดอาหารรักษโลกมาแรง
โดยเฉลี่ยคนไทยสรางขยะอาหาร คนละ 254 กิโลกรัมตอป คิดเปน 64%
ของขยะมหาศาลทั้งหมดที่เกิดขึ้นในแตละวันของประเทศไทย ยิ่งอยูในยุคที่เดลิเวอรี่กลายเปนเซอรวิสประเภทหนึ่งที่คนขา
ดไมได ก็มีแนวโนมที่คนไทยจะผลิตขยะ (กลอง ชอน สอมพลาสติกแบบใชแลวทิ้งตางๆ) จากการบริโภคมากขึ้นตามไปดวย

ฉะนั้นพฤติกรรมการบริโภคที่ใสใจสิ่งแวดลอมจึงเปนเรื่องที่ขาดไมไดในสมัยนี้ รานอาหารสามารถตามเทรนดดีๆ
แบบนี้ดวยการใชบรรจุภัณฑที่สามารถยอยสลายไดตามธรรมชาติ หรือทำจากวัสดุรีไซเคิล
และพยายามใชวัตถุดิบทุกสวนในการทำอาหารแตละจาน เพื่อลดขยะอาหารใหนอยลงที่สุด
จะไดสงผลดีตอโลกและสิ่งแวดลอม

2
ถาอยากเปนสวนหนึ่งในการรักษโลก ตองมาเจอกับแคมเปญลดขยะจากอาหาร Unique tasty ซึ่งเปนโปรเจ็กตสุดคิ้วทจาก X
ที่จะมาชวยเพิ่มคุณคาใหกับผักผลไมที่มีรูปรางไมตรงตามสแตนดารด ซึ่งสวนมากมักกลายเปน “ของที่ถูกทิ้ง” เสมอ ทั้งๆ
ที่ยังสามารถกินได รสชาติอรอย แถมยังมีคุณคาทางโภชนาการไมตางจากผักสวยๆ ทั่วไป การนำผักผลไมเหลานี้มาทำอาหาร
ถือเปนการ “ชวยลดขยะอาหาร และชวยเกษตรกรไทยซื้อผลผลิตที่ขายยากในทองตลาด” ไปพรอมๆ กันอีกดวย

5. ปนโตดิจิทัลกับ Food Subscription

Food Subscription คือการผูกปนโตแบบดิจิทัล โดยที่เวลาเราสั่งอาหาร ก็ไมจำเปนตองกดอาหารที่ละเมนูใหมาสงแตละมื้อ


แตสามารถสั่งทีเดียวลวงหนา 10-30 มื้อ แลวผูใหบริการจะทำการจัดสงถึงที่
ขอดีที่ผูบริโภคชอบคือทำใหคาสงเฉลี่ยตอออเดอรและคาอาหารถูกลง
แถมรานอาหารก็ไดลูกคาที่มาใชบริการของเราในระยะที่ยาวนานขึ้น ไมวาจะเปน 10-20 วัน
หรือลากยาวไปตลอดทั้งเดือนก็มี นอกจากนี้ก็ยังมีสินคาอุปโภคบริโภคอื่นๆ ที่ไมใชแคอาหาร เชน เครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ
ก็ไดรับความนิยมเปนอยางมาก
เนื่องจากลูกคาบางกลุมชื่นชอบความเซอรไพรสที่ไดจากกลองสุมผลิตภัณฑที่แมตชกับความชอบของตัวเอง เปนตน

บางธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มก็สามารถลดขยะอาหารไดมากขึ้นจากการใชภาชนะที่ใชซ้ำได
อยางรานอาหารที่ใชปนโตแทนภาชนะบรรจุอาหารจริงๆ ที่มีบริการรับกลองกลับไปทำความสะอาดและใชซ้ำ
เสมือนวายอนเวลาไปหาสิบปกอนที่ยังมีการผูกปนโต หรือหากรานอาหารไหนไมสะดวก
ก็สามารถหันมาใชบรรจุัณฑที่สามารถยอยสลายไดตามธรรมชาติ ก็ดีตอสิ่งแวดลอมของเราไดเหมือนกัน

6. อาหารที่ชวยเรื่องระบบภูมิคุมกัน หรือ Immunity Balance สำหรับผูสูงวัย

FI-Asia แชรขอมูลวาทั่วโลกเขาสูสังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณ (Aged Society) ในป 2050 และกวา 14%


ของประชากรทั้งหมดจะมีอายุ 65 ปขึ้นไป ซึ่งจัดเปนประเด็นสําคัญระดับโลก ฉะนั้นเทรนดอาหารป 2023
ที่เกี่ยวของกับตลาดอาหารสำหรับผูสูงวัยก็มาแรงในโลกอนาคต

3
อาหารที่ตอบโจทยผูสูงวัย ไดแก อาหารที่มีสวนผสมจากธรรมชาติ
และควรมีสารอาหารครบถวนที่จะชวยเสริมใหระบบภูมิคุมกันที่ถดถอยสามารถทำงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ
และปองกันอาการปวยได ซึ่งวิตามินและสารอาหารที่ดีตอระบบภูมิคุมกันก็มี วิตามิน A, B6, B12, C and D รวมไปถึง
โฟเลต เหล็ก ซิงค เปนตน ผลไม ผัก ถั่ว ธัญพืช เนื้อสัตวจำพวกปลา ฯลฯ นั่นเอง

หากรานอาหารมีเซ็ตอาหารที่เหมาะกับผูสูงอายุ เพิ่มเทคนิกการตลาดรองรับกลุมผูบริโภคหลากหลายในอนาคต
ก็เปนอีกทางที่ชวยขยับขยายกลุมผูบริโภค และสรางกำไรไดเพิ่มอีกดวย

7. 50 Shades of Milk นมทางเลือกที่หลากหลายตอบโจทยไลฟสไตลมากขึ้น

สำหรับเทรนดอาหารป 2023 มีเรื่องนมที่หลากหลาย เพราะผูบริโภคใหความสนใจ และเห็นคุณคาของนมทางเลือกมากขึ้น


ซึ่งในปจจุบันก็มีนมทางเลือกมากมาย ซึ่งดีตอกลุมคนที่มีอาหารแพอาหารตางๆ ไมสามารถดื่มนมที่มาจากวัว หรือสัตวอื่นๆ
ได เชน นมขาวโอต นมอัลมอนด นมมันฝรั่ง ฯลฯ ซึ่งนมเหลานี้ก็มีโปรตีนและสารอาหารอื่นๆ เทียบเทากับนมวัว
แถมนมบางประเภทยังมีปริมาณแคลอรี่ต่ำ เหมาะกับคนที่อยากควบคุมน้ำหนัก จึงสามารถดื่มแทนกันไดโดยไมตองกังวล

8. Digitalization นำเทคโนโลยีมาปรับใช ชวยใหรานอาหารมีมีประสิทธิภาพ

หากผูประกอบการสามารถนำเทคโนโลยี เชน AI หรือ Big Data มาชวยประกอบการตัดสินใจ


หรือคาดการณสถานการณที่สามารถเกิดขึ้นในอนาคตเพื่อจะไดวางแผนบริหารจัดการใหทันทวงที
ก็สามารถชวยปองกันความเสี่ยงดานธุรกิจได
นอกจากนี้รานอาหารยังสามารถนำเทคโนโลยีมาใชในการจัดการบริหารวัตถุดิบใหมีประสิทธิภาพ ลดวัตถุดิบตกคาง
สามารถชวยลดตนทุนวัตถุดิบไดอีกดวย

นอกจากนี้ ผูประกอบการยังมีเครื่องมือมากมายที่ชวยวิเคราะหพฤติกรรมของผูบริโภค
และพัฒนาผลิตภัณฑใหตรงตามความตองการและไลฟสไตลของผูบริโภคไดมากขึ้น

9. Fantastic “Protein” and Where to Find Them โปรตีนที่ไมไดมาจากเนื้อสัตว

เนื่องจากสารอาหารอยางโปรตีนเปนสารอาหารสำคัญอยางมากสำหรับรางกายของมนุษย
โดยปกติเราจะรูวาแหลงโปรตีนที่สำคัญสวนใหญมาจากเนื้อสัตว เชน เนื้อหมู เนื้อวัว เนื้อไก
แตในปจจุบันผูบริโภคหันมาใสใจเรื่องการอนุรักษสิ่งแวดลอมตระหนักถึงปญหาโลกรอนที่เกิดจากการทำการประมงและปศุสั
ตวมากขึ้น อีกทั้งการฆาสัตวเพื่อนำมาเปนอาหารยังเปนการทำลายสวัสดิภาพของสัตว

4
ไมตอบโจทยกับกลุมคนที่มีความตระหนักเกี่ยวกับ Animal Welfare และ Climate Change
จึงทำใหความตองการของผูบริโภคก็มีแนวโนมที่จะบริโภคผลิตภัณฑจากสัตวนอยลงเชนกัน

ยกตัวอยางเชน 1 ใน 3 ของผูบริโภคชาวอินเดีย ทานมังสวิรัติสิ่งเหลานี้กลายเปนโอกาสที่สำคัญของแหลงโปรตีนใหม ๆ


ของโลก ไดแก โปรตีนทางเลือกจากพืช (Plant-Based Protein) โปรตีนจากแมลง (Insect – Based
Protein) โปรตีนสังเคราะหจากเซลล (Cultured meat, Cell-Based Protein) โปรตีนจากอากาศ (Air Protein)
และโปรตีนจากเชื้อรา (Mycoprotein) ซึ่งลวนมีจุดเดนที่แตกตางกัน สามารถตอบโจทยที่หลากหลายในการบริโภคโปรตีนได

You might also like