You are on page 1of 8

1.

ความสุขของชาวนา

หากถามถึงความสุขในมุมมองของชาวนา ชาวนาบางคนอาจมองทั้งความสุขและความทุกข์เป็นสิ่งเดียวกัน นั่น


คือ “ข้าว” หากข้าวเจริญเติบโต ได้ผลผลิตดี ราคาดี นั่นคือความสุข แต่หากข้าวแห้งเหี่ยว ล้มตาย หรือราคาข้าว
ตกต่่า นั่นคือความทุกข์

ในปี 2557 ศู น ย์ วิ จั ย ธ.ก.ส. ได้ ท่ า การส่ า รวจความคิ ด เห็ น ของกลุ่ ม เกษตรกรตั ว อย่ า งทั่ ว ประเทศ
จ่านวน 2,346 ราย พบว่าระดับความสุขของเกษตรกรไทยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เฉลี่ยประมาณร้อยละ 78 โดย
ความสุขของเกษตรกรไทยวัดจากตัวชี้วัดความสุขใน 6 มิติ ได้แก่ ครอบครัวดี สุขภาพดี สังคมดี การงานดี สุขภาพ
เงินดี และใฝ่รู้ดี ตามล่าดับ โดยในแต่ละมิติมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก

เมื่อแยกสาขามาดูเฉพาะชาวนาผู้ปลูกข้าว พบว่า มีความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้นมาอยู่ในระดับมากที่สุดด้วยคะแนน


เฉลี่ย 3.35 จากคะแนนเต็ม 4 คะแนน ภายหลังจากได้รับเงินจากโครงการรับจ่าน่าข้ าว โดยเกษตรกรผู้ปลูกข้าว
ส่วนใหญ่มี ความสุขในระดับมากขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 88.6 สะท้ อนให้เห็นว่าหลังจากเกษตรกรได้รับเงินแล้ว
เกษตรกรมีสภาพคล่องในการใช้จ่ายเพิ่มขึ้น และมีความหวังในอาชีพท่านามากขึ้น

น่าเสียดายว่าปีล่าสุด 2558 ศูนย์วิจัย ธ.ก.ส. ยังไม่มีการเปิดเผยผลการส่ารวจระดับความสุขของชาวนาออกมา


แต่ก็คงคาดเดาได้ไม่ยากจากสถานการณ์ปัญหาต่าง ๆ ที่ชาวนาก่าลังเผชิญอยู่ในปัจจุบันว่าได้บั่นทอนความสุขของ
ชาวนาลดลงไปมากน้อยเพียงใด โดยเฉพาะจากปัญหาภัยแล้ง ปัญหาราคาข้าวตกต่่า ที่ส่งผลกระทบต่ออาชีพ
รายได้ และภาระหนี้สินจากการกู้ยืมช่วงที่ผ่านมาเพิ่มขึ้น

พิมพ์ในนิตยสารเนชั่นสุดสัปดาห์ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559


2. ความทุกข์ของชาวนา

ความทุ ก ข์ ข องชาวนา คื อ ความทุ ก ข์ ย ากและล่ า บากจากปั ญ หาต่ า ง ๆ รอบด้ า น ทั้ ง ความทุ ก ข์


ภายนอก ได้แก่ สุขภาพร่างกาย เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ความทุกข์ภายใน ได้แก่ จิตใจ และปัญญา รู้สึก
ถูกเอารัดเอาเปรียบ และไม่ได้รับความเป็นธรรม ความทุกข์ของชาวนาที่เป็นปัญหาในอดีต ก็ยังคงเป็นปัญหา
สะเทือนใจต่อคนในยุคปัจจุบัน และมีความซับซ้อนและรุนแรงเพิ่มมากขึ้น

ความทุกข์ทางกายเกิดจากสภาพแวดล้อมในการท่างาน เช่น ความเสี่ยงต่อสารเคมีปนเปื้อนและตกค้าง


ในร่างกาย เชื้อโรคจากสภาพแวดล้อม และวิธีการท่างานที่ต้องใช้ร่างกายอย่างหักโหม

ความทุกข์ด้านจิตใจจากค่านิยมสังคมชาวนาที่เปลี่ยนไปเป็นระบบเกษตรเชิงพาณิชย์ ท่าให้ชาวนาดิ้น
รนปลูกข้าวให้ได้ผลผลิตมาก ๆ ใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีป้องกันและก่าจัดศัตรูพืชจ่านวนมาก แต่ประสบปัญหาข้าว
ราคาตกต่่า เกิ ดภาวะขาดทุ นซ้่าซาก ท่ าให้ชาวนาเกิ ดความเครียด ซึม เศร้า น่าไปสู่ก ารเกิ ดโรคภัยต่าง ๆ
ตามมา ต้องขายทรัพย์สินและจ่านองที่นา เปลี่ยนอาชีพเป็นกรรมกรรับจ้างในเมืองหลวง และบางรายถึงขั้นฆ่าตัว
ตายเพื่อหนีปัญหา

ความทุกข์ด้านปัญญา เกิดการสูญเสียวิถีการด่าเนินชีวิตแบบดั้งเดิม จิตวิญญาณในการพึ่งพาตนเอง


และความสัมพันธ์ระหว่างชาวนาด้วยกันเองและสิ่งแวดล้อม เพราะมุ่งเน้นการเกษตรเชิงพาณิชย์มากเกินไป

ความทุกข์ทางเศรษฐกิจและสังคม เกิดจากภาระต้นทุนที่เพิ่มมากขึ้นจากหลายสาเหตุ เพื่อเพิ่มผลผลิต


ให้ได้มากที่สุด แต่กลับได้ผลผลิตต่อไร่ต่า ท่าให้เสียเปรียบทั้งตลาดในประเทศและตลาดโลก และวิถีความเป็นอยู่
ที่ได้รับอิทธิพลจากกระแสบริโภคนิยมจนยากล่าบาก และไม่พึ่งตนเอง

พิมพ์ในนิตยสารเนชั่นสุดสัปดาห์ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559


3. ขจัดความทุกข์และคืนความสุขให้ชาวนา

ขจัดความทุกข์และคืนความสุขด้วยการแก้ไขปัญหาของชาวนาอย่างยั่งยืน หลายเรื่องเป็นปัญหาใหญ่ที่
ภาครัฐยัง ไม่สามารถหาแนวทางแก้ไขปัญหาได้บ รรลุผลส่าเร็จ แผนพัฒ นาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับ
ที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ด่าเนินมาแล้ว 4 ปี เข้าสู่ปีสุดท้ายในปีนี้ ได้มีการก่าหนดแนวทางและยุทธศาสตร์การ
สร้างความมั่ นคงในอาชีพ และรายได้ให้แก่ ชาวนาและเกษตรกรอย่างยั่ง ยืน มี ก ารก่ าหนดแผนและแนวทาง
ยุทธศาสตร์ไว้อย่างสวยหรูและรอบด้าน แต่ยังขาดการผลักดันให้เกิดผลเชิงรูปธรรม มีหลายเรื่องที่ผู้เขียนเห็นว่า
เป็นแนวทางที่ดี โดยเฉพาะการหนุนเสริมศักยภาพและความเข้มแข็งของชาวนาให้มีความมั่นคงและมีศักยภาพใน
การพึ่งพาตนเอง และเห็นว่าผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรต้องมีการผลักดันอย่างต่อเนื่องในระยะต่อไป ได้แก่

1.พัฒนาระบบการสร้างหลักประกันด้านรายได้ของชาวนาและเกษตรกรให้มีความมั่นคง และให้
ครอบคลุมเกษตรกรทั้งหมด เพือ่ น่าไปสูก่ ารปรับโครงสร้างการผลิตอย่างยัง่ ยืน ควบคู่ไปกับการเพิม่ ประสิทธิภาพ
การผลิต เพื่อสร้างความมั่นใจกับเกษตรกรในรายได้ขั้นต่่าทีส่ ามารถยึดการเกษตรเป็นอาชีพได้

2.เรงพัฒนาระบบประกันภัยพืชผลการเกษตร ให้สามารถคุ้มครองความเสี่ยงด้านการผลิตทาง
การเกษตรจากทุกภัยพิบัติให้กบั เกษตรกรในทุกพื้นที่ โดยให้เกษตรกรมีส่วนรับผิดชอบช่าระเบี้ยประกันตามความ
เสี่ยงของพื้นที่

3.ยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยูของเกษตรกรให้ดีขึ้น โดยพัฒนาระบบสวัสดิการให้ครอบคลุม
เกษตรกรในทุกสาขาอาชีพ และสนับสนุนการแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรให้สามารถพึง่ พาตนเองได้อย่างยั่งยืน

4.สร้างแรงจูงใจให้เยาวชน่หรือเกษตรกรรุนใหม่และแรงงานที่มีคุณภาพเข้าสูอาชีพ
เกษตรกรรม เพื่อให้มีจิตส่านึก เห็นคุณค่าของอาชีพเกษตรและวิถีชีวิตครอบครัวที่อบอุ่น ด้วยการสนับสนุนองค์
ความรู้อย่างครบวงจร

5.การจัดหาที่ดินทากิน่สร้างโอกาสเข้าถึงแหลงทุน่รวมทั้งสนับสนุนกระบวนการสร้างภาพลักษณ์ที่ดี
แกอาชีพเกษตรกรรม และเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมการพัฒนาภาคเกษตรของเกษตรกรต้นแบบให้มากขึ้น

6.พัฒนาสถาบันเกษตรกร่สหกรณ์่และวิสาหกิจชุมชนให้เป็นกลไกสนับสนุนการพึ่งพาตนเองของ
เกษตรกรได้อยางแท้จริง โดยการพัฒนาความรู้และความสามารถด้านการตลาดและการบริหารจัดการ และการ
สนับสนุนสินเชื่อเงื่อนไขผ่อนปรนทีจ่ ่าเป็นต่อการด่าเนินงาน ภายใต้ระบบการควบคุมตรวจสอบที่รัดกุม รวมทัง้
การเชื่อมโยงบทบาทของสถาบันเกษตรกรเพือ่ ร่วมวางแนวทางการพัฒนาภาคเกษตรกรรมตามพื้นฐานและความ
ต้องการของเกษตรกรอย่างเป็นระบบ

พิมพ์ในนิตยสารเนชั่นสุดสัปดาห์ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559


4. บทความหลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน่เด็กเรียนรู้ชีวิตชาวนา
ที่มา่:่เว็บไซต์ thaipr.net
ภาพประกอบจากเว็บไซต์ thaipr.net
ปัญหาเด็ก่เยาวชน่ไม วาจะเป็นปั ญ หาเด็ กแว๊ น่ ท้องกอนวัย อั น ควร่ ยาเสพติด่ไมเรีย นหนั ง สื อ่ ่่่่่่่่่่่่่่่
ติดโทรศัพท์่มีนิสัยก้าวร้าว่ไมเชื่อฟังพอแม่ยังเป็นปัญหาหนักอกที่ทุกภาคสวนต้องการหาทางแก้ไข
แตละพื้นที่ก็มีวิธีการแก้ไขปัญหาที่แตกตางกันไป่ซึ่งที่่อบต.หนองสาหราย่จ.สุพรรณบุรี่ได้ใช้โมเดล่
"โรงเรียนครอบครัว"่เป็น่"เครื่องมือ"่ในการพัฒนาเด็ก่เยาวชน่ให้เป็นเด็กที่มีคุณธรรม่เป็นคนดี่ มีวินัย่รู้จัก
ความกตัญญู่นารองที่บ้านห้วยม้าลอยและขยายผลสูทุกหมูบ้าน่จนเกิดผลสาเร็จ่ได้ สร้างความผาสุกให้เกิด
ขึ้นกับครอบครัวและชุมชน
อบต.หนองสาหร่าย ได้น่าโมเดลโรงเรียนครอบครัวมาใช้ตั้งแต่ปี 2555 โดยท่าความเข้าใจกับผู้ปกครองและ
ทุกภาคส่วนในชุมชนจนเกิดกิจกรรมต่างๆ ที่น่ามาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ให้เกิดขึ้นกับครอบครัว
และคนในชุมชน โดยเฉพาะกิจกรรมด่านาซึ่งเป็นไฮไลท์หลักที่ด่าเนินกิจกรรมต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 6 ในปี่2560 ่่่่่่่่่่
ได้จัดกิจกรรมดานาตามรอยพอภายใต้รวมพระบารมีเพื่อการพัฒนาการเกษตรอยางยั่งยืน่ซึ่งจัดตอเนื่องเป็นปี
ที่่6 มีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง่ให้เด็กได้รู้รากเหง้าของตนเอง
และสร้างความสมัครสมานสามัคคีระหวางคนสามวัย โดยกิจกรรมชาวชุมชนได้ให้ผู้ปกครอง ลูกหลานมาช่วยกัน
ด่านาในพื้นที่ศูนย์การเรียนรู้ โดยให้พ่อแม่ ผู้ปกครองช่วยสอนการปักด่าให้แก่ลูกหลาน บรรยากาศเต็มไปด้วย
ความอบอุ่นและสนุกสนานเพราะนอกจากกิจกรรมด่านาแล้วยังมีการแสดงวิถีชีวิตชาวนาของแต่ละประเทศ โดยมี
ชาวบ้าน ลูกหลานมาร่วมกันแสดงอีกด้วย เมื่อวันเสาร์ที่26 สิงหาคม 2560 ณ ศูนย์การเรียนรู้บ้านห้วยม้าลอย ต.
หนองสาหร่าย อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
5. บทความหลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน่เด็กเรียนรู้ชีวิตชาวนา
ที่มา่:่เว็บไซต์ thaipr.net
ภาพประกอบจากเว็บไซต์ thaipr.net
นายพรสันต์่ อยูเย็น่นายกองค์การบริหารสวนตาบลหนองสาหราย กล่าวว่า โรงเรียนครอบครัวคือการ
ทากิจกรรมที่เด็กและผู้ปกครองจะรวมกันทา่มีผู้ใหญใจดีเข้ามารวมสนับสนุน่โดยให้เด็กเป็ นคนคิดกิจกรรม่
เพราะเราอยากสอนให้เด็กมีความคิด่และนาสิ่งที่เด็กคิดมาวิเคราะห์ผลดี่ ผลเสีย่ที่เขาจะทา ซึ่งกิจกรรมด่านา
เป็นเพียงกิจกรรมหนึ่งที่จัดขึ้นปีละ 1 ครั้งที่หมู่บ้านห้วยม้าลอย ยังมีกิจกรรมอื่นๆ อีก ใน 1 ปี จะเวียนจัดกิจกรรม
ให้ครบทั้ง 10 หมู่บ้าน ซึ่งกิจ กรรมด่านาที่บ้านห้วยม้าลอยสามารถท่าได้ต่อเนื่องยาวนานมาถึง 6 ปี เพราะเป็น
กิจกรรมที่เป็นความร่วมมือของทุกภาคส่วนในชุมชนได้แก่ อบต.หนองสาหร่าย โรงเรียน รพ.สต. วัด ชมรมผู้สูงอายุ
โรงเรียนครอบครัว โรงเรียนบุตรเกษตรกร ประชาชนในหนองอียอทุกฝ่ายมาร่วมมือกัน การเริ่ม น่าโมเดลโรงเรียน
ครอบครัวมาใช้น่าร่องที่หมู่บ้านห้วยม้าลอย สืบเนื่องจากเมื่อหลายปีก่อนเริ่มมองเห็นปัญหาเด็ก เยาวชน จึงคิดหา
ภูมิคุ้มกันให้กับลูกหลานของตนเอง "มองเห็นปัญหาเด็กและเยาวชน หากไม่มีเกราะคุ้มกันตนเองไม่มีภูมิคุ้มกัน เขา
จะหมดเวลาไปกันสิ่งแวดล้อมข้างนอกซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อมที่ค่อนข้างที่จะแย่ ยาเสพติด การติดเกมส์ จะท่าให้แก้
ยาก วันนี้เราดึงเขามาอยู่กับเราให้ความอบอุ่นกับเขา พอเด็กมีความอบอุ่นเขาก็จะไม่ออกไปหาอะไรที่เป็นการท้า
ทายเขา หรือหากเขาออกไปสู่โลกภายนอก เขาก็สามารถพิจารณา สิ่งที่เขาไปพบไปเจอได้ เป็นการป้องกันเด็กของ
เราอีกทางหนึ่งซึ่งเป็นการป้องกันไม่ใช่การแก้ไข การจัดกิจกรรมจึงมีเป้าหมายสาคัญเพื่อให้เด็ก่เยาวชน่ของ
เราเป็นเด็กที่ดีคุณธรรม่เป็นคนดี่ มีวินัย่รู้จักความกตัญญ่และถ้าเด็กไมรู้รากเหง้าของตัวเอง่จะทาให้เด็กเมื่อ
โตไปไมรักแผนบ้านเกิด่การพัฒนาต อเนื่องจากรุนสูรุนก็จะไมมี่ จะทาอยางไรก็ได้ให้เขาสานึกของบุ ญ คุ ณ
แผนดิน่รู้จักผู้หลักผู้ใหญเป็นการตอรุนตอรุน"
6. บทความหลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน่เด็กเรียนรู้ชีวิตชาวนา
ที่มา่:่เว็บไซต์ thaipr.net
ภาพประกอบจากเว็บไซต์ thaipr.net
ในส่วนของผู้ปกครองให้ความร่วมมือดีมาก นายกฯ บอกว่าก็ต้องเข้าไปคุยกับผู้ปกครองแต่ละบ้าน ในช่วง
แรกๆ พวกเริ่มปีสองปีสามผู้ปกครองก็มาเข้าร่วมเอง "เพราะเริ่มเห็นเด็กแต่ละคนที่เข้าโครงการกับเราเป็นเด็กมี
ปัญหาทั้งนั้น ก้าวร้าวบ้าง ไม่สนใจในหน้าที่ของตนเอง ผู้ปกครองเห็นว่าเด็กที่เข้ามาประสบผลส่าเร็จดีขึ้น ก็เริ่มส่ง
ลูกหลานเข้ามาร่วมกัน"
นายกฯ เล่าอย่างภาคภูมิใจว่าวันนี้มีตัวอย่างเยาวชนที่เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงได้อย่างชัดเจน หลังจาก
ด่าเนินโครงการมา 5-6 ปีแล้ว "เด็กที่เข้ารวมโครงการทุกคนสามารถเข้าเรียนตอในระดับชั้นมหาวิทยาลัยทุกคน่
และเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เช่นน้องฝ้าย เป็นเด็กเก็บตัว พูดกับพ่อแม่ก็ก้าวร้าว การเรียนก็ไม่มีคุณภาพ
พอเข้ามาอยู่ในโรงเรียนครอบครัว น้องฝ้ายก็เปลี่ยนแปลงนิสัย เป็นคนที่อ่อนน้อม พูดเพราะกับพ่อแม่ วันนี้เขาไป
เรียนมหาวิทยาลัย ครอบครัวก็มีความอบอุ่น สวนที่เป็นเด็กนอกระบบก็มีการเปลี่ย นแปลงที่ดีขึ้ น เช่น เบียร์
ตอนนี้เป็นเจ้าของธุรกิจเครื่องไฟ เป็นเด็กที่ครอบครัวมีปัญหาเป็นเด็กที่มีโอกาสเสียค่อนข้างเยอะ เมื่อเราดึงเขา
เข้ามา่เขาได้แนวความคิดจากโครงการไป่ใหมๆ่เขาก็ประกอบเครื่องไฟเล็กๆ่ตอนนี้ธุรกิจใหญโตสามารถรับ
งานฝังลูกนิมิตหรืองานใหญๆ่ได้่จะบอกผู้ปกครองเสมอวาคนที่ดูแลลูกของเราได้ ดที ี่สุดไมใชโรงเรียนแตเป็น
ครอบครัวนั่นเอง"นายกฯ กล่าวตบท้าย
ทางด้านเด็กนักเรียนจากรร.บ้านห้วยม้าลอย่มารวมสะท้อนการเรียนรู้การดานาโดยการถอดบทเรียน
หลังทากิจกรรม่ได้แก่ด.ญ.วรรณธิดา่หอมไมหาย(แพรว)่อายุ่12 ปี่ป.6 ,ด.ญ.ฐิติมน่นาคะ่(เค้ก)่อายุ่11
ปี่ป.5 ,ด.ญ.สันต์ฤทัย่วงษ์สุวรรณ่(น้าฝน)่อายุ่12 ปี่ป.6 และด.ญ.อริยา่หอมไมหาย่(อะ)่อายุ่11 ปี่ป.
5 ทุกคนเข้ารวมกิจกรรมมากกวา่2 ปีขึ้นไป "น้องแพรว" สะท้อนว่าได้เรียนรู้วิธีการท่า นา ความเหนื่อยความ
ยากของชาวนาว่าเป็นอย่างไร และรู้คุณค่าของควายว่าอดีตเคยใช้ควายไถนาปัจจุบันมาใช้รถไถ ได้เรียนรู้ความ
สามัคคีของนักเรียนและชุมชน ส่วนที่บ้านก็ท่านา คิดว่าอาชีพท่านา เหนื่อย ล่าบาก ไม่อยากเป็นชาวนา ได้มา
เรียนรู้ว่าชาวนาล่าบากแค่ไหนต้องมาทนร้อนเพื่อปลูกข้าวให้เราได้กิน เมื่อเรากินข้าวต้องกินให้หมดทุกเม็ด
7. บทความหลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน่เด็กเรียนรู้ชีวิตชาวนา
ที่มา่:่เว็บไซต์ thaipr.net
ภาพประกอบจากเว็บไซต์ thaipr.net
ส่วน "น้องเค้ก" บอกว่าเข้าร่วมกิจกรรมด่านาได้ฝึกนิสัยที่ดีให้แก่ตนเองได้แก่ความขยันและอดทน ขยันที่
จะท่านาให้เสร็จ อดทนต่อแดดที่ร้อนและอยู่ในน้่าและปวดหลังด้วยและได้สร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้น ความ
สามัคคีหมายถึงถ้าเราท่างานคนเดียวก็จะหนักกว่าที่เราจะได้แบ่งให้เพื่อนๆ ท่า ช่วยกันท่าหนูว่าจะท่าให้งานเสร็จ
ได้เร็วขึ้น อาชีพท่านาเหนื่อยและท่างานหนักมาก ถ้าไม่มีคนท่านาก็ไม่มีข้าวกิน" ส่าหรับ "น้่าฝน"บอกว่า "...ชอบ
กิจกรรมด่านาตอนปักต้นข้าวรู้สึกว่าสนุกดี แต่ก็ไม่อยากเป็นชาวนาเพราะว่าเหนื่อยมาก" สุดท้าย "น้องอะ" บอกว่า
"สนุกได้ความรู้ ได้มาเจอเพื่อน สนุกได้เล่นด่าในนา ได้เล่นกับเพื่อนๆ ได้ความรู้ในการด่านา ได้รู้วิถีชีวิตของชาวนา
ได้ความรู้น่าไปปรับใช้ เช่น เขาท่านารู้ว่าชาวนาเหนื่อยมากมีความขยันอดทน เราต้องท่าให้ได้แบบชาวนาบ้างเป็น
การฝึกนิสัยให้มีความอดทน การด่านาต้องมีความอดทน ขยัน เราต้องท่าให้ได้ เราสามารถฝึกนิสัยสามารถท่าได้
เช่นการปลูกขมิ้น ท่างานบ้าน ช่วยพ่อแม่ไม่ให้เหนื่อยด้วย ท่างานบ้านเป็นการฝึกนิสัยคนที่รกั ษาความสะอาด"สรุป
แล้วเด็กๆ ทุกคนรู้คุณค่าของอาชีพชาวนาและน่าสิ่งที่ได้ฝึกฝนจนเกิดนิสัยที่ดีให้แก่ตนเอง
นายมงคล่จินตนประเสริฐ่ผู้อานวยการโรงเรียนวัดบ้านกรวด่ได้พานักเรียนชั้น่ป.5-6มารวมกิจกรรม
นี้อยางตอเนื่องมาถึง่3 ปี เผยว่า "เห็นการเปลี่ยนแปลงของนักเรียนแตละรุนมารวมกิจกรรมก็จะซึมซั บการ
ดานา่ซึมซับความรู้สึกความรู้ที่ได้จากการดานา่มีการเปลี่ยนแปลง่บางคนเขาจะพูดออกมาเลยวาโตไปเขา
จะเป็นชาวนา่เวลาให้เขียนเรียงความ่เขารักอาชีพเกษตรกร่อยากเป็นชาวนาเพื่อสืบสานอาชีพบรรพบุรุษ่
ในสวนพฤติกรรมนิสัย่ก็เห็นการเปลี่ยนแปลง่เด็กจะมีความอดทนในการทางานและมีทักษะในการทางานมาก
ขึ้น"

อัญประกาศ
8. บทความหลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน่เด็กเรียนรู้ชีวิตชาวนา
ที่มา่:่เว็บไซต์ thaipr.net
ภาพประกอบจากเว็บไซต์ thaipr.net
ส่าหรับอบต.หนองสาหร่ายถือว่าเป็นหนึ่งในหน่วยงานท้องถิ่นที่ด่าเนินงานด้านเด็กและเยาวชนมาอย่าง
เข้มข้นและมีความต่อเนื่องภายใต้โครงการพัฒนาเยาวชนในชุมชนท้องถิ่น 4 ภาค ระยะที่ 1 : โรงเรียนครอบครัว
เกิดขึ้นจากมูลนิธิสยามกัมมาจล ได้ตระหนักถึงความส่าคัญในการพัฒนาพลเมืองที่ดี (Good active citizen) และ
มีจิตอาสาเพื่อชุมชนท้องถิ่นและประเทศได้ส นับสนุนให้ส ถาบันเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุม ชนเป็นสุข (สรส.)
มูลนิธิชุมชนท้องถิ่นพัฒ นาด่าเนินโครงการ โดยเน้นการส่งเสริมการเรียนรู้และการจั ดการความรู้ของเด็ ก และ
เยาวชนในชุมชนท้องถิ่น ประสานและเชื่อมโยงความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และทุกฝ่ายที่
เกี่ยวข้องในชุมชนท้องถิ่น ได้แก่ ครอบครัว วัด สถานศึกษา สถานีอนามัย แหล่งเรียนรู้ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร
พัฒนาเอกชน หน่วยงานภาครัฐและองค์กรธุรกิจเอกชน เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระดับ
ต่าบลเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนในชุมชนท้องถิ่น ในลักษณะ "เสริมพลัง (Synergy)" ที่เน้น "การมีส่วนร่วม" และ
เป็น "เจ้าของ" ชุมชนท้องถิ่น จากนั้นอบต.หนองสาหร่ายก็เข้าร่วมโครงการพัฒนาเยาวชนในชุม ชนท้องถิ่น (4
ภาค) ระยะที่ 2 : หลักสูตรนักถักทอชุมชน เพื่อพัฒนาเด็ก เยาวชนและครอบครัว ด่าเนินงานโดยสถาบันเสริมสร้าง
การเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข (สรส.) มูลนิธิชุมชนท้องถิ่นพัฒนา สนับสนับโดยมูลนิธิสยามกัมมาจล ธนาคารไทย
พาณิชย์ จ่ากัด (มหาชน) ร่วมกับ มูลนิธิส่านั กงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น
(สพบ.) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย และล่าสุดเข้าร่วมโครงการพัฒนาเยาวชนในชุมชน
ท้องถิ่น (4 ภาค) ระยะที่ 2 : เวทีขับเคลื่อนกลไกในการพัฒนาเด็กและเยาวชนระดับหมู่บ้านและต่าบล
การเข้าร่วมโครงการอย่างต่อเนื่องท่าให้การพัฒนาเด็กและเยาวชน ครอบครัว ชุมชนจึงเกิดความเข้มแข็ง
และมีผลสัมฤทธิ์ดังที่เห็นในปัจจุบัน อบต.หนองสาหร่ายจึงเป็นตัวอย่างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ไม่ย่อท้อ
ต่อการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน จนหาหนทางแก้ไขปัญหานั้นได้ส่าเร็จ

You might also like