You are on page 1of 12

month a M or

Nt or :b bat U
bin de

Yupaporn Rattanavichit, Ph.D.


Faculty of Physical Therapy, Srinakharinwirot University
• Explain objectives and benefits of nerve conduction studies.
• Explain method of nerve conduction studies.
• Explain factors that affect the results of nerve conduction studies.

2
• Site at which neurons communicate Synapse
• Signals pass across synapse in one direction Postsynaptic neuron

Presynaptic neuron

3
nervewgonductivevelocitymyey
ศึกษาการนากระแสประสาทของเส้ นประสาทส่วนปลาย (peripheral nerve) โดยวิเคราะห์
ความเร็วในการนากระแสประสาท รูปร่าง และขนาดของศักย์ไฟฟ้าที่วดั ได้
= = -

วัตุประสงค์ มีดงั นี ้
- วินิจฉัยโรคที่มีความผิดปกติของเส้ นประสาท เช่น polyneuropathy, demyelinating disease
- บอกตาแหน่งที่เกิดพยาธิสภาพของเส้ นประสาท
- ประเมินผลการรักษา

เส้ นประสาทส่ วนปลาย (peripheral nerve)


ประกอบด้ วยเส้ นประสาทเดี่ยว (nerve fiber or axon) จานวนมาก มีทงั ้ pure sensory nerve,
=

pure motor nerve และ mixed nerve


- -

4
หลักการ คือ การกระตุ้นเส้ นประสาทส่วนปลายที่บริ เวณหนึ่ง และบันทึกศักย์ไฟฟ้า ที่เกิดจากการ
กระตุ้นอีกบริ เวณหนึ่งบนเส้ นประสาทเส้ นเดียวกัน ศักย์ไฟฟ้าที่บนั ทึกได้ บนเส้ นประสาทส่วนปลาย
จะเป็ นศักย์ไฟฟ้ารวม (Compound action potential) ที่เกิดจาก nerve action potentials ของ
เส้ นประสาทเดี่ยวหลาย ๆ เส้ นที่ประกอบเป็ นเส้ นประสาทส่วนปลาย เราจึงเรี ยกศักย์ ไฟฟ้ าที่เกิด
จากการกระตุ้นว่า Compound nerve action potentials (CNAPs)
- motor nerve ถูกกระตุ้น เกิดศักย์ไฟฟ้าที่เรี ยกว่า compound motor nerve action
potentials (CMAPs)
- sensory nerve ถูกกระตุ้น เกิดศักย์ไฟฟ้าที่เรี ยกว่า sensory nerve action potentials
(SNAPs)

5
ลักษณะการวางขัว้ ความเข้ มของกระแสที่ใช้ ในการ
กระตุ้นเป็ นระดับ supramaximum
เพื่อกระตุ้นให้ ได้ เส้ นประสาทเดี่ยว
ทังหมดในเส้
้ นประสาทส่วนปลาย

Nerve conduction velocity (NCV)

@mu€w3
aid of
อัตราเร็วในการนากระแสประสาท ซึง่ เกิด
จากการนากระแสประสาทของเส้ นประสาทที่
มีอตั รานากระแสประสาทเร็วที่สดุ

vgtngqw abductor pollicis brevis muscle


Motor point
orang

S: stimulating electrode (ขัวกระตุ


้ ้ น)

00
Act: active electrode (ขัววั
้ ดหลัก)
(+) (-) Ref: reference electrode (ขัววั้ ดเปรี ยบเทียบ)
÷
prox , distal

,
On
mdhf@sjdMrg0tWd8bdlm8omdTnbbddoWVdonervctsiloiouininmrsneuromvscIjnonLstdubdoo1MdJbd1ACh.b
NCV ค่ าปกติของ CMAP
Upper Limb = 45-75 m/s
Mm
WatWd=mu@ off Lower Limb = 38-60 m/s .

NCV (m/s) = ระยะห่ างระหว่ างจุดกระตุ้น 2 จุด (mm)


Latency วัดจาก CMAP 1 - Latency วัดจาก CMAP 2 (ms)

*ในช่วงปลายของกระแสประสาทจะมีช่วงเวลาหลัง่ ของสารสื่อประสาท และมีช่วงเวลาที่กล้ ามเนื ้อเริ่ มหดตัว


7
Orthodromic recording of SNCV Antidromic recording of SNCV
(distal to proximal) (proximal to distal)
oniwo ienaio record to proximal

bolrisqapeak
NCV ค่ าปกติของ CMAP
×
Upper Limb = 45-47 m/s
×
Lower Limb = 40-65 m/s

Vast 8
9
กระตุ้นเส้ นประสาทผสมที่อยู่สว่ นปลาย (distal) และบันทึกศักย์ไฟฟ้าบนเส้ นประสาท
เส้ นเดียวกันที่อยู่สว่ นต้ น (proximal) และสังเกตการหดตัวของกล้ ามเนื ้อทีเ่ ลี ้ยงโดย
เส้ นประสาทที่ถกู กระตุ้น คล้ ายการศึกษา sensory nerve conduction แบบ
1=1 แต่มีการสังเกตการหดตัวของกล้ ามเนื ้อเพิ่มมา
orthodromic
↳ distal to proximal

10
0 ศักย์ไฟฟ้าที่วดั ได้ในเพศหญิงมีค่า amplitude มากกว่าเพศชาย
• เพศ No ) 81 amplitude,

0 เด็กแรกเกิดถึง 3 ปี และคนที่มีอายุมากกว่า 60 ปี มี NCV ช้ากว่าวัยอื่น เนื่องจากในเด็กที่อายุต่า


• อายุ
myelindeveloptsitototo
กว่า 3 ปี การพัฒนาเยือ่ ไมอิลินยังไม่เต็มที่ และผูส้ ู งอายุเริ่ มมีการเสื่ อมของระบบประสาทและ
กล้ามเนื้อ
ewcbbonnbev : Olton
-
• ความยาวของแขนขา -
แขนที่ยาว ทาให้การนากระแสประสาทที ่ชา้ ลง เพราะเส้นประสาทมีการแตก
แขนงเป็ นสาขาย่อยมากกว่าผูอ้ ื่น ส่ วนปลายขนาดจะเล็กลง

a นประสาท
• ตาแหน่ งของเส้
• อุณหภูoมขิ องผิว ถ้าอุณหภูมิที่เย็นไป จะทาให้ NCV ลดลง
• ปัจจัยอื่น ๆ ทางด้ านอุปoกรณ์ ทที่ าการศึกษาและวิธีศึกษา
• Lauralee Sherwood (2006). Fundamentals of physiology : a human perspective.
London : Thomson Learning distributor.

• M. J. T. FitzGerald, Gregory Gruener, & Estomih Mtui (2007). Clinical


neuroanatomy and neuroscience. Edinburgh, UK : Elsevier Saunders.

• Paul A. Young & Daniel L Tolbert (2015). Basic clinical neuroscience (3rd ed.).
Philadelphia : Wolters Kluwer.

• P. Michael Conn (2008). Neuroscience in medicine (3rd ed.). Totowa, N.J. :


Humana.

• เอกสารประกอบการสอน ของรายวิชาการวินิจฉัยด้วยไฟฟ้า (กบ 318) โดย รศ.ดร.รัมภา บุญสิ นสุ ข

12

You might also like