You are on page 1of 5

ที่ ปี ชื่อผลงาน/ผู้เขียน/สังเขปเนื้อหา สถานะของงาน ผู้ค้นคว้า

1 2565 การแกะรูปตะลุง หรือเรียกว่ารูปหนังลุง/ชาญ นักวิชาการ ธนัชพร ทองนุ่น


วิทย์ วังช่วย วัฒนธรรมชำนาญ
รูปหนังตะลุง ช่างจะแกะหนังสัตว์เพื่อใช้ การ
ประกอบในการเล่นหนังตะลุง หรือนำมา
จำหน่ายเป็นสินค้าพื้นเมืองได้ หนังตะลุงส่วน
ใหญ่แกะมาจากหนังสัตว์ ซึ่งหนังสัตว์ที่ช่าง
นิยมนำมาแกะรูปหนังมี ๒ อย่าง คือ หนังวัว
และ หนังควาย เพราะหนังมีความหนาพอ
เหมาะ เหนียวทนทาน นำออกเชิดบนจอ (สำห
รับหนังตะลุง) จะให้สีสันสวยงาม ดูโปร่ง ไม่
มืดทีบแสง และจะไม่บิดงอหรือพับง่ายๆ เมื่อ
ออกเชิดจึงบังคับการเคลื่อนไหวให้ตัวหนัง
แสดงอิริยาบถได้อย่างดีสมจริง
ลักษณะเฉพาะที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของมรดก
ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม การแกะรูปหนัง
ตะลุงเป็นภูมิปัญญาเฉพาะท้องถิ่นมีความโดด
เด่น ผู้พบเห็นจะทราบว่าเป็นรูปหนังตะลุง ซึ่ง
นิยมแกะกันมากทางภาคใต้ของไทย
2 2564 หนังตะลุง: ภาพสะท้อนความเป็ นหญิงของ มหาวิทยาลัย ธนัชพร ทองนุ่น
ภาคใต้ ประเทศไทย: กรณีศึกษาหนังตะลุง ธรรมศาสตร์
เรื่อง "ยอดสตรี" และ "รักข้ามภพ"/สรายุทธ คณะศิลปศาสตร์
ปลิวปลอด
ภาคนิพนธ์เล่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเกี่ยว
กับหนังตะลุง:ภาพสะท้อนความเป็นหญิงของ
ภาคใต้ ประเทศไทย กรณีศึกษาหนังตะลุงเรื่อง
"ยอดสตรี" และ"รักข้ามภพ" ใน 2 ประเด็น คือ
1) การสร้างความหมายและภาพ ตัวแทนของผู้
หญิงในหนังตะลุงและ
2) บทบาท หน้าที่ ความเชื่อ
ศีลธรรมจรรยาของผู้หญิงภาคใต้ประเทศไทย
ที่สะท้อนผ่านตัวละครในหนังตะลุง จาก
ประเด็น
การศึกษาพบว่าหนังตะลุงได้นำเสนอภาพ
ตัวแทนของผู้หญิงใน 2 ลักษณะ คือ ตัวละคร
หญิงที่มีหน้าตาสวยงาม จะมีนิสัยที่อ่อนหวาน
เจ้าน้ำตา และตัวละครที่กล้าที่จะแสดงความ
ต้องการตัวเองออกมา แต่ตัวละครทั้งหมดจะมี
อุดมคติร่วมกัน คือ การมองบทบาทและหน้าที่
ของตัวละครหญิงในหนังตะลุง 2 เรื่อง
คือ"ยอดสตรี" และ "รักข้ามภพ"นั้นประกอบ
ด้วย 3 บทบาท คือบทบาทความเป็นแม่และ
เมียบทบาททางศาสนา และบทบาทในการ
ประกอบอาชีพ
ซึ่งทุกบทบาททางศาสนา และบทบาทในการ
ประกอบอาชีพ ซึ่งทุกบทบาทที่กล่าวมาข้าง
ต้นตัวละครหญิงต่างถูกครอบงำด้วยมายาคติ
ของสังคมแบบชายเป็น
ใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นมายาคติด้านความงาม
(Beauty Standard)หรือการสร้างมายาคติด้าน
การ
ประกอบอาชีพ สิ่งเหล่านี้ได้ผลักให้ผู้หญิงที่
แตกต่างจากมาตราฐานของสังคมต้องกลาย
เป็นคนชายขอบ วิธีเดียวที่พวกเขาเหล่านี้จะ
สามารถเปล่งเสียงออกมาให้คนภายนอกได้รับ
รู้ถึงการมีอยู่ของตนได้ คือ การโต้กลับของตัว
ละครหญิงผ่านการใช้คำพูดและ
พฤติกรรมรุนแรงเพื่อให้ได้รับความสนใจและ
สร้างตำแหน่งแห่งที่ของตนในสังคม
3 2564 การอนุรักษ์และสืบสานการแกะหนังตะลุง บัณฑิตวิทยาลัย ธนัชพร ทองนุ่น
บ้านควนมะพร้าว อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง/สุ มหาวิทยาลัย
ฑามาศ ราชวังเมือง เชียงใหม่
การจัดการอนุรักษ์และสืบสานการแกะหนัง ศิลปะศาสตร์
ตะลุง บ้านควน มะพร้าว อำเภอเมือง จังหวัด มหาบัณฑิต การ
พัทลุง ให้ดำรงคงอยู่อย่างยั่งยืนสืบไป ซึ่ง จัดการศิลปะและ
แนวทางในการจัดการภายใต้ แนวคิดและ วัฒนธรรม
ทฤษฎี ดังนี้
1) แนวคิดการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม
2) แนวคิดการอนุรักษ์มรดกทาง วัฒนธรรม
3) แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน โดย
จากการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้ได้นา
แนวคิดและทฤษฎีเหล่านี้มาเป็นแนวทางใน
การประยุกต์ใช้เพื่อผลศึกษาพบว่า หนังตะลุง
เป็นการละเล่นพื้นถิ่นที่สาคัญอย่างหนึ่งของ
ชาวใต้ที่มีมาตั้งแต่ โบราณถือเป็นวัฒนธรรมที่
มีเอกลักษณ์และสร้างสรรค์เข้ากับวัฒนธรรม
พื้นถิ่นของตนเองที่มีอยู่แต่เดิม จึงเกิดเป็น
วัฒนธรรมเฉพาะท้องถิ่นที่ทาสืบต่อกันมา
จนถึงปัจจุบัน ซึ่งหนังตะลุงได้นามาเล่นครั้ง
แรกที่ บ้านควนมะพร้าว อาเภอเมือง จังหวัด
พัทลุง และได้รับความนิยมเป็นอย่างมากจาก
คนในชุมชน เนื่องจากหนังตะลุงนั้นได้แสดง
ให้เห็นถึงความอัจฉริยะของนายหนังและ
ความสวยงามที่เกิดจากรูป หนังตะลุงที่ฉายอยู่
บนจอผ้าที่เกิดจากเงาของรูปหนังตะลุง ดังนั้น
ถือได้ว่ารูปหนังตะลุงจึงมี ความสำคัญในการ
แสดงหนังตะลุงเป็นอย่างมาก จึงทำให้ช่าง
แกะหนังตะลุงค่อนข้างมีความสำคัญกับคณะ
หนังตะลุงเป็นอย่างมาก แต่ในปัจจุบันช่างแกะ
หนังตะลุงได้ลดน้อยลงตามสถานการณ์และ
เทคโนโลยีของยุคสมัยที่มีผลกระทบต่อวิถี
ชีวิตคนในชุมชน ซึ่งอาจส่งผลทำให้หนัง
ตะลุงหายไปจาก ชุมชน ดังนั้นการส่งเสริมให้
มีการอนุรักษ์และสืบสานการแกะหนังตะลุง
โดยการให้ความรู้เกี่ยวกับ กระบวนการจัดการ
ที่ถูกต้องแก่ชุมชน และจัดโครงการศูนย์การ
เรียนรู้เพื่อให้ความรู้แก่เยาวชน ได้ตระหนักถึง
คุณค่าของรูปหนังตะลุงและวิธีการรักษาให้รูป
หนังตะลุงอยู่คู่ชุมชนต่อไป
4 2563 แนวทางการส่งเสริมการอนุรักษ์และสืบทอด มหาวิทยาลัย ธนัชพร ทองนุ่น
ภูมิปัญญาการแกะรูปหนังตะลุงในตำบล หาดใหญ่
ควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัด
สตูล/กิตติยา ฤทธิภักดี วรวิท มาศแก้ว
1.โดยรวมพบว่า รูปแบบของการแกะรูป
ผลิตภัณฑ์ หนังตะลุงเป็นวัตถุดิบที่ได้มาจาก
หนังวัวเป็นหลัก ในการประดิษฐ์สร้างสรรค์
งานศิลปหัตถกรรมการแกะรูปหนังตะลุงนี้ จะ
เห็นได้ว่าจากรูปหนังที่ได้ผลิตขึ้นมานั้น มีขั้น
ตอน วิธีการที่ซับซ้อนมากในการผลิตให้ออก
มาเป็นตัวหนังตะลุงได้ และการที่ช่างได้
พัฒนาภูมิปัญญาเพื่อสร้างมูลค่าให้เกิดขึ้นนั้น
ช่างต้องใช้ฝีมือในการผลิต โดยไม่ต้องอาศัย
เครื่องจักรกล หรือเทคโนโลยีในการผลิต นำ
วัสดุเหลือใช้ที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างสรรค์ผล
งาน จนสามารถประกอบเป็นอุตสาหกรรมใน
ครัวเรือนหลายครัวเรือนและมีการรวมกลุ่ม
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ก่อให้เกิดความรัก
สามัคคี สามารถสร้างเสริมให้สังคมสันติสุข
และยั่งยืนได้ ภูมิปัญญาการแกะหนังตะลุง รูป
แบบของการแกะรูปผลิตภัณฑ์หนังตะลุงเป็น
วัตถุดิบที่ได้จากหนังวัวเป็นหลัก ขั้นตอนการ
แกะรูปหนังตะลุงจะอาศัยช่างผู้มีความชำนาญ
ในการแกะ และมีความเข้าใจในตัวละครของ
หนังตะลุงความหลากหลายของผลิตภัณฑ์
หนังตะลุงจะผลิตขึ้นตามความต้องการของ
ตลาดและล้อไปตามวัฒนธรรมของชุมชนท้อง
ถิ่น
2. แนวทางการส่งเสริมการอนุรักษ์และ
สืบทอดภูมิปัญญาการแกะหนังตะลุง เกี่ยวกับ
สภาพ ปัญหาการอนุรักษ์และสืบทอด
ภูมิปัญญาการแกะหนังตะลุงมีความสอดคล้อง
กับสภาพปัญหาในการสืบทอดภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรมในงานวิจัยของ Hussadin A. (2016)
โดยพบว่าส่วนใหญ่เป็นปัญหาเกี่ยวกับกลุ่มผู้
สืบทอดที่เป็นกลุ่มผู้สูงอายุ ในขณะที่กลุ่มเด็ก
และเยาวชนไม่ค่อยให้ความสนใจ ดังนั้นการที่
ชุมชนร่วมกันเสนอแนวทางในการจัดกิจกรรม
หรือโครงการที่มุ่งส่งเสริมการอนุรักษ์และ
สืบสานการแกะรูปหนังตะลุง โดยผ่าน
กระบวนการวิจัย และกระบวนการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในชุมชนโดยเฉพาะการแกะรูป
หนังตะลุง ที่ถือว่าเป็นอัตลักษณ์ของ ชุมชนที่
มีมาแต่ดั้งเดิมให้แก่เด็กและเยาวชนของชุมชน
เพื่อให้ศิลปหัตกรรมการแกะรูปหนังตะลุงยัง
คงอยู่ต่อไป แนวทางการส่งเสริมการอนุรักษ์
และสืบทอดภูมิปัญญาการแกะรูปหนังตะลุง
ในตำบลควนกาหลง มีการสืบสานที่เกิดขึ้น
จริงโดยกระบวนการฝึกทักษะและ
กระบวนการเรียนรู้จากภูมิปัญญาการแกะหนัง

You might also like