You are on page 1of 183

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

พุทธศักราช ๒๕๕๑

(ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕๕๖)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก สำนักการศึกษา
เทศบาลนครขอนแก่น
1

โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก สำนักการศึกษา
เทศบาลนครขอนแก่น
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

ทำไมต้องเรียนศิลปะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็ นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้
เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชม
ความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์
กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทัง้ ด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนำไปสู่การพัฒนาสิง่
2

แวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็ นพื้นฐาน


ในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้

เรียนรู้อะไรในศิลปะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความ
เข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึง้ ในคุณค่าของศิลปะ
เปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ประกอบ
ด้วยสาระสำคัญ คือ
 ทัศนศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้าง
และนำเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์ จากจินตนาการ โดย
สามารถใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมทัง้ สามารถใช้เทคนิค วิธีการ
ของศิลปิ นในการสร้างงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศน
ศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะที่เป็ นมรดก
ทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ชื่นชม
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
 ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทาง
ดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอด
ความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็น
คุณค่าดนตรี ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรี ในรูป
แบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มี
ต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณี
วัฒนธรรม และเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์
3

 นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์
แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ ใช้ศัพท์เบื้อง
ต้นทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอด
ความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง
ๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความ
สัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่า
ของนาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญา
ไทย และสากล

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และ
ความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คณ
ุ ค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สก
ึ ความคิดต่อ
งานศิลปะอย่างอิสระ
ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวต
ิ ประจำวัน
4

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์


ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน
ทัศนศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาไทย และสากล

สาระที่ ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก
ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัตศ
ิ าสตร์
และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี
ที่ เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญา
ไทยและสากล

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่าง
สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า
นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม
และประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์
ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
ของนาฏศิลป์ ทเ่ี ป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมป
ิ ั ญญาท้องถิน

ภูมป
ิ ั ญญาไทยและสากล
5

คุณภาพผู้เรียน
จบชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๓

 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับรูปร่าง รูปทรง และจำแนกทัศนธาตุของสิ่ง


ต่าง ๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ มีทักษะพื้นฐานการใช้
วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างงานวาดภาพระบายสี โดยใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง
สี และพื้นผิว ภาพปะติด และงานปั ้ น งานโครงสร้างเคลื่อนไหวอย่างง่าย
ๆ ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกจากเรื่องราว เหตุการณ์ ชีวิตจริง สร้าง
6

งานทัศนศิลป์ ตามที่ตนชื่นชอบ สามารถแสดงเหตุผลและวิธีการในการ


ปรับปรุงงานของตนเอง
 รู้และเข้าใจความสำคัญของงานทัศนศิลป์ ในชีวิตประจำวัน
ที่มาของงานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น ตลอดจนการใช้วัสดุ
อุปกรณ์ และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น
 รู้และเข้าใจแหล่งกำเนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาท
หน้าที่ ความหมาย ความสำคัญของบทเพลงใกล้ตัวที่ได้ยิน สามารถท่อง
บทกลอน ร้องเพลง เคาะจังหวะ เคลื่อนไหวร่างกายให้สอดคล้องกับ
บทเพลง อ่าน เขียน และใช้สัญลักษณ์แทนเสียงและเคาะจังหวะ แสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับดนตรี เสียงขับร้องของตนเอง มีส่วนร่วมกับ
กิจกรรมดนตรีในชีวิตประจำวัน
 รู้และเข้าใจเอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น มีความชื่นชอบ
เห็นความสำคัญและประโยชน์ของดนตรีต่อการดำเนินชีวิตของคนใน
ท้องถิ่น
 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ สามารถแสดง
ท่าทางประกอบจังหวะเพลงตามรูปแบบนาฏศิลป์ มีมารยาทในการชม
การแสดง รู้หน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม รู้ประโยชน์ของการแสดง
นาฏศิลป์ ในชีวิตประจำวัน เข้าร่วมกิจกรรมการแสดงที่เหมาะสมกับวัย
 รู้และเข้าใจการละเล่นของเด็กไทยและนาฏศิลป์ ท้องถิ่น ชื่น
ชอบและภาคภูมิใจในการละเล่นพื้นบ้าน สามารถเชื่อมโยงสิง่ ที่พบเห็น
ในการละเล่นพื้นบ้านกับการดำรงชีวิตของคนไทย บอกลักษณะเด่นและ
เอกลักษณ์ของนาฏศิลป์ ไทยตลอดจนความสำคัญของการแสดง
นาฏศิลป์ ไทยได้

จบชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๖
7

 รู้และเข้าใจการใช้ทัศนธาตุ รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว สี แสงเงา มี


ทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ถ่ายทอดความคิด อารมณ์ ความ
รู้สึก สามารถใช้หลักการจัดขนาด สัดส่วน ความสมดุล น้ำหนัก แสงเงา
ตลอดจนการใช้สีคู่ตรงข้ามที่เหมาะสมในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ
๓ มิติ เช่น งานสื่อผสม งานวาดภาพระบายสี งานปั ้ น งานพิมพ์ภาพ
รวมทัง้ สามารถ สร้างแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบเพื่อถ่ายทอด
ความคิดจินตนาการเป็ นเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ และ
สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ ที่สร้างสรรค์
ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่แตกต่างกัน เข้าใจปั ญหาในการจัดองค์
ประกอบศิลป์ หลักการลด และเพิ่มในงานปั ้ น การสื่อความหมายในงาน
ทัศนศิลป์ ของตน รู้วิธีการปรับปรุงงานให้ดีขน
ึ ้ ตลอดจน รู้และเข้าใจ
คุณค่าของงานทัศนศิลป์ ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม
 รู้และเข้าใจบทบาทของงานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนชีวิตและสังคม
อิทธิพลของความเชื่อ ความศรัทธา ในศาสนา และวัฒนธรรมที่
มีผลต่อการสร้างงานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น
 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงร้อง เครื่องดนตรี และ
บทบาทหน้าที่ร้ถ
ู ึงการเคลื่อนที่ขน
ึ ้ ลง ของทำนองเพลง องค์ประกอบ
ของดนตรี ศัพท์สงั คีตในบทเพลง ประโยคและอารมณ์ของบทเพลงที่ฟัง
ร้องและบรรเลงเครื่องดนตรี ด้นสดอย่างง่าย ใช้และเก็บรักษาเครื่อง
ดนตรีอย่างถูกวิธี อ่าน เขียนโน้ตไทยและสากลในรูปแบบต่าง ๆ รู้ลก
ั ษณะ
ของผูท
้ จ
่ี ะเล่นดนตรีได้ดี แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบดนตรี
ถ่ายทอดความรู้สึกของบทเพลงที่ฟัง สามารถใช้ดนตรีประกอบกิจกรรม
ทางนาฏศิลป์ และ การเล่าเรื่อง
 รู้และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับวิถีชีวิต ประเพณี
วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมต่าง ๆ เรื่องราวดนตรีในประวัติศาสตร์
8

อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรี รู้คณ
ุ ค่าดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่าง
กัน เห็นความสำคัญในการอนุรักษ์
 รู้และเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ สามารถแสดงภาษาท่า
นาฏยศัพท์พ้น
ื ฐาน สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวและการแสดงนาฏศิลป์
และการละครง่าย ๆ ถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ และสามารถออกแบบ
เครื่องแต่งกายหรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงง่าย ๆ เข้าใจความ
สัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ และการละครกับสิ่งที่ประสบในชีวิตประจำวัน
แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และบรรยายความรู้สึกของ
ตนเองที่มีต่องานนาฏศิลป์
 รู้และเข้าใจความสัมพันธ์และประโยชน์ของนาฏศิลป์ และการ
ละคร สามารถเปรียบเทียบการแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทยในแต่ละ
ท้องถิ่น และสิ่งที่การแสดงสะท้อนวัฒนธรรมประเพณีเห็นคุณค่าการ
รักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์ ไทย

จบชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓

 รู้และเข้าใจเรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบและเทคนิคที่
หลากหลายในการ สร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อสื่อความ
หมายและเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างมีคณ
ุ ภาพ วิเคราะห์รูปแบบเนื้อหา
และประเมินคุณค่างานทัศนศิลป์ ของตนเองและผู้อ่ น
ื สามารถเลือกงาน
ทัศนศิลป์ โดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดขึน
้ อย่างเหมาะสม สามารถออกแบบ
รูปภาพ สัญลักษณ์ กราฟิ ก ในการนำเสนอข้อมูลและมีความรู้ ทักษะที่
จำเป็ นด้านอาชีพที่เกี่ยวข้องกันกับงานทัศนศิลป์
 รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของงานทัศนศิลป์
ของชาติและท้องถิ่น แต่ละยุคสมัย เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์
9

ที่สะท้อนวัฒนธรรมและสามารถเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์
ที่มาจากยุคสมัยและวัฒนธรรมต่าง ๆ
 รู้และเข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ
อารมณ์ ความรู้สึก ของบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ มีทักษะในการ
ร้อง บรรเลงเครื่องดนตรี ทัง้ เดี่ยวและเป็ นวงโดยเน้นเทคนิคการร้อง
บรรเลงอย่างมีคุณภาพ มีทักษะในการสร้างสรรค์บทเพลงอย่างง่าย
อ่านเขียนโน้ต ในบันไดเสียงที่มีเครื่องหมาย แปลงเสียงเบื้องต้นได้ รู้
และเข้าใจถึงปั จจัยที่มีผลต่อรูปแบบของผลงานทางดนตรี องค์ประกอบ
ของผลงานด้านดนตรีกับศิลปะแขนงอื่น แสดงความคิดเห็นและ
บรรยายอารมณ์ความรู้สึกที่มีต่อบทเพลง สามารถนำเสนอบทเพลงที่ช่ น

ชอบได้อย่างมีเหตุผล มีทักษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและ
การแสดงดนตรี รู้ถึงอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาทของ
ดนตรีในธุรกิจบันเทิง เข้าใจถึงอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคม
 รูแ
้ ละเข้าใจทีม
่ า ความสัมพันธ์ อิทธิพลและบทบาทของดนตรี
แต่ละวัฒนธรรมในยุคสมัยต่าง ๆ วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้งานดนตรีได้รับ
การยอมรับ
 รู้และเข้าใจการใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการ
แปลความและสื่อสาร ผ่านการแสดง รวมทัง้ พัฒนารูปแบบ
การแสดง สามารถใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพ การแสดง
วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ โดยใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบทาง
นาฏศิลป์ ร่วมจัดการแสดง นำแนวคิดของการแสดงไปปรับ
ใช้ในชีวิตประจำวัน
 รู้และเข้าใจประเภทละครไทยในแต่ละยุคสมัย ปั จจัยที่มีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลป์ ไทย นาฏศิลป์ พื้นบ้าน
ละครไทย และละครพื้นบ้าน เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะ
1
0
ของการแสดงนาฏศิลป์ จากวัฒนธรรมต่าง ๆ รวมทัง้ สามารถออกแบบ
และสร้างสรรค์อุปกรณ์ เครื่องแต่งกายในการแสดงนาฏศิลป์
และละคร มีความเข้าใจ ความสำคัญ บทบาทของนาฏศิลป์
และละครในชีวิตประจำวัน

จบชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๖

 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อ
ความหมาย สามารถใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ อธิบายจุดประสงค์และ
เนื้อหาของงานทัศนศิลป์ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และ
กระบวนการที่สูงขึน
้ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิเคราะห์เนื้อหาและ
แนวคิด เทคนิควิธีการ การแสดงออกของศิลปิ นทัง้ ไทยและสากล ตลอด
จนการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการออกแบบสร้างสรรค์งานที่เหมาะสม
กับโอกาส สถานที่ รวมทัง้ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมด้วย
ภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน ตลอดจนประเมินและวิจารณ์คุณค่างานทัศน
ศิลป์ ด้วยหลักทฤษฎีวิจารณ์ศิลปะ
 วิเคราะห์เปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ ในรูปแบบตะวันออกและ
รูปแบบตะวันตก เข้าใจอิทธิพลของมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญา
ระหว่างประเทศที่มีผลต่อการสร้างสรรค์ งานทัศนศิลป์ ในสังคม
 รู้และเข้าใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรีแต่ละประเภท และ
จำแนกรูปแบบ ของวงดนตรีทงั ้ ไทยและสากล เข้าใจอิทธิพลของ
วัฒนธรรมต่อการสร้างสรรค์ดนตรี เปรียบเทียบอารมณ์และความรู้สึกที่
ได้รับจากดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทย
และสากล ในอัตราจังหวะต่าง ๆ มีทักษะในการร้องเพลงหรือเล่นดนตรี
เดี่ยวและรวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของการ
แสดง สร้างเกณฑ์สำหรับประเมินคุณภาพการประพันธ์การเล่นดนตรี
1
1
ของตนเองและผู้อ่ น
ื ได้อย่างเหมาะสม สามารถนำดนตรีไประยุกต์ใช้
ในงานอื่น ๆ
 วิเคราะห์ เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเด่นของดนตรีไทยและ
สากลในวัฒนธรรมต่าง ๆ เข้าใจบทบาทของดนตรีที่สะท้อนแนวความคิด
และค่านิยมของคนในสังคม สถานะทางสังคม ของนักดนตรีใน
วัฒนธรรมต่าง ๆ สร้างแนวทางและมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและ
อนุรักษ์ดนตรี
 มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเริ่มในการ
แสดงนาฏศิลป์ เป็ นคู่และเป็ นหมู่ สร้างสรรค์ละครสัน
้ ในรูปแบบที่ช่ น

ชอบ สามารถวิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์ และละครที่ต้องการ
สื่อความหมายในการแสดง อิทธิพลของเครื่องแต่งกาย แสง สี เสียง
ฉาก อุปกรณ์ และสถานที่ที่มีผลต่อการแสดง วิจารณ์การแสดง
นาฏศิลป์ และละคร พัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินในการประเมิน
การแสดง และสามารถวิเคราะห์ท่าทางการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิต
ประจำวันและนำมาประยุกต์ใช้ในการแสดง
 เข้าใจวิวัฒนาการของนาฏศิลป์ และการแสดงละครไทย และ
บทบาทของบุคคลสำคัญ ในวงการนาฏศิลป์ และการละครของ
ประเทศไทยในยุคสมัยต่าง ๆ สามารถเปรียบเทียบการนำการแสดงไป
ใช้ในโอกาสต่าง ๆ และเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทย
1
2
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว
้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และ
ความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คณ
ุ ค่างานทัศนศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สก
ึ ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และ
ประยุกต์ใช้ในชีวต
ิ ประจำวัน
ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. ๑. อภิปรายเกี่ยวกับรูป  รูปร่าง ลักษณะ และขนาด
๑ ร่าง ลักษณะ และ ของสิ่งต่าง ๆ รอบตัวใน
ขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้าง
ในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์ ขึน

สร้างขึน

๒. บอกความรู้สึกที่มีต่อ  ความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ
ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และสิง่ แวดล้อมรอบตัว เช่น
รอบตัว รู้สึกประทับใจกับความงาม
ของบริเวณรอบอาคารเรียน
หรือรู้สึกถึง ความ
ไม่เป็ นระเบียบ ของสภาพ
ภายในห้องเรียน
๓. มีทักษะพื้นฐานใน  การใช้วัสดุ อุปกรณ์ เช่น ดิน
การใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้าง เหนียว ดิน
งานทัศนศิลป์ น้ำมัน ดินสอ พู่กัน กระดาษ สี
เทียน สีน้ำ ดินสอสีสร้างงาน
ทัศนศิลป์
๔. สร้างงานทัศนศิลป์ โดย  การทดลองสีด้วยการใช้สีน้ำ
1
3
การทดลองใช้สี ด้วยเทคนิค สีโปสเตอร์ สีเทียน
ง่าย ๆ และสีจากธรรมชาติที่หาได้ใน
ท้องถิ่น
๕. วาดภาพระบายสี  การวาดภาพระบายสีตาม
ภาพธรรมชาติ ความรู้สึก ของ
ตามความรู้สึกของตนเอง ตนเอง
ป. ๑. บรรยายรูปร่าง รูปทรง  รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ
๒ ทีพ
่ บในธรรมชาติและสิง่ และสิง่ แวดล้อม เช่น รูปกลม รี
แวดล้อม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และ
กระบอก
๒. ระบุทัศนธาตุที่อยู่ใน  เส้น สี รูปร่าง รูปทรงในสิ่ง
สิ่งแวดล้อม และงานทัศน แวดล้อม และงานทัศน
ศิลป์ โดยเน้นเรื่องเส้น ศิลป์ ประเภทต่าง ๆ เช่น งาน
สี รูปร่าง และรูปทรง วาด งานปั ้ น และงาน
พิมพ์ภาพ
๓. สร้างงานทัศนศิลป์  เส้น รูปร่างในงานทัศนศิลป์
ต่าง ๆ โดยใช้ทัศนธาตุที่ ประเภทต่าง ๆ เช่น งานวาด
เน้นเส้น รูปร่าง งานปั ้ น และงานพิมพ์ภาพ
๔. มีทักษะพื้นฐานใน  การใช้วส
ั ดุ อุปกรณ์ สร้างงาน
การใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้าง ทัศนศิลป์ ๓ มิติ
งานทัศนศิลป์ ๓ มิติ
1
4
ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๕. สร้างภาพปะติดโดย  ภาพปะติดจากกระดาษ
การตัดหรือ ฉีก
กระดาษ
๖. วาดภาพเพื่อถ่ายทอด  การวาดภาพถ่ายทอดเรื่อง
เรื่องราวเกีย
่ วกับครอบครัว ราว
ของตนเองและเพื่อนบ้าน
๗. เลือกงานทัศนศิลป์  เนื้อหาเรื่องราวในงานทัศน
และบรรยายถึงสิ่งที่มอง ศิลป์
เห็น รวมถึงเนื้อหาเรื่องราว
๘. สร้างสรรค์งานทัศน  งานโครงสร้างเคลื่อนไหว
ศิลป์ เป็ นรูปแบบงาน
โครงสร้างเคลื่อนไหว
ป. ๑. บรรยาย รูปร่าง รูป  รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติสิ่ง
๓ ทรงในธรรมชาติสิ่ง แวดล้อมและงานทัศนศิลป์
แวดล้อม และงานทัศน
ศิลป์
๒. ระบุ วัสดุ อุปกรณ์ที่  วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สร้างงาน
ใช้สร้างผลงาน ทัศนศิลป์ ประเภทงานวาด งาน
เมื่อชมงานทัศนศิลป์ ปั ้ น งานพิมพ์ภาพ
๓. จำแนกทัศนธาตุของ  เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว
สิ่งต่าง ๆ ใน ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงาน
ธรรมชาติสง่ ิ แวดล้อมและ ทัศนศิลป์
งานทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่อง
เส้น สี รูปร่าง รูปทรง
1
5
และพื้นผิว
๔. วาดภาพ ระบายสี  การวาดภาพระบายสี สิง่ ของ
สิ่งของรอบตัว รอบตัว ด้วยสี
เทียน ดินสอสี และสีโปสเตอร์
๕. มีทักษะพื้นฐาน ใน  การใช้วัสดุอุปกรณ์ในงานปั ้ น
การใช้วัสดุอุปกรณ์
สร้างสรรค์งานปั ้ น
๖. วาดภาพถ่ายทอด  การใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง
ความคิดความรู้สึกจาก สี และพื้นผิว
เหตุการณ์ชีวิตจริง โดยใช้ วาดภาพถ่ายทอดความคิด
เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และ ความรู้สึก
พื้นผิว
๗. บรรยายเหตุผลและ  วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิควิธก
ี าร
วิธีการในการสร้างงาน ในการสร้างงานทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ โดยเน้นถึง
เทคนิคและวัสดุ อุปกรณ์
๘.ระบุสง่ิ ทีช
่ ่น
ื ชมและสิง่ ที่  การแสดงความคิดเห็นในงาน
ควรปรับปรุงในงานทัศน ทัศนศิลป์ ของตนเอง
ศิลป์ ของตนเอง
๙.ระบุ และจัดกลุม ่ ของภาพ  การจัดกลุ่มของภาพตาม
ตามทัศนธาตุที่เน้นในงาน ทัศนธาตุ
ทัศนศิลป์ นัน ้ ๆ
1
6

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๑๐. บรรยายลักษณะรูป  รูปร่าง รูปทรง ในงาน
ร่าง รูปทรง ใน ออกแบบ
งานการออกแบบสิ่งต่าง ๆ
ที่มีในบ้านและโรงเรียน
ป. ๑.เปรียบเทียบรูปลักษณะ  รูปร่าง รูปทรง ในธรรมชาติ
๔ ของรูปร่าง รูปทรงใน สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์
ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
และงานทัศนศิลป์
๒.อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพล  อิทธิพลของสี วรรณะอุ่น
ของสีวรรณะอุ่นและสี และวรรณะเย็น
วรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์
ของมนุษย์
๓.จำแนกทัศนธาตุของสิง่  เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว
ต่าง ๆ ใน และพื้นที่ว่าง
ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและ ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและ
งานทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่อง งานทัศนศิลป์
เส้น สี รูปร่าง รูปทรงพื้นผิว
และพื้นที่ว่าง
๔.มีทักษะพื้นฐานในการใช้  การใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้าง
วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์ งานพิมพ์ภาพ
งานพิมพ์ภาพ
๕.มีทักษะพื้นฐานในการใช้  การใช้วส
ั ดุ อุปกรณ์ในการ
วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์ วาดภาพระบายสี
งานวาดภาพระบายสี
๖. บรรยายลักษณะของ  การจัดระยะความลึก น้ำ
ภาพโดยเน้น เรื่องการจัด หนักและแสงเงา
ระยะ ความลึก น้ำหนักและ ในการวาดภาพ
แสงเงาในภาพ
๗. วาดภาพระบายสี โดย  การใช้สีวรรณะอุ่นและใช้สี
ใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะ วรรณะเย็น วาดภาพถ่ายทอด
เย็น ถ่ายทอดความรู้สึกและ ความรู้สึกและจินตนาการ
จินตนาการ
1
๘.เปรียบเทียบความคิด  ความเหมือนและความแตก 7
ความรู้สึก ที่ ต่างในงานทัศนศิลป์ ความคิด
ถ่ายทอดผ่านงานทัศนศิลป์ ความรู้สึกที่ถ่ายทอดในงาน
ของตนเองและบุคคลอื่น ทัศนศิลป์
๙.เลือกใช้วรรณะสีเพื่อ  การเลือกใช้วรรณะสีเพื่อ
ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก
ในการสร้างงานทัศนศิลป์

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. ๑.บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ  จังหวะ ตำแหน่งของสิง่ ต่าง ๆ
๕ ตำแหน่ง ของสิ่ง ในสิง่ แวดล้อมและงานทัศนศิลป์
ต่าง ๆ ที่ปรากฏในสิ่ง
แวดล้อม และงานทัศน
ศิลป์
๒.เปรียบเทียบความแตก  ความแตกต่างระหว่างงาน
ต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์
ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุ
อุปกรณ์และวิธีการที่ต่าง
กัน
๓. วาดภาพ โดยใช้เทคนิค  แสงเงา น้ำหนัก และวรรณะ
ของแสงเงา น้ำหนัก และ สี
วรรณะสี
๔.สร้างสรรค์งานปั ้ นจาก  การสร้างงานปั ้ นเพื่อถ่ายทอด
ดินน้ำมัน หรือดินเหนียว จินตนาการด้วยการใช้ดินน้ำมัน
โดยเน้นการถ่ายทอด หรือดินเหนียว
จินตนาการ
๕.สร้างสรรค์งานพิมพ์ภาพ  การจัดภาพในงานพิมพ์ภาพ
โดยเน้น การจัดวาง
1
ตำแหน่งของสิง่ ต่าง ๆ ใน 8
ภาพ
๖.ระบุปัญหาในการจัดองค์  การจัดองค์ประกอบศิลป์ และ
ประกอบศิลป์ การสื่อความหมาย ในงานทัศน
และการสื่อความหมายใน ศิลป์
งานทัศนศิลป์ ของตนเอง
และบอกวิธีการปรับปรุง
งานให้ดีขนึ้
๗.บรรยายประโยชน์และ  ประโยชน์และคุณค่าของ
คุณค่า ของงาน งานทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ ที่มีผลต่อชีวิต
ของคน ในสังคม
ป. ๑.ระบุสีคู่ตรงข้าม และ  วงสีธรรมชาติ และสีคู่ตรง
๖ อภิปรายเกี่ยวกับการใช้สีคู่ ข้าม
ตรงข้ามในการถ่ายทอด
ความคิดและอารมณ์
๒.อธิบายหลักการจัด  หลักการจัดขนาด สัดส่วน
ขนาดสัดส่วนความสมดุล ความสมดุล ในงาน
ในการสร้างงานทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์
๓.สร้างงานทัศนศิลป์ จาก  งานทัศนศิลป์ รูปแบบ ๒ มิติ
รูปแบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ
เป็ น๓ มิติ โดยใช้หลักการ
ของแสงเงาและน้ำหนัก
๔. สร้างสรรค์งานปั ้ น  การใช้หลักการเพิ่มและลด
โดยใช้หลักการเพิ่มและลด ในการสร้างสรรค์งานปั ้ น
1
9

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๕. สร้างสรรค์งานทัศน  รูปและพื้นที่ว่างในงานทัศน
ศิลป์ โดยใช้หลักการ ของรูป ศิลป์
และพื้นที่ว่าง
๖. สร้างสรรค์งานทัศน  การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
ศิลป์ โดยใช้ สีคู่ โดยใช้ สีคู่ตรงข้าม
ตรงข้ามหลักการจัดขนาด หลักการจัดขนาด สัดส่วนและ
สัดส่วน และความสมดุล ความสมดุล
๗. สร้างงานทัศนศิลป์  การสร้างงานทัศนศิลป์ เป็ น
เป็ นแผนภาพ แผนผัง และ แผนภาพ แผนผัง และภาพ
ภาพประกอบ เพื่อถ่ายทอด ประกอบ
ความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยว
กับเหตุการณ์ต่าง ๆ
ม. ๑. บรรยายความแตก  ความแตกต่างและความ
๑ ต่างและความคล้ายคลึงกัน คล้ายคลึงกัน ของทัศน
ของงานทัศนศิลป์ ธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่ง
และสิง่ แวดล้อมโดยใช้ความรู้ แวดล้อม
เรื่องทัศนธาตุ
๒. ระบุ และบรรยาย  ความเป็ นเอกภาพ ความ
หลักการออกแบบงานทัศน กลมกลืน ความสมดุล
ศิลป์ โดยเน้นความเป็ น
เอกภาพความกลมกลืน
และความสมดุล
2
0
๓. วาดภาพทัศนียภาพ  หลักการวาดภาพแสดง
แสดงให้เห็นระยะไกลใกล้ ทัศนียภาพ
เป็ น ๓ มิติ
๔. รวบรวมงานปั ้ นหรือ  เอกภาพความกลมกลืนของ
สื่อผสมมาสร้างเป็ นเรื่องราว เรื่องราวในงานปั้ นหรืองานสื่อ
๓ มิตโิ ดยเน้นความเป็ น ผสม
เอกภาพ ความกลมกลืน
และการสื่อถึงเรื่องราวของ
งาน
๕. ออกแบบรูปภาพ  การออกแบบรูปภาพ
สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ หรือ
หรือกราฟิ กอื่น ๆ ใน งานกราฟิ ก
การนำเสนอความคิดและ
ข้อมูล
๖. ประเมินงานทัศน  การประเมินงานทัศนศิลป์
ศิลป์ และบรรยายถึงวิธี
การปรับปรุงงานของ
ตนเองและผู้อ่ น
ื โดยใช้
เกณฑ์ที่กำหนดให้
2
1

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม. ๑. อภิปรายเกีย
่ วกับทัศน  รูปแบบของทัศนธาตุและ
๒ ธาตุในด้านรูปแบบ และ แนวคิดในงานทัศนศิลป์
แนวคิดของงานทัศนศิลป์ ที่
เลือกมา
๒. บรรยายเกี่ยวกับความ  ความเหมือนและความแตก
เหมือนและความแตกต่าง ต่างของรูปแบบการใช้วัสดุ
ของรูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์
อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ ของ ของศิลปิ น
ศิลปิ น
๓. วาดภาพด้วยเทคนิคที่  เทคนิคในการวาดภาพสื่อ
หลากหลาย ในการ ความหมาย
สื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ
๔. สร้างเกณฑ์ในการ  การประเมินและวิจารณ์งาน
ประเมิน และ ทัศนศิลป์
วิจารณ์งานทัศนศิลป์
๕. นำผลการวิจารณ์ไป  การพัฒนางานทัศนศิลป์
ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา  การจัดทำแฟ้ มสะสมงาน
งาน ทัศนศิลป์
๖. วาดภาพแสดง  การวาดภาพถ่ายทอด
บุคลิกลักษณะ บุคลิกลักษณะ ของ
ของตัวละคร ตัวละคร
2
2
๗. บรรยายวิธีการใช้งาน  งานทัศนศิลป์ ในการ
ทัศนศิลป์ ในการ โฆษณา
โฆษณาเพื่อโน้มน้าวใจ
และนำเสนอตัวอย่าง
ประกอบ
ม. ๑. บรรยายสิง่ แวดล้อม  ทัศนธาตุ หลักการ
๓ และงานทัศนศิลป์ ที่เลือกมา ออกแบบในสิ่งแวดล้อมและ
โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ งานทัศนศิลป์
และหลักการออกแบบ
๒. ระบุ และบรรยาย  เทคนิควิธีการของศิลปิ นใน
เทคนิค วิธีการ ของศิลปิ น การสร้างงานทัศนศิลป์
ในการสร้างงาน ทัศนศิลป์
๓. วิเคราะห์ และ  วิธีการใช้ทัศนธาตุและหลัก
บรรยายวิธีการใช้ ทัศนธาตุ การออกแบบในการสร้างงาน
และหลักการออกแบบใน ทัศนศิลป์
การสร้างงานทัศนศิลป์ ของ
ตนเอง ให้มีคณ
ุ ภาพ
๔. มีทักษะในการสร้าง  การสร้างงานทัศนศิลป์ ทัง้
งานทัศนศิลป์ อย่างน้อย ๓ ไทยและสากล
ประเภท
2
3

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม. ๕. มีทักษะในการผสม  การใช้หลักการออกแบบใน
๓ ผสานวัสดุต่าง ๆ ในการ การสร้างงานสื่อผสม
สร้างงานทัศนศิลป์ โดยใช้
หลักการออกแบบ
๖. สร้างงานทัศนศิลป์  การสร้างงานทัศนศิลป์ แบบ ๒
ทัง้ ๒ มิติ และ ๓ มิติ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถ่ายทอด
เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ ประสบการณ์ และจินตนาการ
และจินตนาการ
๗. สร้างสรรค์งานทัศน  การประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและ
ศิลป์ สื่อความหมายเป็ น หลักการออกแบบสร้างงาน
เรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ ทัศนศิลป์
ทัศนธาตุ และหลักการ
ออกแบบ
๘. วิเคราะห์และ  การวิเคราะห์รูปแบบ เนื้อหา
อภิปรายรูปแบบ เนื้อหา และคุณค่า ในงานทัศน
และคุณค่าในงานทัศนศิลป์ ศิลป์
ของตนเอง และผู้อ่ น
ื หรือ
ของศิลปิ น
๙. สร้างสรรค์งานทัศน  การใช้เทคนิค วิธีการที่หลาก
ศิลป์ เพื่อบรรยาย หลาย สร้างงานทัศน
2
4
เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้ ศิลป์ เพื่อสื่อความหมาย
เทคนิคที่หลากหลาย
๑๐.ระบุอาชีพที่เกี่ยวข้อง  การประกอบอาชีพทางทัศน
กับงานทัศนศิลป์ และ ศิลป์
ทักษะที่จำเป็ นในการ
ประกอบอาชีพนัน
้ ๆ
๑๑.เลือกงานทัศนศิลป์ โดย  การจัดนิทรรศการ
ใช้เกณฑ์ที่กำหนดขึน
้ อย่าง
เหมาะสม และนำไป
จัดนิทรรศการ
2
5

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์
ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
งานทัศนศิลป์ ทเ่ี ป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมป
ิ ั ญญาท้องถิน

ภูมป
ิ ั ญญาไทย และสากล

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. ๑. ระบุงานทัศนศิลป์ ใน  งานทัศนศิลป์ ในชีวิตประจำ
๑ ชีวิตประจำวัน วัน
ป. ๑. บอกความสำคัญของ  ความสำคัญของงานทัศนศิลป์
๒ งานทัศนศิลป์ ในชีวต
ิ ประจำวัน
ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน
๒. อภิปรายเกี่ยวกับงาน  งานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น
ทัศนศิลป์ ประเภทต่าง ๆ
ในท้องถิ่นโดยเน้นถึงวิธีการ
สร้างงานและวัสดุอุปกรณ์
ที่ใช้
ป. ๑. เล่าถึงทีม
่ าของงาน  ที่มาของงานทัศนศิลป์ ในท้อง
๓ ทัศนศิลป์ ในท้องถิน
่ ถิ่น
๒. อธิบายเกี่ยวกับวัสดุ  วัสดุ อุปกรณ์ และวิธก
ี ารสร้าง
อุปกรณ์และวิธีการสร้าง งานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น
งานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น
ป. ๑. ระบุ และอภิปรายเกีย
่ ว  งานทัศนศิลป์ ในวัฒนธรรม
๔ กับงานทัศนศิลป์ ใน ท้องถิ่น
2
6
เหตุการณ์ และงานเฉลิม
ฉลอง ของ
วัฒนธรรมในท้องถิ่น
๒. บรรยายเกี่ยวกับงาน  งานทัศนศิลป์ จากวัฒนธรรม
ทัศนศิลป์ ต่าง ๆ
ที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ
ป. ๑. ระบุ และบรรยาย  ลักษณะรูปแบบของงานทัศน
๕ เกี่ยวกับลักษณะรูปแบบ ศิลป์
ของงานทัศนศิลป์ ในแหล่ง
เรียนรู้หรือนิทรรศการ
ศิลปะ
๒. อภิปรายเกี่ยวกับงาน  งานทัศนศิลป์ ที่สะท้อน
ทัศนศิลป์ ที่ วัฒนธรรมและ
สะท้อนวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
ภูมิปัญญา
ในท้องถิ่น
ป. ๑. บรรยายบทบาทของ  บทบาทของงานทัศนศิลป์ ใน
๖ งานทัศนศิลป์ ที่ ชีวิต และสังคม
สะท้อนชีวิตและสังคม
๒. อภิปรายเกี่ยวกับ  อิทธิพลของศาสนาที่มีต่อ
อิทธิพลของ งานทัศนศิลป์ ในท้อง
ความเชื่อความศรัทธาใน ถิ่น
ศาสนาที่มีผลต่องานทัศน
ศิลป์ ในท้องถิ่น
๓. ระบุ และบรรยาย  อิทธิพลทางวัฒนธรรมใน
2
7
อิทธิพลทางวัฒนธรรมใน ท้องถิ่นที่มีผล ต่อการ
ท้องถิน
่ ทีม
่ ผ
ี ลต่อการสร้าง สร้างงานทัศนศิลป์
งานทัศนศิลป์ ของบุคคล

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. ระบุ และบรรยายเกีย
่ ว  ลักษณะ รูปแบบงานทัศน
กับลักษณะ รูปแบบงาน ศิลป์ ของชาติและท้องถิ่น
ทัศนศิลป์ ของชาติและของ
ท้องถิ่นตนเองจากอดีต
จนถึงปั จจุบัน
๒. ระบุ และเปรียบ  งานทัศนศิลป์ ภาคต่าง ๆ
เทียบงานทัศนศิลป์ ของ ในประเทศไทย
ภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย
๓. เปรียบเทียบความ  ความแตกต่างของงานทัศน
แตกต่างของจุดประสงค์ใน ศิลป์ ใน
การสร้างสรรค์งานทัศน วัฒนธรรมไทยและสากล
ศิลป์ ของวัฒนธรรมไทย
และสากล
ม.๒ ๑. ระบุ และบรรยายเกีย
่ ว  วัฒนธรรมที่สะท้อนในงาน
กับวัฒนธรรม ต่าง ๆ ที่ ทัศนศิลป์ ปั จจุบัน
สะท้อนถึงงานทัศนศิลป์ ใน
ปั จจุบน

2
8
๒. บรรยายถึงการ  งานทัศนศิลป์ ของไทยใน
เปลีย
่ นแปลงของ แต่ละยุคสมัย
งานทัศนศิลป์ ของไทยใน
แต่ละยุคสมัยโดยเน้นถึง
แนวคิดและเนื้อหาของ
งาน
๓. เปรียบเทียบแนวคิด  การออกแบบงานทัศนศิลป์
ในการออกแบบงานทัศน ในวัฒนธรรมไทยและสากล
ศิลป์ ที่มาจาก วัฒนธรรม
ไทยและสากล
ม.๓ ๑. ศึกษาและอภิปราย  งานทัศนศิลป์ กับการ
เกีย
่ วกับงานทัศนศิลป์ ที่ สะท้อนคุณค่า ของ
สะท้อนคุณค่าของ วัฒนธรรม
วัฒนธรรม
๒. เปรียบเทียบความ  ความแตกต่างของงานทัศน
แตกต่างของ ศิลป์ ในแต่ละยุคสมัยของ
งานทัศนศิลป์ ในแต่ละยุค วัฒนธรรมไทยและสากล
สมัย ของ
วัฒนธรรมไทยและสากล

สาระที่ ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์วจ
ิ ารณ์คณ
ุ ค่าดนตรี
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม
และประยุกต์ใช้
2
9
ในชีวิตประจำวัน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. ๑. รู้ว่าสิ่งต่าง ๆ สามารถ  การกำเนิดของเสียง
๑ ก่อกำเนิดเสียง - เสียงจากธรรมชาติ
ที่แตกต่างกัน - แหล่งกำเนิดของเสียง
- สีสันของเสียง
๒. บอกลักษณะของเสียง  ระดับเสียงดัง-เบา
ดัง-เบา และความช้า- เร็ว (Dynamic)
ของจังหวะ  อัตราความเร็วของ
จังหวะ Tempo
๓. ท่องบทกลอน ร้อง  การอ่านบทกลอนประกอบ
เพลงง่าย ๆ จังหวะ
 การร้องเพลงประกอบ
จังหวะ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๔. มีส่วนร่วมในกิจกรรม  กิจกรรมดนตรี
ดนตรีอย่างสนุกสนาน - การร้องเพลง
- การเคาะจังหวะ
- การเคลื่อนไหวประกอบ
บทเพลง
-ตามความดัง- เบาของ
บทเพลง
-ตามความช้าเร็วของ
จังหวะ
3
0
๕. บอกความเกี่ยวข้อง  เพลงที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ของเพลงที่ใช้ - เพลงกล่อมเด็ก
ในชีวิตประจำวัน - บทเพลงประกอบการ
ละเล่น
- เพลงสำคัญ (เพลงชาติ
ไทย เพลง
สรรเสริญพระบารมี)
ป. ๑. จำแนกแหล่งกำเนิด  สีสันของเสียงเครื่องดนตรี
๒ ของเสียงที่ได้ยิน  สีสันของเสียงมนุษย์

๒. จำแนกคุณสมบัติของ  การฝึ กโสตประสาท การ


เสียง สูง- ต่ำ , ดัง- จำแนกเสียง สูง-ต่ำ
เบา ยาว-สัน
้ ของดนตรี ดัง-เบา ยาว-สัน

๓. เคาะจังหวะหรือ  การเคลื่อนไหวประกอบ
เคลื่อนไหวร่างกาย เนือ
้ หาในบทเพลง
ให้สอดคล้องกับเนื้อหาของ  การเล่นเครื่องดนตรี
เพลง ประกอบเพลง
๔. ร้องเพลงง่าย ๆ ที่  การขับร้อง
เหมาะสมกับวัย
๕. บอกความหมายและ  ความหมายและความ
ความสำคัญ ของ สำคัญของเพลง ที่
เพลงที่ได้ยิน ได้ยิน
- เพลงปลุกใจ
- เพลงสอนใจ
ป. ๑. ระบุรูปร่างลักษณะ  รูปร่างลักษณะของเครื่อง
3
1
๓ ของเครื่องดนตรี ที่ ดนตรี
เห็นและได้ยินในชีวต
ิ ประจำ  เสียงของเครื่องดนตรี
วัน
๒. ใช้รูปภาพหรือ  สัญลักษณ์แทนคุณสมบัติ
สัญลักษณ์แทนเสียง และ ของเสียง (สูง-ต่ำ ดัง-เบา
จังหวะเคาะ ยาว-สัน
้ )
 สัญลักษณ์แทนรูปแบบ
จังหวะ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๓. บอกบทบาทหน้าที่ของ  บทบาทหน้าที่ของบทเพลง
เพลงที่ได้ยิน สำคัญ
- เพลงชาติ
- เพลงสรรเสริญพระ
บารมี
- เพลงประจำโรงเรียน
๔. ขับร้องและบรรเลง  การขับร้องเดี่ยวและหมู่
3
2
ดนตรีง่าย ๆ  การบรรเลงเครื่องดนตรี
ประกอบเพลง
๕. เคลื่อนไหวท่าทาง  การเคลื่อนไหวตามอารมณ์
สอดคล้องกับอารมณ์ของ ของบทเพลง
เพลงที่ฟัง
๖. แสดงความคิดเห็น  การแสดงความคิดเห็นเกี่ยว
เกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงขับ กับเสียงร้องและเสียงดนตรี
ร้องของตนเองและผู้อ่ น
ื - คุณภาพเสียงร้อง
- คุณภาพเสียงดนตรี
๗. นำดนตรีไปใช้ในชีวิต  การใช้ดนตรีในโอกาสพิเศษ
ประจำวันหรือโอกาสต่าง ๆ - ดนตรีในงานรื่นเริง
ได้อย่างเหมาะสม - ดนตรีในการฉลองวัน
สำคัญของชาติ
ป. ๑. บอกประโยคเพลงอย่าง  โครงสร้างของบทเพลง
๔ ง่าย - ความหมายของประโยค
เพลง
- การแบ่งประโยคเพลง
๒. จำแนกประเภทของ  ประเภทของเครื่องดนตรี
เครื่องดนตรีที่ใช้ในเพลงที่  เสียงของเครื่องดนตรีแต่ละ
ฟั ง ประเภท
๓. ระบุทิศทางการ  การเคลื่อนที่ขน
ึ ้ - ลงของ
เคลื่อนที่ขน
ึ ้ – ลงง่าย ๆ ทำนอง
ของทำนอง รูปแบบจังหวะ  รูปแบบจังหวะของทำนอง
และความเร็ว จังหวะ
ของจังหวะในเพลงทีฟ
่ ัง  รูปแบบจังหวะ
3
3
 ความช้า - เร็วของจังหวะ
๔. อ่าน เขียนโน้ตดนตรี  เครื่องหมายและสัญลักษณ์
ไทยและสากล ทางดนตรี
- กุญแจประจำหลัก
- บรรทัดห้าเส้น
- โน้ตและเครื่องหมาย
หยุด
- เส้นกัน
้ ห้อง
 โครงสร้างโน้ตเพลงไทย
- การแบ่งห้อง
- การแบ่งจังหวะ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๕. ร้องเพลงโดยใช้ช่วง  การขับร้องเพลงในบันได
เสียงที่เหมาะสมกับตนเอง เสียงที่เหมาะสมกับตนเอง
๖. ใช้และเก็บเครื่องดนตรี  การใช้และการดูแลรักษา
อย่างถูกต้องและปลอดภัย เครื่องดนตรี ของตน
๗. ระบุว่าดนตรีสามารถ  ความหมายของเนื้อหาใน
ใช้ในการสื่อเรื่องราว บทเพลง
ป. ๑. ระบุองค์ประกอบ  การสื่ออารมณ์ของบทเพลง
๕ ดนตรีในเพลงที่ใช้ในการสื่อ ด้วยองค์ประกอบดนตรี
อารมณ์ - จังหวะกับอารมณ์ของ
บทเพลง
3
4
- ทำนองกับอารมณ์ของ
บทเพลง
๒. จำแนกลักษณะของ  ลักษณะของเสียงนักร้อง
เสียงขับร้องและเครื่องดนตรี กลุ่มต่าง ๆ
ทีอ
่ ยูใ่ นวงดนตรีประเภทต่าง  ลักษณะเสียงของวงดนตรี
ๆ ประเภทต่าง ๆ
๓. อ่าน เขียนโน้ตดนตรี  เครื่องหมายและสัญลักษณ์
ไทยและสากล ๕ ทางดนตรี
ระดับเสียง - บันไดเสียง ๕ เสียง
Pentatonic scale
- โน้ตเพลงในบันไดเสียง
๕ เสียง Pentatonic
scale
๔. ใช้เครื่องดนตรีบรรเลง  การบรรเลงเครื่องประกอบ
จังหวะ และทำนอง จังหวะ
 การบรรเลงทำนองด้วย
เครื่องดนตรี
๕. ร้องเพลงไทยหรือ  การร้องเพลงไทยในอัตรา
เพลงสากลหรือเพลง จังหวะสองชัน

ไทยสากลที่เหมาะสมกับวัย  การร้องเพลงสากล หรือ
ไทยสากล
 การร้องเพลงประสานเสียง
แบบ Canon
Round
๖. ด้นสดง่าย ๆ โดยใช้  การสร้างสรรค์ประโยค
3
5
ประโยคเพลง เพลงถาม-ตอบ
แบบถามตอบ
๗. ใช้ดนตรีร่วมกับ  การบรรเลงดนตรีประกอบ
กิจกรรมในการแสดงออก กิจกรรมนาฏศิลป์
ตามจินตนาการ  การสร้างสรรค์เสียง
ประกอบการเล่าเรื่อง
ป. ๑. บรรยายเพลงที่ฟัง โดย  องค์ประกอบดนตรีและ
๖ อาศัยองค์ประกอบดนตรี ศัพท์สังคีต
และศัพท์สงั คีต
๒. จำแนกประเภทและ  เครื่องดนตรีไทยแต่ละภาค
บทบาทหน้าที่  บทบาทและหน้าที่ของ
เครื่องดนตรีไทยและเครื่อง เครื่องดนตรี
ดนตรีที่  ประเภทของเครื่องดนตรี
มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ สากล

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๓. อ่าน เขียนโน้ตไทย  เครื่องหมายและสัญลักษณ์
และโน้ตสากลทำนองง่าย ๆ ทางดนตรี
 โน้ตบทเพลงไทย อัตรา
จังหวะสองชัน

 โน้ตบทเพลงสากลในบันได
เสียง C Major
๔. ใช้เครื่องดนตรีบรรเลง  การร้องเพลงประกอบ
ประกอบ การร้อง ดนตรี
3
6
เพลง ด้นสด ที่มีจังหวะและ  การสร้างสรรค์รูปแบบ
ทำนองง่าย ๆ จังหวะและทำนองด้วยเครื่อง
ดนตรี
๕. บรรยายความรู้สึกที่มี  การบรรยายความรู้สึกและ
ต่อดนตรี แสดงความคิดเห็นที่มีต่อ
๖. แสดงความคิดเห็น บทเพลง
เกี่ยวกับทำนอง จังหวะการ - เนื้อหาในบทเพลง
ประสานเสียง และคุณภาพ - องค์ประกอบใน
เสียงของเพลงทีฟ
่ ัง บทเพลง
- คุณภาพเสียงใน
บทเพลง
ม. ๑. อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทย  เครื่องหมายและสัญลักษณ์
๑ และโน้ตสากล ทางดนตรี
-โน้ตบทเพลงไทย อัตราจังหวะ
สองชัน

-โน้ตสากล ในกุญแจซอลและ
ฟาในบันไดเสียง C Major
๒. เปรียบเทียบเสียงร้อง  เสียงร้องและเสียงของ
และเสียง ของ เครื่องดนตรี ใน
เครื่องดนตรีที่มาจาก บทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ
วัฒนธรรม - วิธีการขับร้อง
ที่ต่างกัน - เครื่องดนตรีที่ใช้
๓. ร้องเพลงและใช้เครื่อง  การร้องและการบรรเลง
ดนตรีบรรเลงประกอบการ เครื่องดนตรีประกอบการร้อง
ร้องเพลงด้วยบทเพลง ที่ - บทเพลงพื้นบ้าน
หลากหลายรูปแบบ บทเพลงปลุกใจ
- บทเพลงไทยเดิม
3
- บทเพลงประสานเสียง 7
๒ แนว
- บทเพลงรูปแบบ ABA
- บทเพลงประกอบการ
เต้นรำ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม. ๔. จัดประเภทของวงดนตรี  วงดนตรีพ้น
ื เมือง
ไทยและ วงดนตรี  วงดนตรีไทย
๑ ที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ  วงดนตรีสากล
๕. แสดงความคิดเห็นที่มี  การถ่ายทอดอารมณ์ของ
ต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มี บทเพลง
ความเร็วของจังหวะ - จังหวะกับอารมณ์เพลง
และความดัง - เบา แตกต่าง - ความดัง-เบากับ
กัน อารมณ์เพลง
๖. เปรียบเทียบอารมณ์ - ความแตกต่างของ
ความรู้สึกในการ ฟั งดนตรี อารมณ์เพลง
แต่ละประเภท
๗. นำเสนอตัวอย่างเพลงที่  การนำเสนอบทเพลงที่ตน
ตนเองชื่นชอบ สนใจ
และอภิปรายลักษณะเด่นที่
ทำให้งานนัน้ น่าชื่นชม
๘. ใช้เกณฑ์สำหรับประเมิน  การประเมินคุณภาพของ
คุณภาพ งานดนตรี บทเพลง
3
หรือเพลงที่ฟัง - คุณภาพด้านเนื้อหา 8
- คุณภาพด้านเสียง
- คุณภาพด้านองค์
ประกอบดนตรี
๙. ใช้และบำรุงรักษา  การใช้และบำรุงรักษา
เครื่องดนตรี อย่าง เครื่องดนตรีของตน
ระมัดระวังและรับผิดชอบ
ม. ๑. เปรียบเทียบการใช้องค์  องค์ประกอบของดนตรี
๒ ประกอบดนตรีที่มาจาก จากแหล่งวัฒนธรรมต่าง ๆ
วัฒนธรรมต่างกัน
๒. อ่าน เขียนร้องโน้ตไทย  เครื่องหมายและ
และโน้ตสากลที่มีเครื่องหมาย สัญลักษณ์ทางดนตรี
แปลงเสียง - โน้ตจากเพลงไทยอัตรา
จังหวะสองชัน้
- โน้ตสากล
(เครื่องหมายแปลง
เสียง)
๓. ระบุปัจจัยสำคัญที่มี  ปั จจัยในการสร้างสรรค์
อิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ บทเพลง
งานดนตรี - จินตนาการในการ
สร้างสรรค์บทเพลง
- การถ่ายทอดเรื่องราว
ความคิด
ในบทเพลง
๔. ร้องเพลง และเล่นดนตรี  เทคนิคการร้องและ
เดีย
่ วและรวมวง บรรเลงดนตรี
- การร้องและบรรเลง
เดี่ยว
- การร้องและบรรเลง
เป็ นวง
๕. บรรยายอารมณ์ของเพลง  การบรรยายอารมณ์และ
และความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ ความรูส้ ก
ึ ในบทเพลง
ฟั ง
3
9

ชัน
้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๖. ประเมิน พัฒนาการ  การประเมินความสามารถ
ทักษะทางดนตรีของตนเอง ทางดนตรี
หลังจากการฝึ กปฏิบัติ - ความถูกต้องในการ
บรรเลง
- ความแม่นยำในการอ่าน
เครื่องหมายและ
สัญลักษณ์
- การควบคุมคุณภาพ
เสียงในการร้องและ
บรรเลง
๗. ระบุงานอาชีพต่าง ๆ  อาชีพทางด้านดนตรี
ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและ  บทบาทของดนตรีในธุรกิจ
บทบาทของดนตรีในธุรกิจ บันเทิง
บันเทิง
ม. ๑. เปรียบเทียบองค์  การเปรียบเทียบองค์
๓ ประกอบที่ใช้ในงานดนตรี ประกอบในงานศิลปะ
และงานศิลปะอื่น - การใช้องค์ประกอบใน
การสร้างสรรค์งาน
ดนตรีและศิลปะแขนง
อื่น
- เทคนิคที่ใช้ในการ
สร้างสรรค์งานดนตรี
และศิลปะแขนงอื่น
๒. ร้องเพลง เล่นดนตรี  เทคนิคและการแสดงออก
เดี่ยว และรวมวง โดยเน้น ในการขับร้องและบรรเลง
เทคนิคการร้อง การเล่น การ ดนตรีเดี่ยวและรวมวง
4
0
แสดงออก และคุณภาพสียง
๓. ้ ๆ จังหวะ  อัตราจังหวะ๔ ๒ และ ๔๔
แต่งเพลงสัน
ง่าย ๆ  การประพันธ์เพลงในอัตรา
จังหวะ๒ และ ๔
๔ ๔
๔. อธิบายเหตุผลในการ  การเลือกใช้องค์ประกอบ
เลือกใช้องค์ประกอบดนตรี ในการสร้างสรรค์บทเพลง
ในการสร้างสรรค์ - การเลือกจังหวะเพื่อ
งานดนตรีของตนเอง สร้างสรรค์
บทเพลง
- การเรียบเรียงทำนอง
เพลง
๕. เปรียบเทียบความแตก  การเปรียบเทียบความแตก
ต่างระหว่าง ต่างของบทเพลง
งานดนตรีของตนเองและผู้ - สำเนียง
อื่น - อัตราจังหวะ
- รูปแบบบทเพลง
- การประสานเสียง
- เครื่องดนตรีที่บรรเลง
๖. อธิบายเกี่ยวกับ  อิทธิพลของดนตรี
อิทธิพลของดนตรี - อิทธิพลของดนตรีต่อ
ที่มีต่อบุคคลและสังคม บุคคล
- อิทธิพลของดนตรีต่อ
สังคม
4
1
ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๓ ๗. นำเสนอหรือจัดการ  การจัดการแสดงดนตรีใน
แสดงดนตรี ที่ วาระต่าง ๆ
เหมาะสมโดยการบูรณา - การเลือกวงดนตรี
การกับสาระ การเรียนรู้อ่ น
ื - การเลือกบทเพลง
ในกลุ่มศิลปะ - การเลือกและจัดเตรียม
สถานที่
- การเตรียมบุคลากร
- การเตรียมอุปกรณ์
เครื่องมือ
- การจัดรายการแสดง

สาระที่ ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี
ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
ของดนตรีที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาไทยและสากล
ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. ๑. เล่าถึงเพลงในท้อง  ที่มาของบทเพลงในท้องถิ่น
๑ ถิ่น
๒. ระบุสงิ่ ที่ช่ น
ื ชอบใน  ความน่าสนใจของบทเพลงใน
ดนตรีท้องถิ่น ท้องถิ่น
ป. ๑. บอกความสัมพันธ์  บทเพลงในท้องถิ่น
๒ ของเสียงร้อง - ลักษณะของเสียงร้องใน
เสียงเครื่องดนตรีในเพลง บทเพลง
4
2
ท้องถิ่น โดยใช้ - ลักษณะของเสียงเครื่อง
คำง่าย ๆ ดนตรีทใ่ี ช้ ใน
บทเพลง
๒. แสดงและเข้าร่วม  กิจกรรมดนตรีในโอกาสพิเศษ
กิจกรรมทางดนตรี - ดนตรีกับโอกาสสำคัญใน
ในท้องถิ่น โรงเรียน
- ดนตรีกับวันสำคัญของชาติ
ป. ๑. ระบุลักษณะเด่น  เอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น
๓ และเอกลักษณ์ - ลักษณะเสียงร้องของดนตรี
ของดนตรีในท้องถิ่น ในท้องถิน

- ภาษาและเนื้อหาในบทร้อง
ของดนตรีในท้องถิ่น
- เครื่องดนตรีและวงดนตรีใน
ท้องถิ่น
๒. ระบุความสำคัญ  ดนตรีกับการดำเนินชีวิตใน
และประโยชน์ของดนตรี ท้องถิ่น
ต่อการดำเนินชีวิตของ - ดนตรีในชีวิตประจำวัน
คนในท้องถิ่น - ดนตรีในวาระสำคัญ

ป. ๑. บอกแหล่งที่มา  ความสัมพันธ์ของวิถช
ี วี ต
ิ กับผล
๔ และความสัมพันธ์ งานดนตรี
ของวิถีชีวิตไทย ที่ - เนื้อหาเรื่องราวในบทเพลง
สะท้อนในดนตรี กับวิถช
ี วี ิต
และเพลงท้องถิ่น - โอกาสในการบรรเลงดนตรี
4
3
ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๒. ระบุความสำคัญในการ  การอนุรักษ์วัฒนธรรมทาง
อนุรักษ์ส่งเสริมวัฒนธรรม ดนตรี
ทางดนตรี - ความสำคัญและความ
จำเป็ นในการอนุรักษ์
- แนวทางในการอนุรักษ์
ป. ๑. อธิบายความสัมพันธ์  ดนตรีกับงานประเพณี
๕ ระหว่างดนตรีกับประเพณี - บทเพลงในงานประเพณี
ในวัฒนธรรมต่าง ๆ ในท้องถิ่น
- บทบาทของดนตรีใน
แต่ละประเพณี
๒. อธิบายคุณค่าของ  คุณค่าของดนตรีจากแหล่ง
ดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ วัฒนธรรม
ต่างกัน - คุณค่าทางสังคม
- คุณค่าทาง
ประวัติศาสตร์
ป. ๑. อธิบายเรื่องราวของ  ดนตรีไทยในประวัติศาสตร์
๖ ดนตรีไทย - ดนตรีในเหตุการณ์
ในประวัติศาสตร์ สำคัญทางประวัติศาสตร์
๒. จำแนกดนตรีที่มาจาก - ดนตรีในยุคสมัยต่าง ๆ
ยุคสมัยที่ต่างกัน - อิทธิพลของวัฒนธรรมที่
๓. อภิปรายอิทธิพลของ มีต่อดนตรี
วัฒนธรรม ต่อ
ดนตรีในท้องถิ่น
4
๑. อธิบายบทบาทความ  บทบาทและอิทธิพลของ 4
ม.
สัมพันธ์และอิทธิพลของ ดนตรี
๑ ดนตรีที่มีต่อสังคมไทย - บทบาทดนตรีในสังคม
- อิทธิพลของดนตรีใน
สังคม
๒. ระบุความหลากหลาย  องค์ประกอบของดนตรีใน
ขององค์ประกอบดนตรีใน แต่ละวัฒนธรรม
วัฒนธรรมต่างกัน
ม. ๑. บรรยายบทบาท และ  ดนตรีในวัฒนธรรมต่าง
๒ อิทธิพลของดนตรีใน ประเทศ
วัฒนธรรมของประเทศต่าง - บทบาทของดนตรีใน
ๆ วัฒนธรรม
- อิทธิพลของดนตรีใน
วัฒนธรรม
๒. บรรยายอิทธิพลของ  เหตุการณ์ประวัตศ
ิ าสตร์กบ

วัฒนธรรม และ การเปลีย
่ นแปลง ทางดนตรีใน
เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่ ประเทศไทย
มีต่อรูปแบบของดนตรีใน -การเปลี่ยนแปลงทางการ
ประเทศไทย เมืองกับงานดนตรี
4
5
ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๓ ๑. บรรยายวิวัฒนาการ  ประวัติดนตรีไทยยุคสมัย
ของดนตรีแต่ละ ยุคสมัย ต่าง ๆ
 ประวัติดนตรีตะวันตกยุค
สมัยต่าง ๆ
๒. อภิปรายลักษณะเด่นที่  ปั จจัยที่ทำให้งานดนตรีได้
ทำให้งานดนตรีนน
ั ้ ได้รับ รับการยอมรับ
การยอมรับ

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่าง
สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์
คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่าง
อิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำวัน
ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. ๑. เลียนแบบการ  การเคลื่อนไหวลักษณะต่าง
๑ เคลื่อนไหว ๆ
- การเลียนแบบธรรมชาติ
- การเลียนแบบคน สัตว์
สิ่งของ
๒. แสดงท่าทางง่าย ๆ  การใช้ภาษาท่า และการ
เพื่อสื่อความหมาย แทนคำ ประดิษฐ์ ท่า
พูด ประกอบเพลง
 การแสดงประกอบเพลงที่
4
6
เกี่ยวกับธรรมชาติสัตว์
๓. บอกสิ่งที่ตนเองชอบ  การเป็นผู้ชมที่ดี
จากการดูหรือ
ร่วมการแสดง
ป. ๑. เคลื่อนไหวขณะอยู่กับที่  การเคลื่อนไหวอย่างมีรูป
๒ และเคลื่อนที่ แบบ
- การนั่ง
- การยืน
- การเดิน
๒. แสดงการเคลื่อนไหวที่  การประดิษฐ์ท่าจากการ
สะท้อนอารมณ์ของตนเอง เคลื่อนไหว อย่างมีรูป
อย่างอิสระ แบบ
 เพลงที่เกี่ยวกับสิง่ แวดล้อม
๓. แสดงท่าทาง เพื่อสื่อ  หลักและวิธีการปฏิบัติ
ความหมาย แทน นาฏศิลป์
คำพูด - การฝึ กภาษาท่าสื่อ
ความหมายแทน
อากัปกิริยา
- การฝึ กนาฏยศัพท์ใน
ส่วนลำตัว
๔. แสดงท่าทางประกอบ  การใช้ภาษาท่าและนาฏย
จังหวะ ศัพท์ประกอบจังหวะ
อย่างสร้างสรรค์
๕. ระบุมารยาทในการชม  มารยาทในการชมการ
การแสดง แสดง การเข้าชมหรือมีส่วน
4
7
ร่วม

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. ๑. สร้างสรรค์การ  การเคลื่อนไหวในรูปแบบ
๓ เคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ต่าง ๆ
ในสถานการณ์สน
ั้ ๆ - รำวงมาตรฐาน
- เพลงพระราชนิพนธ์
- สถานการณ์สน
ั้ ๆ
- สถานการณ์ที่กำหนดให้
๒. แสดงท่าทางประกอบ  หลักและวิธีการปฏิบัติ
เพลงตามรูปแบบนาฏศิลป์ นาฏศิลป์
- การฝึ กภาษาท่าสื่อ
อารมณ์ของมนุษย์
- การฝึ กนาฎยศัพท์ใน
ส่วนขา
๓. เปรียบเทียบบทบาท  หลักในการชมการแสดง
หน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม - ผู้แสดง
๔. มีส่วนร่วมในกิจกรรม - ผู้ชม
การแสดงที่เหมาะสมกับวัย - การมีส่วนร่วม
๕. บอกประโยชน์ของการ  การบูรณาการนาฏศิลป์ กับ
แสดงนาฏศิลป์ สาระ การเรียนรู้
ในชีวิตประจำวัน อื่น ๆ
ป. ๑. ระบุทักษะพื้นฐานทาง  หลักและวิธีการปฏิบัติ
๔ นาฏศิลป์ และ นาฏศิลป์
การละครที่ใช้ส่ อ
ื ความหมาย - การฝึ กภาษาท่า
4
8
และอารมณ์ - การฝึ กนาฏยศัพท์

๒. ใช้ภาษาท่าและนาฏย  การใช้ภาษาท่าและนาฏย
ศัพท์หรือศัพท์ทางการ ศัพท์ประกอบเพลงปลุกใจ
ละครง่าย ๆ ในการ และเพลงพระราชนิพนธ์
ถ่ายทอดเรื่องราว  การใช้ศพ
ั ท์ทางการละคร
ในการถ่ายทอดเรื่องราว
๓. แสดง การเคลื่อนไหว  การประดิษฐ์ท่าทางหรือท่า
ในจังหวะต่าง ๆ ตามความ รำประกอบจังหวะพื้นเมือง
คิดของตน
๔. แสดงนาฏศิลป์ เป็ นคู่  การแสดงนาฏศิลป์
และหมู่ ประเภทคู่และหมู่
- รำวงมาตรฐาน
- ระบำ
๕. เล่าสิ่งที่ช่ น
ื ชอบในการ  การเล่าเรื่อง
แสดงโดยเน้นจุดสำคัญของ - จุดสำคัญ
เรื่องและลักษณะเด่น - ลักษณะเด่นของตัว
ของตัวละคร ละคร

ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง


ป. ๑. บรรยายองค์ประกอบ  องค์ประกอบของนาฏศิลป์
๕ นาฏศิลป์ - จังหวะ ทำนอง คำร้อง
- ภาษาท่า นาฏยศัพท์
4
9
- อุปกรณ์
๒. แสดงท่าทางประกอบ  การประดิษฐ์ท่าทาง
เพลงหรือเรื่องราวตามความ ประกอบเพลง หรือ
คิดของตน ท่าทางประกอบเรื่องราว
๓. แสดงนาฏศิลป์ โดย  การแสดงนาฏศิลป์
เน้นการใช้ภาษาท่า - ระบำ
และนาฏยศัพท์ในการสื่อ - ฟ้ อน
ความหมายและ - รำวงมาตรฐาน
การแสดงออก
๔. มีส่วนร่วมในกลุ่มกับ  องค์ประกอบของละคร
การเขียน - การเลือกและเขียน
เค้าโครงเรื่องหรือบทละคร เค้าโครงเรื่อง
สัน
้ ๆ - บทละครสัน
้ ๆ

๕. เปรียบเทียบการแสดง  ที่มาของการแสดงนาฏศิลป์
นาฏศิลป์ ชุดต่าง ๆ ชุดต่าง ๆ
๖. บอกประโยชน์ที่ได้รับ  หลักการชมการแสดง
จากการชม การ  การถ่ายทอดความรู้สึกและ
แสดง คุณค่า ของการ
แสดง
ป. ๑. สร้างสรรค์การ  การประดิษฐ์ทา่ ทางประกอบ
๖ เคลื่อนไหวและการแสดง เพลงปลุกใจหรือเพลงพื้นเมือง
โดยเน้นการถ่ายทอดลีลาหรือ หรือท้องถิ่นเน้นลีลา
อารมณ์ หรืออารมณ์
5
0
๒. ออกแบบเครื่องแต่ง  การออกแบบสร้างสรรค์
กาย หรืออุปกรณ์ประกอบ - เครื่องแต่งกาย
การแสดงอย่างง่าย ๆ - อุปกรณ์ ฉากประกอบ
การแสดง
๓. แสดงนาฏศิลป์ และ  การแสดงนาฏศิลป์ และการ
ละครง่าย ๆ แสดงละคร
- รำวงมาตรฐาน
- ระบำ
- ฟ้ อน
- ละครสร้างสรรค์

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. ๔. บรรยายความรู้สึกของ  บทบาทและหน้าที่ในงาน
๖ ตนเองที่มีต่องานนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ และการละคร
และการละครอย่าง
สร้างสรรค์
๕. แสดงความคิดเห็นใน  หลักการชมการแสดง
การชมการแสดง - การวิเคราะห์
- ความรู้สึกชื่นชม
5
1

๖. อธิบายความสัมพันธ์  องค์ประกอบทางนาฏศิลป์
ระหว่างนาฏศิลป์ และการละคร
และการละครกับสิง่ ที่
ประสบ
ในชีวิตประจำวัน
ม. ๑. อธิบายอิทธิพลของ  การปฏิบัติของผูแ
้ สดงและผู้
๑ นักแสดงชื่อดัง ที่ ชม
มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์  ประวัตินักแสดงที่ช่ น
ื ชอบ
หรือความคิดของผู้ชม  การพัฒนารูปแบบของการ
แสดง
 อิทธิพลของนักแสดงที่มีผล
ต่อพฤติกรรมของผู้ชม
๒. ใช้นาฏยศัพท์หรือ  นาฏยศัพท์หรือศัพท์
ศัพท์ทางการละคร ทางการละคร ใน
ในการแสดง การแสดง
 ภาษาท่า และการตีบท
 ท่าทางเคลื่อนไหวที่แสดง
สื่อทางอารมณ์
 ระบำเบ็ดเตล็ด
 รำวงมาตรฐาน
๓. แสดงนาฏศิลป์ และ  รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์
ละครในรูปแบบ ง่าย ๆ - นาฏศิลป์
- นาฏศิลป์ พื้นบ้าน
- นาฏศิลป์ นานาชาติ
5
2
๔. ใช้ทักษะการทำงาน  บทบาทและหน้าที่ของฝ่ าย
เป็ นกลุ่ม ต่าง ๆ ในการจัดการแสดง
ในกระบวนการผลิตการ  การสร้างสรรค์กิจกรรมการ
แสดง แสดงที่สนใจ
โดยแบ่งฝ่ ายและหน้าที่ให้
ชัดเจน
๕. ใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ที่  หลักในการชมการแสดง
กำหนดให้ในการพิจารณา
คุณภาพการแสดงที่ชม
โดยเน้นเรื่องการใช้เสียง
การแสดงท่า และการ
เคลื่อนไหว

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม. ๑. อธิบายการบูรณาการ  ศิลปะแขนงอื่น ๆ กับการ
๒ ศิลปะแขนงอื่น ๆ กับการ แสดง
แสดง - แสง สี เสียง
- ฉาก
- เครื่องแต่งกาย
- อุปกรณ์
๒. สร้างสรรค์การแสดง  หลักและวิธีการสร้างสรรค์
5
3
โดยใช้องค์ประกอบ การแสดง โดยใช้องค์
นาฏศิลป์ และการละคร ประกอบนาฏศิลป์ และการ
ละคร
๓. วิเคราะห์การแสดง  หลักและวิธีการวิเคราะห์
ของตนเองและผู้อ่ น
ื โดยใช้ การแสดง
นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการ
ละคร ที่เหมาะสม
๔. เสนอข้อคิดเห็นในการ  วิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์
ปรับปรุง การ การแสดง นาฏศิลป์ และ
แสดง การละคร
 รำวงมาตรฐาน
๕. เชื่อมโยงการเรียนรู้  ความสัมพันธ์ของนาฏศิลป์
ระหว่างนาฏศิลป์ และการ หรือ การละคร
ละครกับสาระการเรียนรู้อ่ น
ื กับสาระการเรียนรู้อ่ น
ื ๆ

ม. ๑. ระบุโครงสร้างของบท  องค์ประกอบของบทละคร
๓ ละครโดยใช้ศัพท์ทางการ - โครงเรื่อง
ละคร - ตัวละครและการวาง
ลักษณะนิสัย
ของตัวละคร
- ความคิดหรือแก่นของ
เรื่อง
- บทสนทนา
5
4
๒. ใช้นาฏยศัพท์หรือ  ภาษาท่าหรือภาษาทาง
ศัพท์ทางการละคร นาฏศิลป์
ที่เหมาะสมบรรยายเปรียบ - ภาษาท่าที่มาจาก
เทียบการแสดงอากัปกิริยา ธรรมชาติ
ของผูค
้ นในชีวิตประจำวัน - ภาษาท่าที่มาจากการ
และ ประดิษฐ์
ในการแสดง - รำวงมาตรฐาน
๓. มีทักษะในการใช้ความ  รูปแบบการแสดง
คิดในการพัฒนารูปแบบการ - การแสดงเป็ นหมู่
แสดง - การแสดงเดี่ยว
- การแสดงละคร
- การแสดงเป็ นชุดเป็ น
ตอน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๔. มีทักษะในการแปล  การประดิษฐ์ทา่ รำและท่าทาง
ความและ การ ประกอบ การแสดง
สื่อสารผ่านการแสดง - ความหมาย
- ความเป็ นมา
- ท่าทางที่ใช้ในการ
ประดิษฐ์ท่ารำ
๕. วิจารณ์เปรียบเทียบ  องค์ประกอบนาฏศิลป์
งานนาฏศิลป์ ที่ - จังหวะทำนอง
5
5
มีความแตกต่างกันโดยใช้ - การเคลื่อนไหว
ความรู้ เรื่ององค์ - อารมณ์และความรู้สึก
ประกอบนาฏศิลป์ - ภาษาท่า นาฎยศัพท์
- รูปแบบของการแสดง
- การแต่งกาย
๖. ร่วมจัดงานการแสดง  วิธีการเลือกการแสดง
ในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ - ประเภทของงาน
- ขัน
้ ตอน
- ประโยชน์และคุณค่า
ของการแสดง
๗. นำเสนอแนวคิดจาก  ละครกับชีวิต
เนื้อเรื่อง ของ
การแสดงที่สามารถนำไป
ปรับใช้ ในชีวต

ประจำวัน

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์
ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาไทยและสากล
ชัน
้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
5
6
ป. ๑. ระบุ และเล่นการละ  การละเล่นของเด็กไทย
๑ เล่นของเด็กไทย - วิธีการเล่น
- กติกา
๒. บอกสิ่งที่ตนเองชอบ  การแสดงนาฏศิลป์
ในการแสดงนาฏศิลป์
ป. ๑. ระบุและเล่นการละ  การละเล่นพื้นบ้าน
๒ เล่นพื้นบ้าน - วิธีการเล่น
- กติกา

ชัน
้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๒. เชื่อมโยงสิ่งที่พบเห็นใน  ที่มาของการละเล่นพื้น
การละเล่นพื้นบ้านกับสิ่งที่ บ้าน
พบเห็นในการดำรงชีวิตของ
คนไทย
๓. ระบุสงิ่ ที่ช่ น
ื ชอบและ  การละเล่นพื้นบ้าน
ภาคภูมิใจ ใน
การละเล่นพื้นบ้าน
ป.๓ ๑. เล่าการแสดงนาฏศิลป์ ที่  การแสดงนาฏศิลป์ พื้นบ้าน
เคยเห็น ในท้อง หรือท้องถิ่นของตน
ถิ่น
๒. ระบุสงิ่ ที่เป็ นลักษณะ  การแสดงนาฏศิลป์
เด่นและเอกลักษณ์ของการ - ลักษณะ
แสดงนาฏศิลป์ - เอกลักษณ์
5
7
๓. อธิบายความสำคัญของ  ที่มาของการแสดง
การแสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลป์
- สิ่งที่เคารพ
ป. ๑. อธิบายประวัติความ  ความเป็ นมาของนาฏศิลป์
๔ เป็ นมาของนาฏศิลป์ หรือชุด  ที่มาของชุดการแสดง
การแสดงอย่างง่าย ๆ
๒. เปรียบเทียบการแสดง  การชมการแสดง
นาฏศิลป์ - นาฏศิลป์
กับการแสดงที่มาจาก - การแสดงของท้องถิ่น
วัฒนธรรมอื่น

๓. อธิบายความสำคัญของ  ความเป็ นมาของนาฏศิลป์


การแสดงความเคารพในการ - การทำความเคารพ
เรียนและการแสดงนาฏศิลป์ ก่อนเรียนและก่อน
แสดง
๔. ระบุเหตุผลที่ควรรักษา  ความเป็ นมาของนาฏศิลป์
และสืบทอด - คุณค่า
การแสดงนาฏศิลป์
ป. ๑. เปรียบเทียบการแสดง  การแสดงนาฏศิลป์
๕ ประเภทต่าง ๆ ของไทย ใน ประเภทต่าง ๆ
แต่ละท้องถิ่น - การแสดงพื้นบ้าน
๒. ระบุหรือแสดงนาฏศิลป์  การแสดงนาฏศิลป์
นาฏศิลป์ พ้น
ื บ้านที่สะท้อนถึง ประเภทต่าง ๆ
วัฒนธรรมและประเพณี - การแสดงพื้นบ้าน
ป. ๑. อธิบายสิ่งที่มีความ  ความหมาย ความเป็ นมา
5
8
๖ สำคัญต่อการแสดงนาฏศิลป์ ความสำคัญ ของนาฏศิลป์
และละคร และละคร
- บุคคลสำคัญ
- คุณค่า
๒. ระบุประโยชน์ที่ได้รับ  การแสดงนาฏศิลป์ และ
จากการแสดงหรือการชมการ ละคร ใน
แสดงนาฏศิลป์ และละคร วันสำคัญของโรงเรียน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อ  ปั จจัยที่มีผลต่อการ
การเปลีย
่ นแปลงของ เปลี่ยนแปลง
นาฏศิลป์ นาฏศิลป์ พื้นบ้าน ของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ พื้น
ละครไทยและละครพื้นบ้าน บ้าน ละครไทย และละคร
พื้นบ้าน
๒. บรรยายประเภทของ  ประเภทของละครไทยใน
ละครไทย ใน แต่ละยุคสมัย
แต่ละยุคสมัย
ม.๒ ๑. เปรียบเทียบลักษณะ  นาฏศิลป์ พื้นเมือง
เฉพาะของ การ - ความหมาย
แสดงนาฏศิลป์ จาก - ที่มา
วัฒนธรรมต่างๆ - วัฒนธรรม
- ลักษณะเฉพาะ

๒. ระบุหรือแสดง  รูปแบบการแสดงประเภท
นาฏศิลป์ นาฏศิลป์ พื้นบ้าน ต่าง ๆ
ละครไทย ละครพื้นบ้าน - นาฏศิลป์
หรือมหรสพอื่นที่เคยนิยม - นาฏศิลป์ พ้น
ื เมือง
กันในอดีต - ละครไทย
5
- ละครพื้นบ้าน 9
๓. อธิบายอิทธิพลของ  การละครสมัยต่าง ๆ
วัฒนธรรมที่มีผลต่อเนื้อหา
ของละคร
ม.๓ ๑. ออกแบบ และ  การออกแบบและ
สร้างสรรค์อุปกรณ์ สร้างสรรค์อุปกรณ์และ
และเครื่องแต่งกาย เพื่อ เครื่องแต่งกายเพื่อการแสดง
แสดงนาฏศิลป์ และละคร นาฏศิลป์
ที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ
๒. อธิบายความสำคัญ  ความสำคัญและบทบาท
และบทบาทของนาฏศิลป์ ของนาฏศิลป์ และการละคร
และการละครในชีวต
ิ ประจำ ในชีวิตประจำวัน
วัน
๓. แสดงความคิดเห็นใน  การอนุรักษ์นาฏศิลป์
การอนุรักษ์
6
0

โครงสร้างกลุ่มสาระ
การเรียนรู้
คำอธิบายรายวิชา
6
1

โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้พ้น
ื ฐาน
ระดับประถมศึกษา
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๑
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ชั่วโมง/ปี

ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๒
ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ชั่วโมง/ปี

ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๓
6
2
ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ชั่วโมง/ปี

ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๔
ศ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ชั่วโมง/ปี

ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๕
ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ชั่วโมง/ปี

ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๖
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ชั่วโมง/ปี
6
3

สาระการเรียนรู้พ้น
ื ฐาน
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑
ศ๒๑๑๐๑ทัศนศิลป์ ๑ ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน ๑.๐
หน่วยกิต
ศ๒๑๑๐๒ดนตรีและนาฏศิลป์ ๑ ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
๑.๐ หน่วยกิต

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ศ๒๒๑๐๑ดนตรีและนาฏศิลป์ ๒ ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน ๑.๐
หน่วยกิต
ศ๒๒๑๐๑ทัศนศิลป์ ๒ ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน ๑.๐
หน่วยกิต

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓
ศ๒๓๑๐๑ทัศนศิลป์ ๓ ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน ๑.๐
หน่วยกิต
ศ๒๓๑๐๒ดนตรีและนาฏศิลป์ ๓ ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน ๑.๐
หน่วยกิต
6
4

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๑
เวลา ๘๐ ชั่วโมง/ปี

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
6
5
ศึกษารูปร่าง ลักษณะ และขนาดของสิ่งต่างๆ รอบตัวใน
ธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึน
้ อธิบายความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์
สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะ โดยการใช้เทคนิคง่ายๆ เพื่อนำไปสู่การใช้
เทคนิคที่ใหม่ๆ วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติ ความรู้สึกของตนเอง
นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
สาระที่ ๒ ดนตรี
ศึกษาสิง่ ต่างๆ สามารถก่อกำเนิดเสียงที่แตกต่างกัน บอกลักษณะ
ของเสียงดัง - เบา และความช้าเร็วของจังหวะ ท่องบทกลอน ร้อง
เพลงง่ายๆ มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีอย่างสนุกสนาน บอกความ
เกี่ยวข้องของเพลงที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เล่าถึงเพลงในท้องถิ่น ระบุสิ่ง
ที่ช่ น
ื ชอบในดนตรีท้องถิ่น
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
ศึกษาความเป็ นมา องค์ประกอบของนาฏศิลป์ ประกอบการ
เคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะต่างๆ ภาษาท่า การเลียนแบบธรรมชาติ
การเลียนแบบคน สัตว์ สิง่ ของ เป็ นการแสดงท่าทางง่ายๆ เพื่อสื่อ
ความหมายแทนคำพูด
แสดงความชื่นชม ชื่นชอบในทางนาฏศิลป์ และการเป็ นผูช
้ มที่ดี
ในการชมท่านาฏศิลป์ ไทย และนาฏศิลป์ พื้นบ้าน

รหัสตัวชีว
้ ัด
ศ๑.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕
ศ๑.๒ ป.๑/๑
ศ๒.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕
ศ๒.๒ ป.๑/๑,ป.๑/๒
6
6
ศ๓.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒, ป.๑/๓
ศ๓.๒ ป.๑/๑,ป.๑/๒

รวม ๑๘ ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๒
เวลา ๘๐ ชั่วโมง/ปี

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
ศึกษารูปร่าง รูปทรงที่พบเห็นในธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม
ระบุทัศนธาตุที่อยู่ในสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่องเส้น
สี รูปร่าง และรูปทรง สร้างงานทัศนศิลป์ ต่างๆ โดยใช้ทัศนธาตุที่เน้น
เส้น รูปร่าง มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์
๓ มิติ สร้างภาพปะติดโดยการตัด หรือฉีกกระดาษ วาดภาพเพื่อ
6
7
ถ่ายทอดเรื่องราวของครอบครัวตนเอง และเพื่อนบ้าน เลือกงาน
ทัศนศิลป์ และบรรยายถึงสิ่งที่มองเห็นรวมถึงเนื้อหา เรื่องราว
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ เป็ นรูปแบบงานโครงสร้างเคลื่อนไหว บอก
ความสำคัญของงานทัศนศิลป์ ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน อภิปรายเกี่ยว
กับงานทัศนศิลป์ ประเภทต่างๆ ในท้องถิ่น โดยเน้นถึงวิธีการสร้างงาน
และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้
สาระที่ ๒ ดนตรี
จำแนกแหล่งกำเนิดของเสียงที่ได้ยิน จำแนกคุณสมบัติของเสียง
สูง-ต่ำ ดัง-เบา ยาว-สัน
้ ของดนตรี เคาะจังหวะ หรือเคลื่อนไหว
ร่างกายให้สอดคล้องกับเนื้อหาของเพลง ร้องเพลงง่ายๆ ที่เหมาะสม
กับวัย บอกความหมาย และความสำคัญของเพลงที่ได้ยิน บอกความ
สัมพันธ์ของเสียงร้อง เสียงเครื่องดนตรีในเพลงท้องถิ่นโดยใช้คำง่ายๆ
แสดงและเข้าร่วมกิจกรรมทางดนตรีในท้องถิ่น
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
ศึกษาองค์ประกอบของนาฏศิลป์ ไทย และนาฏศิลป์ พื้นบ้าน เพื่อ
ประกอบการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างมีรูปแบบ ตามภาษาท่า นาฏย
ศัพท์ในทางนาฏศิลป์ เพื่อสื่อความหมาย และแสดงท่าทางประกอบ
อย่างสร้างสรรค์ มีมารยาทในการชม การแสดงด้วยความภาคภูมิใจอยู่
ในสังคมอย่างมีความสุข

รหัสตัวชีว
้ ัด
ศ๑.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔,ป.๒/๕,ป.๒/๖,ป.๒/๗,ป.๒/๘
ศ๑.๒ ป.๒/๑,ป.๒/๒
ศ๒.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔,ป.๒/๕
ศ๒.๒ ป.๒/๑,ป.๒/๒
ศ๓.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓
6
8
ศ๓.๒ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓

รวม ๒๕ ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๓
เวลา ๘๐ ชั่วโมง/ปี

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
บรรยายรูปร่าง รูปทรง ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงานทัศน
ศิลป์ ระบุวัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้สร้างผลงาน เมื่อชมงานศิลป์ จำแนก
ทัศนธาตุของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์
โดยเน้นเรื่องเส้น สี รูปร่าง รูปทรง และพื้นผิว วาดภาพระบายสีสิ่ง
ที่อยู่รอบตัวมีทักษะพื้นฐานการใช้วัสดุอุปกรณ์ สร้างสรรค์งานปั ้ น วาด
ภาพ
ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดจากเหตุการณ์ชีวิตจริง โดยใช้เส้น รูป
ร่าง รูปทรง สี และพื้นผิว บรรยายเหตุผล และวิธีการในการ
6
9
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยเน้นถึงเทคนิค และวัสดุ อุปกรณ์
ระบุสิ่งที่ช่ น
ื ชม และสิง่ ที่ควรปรับปรุงในงานทัศนศิลป์ ของตนเอง ระบุ
และจัดกลุ่มของภาพ ตามทัศนธาตุที่เน้นในงานทัศนศิลป์ นัน
้ ๆ
บรรยายลักษณะ รูปร่าง รูปทรง ในการออกแบบสิง่ ต่างๆ ที่มีในบ้าน
และโรงเรียน เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น อธิบายเกี่ยวกับ
วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีสร้างงานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น
สาระที่ ๒ ดนตรี
ระบุรูปร่างลักษณะของเครื่องดนตรีที่เห็น และได้ยินในชีวิต
ประจำวัน ใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์แทนเสียง และจังหวะเคาะ
บอกบทบาทหน้าที่ของเพลงที่ได้ยิน ขับร้อง และบรรเลงดนตรีแบบ
ง่ายๆ เคลื่อนไหวท่าทางสอดคล้องกับอารมณ์ของเพลงที่ฟัง แสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงขับร้องของตนเอง และผู้อ่ น
ื นำ
ดนตรีไปใช้ในชีวิตประจำวัน หรือโอกาสต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ระบุ
ลักษณะเด่น และเอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น ระบุความสำคัญ
และประโยชน์ของดนตรีต่อการดำเนินชีวิตของคนในท้องถิ่น
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
เข้าใจองค์ประกอบหลัก และวิธีการปฏิบัติทางนาฏศิลป์ ไทย
และนาฏศิลป์ พ้น
ื บ้าน โดยเน้นการแสดงท่าทางประกอบตามรูปแบบ
นาฏศิลป์ การฝึ กท่าทางนาฏยศัพท์ในรูปแบบต่างๆ รำวงมาตรฐาน
เพลงพระราชนิพนธ์ สถานการณ์ต่างๆ รวมถึงการเน้นผู้แสดง ผู้ชมที่
ดี มีความชื่นชอบ และตระหนักถึงคุณค่านาฏศิลป์ ไทย และนาฏศิลป์
พื้นบ้าน

รหัสตัวชีว
้ ัด
7
0
ศ๑.๑
ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕,ป.๓/๖,ป.๓/๗,ป.๓/๘,ป.๓/๙,ป.๓
/๑๐
ศ๑.๒ ป.๓/๑,ป.๓/๒
ศ๒.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕,ป.๓/๖,ป.๓/๗
ศ๒.๒ ป.๓/๑,ป.๓/๒
ศ๓.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕
ศ๓.๒ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓

รวม ๒๙ ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๑๔๑๐๑ ทัศนศิลป์ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๔
เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ปี

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
ศึกษาเกี่ยวกับเส้นสี รูปร่าง รูปทรงพื้นผิว และพื้นที่ว่างใน
ธรรมชาติ โดยจำแนกทัศนธาตุ ของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติ
ฝึ กทักษะเกี่ยวกับเส้นสี รูปร่าง รูปทรงพื้นผิว และพื้นที่ว่างโดย
เน้นเรื่องเส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว และพื้นที่ว่างให้มีทักษะพื้น
ฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างสรรค์ผลงาน
มีความประณีต พอใจ และเห็นคุณค่าของงานทัศนศิลป์ ในท้อง
ถิ่น มีความชื่นชมเกี่ยวกับลวดลายพื้นบ้านของท้องถิ่นในอดีตจนถึง
ปั จจุบัน
7
1

รหัสตัวชีว
้ ัด
ศ๑.๑
ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓,ป.๔/๔,ป.๔/๕,ป.๔/๖,ป.๔/๗,ป.๔/๘,ป.๔/๙
ศ๑.๒ ป.๔/๑,ป.๔/๒

รวม ๑๑ ตัวชีว
้ ัด
7
2

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๑๔๑๐๒ดนตรีและนาฏศิลป์ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ศิลปะ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๔
เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ปี

สาระที่ ๒ ดนตรี
ศึกษาโครงสร้างของบทเพลง ประเภทของเครื่องดนตรี การ
เคลื่อนที่ของทำนอง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีไทย ดนตรี
สากล เข้าใจความหมายเนื้อหาของบทเพลง มีความรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิต
ของคนไทย และคนในท้องถิ่นที่สะท้อนออกมาทางผลงานด้านดนตรี
ขับร้องเพลงด้วยประโยคเพลงอย่างง่าย ในช่วงเสียงที่เหมาะสม
อ่านเขียนโน้ตดนตรีไทย และสากล ใช้และเก็บเครื่องดนตรีอย่างถูกวิธี
ตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์ดนตรีไทย และดนตรีพ้น

บ้าน
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
ศึกษาหลักและวิธีการในการใช้ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทย และ
นาฏศิลป์ พ้น
ื บ้านในการดำเนินเรื่องราวการแสดงต่างๆ อย่างสอดคล้อง
กับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น ประเพณี วัฒนธรรม อย่างถูกต้อง
สวยงาม
7
3
โดยยึดหลักการปฏิบัติตามมาตรฐานของนาฏศิลป์ ไทย และ
เห็นคุณค่าของความเป็ นเอกลักษณ์ไทยรวมไปถึงเอกลักษณ์ของท้องถิ่น
พื้นบ้าน และนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำอย่างมีคุณค่า

รหัสตัวชีว
้ ัด
ศ๒.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓,ป.๔/๔,ป.๔/๕,ป.๔/๖,ป.๔/๗
ศ๒.๒ ป.๔/๑,ป.๔/๒
ศ๓.๑ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓,ป.๔/๔,ป.๔/๕
ศ๓.๒ ป.๔/๑,ป.๔/๒,ป.๔/๓,ป.๔/๔

รวม ๑๘ ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
7
4
ศ๑๕๑๐๑ ทัศนศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๕
เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ปี

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
ศึกษาเกี่ยวกับการปั ้ นดินน้ำมัน หรือดินเหนียวพื้นบ้าน เพื่อ
ถ่ายทอดตามจินตนาการ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ผลงาน
ฝึ กทักษะการปั ้ นจากดินน้ำมัน หรือดินเหนียวพื้นบ้าน ตาม
จินตนาการ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ผลงานให้มีทักษะพื้นฐานใน
การปั ้ น
มีความชื่นชมผลงานเกี่ยวกับการปั ้ น และถ่ายทอดความรู้สึกตาม
จินตนาการ และเห็นคุณค่าของดินเหนียวพื้นบ้านในท้องถิ่นสามารถนำ
มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

รหัสตัวชีว
้ ัด
ศ๑.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕,ป.๕/๖,ป.๕/๗
ศ๑.๒ ป.๕/๑,ป.๕/๒
รวม ๙ ตัวชีว
้ ัด
7
5

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๑๕๑๐๒ ดนตรีและนาฏศิลป์ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๕
เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ปี

สาระที่ ๒ ดนตรี
ศึกษาองค์ประกอบดนตรี ลักษณะของเสียงขับร้อง เสียงดนตรี
และระดับเสียง ฝึ กอ่าน เขียนโน้ตไทย สากล และพื้นเมือง รู้จักใช้
เครื่องดนตรีบรรเลงจังหวะ และทำนอง สามารถขับร้องเพลงไทย
7
6
สากล และพื้นเมือง ด้นสดง่ายๆ โดยใช้ประโยคเพลงแบบถามตอบ
พร้อมกับการใช้ดนตรีร่วมกับกิจกรรมในการแสดงออกตามจินตนาการ
อย่างอิสระ สร้างสรรค์ เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
ศึกษาประวัติความเป็ นมา และองค์ประกอบของนาฏศิลป์
คุณค่าทางนาฏศิลป์ ไทย และความเป็ นมาของนาฏศิลป์ พื้นบ้าน การ
ใช้ท่าทางของนาฏศิลป์ ไทย และนาฏศิลป์ พ้น
ื บ้าน ในการสื่อสาร เพื่อ
การเคลื่อนไหวอย่างสง่างาม
การสืบทอดงานนาฏศิลป์ ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม ประเพณี
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
เพื่อให้มค
ี วามรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการปฏิบัติการแสดงออก
ทางนาฏศิลป์ อย่างมีรูปแบบ เข้าใจ ระหว่างนาฏศิลป์ ไทย กับ
นาฏศิลป์ พ้น
ื บ้านอันเป็ นมรดกทางวัฒนธรรม และถ่ายทอดความรู้สึก
ความคิดอย่างอิสระ กล้าแสดงออก ชื่นชม เห็นคุณค่าในความเป็ น
ศิลปวัฒนธรรมไทย

รหัสตัวชีว
้ ัด
ศ๒.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕,ป.๕/๖,ป.๕/๗
ศ๒.๒ ป.๕/๑,ป.๕/๒
ศ๓.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕
ศ๓.๒ ป.๕/๑,ป.๕/๒

รวม ๑๖ ตัวชีว
้ ัด
7
7

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๑๖๑๐๑ ทัศนศิลป์ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๖
เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ปี

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
ศึกษาเกี่ยวกับวงสีธรรมชาติ และสีคู่ตรงข้าม โดยใช้หลักการจัด
ขนาดสัดส่วนความสมดุลในงานทัศนศิลป์
ฝึ กทักษะสร้างงานทัศนศิลป์ จากรูปแบบ ๒ มิติ เป็ น ๓ มิติ โดย
ใช้หลักการของแสงเงา และน้ำหนัก การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดย
ใช้สีคู่ตรงข้าม หลักการจัดขนาดสัดส่วน และความสมดุล และภาพ
ประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด หรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ
รักและชื่นชมในผลงาน สืบทอดวัฒนธรรมอันเป็ นมรดกของชาติ
7
8

รหัสตัวชีว
้ ัด
ศ๑.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,ป.๖/๔,ป.๖/๕,ป.๖/๖
ศ๑.๒ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,ป.๖/๔,ป.๖/๕,ป.๖/๖,ป.๖/๗

รวม ๑๓ ตัวชีว
้ ัด
7
9

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๑๖๑๐๒ ดนตรีและนาฏศิลป์ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๖
เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ปี

สาระที่ ๒ ดนตรี
ศึกษาองค์ประกอบดนตรี และศัพท์สังคีต จำแนกประเภทและ
บทบาทหน้าที่เครื่องดนตรีไทย และเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม
ต่างๆ อ่าน เขียนโน้ตไทย สากล และพื้นบ้านทำนองง่ายๆ สามารถ
ใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลง ด้นสดที่มีจังหวะและ
ทำนองง่ายๆ บรรยายความรู้สึกที่มีต่อดนตรี แสดงความคิดเห็นเกี่ยว
กับทำนอง จังหวะการประสานเสียง และคุณภาพเสียงของเพลงที่ฟัง
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
ศึกษาประวัติความเป็ นมา องค์ประกอบของนาฏศิลป์ ไทย และ
นาฏศิลป์ พ้น
ื บ้าน ในรูปแบบต่างๆ การใช้ท่าทางประกอบท่ารำ เพลง
ปลุกใจ รำวงมาตรฐาน การแสดงพื้นบ้าน ระบำ รำ ฟ้ อน ละคร
สร้างสรรค์อย่างสง่างาม สืบทอดงานนาฏศิลป์ ให้สอดคล้องกับ
วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างมีรูปแบบ
ถ่ายทอดความรู้สึก กล้าแสดงออก เกิดความรักความชื่นชมในงาน
นาฏศิลป์ และนำมาใช้กับวิชาอื่นๆ อย่างมีคณ
ุ ค่า

รหัสตัวชีว
้ ัด
8
0
ศ๒.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,ป.๖/๔,ป.๖/๕,ป.๖/๖
ศ๒.๒ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓
ศ๓.๑ ป.๖/๑,ป.๖/๒,ป.๖/๓,ป.๖/๔,ป.๖/๕,ป.๖/๖
ศ๓.๒ ป.๖/๑,ป.๖/๒

รวม ๑๗ ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๒๑๑๐๑ ศิลปะ๑ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะ
8
1
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาค
เรียนที่ ๑
เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน
๑.๐ หน่วยกิต
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
ศึกษาความแตกต่าง และความคล้ายคลึงกันของทัศนธาตุในงาน
ทัศนศิลป์ หลักการออกแบบโดยเน้นความเป็ นเอกภาพ ความ
กลมกลืน ความสมดุล หลักการวาดภาพ แสดงทัศนียภาพระยะไกล
ใกล้เป็ น ๓ มิติ เอกภาพความกลมกลืนของเรื่องราวในงานปั ้ น หรือ
งานสื่อผสม งานทัศนศิลป์ รูปแบบงานทัศนศิลป์ ของชาติ และท้อง
ถิ่น
ฝึ กทักษะการวาดภาพ แสดงทัศนียภาพให้เห็นระยะไกล ใกล้
เป็ น ๓ มิติ สามารถสื่อถึงเรื่องราวของงานปั ้ นโดยใช้เทคนิคต่างๆ ให้
สื่อถึงการบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ โดยเน้นความเป็ นเอกภาพ ความ
กลมกลืน ความสมดุล
เห็นคุณค่า และความสำคัญของงานทัศนศิลป์ และนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประวันได้
สาระที่ ๒ ดนตรี
ศึกษาเครื่องหมาย และสัญลักษณ์ ในการบันทึกโน้ตดนตรีไทย
ดนตรีสากล เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจาก
วัฒนธรรมต่างกัน ศึกษาการขับร้องเพลงไทยเดิม เพลงพื้นบ้าน การจัด
ประเภทของวงดนตรีไทย และวงดนตรีพ้น
ื บ้าน อธิบายบทบาทของ
ดนตรีไทย ดนตรีพ้น
ื บ้านที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย และสังคมในท้อง
ถิ่น ระบุความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรมที่แตก
ต่างกัน
8
2
อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทย ขับร้องเพลงไทยเดิม เพลงพื้นบ้าน
ประกอบการบรรเลงเครื่องดนตรีไทย หรือเครื่องดนตรีพ้น
ื บ้าน จำแนก
ความเหมือน และความแตกต่างระหว่างองค์ประกอบของดนตรีไทยกับ
ดนตรีพ้น
ื บ้าน
เห็นคุณค่าและความสำคัญของการบันทึกโน้ตดนตรีไทย การ
อนุรักษ์บทเพลงไทยเดิม บทเพลงพื้นบ้าน ตระหนักถึงความหมาย
และความสำคัญของบทเพลงปลุกใจ บทบาทของดนตรีไทยที่มีอิทธิพล
ต่อสังคมไทย บทบาทของดนตรีพ้น
ื บ้านที่มีอิทธิพลต่อสังคมในท้องถิ่น
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
ศึกษาประวัตินักแสดงที่ช่ น
ื ชอบ และอิทธิพลของนักแสดงที่มีผล
ต่อพฤติกรรมของผู้ชม ความสำคัญของภาษาท่า ระบำเบ็ดเตล็ด และ
รำวงมาตรฐาน โดยใช้กระบวนการ รูปแบบทางนาฏศิลป์ พ้น
ื บ้าน
และนาฏศิลป์ ไทย เห็นคุณค่าการแสดงนาฏศิลป์ และนำไปประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำวัน

รหัสตัวชีว
้ ัด
ศ๑.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔
ศ๑.๒ ม.๑/๑
ศ๒.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔
ศ๒.๒ ม.๑/๑
ศ๓.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓
รวม ๑๓ ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
8
3
ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑
ภาคเรียนที่ ๒
เวลา ๔๐ชั่วโมง/ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
ศึกษางานออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรือกราฟิ กอื่นๆ ใน
การนำเสนอความคิดและข้อมูล ประเมินงานทัศนศิลป์ และบรรยาย
ถึงวิธีการปรับปรุงงานของตนเอง เปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ ของภาค
ต่างๆ ในประเทศไทย
ฝึ กทักษะการออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรือกราฟิ กอื่นๆ
ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกที่ได้จากการออกแบบ และนำเสนองาน
ทัศนศิลป์ บรรยายถึงวิธีการปรับปรุงงานของตนเอง
เห็นคุณค่า และความสำคัญของงานทัศนศิลป์ มีความภาคภูมิใจ
กับผลงานที่ฝึกปฏิบัติ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
สาระที่ ๒ ดนตรี
ศึกษา เปรียบเทียบการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลงที่มีความช้า
- เร็ว และความดัง - เบาต่างกัน เข้าใจในหลักเกณฑ์สำหรับประเมิน
คุณภาพของบทเพลงที่ฟัง มีความรู้ในเรื่องบทบาทและอิทธิพลของ
ดนตรีในสังคม
นำเสนอตัวอย่างบทเพลงที่ตนชื่นชอบ ประเมินคุณภาพงาน
ดนตรีด้วยเกณฑ์ที่เหมาะสม และรู้จักวิธีการในการบำรุงรักษาเครื่อง
ดนตรีของตน
8
4
ตระหนักถึงความสำคัญของบทบาทของดนตรีที่มีอิทธิพลต่อ
สังคมไทย และสังคมในท้องถิ่น
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
ศึกษาบทบาทและหน้าที่ของฝ่ ายต่างๆ ในการจัดการแสดง
นาฏศิลป์ พ้น
ื บ้าน และนาฏศิลป์ ไทย วิเคราะห์หลักเกณฑ์ง่ายๆ ที่
กำหนดให้ในการใช้เสียงวัดการแสดงท่า และการเคลื่อนไหว แสดงท่า
รำเบื้องต้นของนาฏศิลป์ พ้น
ื บ้าน และนาฏศิลป์ ไทยได้อย่างชื่นชม และ
ตระหนักให้เห็นถึงคุณค่า และนำไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน

รหัสตัวชีว
้ ัด
ศ๑.๑ ม.๑/๕,ม.๑/๖,
ศ๑.๒ ม.๑/๒
ศ๒.๑ ม.๑/๕,ม.๑/๖,ม.๑/๗,ม.๑/๘,ม.๑/๙
ศ ๒.๒ ม.๑/๒
ศ ๓.๑ ม.๑/๔,ม.๑/๕
ศ๓.๒ ม.๑/๑,ม.๑/๒

รวม ๑๓ ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
8
5
ศ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ภาคเรียนที่ ๑
เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน
๑.๐ หน่วยกิต

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
ศึกษา และอภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุ ในด้านรูปแบบของทัศน
ศิลป์ ความเหมือน และความแตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุ
อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ ของศิลปิ น วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลาย
ในการสื่อความหมาย และเรื่องราวต่างๆ สร้างเกณฑ์ในการประเมิน
และวิจารณ์งานทัศนศิลป์ วัฒนธรรมในแต่ละยุคสมัย การออกแบบ
งานทัศนศิลป์ ในวัฒนธรรมไทย และสากล
ฝึ กทักษะการวาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความ
หมาย และเรื่องราวต่างๆ บรรยายเกี่ยวกับความเหมือน และความ
แตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ ของศิลปิ น
โดยมีเกณฑ์ในการประเมิน และวิจารณ์งานทัศนศิลป์
เห็นคุณค่าของงานทัศนศิลป์ มีความชื่นชมในงานผลงานที่ฝึก
ปฏิบัติ นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
สาระที่ ๒ ดนตรี
ศึกษาประวัติความเป็ นมาของดนตรีพ้น
ื บ้าน ที่มีบทบาทและ
อิทธิพลวัฒนธรรม และเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น เข้าใจ
องค์ประกอบของดนตรี
อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทย และโน้ตสากล
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
8
6
อธิบายการบูรณาการศิลปะแขนงอื่นๆ กับการแสดง
สร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์ และการละคร
เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงนาฏศิลป์ การละครพื้นบ้าน
และสากล มีความตระหนักและเห็นคุณค่าทางนาฏศิลป์ และนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

รหัสตัวชีว
้ ัด
ศ๑.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔
ศ๑.๒ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓
ศ๒.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓
ศ๒.๒ ม.๒/๑
ศ ๓.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔

รวม ๑๕ ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๒๒๑๐๒ ศิลปะ ๔ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ภาคเรียนที่ ๒
8
7
เวลา๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
ศึกษา และอภิปรายเกี่ยวกับภาพวาดแสดงบุคลิกลักษณะของตัว
ละคร บรรยายวิธีการใช้งานทัศนศิลป์ ในการโฆษณา และนำเสนอ
ตัวอย่างประกอบ การจัดทำแฟ้ มสะสมงานทัศนศิลป์ การออกแบบ
งานทัศนศิลป์ ในวัฒนธรรมไทย และสากล
ฝึ กทักษะการวาดภาพ บุคลิกลักษณะของตัวละคร การโฆษณา
งานทัศนศิลป์ และรวบรวมผลงานจัดทำแฟ้ มสะสมงานทัศนศิลป์ เพื่อ
พัฒนางานทัศนศิลป์ ต่อไป
ตระหนัก เห็นคุณค่าความสำคัญของงานทัศนศิลป์ และนำไปใช้
ในการดำรงชีวิตประจำวันได้
สาระที่ ๒ ดนตรี
พัฒนาการทักษะทางดนตรีพ้น
ื บ้าน บรรยายอารมณ์ของเพลง
และแสดงความรู้สึก ระบุปัจจัย และงานอาชีพต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
ดนตรีพ้น
ื บ้านในธุรกิจบันเทิง ร้องเพลง เล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง
โดยใช้โน้ตไทย และโน้ตสากล
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
วิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ การละครกับสาระการ
เรียนรู้อ่ น
ื เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์ พื้นบ้าน
นาฏศิลป์ ไทย จากวัฒนธรรมต่างๆ ระบุหรือแสดงนาฏศิลป์ พื้นบ้าน
ละครพื้นบ้าน ละครไทย หรือมหรสพอื่นที่เคยนิยมกันในอดีต มีความ
ตระหนัก และเห็นคุณค่าทางนาฏศิลป์ และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
ประจำวัน
8
8
รหัสตัวชีว
้ ัด
ศ.๑.๑ ม.๒/๕,ม.๒/๖,ม.๒/๗
ศ๑.๒ ม.๒/๓
ศ๒.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๔,ม.๒/๖
ศ๓.๑ ม.๒/๕
ศ๓.๒ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓

รวม ๑๒ ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ศิลปะ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓
ภาคเรียนที่ ๑
เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
8
9
ศึกษา และบรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ หลักการ
ออกแบบ เทคนิควิธีการของศิลปิ นในการสร้างงาน วิเคราะห์ วิธีการ
ใช้ทัศนธาตุ การสร้างงานทัศนศิลป์ ทัง้ ไทย และสากล สร้างงานทัศน
ศิลป์ ทัง้ ๒ มิติ และ ๓ มิติ ผสมผสานวัสดุต่างๆ ในการสร้างงาน
ทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์ กับการสะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม
ฝึ กทักษะ หลักการออกแบบเทคนิค วิธีการของศิลปิ นในการ
สร้างงาน ผสมผสานนำวัสดุต่างๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ ให้
สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมของท้องถิ่น
มีความภูมิใจต่องานทัศนศิลป์ และเห็นคุณค่าของงานทัศนศิลป์
ในอดีตจนถึงปั จจุบัน
สาระที่ ๒ ดนตรี
ศึกษา เปรียบเทียบองค์ประกอบดนตรี และงานศิลปะอื่น ใน
การสร้างสรรค์งานดนตรี อธิบายวิวัฒนาการ ลักษณะเด่น และ
อิทธิพลของดนตรีพ้น
ื บ้านที่มีต่อบุคคล และท้องถิ่น เทคนิคการร้อง
การเล่นการแสดงออก และคุณภาพเสียง
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
ระบุโครงสร้าง และองค์ประกอบของบทละคร โดยใช้ศัพท์
ทางการละคร ใช้นาฏยศัพท์ หรือศัพท์ทางการละคร นาฏศิลป์ พ้น

บ้าน นาฏศิลป์ ไทยที่เหมาะสมกับการแสดง แสดงละครพื้นบ้าน
ละครไทย แบบเดี่ยว หมู่ เป็ นตอน โดยมีการพัฒนารูปแบบการ
แสดง แสดงท่าทางที่ใช้ในการประดิษฐ์ท่ารำ มีความตระหนักถึง
คุณค่าทางนาฏศิลป์ และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

รหัสตัวชีว
้ ัด
ศ๑.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔,ม.๓/๕,ม.๓/๖
9
0
ศ๑.๒ ม.๓/๑
ศ๒.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๕
ศ๒.๒ ม.๓/๑,ม.๓/๒
ศ๓.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔,ม.๓/๕

รวม ๑๖ ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓
ภาคเรียนที่ ๒
เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
ศึกษางานทัศนศิลป์ สื่อความหมายเป็ นเรื่องราว โดยประยุกต์ใช้
ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ วิเคราะห์ และอภิปรายรูปแบบ
เนื้อหา และคุณค่าในงานทัศนศิลป์ ของตนเอง และผู้อ่ น
ื การใช้
9
1
เทคนิค วิธีการที่หลากหลายสร้างงานทัศนศิลป์ เพื่อสื่อความหมาย
การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป์ และจัดนิทรรศการตามความเหมาะ
สม
ฝึ กทักษะงานทัศนศิลป์ สื่อความหมายเป็ นเรื่องราว และวิธีการ
ที่หลากหลายในการสร้างงานทัศนศิลป์ เป็ นแนวทางในการประกอบ
อาชีพต่อไป
เห็นคุณค่าของงานทัศนศิลป์ คุณประโยชน์ และสามารถนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
สาระที่ ๒ ดนตรี
ศึกษา เปรียบเทียบความแตกต่างของบทเพลง ร้องเพลง เล่น
ดนตรีเดี่ยว และรวมวง แต่งเพลงสัน
้ ๆ จังหวะง่ายๆ นำเสนอ หรือ
จัดการแสดงดนตรีที่เหมาะสมโดยการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อ่ น

ในกลุ่มศิลปะ
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
วิเคราะห์การจัดงานการแสดง ประเภทของงาน และประโยชน์
คุณค่าของการแสดงในบทบาทหน้าที่ต่างๆ นำเสนอแนวคิดจากเนื้อ
เรื่องของการแสดงนาฏศิลป์ พื้นบ้าน และนาฏศิลป์ ไทย ออกแบบและ
สร้างสรรค์อุปกรณ์ เพื่อแสดงนาฏศิลป์ จากวัฒนธรรมต่างๆ แสดง
บทบาท และการอนุรักษ์ นาฏศิลป์ พ้น
ื บ้าน และนาฏศิลป์ ไทย มี
ความตระหนัก และเห็นคุณค่าทางนาฏศิลป์ และนำไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน

รหัสตัวชีว
้ ัด
ศ๑.๑ ม.๓/๗,ม.๓/๘,ม.๓/๙,ม.๓/๑๐,ม.๓/๑๑
ศ.๑.๒ ม.๓/๒
9
2
ศ๒.๑ ม.๓/๒,ม.๓/๓,ม.๓/๔,ม.๓/๕,ม.๓/๖
ศ๓.๑ ม.๓/๖,ม.๓/๗
ศ๓.๒ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓

รวม ๒๑ ตัวชีว
้ ัด

โครงสร้างรายวิชาศิลปะ
รหัสวิชา ศ ๑๑๑๐๑ ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๑
เวลา ๘๐ ชั่วโมง

สาระทัศนศิลป์ (๔๐ ชั่วโมง)


น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดับ ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
ที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ พื้นฐานงานศิลป์ ศ๑.๑ - ลักษณะของ ๑๖
ป.๑/๑, เครื่องปั ้ นดินเผา
ป.๑/๓ - รูปร่าง
- ขนาด
- ลักษณะ
9
3
- วัสดุจาก
ธรรมชาติ
- วัสดุที่มนุษย์
สร้างขึน

- อุปกรณ์ที่ใช้ใน
งานทัศนศิลป์
๒ สร้างสรรค์ด้วย ศ๑.๑ - ทดลองสีเทียน ๑๖
สี ป.๑/๒, - ทดลองสีจาก
ป.๑/๔, ธรรมชาติ
ป.๑/๕ - ทดลองสีน้ำ
- ทดลองสี
โปสเตอร์
๓ ศิลปะกับชีวิต ศ๑.๒ - วัฒนธรรมไทย ๘
ประจำวัน ป.๑/๑ อีสาน
- การแต่งกาย
- การดำรงชีวิต
9
4

สาระที่ ๒ ดนตรี (๒๐ ชั่วโมง)


น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดับ ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
ที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ กำเนิดเสียง ศ๒.๑ - เสียงจาก ๒
ป.๑/๑ ธรรมชาติ
- แหล่งกำเนิดของ
เสียง
- สีสันของเสียง
๒ ลักษณะของ ศ๒.๑ - เสียงดัง-เบา ๔
เสียง ป.๑/๒ - อัตราความเร็ว
ของจังหวะ
๓ ร้องเพลงง่ายๆ ศ๒.๑ - ร้องเพลง ๔
ป.๑/๓ ประกอบจังหวะ
๔ สนุกเคลื่อนไหว ศ๒.๑ - ร้องเพลง ๔
ป.๑/๔ - เคลื่อนไหวใน
9
5
บทเพลง
- เคาะจังหวะ
๕ เพลงสำคัญ ศ๒.๑ - เพลงกล่อมเด็ก ๔
ป.๑/๕ - เพลงประกอบ
การละเล่น
- เพลงชาติไทย
- เพลงสรรเสริญ
พระบารมี
๖ ภูมิใจในเพลง ศ๒.๒ - ประวัติ ๒
ท้องถิ่น ป.๑/๑, บทเพลงพื้นบ้าน
ม.๑/๒ - สิ่งที่ช่ น
ื ชอบใน
บทเพลงพื้นบ้าน
9
6

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๒๐ ชั่วโมง)


น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดับ ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
ที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ การเคลื่อนไหว ศ๓.๑ - การเลียนแบบ ๔
อย่างอิสระ ป.๑/๑ ธรรมชาติ
- การเลียนแบบ
คน สัตว์ สิ่งของ
๒ ภาษาท่าสื่อ ศ๓.๑ - การประดิษฐ์ ๘
ความหมาย ป.๑/๒ ท่าประกอบเพลง
- การแสดง
ประกอบเพลง
เกี่ยวกับธรรมชาติ
๓ มารยาทในการ ศ๓.๑ - การเป็ นผู้ชมที่ดี ๒
ชมการแสดง ป.๑/๓
๔ การละเล่นของ ศ๓.๒ - วิธีการเล่น ๓
ไทย และพื้น ป.๑/๑ - กติกา
บ้าน
๕ การแสดงที่ ศ๓.๒ - การแสดง ๓
9
7
ชื่นชม ม.๑/๒ นาฏศิลป์
- การแสดงออก
อย่างสร้างสรรค์

รวมตลอดปี การศึกษา ๘๐
9
8
โครงสร้างรายวิชาศิลปะ
รหัสวิชา ศ ๑๒๑๐๑ ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๒
เวลา ๘๐ ชั่วโมง

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ (๔๐ ชั่วโมง)


น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดับ ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
ที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ ศิลปะกับเส้น ศ๑.๑ - เส้นและความ ๑๐
ป.๒/๑ รู้สึก
ป.๒/๒,ป. ของเส้น
๒/๓ - รูปร่าง รูปทรง
ขนาด สัดส่วน
๒ พื้นฐานงาน ศ๑.๑ - การใช้วัสดุ - ๑๐
ศิลปะ ป.๒/๔ อุปกรณ์สร้างงาน
ป.๒/๕, ทัศนศิลป์
ศ๑.๒ - เทคนิคการสร้าง
ป.๒/๒ งานทัศนศิลป์
๓ วาดภาพด้วย ศ๑.๑ - ภาพจาก ๑๐
จินตนาการ ป.๒/๖ ประสบการณ์
ป.๒/๗,ป. - ภาพจากการฟั ง
๒/๘ นิทาน
- ภาพ
ขนบธรรมเนียม
9
9
ประเพณีท้องถิ่น
๔ ศิลปะกับชีวิต ศ๑.๒ - วัฒนธรรมของ ๑๐
ประจำวัน ป.๒/๑ ไทยอีสาน
- การแต่งกาย
- การดำรงชีวิต

สาระที่ ๒ ดนตรี (๒๐ ชั่วโมง)


ลำดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา( น้ำ
1
0
หนั
การเรียน 0
ชั่วโม ก
ที่ เรียนรู้ รู้/ตัวชี ้
ง) คะแ
วัด
นน
๑ เสียงที่ได้ยิน ศ๒.๑ - เสียงเครื่อง ๒
ป.๒/๑ ดนตรี
- เสียงของ
มนุษย์
๒ สำเนียงจำแนก ศ๒.๑ - จำแนกเสียง ๒
ป.๒/๒ สูง-ต่ำ
- จำแนกเสียง
ดัง-เบา
- จำแนกเสียง
ยาว-สัน

๓ เคลื่อนไหวไป ศ๒.๑ - เคลื่อนไหว ๓
กับเพลง ป.๒/๓ ประกอบเพลง
- เคาะจังหวะ
ประกอบเพลง
๔ ฝึ กหัดร้องเพลง ศ๒.๑ - การขับร้อง ๓
ป.๒/๔ เพลงง่ายๆ
- การขับร้อง
เพลงพื้นบ้าน
๕ บทเพลงมี ศ๒.๑ - เพลงปลุกใจ ๒
ความหมาย ม.๒/๕ - เพลงสอนใจ
๖ เพลงพื้นบ้าน ศ๒.๒ - เสียงร้องเพลง ๔
1
0
ม.๒/๑ พื้นบ้าน
1
- เครื่องดนตรีที่
ใช้ในเพลงพื้น
บ้าน
๗ การแสดง ศ๒.๒ - ดนตรีกับ ๔
ดนตรี ม.๒/๒ โอกาสสำคัญ
ในท้องถิ่น
1
0
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๒๐ ชั่วโมง)
2
น้ำ
มาตรฐา
เวลา( หนั
ลำดั ชื่อหน่วยการ นการ
สาระสำคัญ ชั่วโม ก
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/
ง) คะแ
ตัวชีว
้ ัด
นน
๑ การเคลื่อนไหว ศ๓.๑ - การนั่ง ๒
ร่างกายอย่างมี ป.๒/๑ - การยืน
รูปแบบ - การเดินอย่างมี
รูปแบบทาง
นาฏศิลป์ ไทย
และนาฏศิลป์
พื้นบ้าน
๒ การประดิษฐ์ ศ๓.๑ - การประดิษฐ์ ๒
ท่าทางเลียน ป.๒/๑, ท่าการ
แบบธรรมชาติ ป.๒/๒ เคลื่อนไหวอย่าง
มีรูปแบบ
๓ การแสดงความ ศ๓.๑ - เพลงเกี่ยวกับ ๒
เคลื่อนไหว ป.๒/๒, สิ่งแวดล้อม
อย่างอิสระ ป.๒/๓
๔ การแสดง ศ๓.๑ - หลักวิธีการ ๒
ท่าทางเพื่อสื่อ ป.๒/๓ ปฏิบัตินาฏศิลป์
ความหมาย ไทย และพื้น
แทนคำพูด บ้าน
๕ ภาษาท่า ศ๓.๑ - ฝึ กท่าทาง ๔
1
0
นาฏยศัพท์ ป.๒/๔ ภาษาท่าทาง
3
ประกอบ นาฏศิลป์ ไทย
จังหวะอย่าง และนาฏศิลป์
สร้างสรรค์ พื้นบ้าน
๖ มารยาทในการ ศ๓.๑ - มารยาทในการ ๔
ชมการแสดง ป.๒/๕ ชมการแสดง
นาฏศิลป์ ไทย
และนาฏศิลป์
พื้นบ้าน
- การเข้าชม
และมีส่วนร่วม
ในการแสดง
นาฏศิลป์ ไทย
และนาฏศิลป์
พื้นบ้าน
๗ ประเภทการละ ศ๓.๒ - วิธีการเล่น ๒
เล่นพื้นบ้าน ป.๒/๑ - กติกา
๘ การละเล่นพื้น ศ๓.๒ - ที่มาและการ ๒
บ้านกับการ ป.๒/๒, ละเล่นพื้นบ้าน
ดำรงชีวิต ป.๒/๓ - ความภูมิใจใน
การละเล่นพื้น
บ้าน
รวมตลอดปี การศึกษา ๘๐
1
0
4

โครงสร้างรายวิชาศิลปะ
รหัสวิชา ศ ๑๓๑๐๑ ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๓
เวลา ๘๐ ชั่วโมง

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ (๔๐ ชั่วโมง)


น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดับ ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
ที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ ศิลปะกับเส้น ศ๑.๑ - เส้นและความ ๑๕
ป.๓/๑ รู้สึก
ป.๓/๒, ของเส้น
ป.๓/๓ - รูปร่าง รูปทรง
ป.๓/๖,ป. ขนาด สัดส่วน
๓/๑๐ - สี แม่สี วงจรสี
- พื้นผิว
๒ พื้นฐานงาน ศ๑.๑ - เทคนิคการสร้าง ๑๕
1
0
ศิลปะ ป.๓/๒ งานทัศนศิลป์
5
ป.๓/๕, - การใช้วัสดุ –
ป.๓/๗ อุปกรณ์การวาด
ศ๑.๒ การปั ้ น งาน
ป.๓/๒ พิมพ์
๓ วาดภาพด้วย ศ๑.๑ - ภาพจาก ๑๐
จินตนาการ ป.๓/๔, ประสบการณ์
ป.๓/๖, หรือเหตุการณ์
ป.๓/๘ - ภาพจากการ
ศ๑.๒ ฟั งนิทาน หรือ
ป.๓/๑ การอ่านนิทาน
- ภาพ
ขนบธรรมเนียม
ประเพณีท้องถิ่น
1
0
6

สาระที่ ๒ ดนตรี (๒๐ ชั่วโมง)


น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดับ ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
ที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ เครื่องดนตรีที่ฉัน ศ๒.๑ - ลักษณะเครื่อง ๑
เคยเห็น ป.๓/๑ ดนตรี
- เสียงของเครื่อง
ดนตรี
๒ สร้างสรรค์ ศ๒.๑ - สัญลักษณ์แทน ๑
สัญลักษณ์ ป.๓/๒ เสียงดนตรี
๓ หน้าที่ของ ศ๒.๑ - บทบาทหน้าที่ ๑
บทเพลง ป.๓/๓ ของเพลงชาติ
เพลงสรรเสริญ
พระบารมี และ
เพลงประจำ
โรงเรียน
๔ ขับร้อง และ ศ๒.๑ - ขับร้องเดี่ยว ๔
บรรเลง ป.๓/๔ - ขับร้องเพลงหมู่
- บรรเลงดนตรี
ประกอบการขับ
ร้อง
1
0
อย่างง่ายๆ
7
๕ เคลื่อนไหว ศ๒.๑ - เคลื่อนไหว ๓
ท่วงท่า ป.๓/๕ ตามอารมณ์
เพลง
๖ วาจาขับขาน ศ๒.๑ - การแสดง ๒
ป.๓/๖ ความคิดเห็น
เกี่ยวกับเสียง
ร้อง และเสียง
ดนตรี
๗ ชื่นบานงาน ศ๒.๑ - การใช้ดนตรีใน ๒
รื่นเริง ป.๓/๗ งานรื่นเริง หรือ
งานฉลอง
๘ เพลงในท้องถิ่น ศ๒.๒ - เอกลักษณ์ของ ๔
ป.๓/๑ เพลงพื้นบ้าน
๙ ความสำคัญ ศ๒.๒ - ดนตรีในชีวิต ๒
ของดนตรีต่อ ป.๓/๒ ประจำวัน และ
การนำเนินชีวิต วาระสำคัญ
1
0
8

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๒๐ ชั่วโมง)


น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดับ ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
ที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ นาฏศิลป์ ศ๓.๑ - การเคลื่อนไหว ๖
สร้างสรรค์ ไทย ป.๓/๑ ในรูปแบบต่างๆ
- พื้นบ้าน - รำวงมาตรฐาน
- เพลงพระราช
นิพนธ์
- สถานการณ์สน
ั้ ๆ
- สถานการณ์ที่
กำหนดให้
๒ หลักการปฏิบัติ ศ๓.๑ - แสดงท่าทาง ๖
นาฏศิลป์ ไทย ป.๓/๒ ประกอบเพลง
และพื้นบ้าน นาฏศิลป์ ไทย
และพื้นบ้าน
- การฝึ กภาษาท่า
สื่ออารมณ์ของ
มนุษย์
- การฝึ กนาฏย
ศัพท์
1
0
ในส่วนขา
9
๓ บทบาท ศ๓.๑ - หลักในการชม ๒
หน้าที่ ของผู้ ป.๓/๓ การแสดง
แสดง และผู้ ป.๓/๔ - ผู้แสดง
ชมที่ดี ป.๓/๕ - ผู้ชม
- ประโยชน์ของ
การแสดง
นาฏศิลป์
๔ นาฏศิลป์ ใน ศ๓.๒ - การแสดง ๒
ท้องถิ่น ป.๓/๑ นาฏศิลป์ พื้น
บ้าน
๕ ลักษณะเด่น ศ๓.๒ - ลักษณะเด่น ๒
ของนาฏศิลป์ ม.๓/๒ ของนาฏศิลป์
ไทย ไทย
- เอกลักษณ์ของ
นาฏศิลป์ ไทย
๖ ความสำคัญ ศ๓.๓ - ประวัติของ ๒
ของการแสดง ม.๓/๓ การแสดง
นาฏศิลป์ นาฏศิลป์
รวมตลอดปี การศึกษา ๘๐
1
1
0

โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชาทัศนศิลป์
รหัสวิชา ศ ๑๔๑๐๑ ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๔
เวลา ๔๐ ชั่วโมง

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์

น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดับ ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
ที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน

๑ รูปร่างและรูป ศ๑.๑ - ความหมายของ ๒


ทรง ป.๔/๑ รูปร่าง รูปทรง
๒ อิทธิพลของสีที่มี ศ๑.๑ - ความหมายของ ๓
ต่ออารมณ์ของ ป.๔/๒ อิทธิพลของสี
มนุษย์ วรรณะอุ่น และ
วรรณะเย็น
๓ จำแนกทัศนธาตุ ศ๑.๑ - ความหมายของ ๔
ในงานทัศนศิลป์ ป.๔/๓ เส้น สี รูปร่าง
รูปทรง พื้นผิว
พื้นที่ว่าง
- การาดรูป เส้น
1
1
ต่างๆ
1
๔ การพิมพ์ภาพ ศ๑.๑ - ปฏิบัติ ๖
ป.๔/๔ ประดิษฐ์ วัสดุ
อุปกรณ์ที่จะใช้
ในงานพิมพ์
๕ วาดภาพ ศ๑.๑ - ฝึ กทักษะการ ๖
ระบายสี ป.๔/๕ วาดภาพระบาย
สี
- การใช้วัสดุ
อุปกรณ์การวาด
ภาพระบายสี
๖ น้ำหนักและ ศ๑.๑ - ฝึ กทักษะการ ๖
แสงเงา ป.๔/๖ วาดภาพที่มีการ
จัดระยะความ
ลึก น้ำหนัก
และแสงเงา
๗ วาดภาพ ศ๑.๑ - ฝึ กทักษะวาด ๘
ระบายสี ป.๔/๗ ภาพระบายสี
ถ่ายทอดความ ป.๔/๘, วรรณะอุ่น และ
รู้สึก ป.๔/๙ วรรณะเย็น โดย
รู้จักเลือกวรรณะ
สีเพื่อถ่ายทอด
ความรู้สึก
- เปรียบเทียบ
ความรู้สึกที่
1
1
ถ่ายทอดในงาน
2
ทัศนศิลป์ ของ
ตนเองและของผู้
อื่น
๘ ทัศนศิลป์ ใน ศ๑.๒ - งานทัศนศิลป์ ๒
ท้องถิ่น ป.๔/๑ ในท้องถิ่นของ
ตนเอง
๙ ทัศนศิลป์ ใน ศ๑.๒ - งานทัศนศิลป์ ๓
แต่ละภูมิภาค ป.๔/๒ จากวัฒนธรรม
ต่างๆ

รวมตลอดปี /ภาค ๔๐
โครงสร้างรายวิชาดนตรีและนาฏศิลป์
รหัสวิชา ศ ๑๔๑๐๒ ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๔
เวลา ๔๐ ชั่วโมง

สาระที่ ๒ ดนตรี (๒๐ ชั่วโมง)


ลำดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา( น้ำ
ที่ เรียนรู้ การเรียน ชั่วโมง หนัก
รู้/ตัวชีว
้ ัด ) คะแ
นน
๑ โครงสร้างของ ศ๒.๑ - ความหมายของ ๑
บทเพลง ป๔/๑ ประโยคเพลง
- การแบ่งประโยค
เพลง
1
1
๒ ประเภทของ ศ๒.๑ - ประเภทของ ๒
3
เครื่องดนตรี ป๔/๒ เครื่องดนตรี
- เสียงของ
เครื่องดนตรี
แต่ละประเภท
๓ ทำนองและ ศ๒.๑ - การเคลื่อนที่ ๑
จังหวะ ป๔/๓ ของทำนอง
- ความช้า - เร็ว
ของจังหวะ
๔ อ่าน เขียนโน้ต ศ๒.๑ เครื่องหมายและ ๔
ไทยและโน้ต ป๔/๔ สัญลักษณ์ทาง
สากล ดนตรีสากล
-
กุญแจประจำหลั

- บรรทัดห้าเส้น
- โน้ตและ
เครื่องหมายหยุด
- เส้นกัน
้ ห้อง
โครงสร้างโน้ต
เพลงไทย
- การแบ่งห้อง
- การแบ่ง
จังหวะ
๕ การขับร้อง ศ๒.๑ - การขับร้อง ๖
1
1
เพลง ป๔/๕ เพลงไทย
4
- การขับร้อง
เพลงพื้นบ้าน
๖ การใช้เครื่อง ศ๒.๑ - การใช้และการ ๒
ดนตรี ป๔/๖ ดูแลรักษาเครื่อง
ดนตรี
๗ เนื้อหาของ ศ๒.๑ - ความหมาย ๒
บทเพลง ป๔/๗ ของเนื้อหา
ในบทเพลง

๘ ดนตรีกับวิถี ศ๒.๒ - ดนตรีกับวิถี ๑


ชีวิต ป๔/๑ ชีวิตไทย
- ดนตรีพ้น
ื บ้าน
กับวิถีชีวิตของ
คนในท้องถิ่น
๙ การอนุรักษ์ ศ๒.๒ - ความสำคัญ ๑
ดนตรี ป๔/๒ ของการอนุรักษ์
ดนตรีไทย และ
ดนตรีพ้น
ื บ้าน
- แนวทางในการ
อนุรักษ์

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๒๐ ชั่วโมง)


ลำดั ชื่อหน่วยการ มาตรฐา สาระสำคัญ เวลา(
1
1
5
น้ำ
นการ หนั
ชั่วโม
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/ ก
ง)
ตัวชีว
้ ัด คะแ
นน

๑ พื้นฐานทาง ศ๓.๑ - การฝึ กภาษา ๒


นาฏศิลป์ ป๔/๑ ท่า
- การฝึ กนาฏย
ศัพท์
๒ การใช้ภาษาท่า ศ๓.๑ - การใช้ภาษาท่า ๒
และนาฏยศัพท์ ป๔/๒ และนาฏศัพท์
ประกอบเพลง
- การใช้ศัพท์
ทางละคร
ถ่ายทอดเรื่อง
ราว
๓ เคลื่อนไหวไป ศ๓.๑ - การประดิษฐ์ ๒
ตามจังหวะ ป๔/๓ ท่าทางประกอบ
จังหวะพื้นบ้าน
๔ การแสดง ศ๓.๑ การแสดง ๖
นาฏศิลป์ ป๔/๔ นาฏศิลป์
ประเภทคู่ และ
หมู่
1
1
- รำวงมาตรฐาน
6
- ระบำ
๕ การเล่าเรื่อง ศ๓.๑ จุดสำคัญของ ๔
ป๔/๕ การเล่าเรื่อง
และลักษณะเด่น
ของตัวละคร
๖ ประวัติการ ศ๓.๒ - ประวัติความ ๑
แสดงนาฏศิลป์ ป๔/๑ เป็ นมา
ไทย และ ของการแสดง
นาฏศิลป์ พ้น
ื นาฏศิลป์ ไทย
บ้าน และนาฏศิลป์
พื้นบ้าน
๗ การแสดง ศ๓.๒ - การชมการ ๑
นาฏศิลป์ ใน ป๔/๒ แสดงนาฏศิลป์
วัฒนธรรม ไทย และ
ต่างๆ นาฏศิลป์ พื้น
บ้าน
๘ การเคารพ ศ๓.๒ - การแสดง ๒
รักษา สืบทอด ป๔/๓, ความเคารพ
นาฏศิลป์ ไทย ป๔/๔ - ความสำคัญ
และนาฏศิลป์ คุณค่า แนวทาง
พื้นบ้าน ในการอนุรักษ์
นาฏศิลป์ ไทย
และนาฏศิลป์
พื้นบ้าน
1
1
7
รวมตลอดปี การศึกษา ๔๐
1
1
โครงสร้างรายวิชาทัศนศิลป์
8
รหัสวิชา ศ ๑๕๑๐๑ ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๕
เวลา ๔๐ ชั่วโมง

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดับ ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
ที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ จังหวะ ศ๑.๑ - บอกจังหวะ ๓
ตำแหน่ง ของ ป.๕/๑ ตำแหน่งของสิ่ง
งานทัศนศิลป์ ต่างๆ ในสิง่
แวดล้อม และ
งานทัศนศิลป์
๒ ความแตกต่าง ศ๑.๑ - เปรียบเทียบ ๕
ระหว่างงานทัศน ป.๕/๒ ความแตกต่าง
ศิลป์ ระหว่างงานทัศน
ศิลป์
ที่สร้างสรรค์ด้วย
วัสดุ อุปกรณ์ที่
แตกต่างกัน
๓ เทคนิคในการ ศ๑.๑ - ความหมายแสง ๗
วาดภาพ ป.๕/๓ เงา น้ำหนัก
วรรณะสี
- ปฏิบัติการวาด
1
1
ภาพโดยใช้แสง
9
เงา น้ำหนัก
วรรณะสี
๔ สร้างสรรค์งาน ศ๑.๑ - ความหมาย ๗
ปั ้ นจากดิน ป.๕/๔ งานปั ้ น
น้ำมันหรือดิน - ฝึ กปฏิบัติการ
เหนียว ปั ้ นจากดินน้ำมัน
หรือดินเหนียว
- เครื่องมือ
อุปกรณ์ที่ใช้ใน
การปั ้ น
๕ การพิมพ์ภาพ ศ๑.๑ - ฝึ กทักษะการ ๗
ป.๕/๕ พิมพ์ภาพโดย
เน้นการจัดวาง
ตำแหน่ง
๖ การจัดองค์ ศ๑.๑ - การจัดองค์ ๖
ประกอบศิลป์ ป.๕/๖ ประกอบศิลป์
และการสื่อ
ความหมายใน
งานทัศนศิลป์
๗ ประโยชน์และ ศ๑.๑ - ประโยชน์และ ๑
คุณค่าของงาน ป.๕/๗ คุณค่า
ทัศนศิลป์ ของงานทัศน
ศิลป์ ที่มีผล
ต่อชีวิตของ
1
2
คนในสังคม
0
๘ รูปแบบของ ศ๑.๒ - รูปแบบของ ๒
งานทัศนศิลป์ ป.๕/๑ งานทัศนศิลป์ ใน
แหล่งเรียนรู้
หรือนิทรรศการ
ศิลปะ
๙ งานทัศนศิลป์ ศ๑.๒ - อภิปรายเกี่ยว ๒
และภูมิปัญญา ป.๕/๒ กับงานทัศนศิลป์
ท้องถิ่น ที่เกิดจาก
ภูมิปัญญาท้อง
ถิ่น
รวมตลอดปี /ภาค ๔๐

โครงสร้างรายวิชาดนตรีและนาฏศิลป์
รหัสวิชา ศ ๑๕๑๐๒ ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๕
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
สาระที่ ๒ ดนตรี (๒๐ ชั่วโมง)
ลำดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐา สาระสำคัญ เวลา( น้ำ
ที่ เรียนรู้ นการ ชั่วโม หนัก
เรียนรู้/ ง) คะแน
ตัวชีว
้ ัด น
๑ บทเพลงสื่อ ศ๒.๑ - จังหวะกับอารมณ์ ๑
อารมณ์ ป.๕/๑ ของบทเพลง
- ทำนองกับอารมณ์
ของบทเพลง
1
2
๒ เสียงขับร้อง ศ๒.๑ - ลักษณะของเสียง ๒
1
และเสียง ป.๕/๒ นักร้องกลุ่มต่างๆ
ของวงดนตรี - ลักษณะเสียงของ
วงดนตรีประเภท
ต่างๆ
๓ อ่าน เขียน ศ๒.๑ - บันไดเสียง ๕ เสียง ๓
โน้ตไทย ป.๕/๓ (Pentatonic scale)
และโน้ต - โน้ตไทยกับบันได
สากล เสียง
๕ เสียง
๔ การบรรเลง ศ๒.๑ - การบรรเลงเครื่อง ๖
เครื่องดนตรี ป.๕/๔ ดนตรีประกอบ
จังหวะ หรือ การ
บรรเลงทำนองด้วย
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีสากล
หรือเครื่องดนตรีพ้น

บ้าน
๕ ขับร้องเพลง ศ๒.๑ - การขับร้องเพลง ๔
ไทย เพลง ป.๕/๕ ไทยในอัตราจังหวะ
ไทยสากล สองชัน

และเพลงพื้น - การขับร้อง
บ้าน ประสานเสียงแบบ
Canon Round
- การขับร้องเพลง
1
2
พื้นบ้าน
2
๖ สร้างสรรค์ ศ๒.๑ - การด้นสดใน ๑
บทเพลง ป.๕/๖ ประโยคเพลงง่ายๆ
๗ ดนตรี ศ๒.๑ - การใช้ดนตรีในการ ๑
ประกอบ ป.๕/๗ ประกอบกิจกรรม
กิจกรรม นาฏศิลป์
- การใช้ดนตรี
ประกอบการเล่า
เรื่อง
๘ ดนตรีกับ ศ๒.๒ - บทเพลงที่ใช้ในงาน ๑
ประเพณี ป.๕/๑ ประเพณีในท้องถิ่น
- บทบาทของดนตรี
ในงานประเพณี
๙ คุณค่าของ ศ๒.๒ - คุณค่าทางสังคม ๑
วัฒนธรรม ป.๕/๒ - คุณค่าทาง
ทางดนตรี ประวัติศาสตร์

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๒๐ ชั่วโมง)


ลำดั ชื่อหน่วยการ มาตรฐา สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
บที่ เรียนรู้ นการ (ชั่วโ คะแนน
เรียน มง)
รู้/ตัวชี ้
1
2
วัด
3
๑ นาฏศิลป์ เรา ศ๓.๑ - องค์ประกอบ ๑
ป.๕/๑ ของนาฏศิลป์
- จังหวะ
ทำนอง คำร้อง
๒ ภาษาท่า ศ๓.๑ - ภาษาท่า ๒
และนาฏย ป.๕/๑ - นาฏยศัพท์
ศัพท์
๓ ท่าประกอบ ศ๓.๑ - การประดิษฐ์ ๔
เพลง ป.๕/๒ ท่าทาง
ประกอบเพลง
พื้นบ้าน
- ทำท่า
ประกอบเรื่อง
ราวพื้นบ้าน
๔ มาระบำกัน ศ๓.๑ - การแสดง ๔
เถอะ รำวง ป.๕/๓ นาฏศิลป์
กัน - ระบำ
- ฟ้ อนพื้นบ้าน
- รำวง
มาตรฐาน
๕ แสดงละคร ศ๓.๑ - องค์ประกอบ ๓
ป.๕/๔ ของละครพื้น
บ้าน
๖ เขียนละครพื้น ศ๓.๑ - การเลือกและ ๒
1
2
บ้าน ป.๕/๔ เขียน
4
เค้าโครงเรื่อง
- บทละครสัน

๗ เปรียบเทียบ ศ๓.๑ - ที่มาของ ๒
การแสดง ป.๕/๕ นาฏศิลป์
นาฏศิลป์ ชุดต่างๆ
๘ ประโยชน์จาก ศ๓.๑ - หลักการชม ๑
การชมการ ป.๕/๖ การแสดง
แสดง - ประโยชน์ที่ได้
นาฏศิลป์ รับจากการชม
การแสดง
- การถ่ายทอด
ความรู้สึก
และคุณค่าของ
การแสดง
๙ นาฏศิลป์ ใน ศ๓.๒ - การแสดง ๑
วัฒนธรรม ป๕/๑ นาฏศิลป์
ต่างๆ และ ป๕/๒ ประเภทต่างๆ
นาฏศิลป์ พ้น
ื - การแสดง
บ้าน นาฏศิลป์ พื้น
บ้าน

รวมตลอดปี การศึกษา ๔๐
1
2
5
1
2
โครงสร้างรายวิชาทัศนศิลป์
6
รหัสวิชา ศ ๑๖๑๐๑ ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๖
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐา น้ำ
เวลา(
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ หนัก
สาระสำคัญ ชั่วโมง
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้/ คะแ
)
ตัวชีว
้ ัด นน
๑ สีคู่ตรงข้าม ศ๑.๑ - วงสีธรรมชาติ ๔
ป.๖/๑ - สีคู่ตรงข้าม
- ฝึ กระบายสีที่เกี่ยว
กับ
วงสีธรรมชาติ
๒ หลักการจัด ศ๑.๑ - อธิบายหลักการ ๓
ขนาดสัดส่วน ป.๖/๒ จัดขนาดสัดส่วน
และความ ความสมดุลในงาน
สมดุล ทัศนศิลป์
๓ งานทัศนศิลป์ ศ๑.๑ - สร้างงานทัศนศิลป์ ๖
๓ มิติ ป.๖/๓ จากรูปแบบ ๒ มิติ
เป็ น ๓ มิติ โดยใช้
หลักการของแสงเงา
และน้ำหนัก
๔ สร้างสรรค์งาน ศ๑.๑ - การใช้หลักการเพิ่ม ๖
ปั ้ น ป.๖/๔ และลด
- ฝึ กปฏิบัติการปั ้ น
1
2
โดยใช้เทคนิคการ
7
เพิ่ม และลดใน
การสร้างสรรค์ผล
งาน
๕ รูปและพื้นที่ ศ๑.๑ - สร้างสรรค์งาน ๖
ว่าง ป.๖/๕ ทัศนศิลป์ โดยใช้
หลักการของรูป
และพื้นที่ว่าง
๖ การจัดขนาด ศ๑.๑ - สร้างสรรค์งานทัศน ๖
สัดส่วน และ ป.๖/๖ ศิลป์ โดยใช้หลักการ
ความสมดุล ของสีคู่ตรงข้าม การ
จัดขนาด สัดส่วน
และความสมดุล
๗ แผนภาพ ศ๑.๑ - สร้างสรรค์งานทัศน ๖
แผนผัง และ ป.๖/๗ ศิลป์ ที่เป็ นแผนภาพ
ภาพประกอบ แผนผัง และภาพ
ประกอบ
๘ บทบาทของ ศ๒.๑ - บรรยายบทบาท ๑
งานทัศนศิลป์ ป.๖/๑ ของงานทัศนศิลป์ ที่
ต่อสังคม สะท้อนชีวิต และ
สังคม
๙ อิทธิพลของ ศ๒.๑ - อภิปรายเกี่ยวกับ ๑
ศาสนาที่มีต่อ ป.๖/๒ อิทธิพลของศาสนาใน
งานทัศนศิลป์ ท้องถิ่นที่มีผลต่องาน
ทัศนศิลป์
๑๐ อิทธิพลของ ศ๒.๑ - บรรยายอิทธิพลของ ๑
วัฒนธรรมท้อง ป.๖/๓ วัฒนธรรมท้องถิ่นที่มี
ถิ่นที่มีผลต่อ ผลต่องานทัศนศิลป์
1

งานทัศนศิลป์ 2
รวมตลอดปี /ภาค ๔๐ 8
โครงสร้างรายวิชาดนตรีและนาฏศิลป์
รหัสวิชา ศ ๑๔๑๐๒ ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๔
เวลา ๔๐ ชั่วโมง

สาระที่ ๒ ดนตรี (๒๐ ชั่วโมง)


ลำดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา( น้ำ
ที่ เรียนรู้ การเรียน ชั่วโมง หนัก
รู้/ตัวชีว
้ ัด ) คะแ
นน
๑ องค์ประกอบ ศ๒.๑ - องค์ประกอบ ๒
ของดนตรี และ ป๖/๑ ของดนตรี
ศัพท์สังคีต - ศัพท์สังคีต
๒ ประเภท และ ศ๒.๑ - ประเภทและ ๒
บทบาทของ ป๖/๒ บทบาทของเครื่อง
เครื่องดนตรีใน ดนตรีไทย
วัฒนธรรมต่างๆ - ประเภทและ
บทบาทของเครื่อง
ดนตรีสากล
๓ อ่าน เขียนโน้ต ศ๒.๑ - โน้ตไทยในอัตรา ๔
ไทย และโน้ต ป๖/๓ จังหวะสองชัน

สากล - เครื่องหมายและ
สัญลักษณ์ทาง
ดนตรีสากล
- บันไดเสียง C
1
2
Major
9
๔ การบรรเลง ศ๒.๑ - การร้องเพลง ๔
เครื่องดนตรี ป๖/๔ ประกอบดนตรี
ประกอบการ - การสร้างสรรค์
ขับร้อง รูปแบบจังหวะ
และทำนองด้วย
เครื่องดนตรี
๕ การแสดงความ ศ๒.๑ บรรยายความ ๒
รู้สึกต่อดนตรี ป๖/๕, รู้สึก และแสดง
ป๖/๖ ความคิดเห็น
ต่อดนตรีไทย
ดนตรีสากล
และดนตรีพ้น

บ้าน
- เนื้อหาใน
บทเพลง
- องค์ประกอบ
ในบทเพลง
- คุณภาพเสียง
ในบทเพลง

๖ ประวัติศาสตร์ ศ๒.๒ - ประวัติศาสตร์ ๒


ดนตรีไทย ป๖/๑, และเหตุการณ์
ป๖/๒ สำคัญของดนตรี
ไทย
1
3
- ดนตรีไทยใน
0
ยุคต่างๆ
- อิทธิพลของ
วัฒนธรรมที่มีผล
ต่อดนตรี
๗ ดนตรีในท้อง ศ๒.๒ - ประวัติดนตรี ๒
ถิ่น ป๖/๓ ในท้องถิ่น
- อิทธิพลของ
วัฒนธรรมใน
ท้องถิ่นที่มีผลต่อ
ดนตรี
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๒๐ ชั่วโมง)
น้ำ
มาตรฐา
เวลา( หนั
ลำดั ชื่อหน่วยการ นการ
สาระสำคัญ ชั่วโม ก
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/
ง) คะแ
ตัวชีว
้ ัด
นน
๑ เคลื่อนไหวไป ศ๓.๑ - การประดิษฐ์ ๓
กับบทเพลง ป๓/๑ ท่าทาง
โดยเน้นการ
ถ่ายทอดลีลา
หรือารมณ์
ประกอบเพลง
ปลุกใจ และ
เพลงพื้นบ้าน
1
3
๒ เครื่องแต่งกาย ศ๓.๑ - การออกแบบ ๓
1
และอุปกรณ์ ป๓/๒ ประดิษฐ์เครื่อง
ประกอบการ แต่งกาย และ
แสดง อุปกรณ์
ประกอบการ
แสดง
๓ การแสดง ศ๓.๑ ฝึ กทักษะการ ๖
นาฏศิลป์ ป๓/๓ แสดงนาฏศิลป์
และการละคร
- รำวงมาตรฐาน
- ระบำ
- ฟ้ อน
- ละคร
สร้างสรรค์
๔ ความรู้สึก ศ๓.๑ หลักการชมการ ๑
และการแสดง ป๓/๔, แสดง
ความคิดเห็นใน ป๓/๕ - การวิเคราะห์
การชมการ - ความรู้สึก
แสดง ชื่นชม
บทบาท หน้าที่
ในงานนาฏศิลป์
และการละคร

๕ องค์ประกอบ ศ๓.๑ - องค์ประกอบ ๒


ทางนาฏศิลป์ ป๓/๖ ทางนาฏศิลป์
1
3
และการละคร และการละคร
2
- ความสัมพันธ์
ระหว่าง
นาฏศิลป์ และ
การละครกับสิ่ง
ที่ประสบ
ในชีวิตประจำวัน
๖ คุณค่า ความ ศ๓.๒ ประวัตินาฏศิลป์ ๑
สำคัญของ ป๓/๑ และการละคร
นาฏศิลป์ และ - บุคคลสำคัญ
การละคร - คุณค่า
๗ ประโยชน์จาก ศ๓.๒ - ประโยชน์ที่ได้ ๔
การแสดงหรือ ป๓/๒ รับจากการชม
การชม การแสดง
นาฏศิลป์ นาฏศิลป์ และ
การละคร หรือ
นาฏศิลป์ พื้น
บ้าน
ในวันสำคัญของ
โรงเรียน

รวมตลอดปี การศึกษา ๔๐
1
3
โครงสร้างรายวิชาศิลปะ ๑
3
รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๑ ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
ภาคเรียนที่ ๑ จำนวน ๑
หน่วยกิต

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ (๒๐ ชั่วโมง)


น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดั ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
บที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ ทัศนศิลป์ กับสิ่ง ศ๑.๑ - ความแตกต่าง ๒
แวดล้อม ม.๑/๑ และความ
คล้ายคลึงกันของ
ทัศนธาตุในงาน
ทัศนศิลป์ และสิ่ง
แวดล้อม
๒ หลักการ ศ๑.๑ หลักการออกแบบ ๒
ออกแบบงาน ม.๑/๒ งานทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ - ความเป็ น
เอกภาพ
- ความกลมกลืน
- ความสมดุล
๓ วาดภาพ ศ๑.๑ - หลักการวาดภาพ ๑๒
ทัศนียภาพเป็ น ม.๑/๓ แสดงทัศนียภาพ
1
3
๓ มิติ เป็ น ๓ มิติ
4
๔ ทัศนศิลป์ ของ ศ๑.๒ - ลักษณะ รูป ๒
ชาติ และท้อง ม.๑/๑ แบบทัศนศิลป์
ถิ่น ของชาติ และ
ท้องถิ่น
๕ งานทัศนศิลป์ ศ๑.๒ - เปรียบเทียบ ๒
ในแต่ละ ม.๑/๒ งานทัศนศิลป์
ภูมิภาค ภาคต่างๆ ใน
ประเทศไทย
1
3
สาระที่ ๒ ดนตรี (๑๐ ชั่วโมง)
5
น้ำ
มาตรฐา
เวลา( หนั
ลำดั ชื่อหน่วยการ นการ
สาระสำคัญ ชั่วโม ก
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/
ง) คะแ
ตัวชีว
้ ัด
นน
๑ อ่าน เขียนโน้ต ศ๒.๑ เครื่องหมายและ ๒
ไทย และโน้ต ม.๑/๑ สัญลักษณ์ทาง
สากล ดนตรี
- โน้ตบทเพลง
ไทยในอัตรา
จังหวะสองชัน

- โน้ตสากลใน
กุญแจซอล และ
กุญแจฟา
- โน้ตในบันได
เสียง
C Major
๒ เสียงขับร้อง ศ๒.๑ - เปรียบเทียบ ๒
และเสียงเครื่อง ม.๑/๒ เสียงร้อง และ
ดนตรีใน เสียงของเครื่อง
วัฒนธรรม ดนตรีไทย ดนตรี
ต่างๆ สากล กับดนตรี
พื้นบ้าน
๓ บรรเลงดนตรี ศ๒.๑ - ขับร้องเพลง ๔
1
3
ประกอบการ ม๑/๓ ไทยเดิม เพลง
6
ขับร้อง พื้นบ้าน และ
เพลงปลุกใจ
โดยบรรเลง
เครื่องดนตรี
ประกอบ
- เห็นคุณค่าและ
ความสำคัญของ
การขับร้องเพลง
ไทยเดิม และ
เพลงพื้นบ้าน
๔ วงดนตรีไทย ศ๒.๑ การจัดประเภท ๑
และวงดนตรี ม.๑/๔ ของดนตรีไทย
พื้นบ้าน และดนตรีพ้น

บ้าน
๕ บทบาทและ ศ๒.๒ - บทบาทของ ๑
อิทธิพลของ ม.๑/๑ ดนตรีในสังคม
ดนตรี - อิทธิพลของ
ดนตรีในสังคม
1
3
7

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๑๐ ชั่วโมง)


น้ำ
มาตรฐา
เวลา( หนั
ลำดั ชื่อหน่วยการ นการ
สาระสำคัญ ชั่วโม ก
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/
ง) คะแ
ตัวชีว
้ ัด
นน
๑ อิทธิพลของนัก ศ๓.๑ - การปฏิบัติของ ๒
แสดงที่มีผลต่อ ม.๑/๑ ผู้แสดง และผู้ชม
ผู้ชม - ประวัตินักแสดง
ที่ช่ น
ื ชอบ
- การพัฒนารูป
แบบ
ของการแสดง
- อิทธิพลของนัก
แสดงที่มีผลต่อ
พฤติกรรมของผู้
ชม
๒ นาฏยศัพท์ ศ๓.๑ - นาฏยศัพท์ ๓
1
3
หรือศัพท์ ม.๑/๒ หรือศัพท์ทางการ
8
ทางการละคร ละครในการ
แสดง
- ภาษาท่า และ
การตีบท
- ท่าทางการ
เคลื่อนไหว
ที่แสดงสื่อทาง
อารมณ์
- ระบำเล็ดเตล็ด
- รำวงมาตรฐาน
๓ การแสดง ศ๓.๑ รูปแบบของการ ๔
นาฏศิลป์ ม.๑/๓ แสดงนาฏศิลป์
- นาฏศิลป์ ไทย
- นาฏศิลป์ พื้น
บ้าน
- นาฏศิลป์
นานาชาติ
๔ ปั จจัยที่มีผลต่อ ศ๓.๒ - ปั จจัยที่มีผลต่อ ๑
การ ม.๑/๑ การเปลี่ยนแปลง
เปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลป์ ไทย
ของนาฏศิลป์ ละครไทย
นาฏศิลป์ พ้น
ื บ้าน
และละครพื้น
บ้าน
1
3
9
รวมตลอดปี /ภาค ๑๐

โครงสร้างรายวิชาศิลปะ ๒
รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๒ ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๑
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
ภาคเรียนที่ ๒ จำนวน
๑ หน่วยกิต
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ (๒๐ ชั่วโมง)
น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดั ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
บที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ สร้างสรรค์เรื่อง ศ๑.๑ - สร้างสรรค์เรื่อง ๘
ราว ๓ มิติจาก ม.๑/๔ ราว ๓ มิติจากงาน
1
4
งานปั ้ น หรือ ปั ้ น หรือสื่อผสม
0
สื่อผสม โดยเน้นเอกภาพ
และความ
กลมกลืน
๒ รูปภาพ ศ๑.๑ - การออกแบบ ๘
สัญลักษณ์ ม.๑/๕ รูปภาพ
หรืองาน สัญลักษณ์ หรือ
กราฟิ ก งานกราฟิ ก
๓ การประเมิน ศ๑.๑ การประเมินงาน ๒
งานทัศนศิลป์ ม.๑/๖ ทัศนศิลป์
- เกณฑ์การ
ประเมิน
- การปรับปรุง
งานของตน
๔ ทัศนศิลป์ ไทย ศ๑.๒ - เปรียบเทียบ ๒
กับสากล ม.๑/๓ ความแตกต่าง
ของงานทัศน
ศิลป์ ไทย
กับสากล
สาระที่ ๒ ดนตรี (๑๐ ชั่วโมง)
น้ำ
มาตรฐา
เวลา( หนั
ลำดั ชื่อหน่วยการ นการ
สาระสำคัญ ชั่วโม ก
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/
ง) คะแ
ตัวชีว
้ ัด
นน
1
4
๑ ดนตรีกับ ศ๒.๑ ถ่ายทอดอารมณ์ ๑
1
อารมณ์ ม.๑/๕, ความรู้สึกจาก
ม.๑/๖ การฟั งดนตรีที่มี
จังหวะช้า-เร็ว
และความดัง-เบา
ต่างกัน
๒ บทเพลงที่ฉัน ศ๒.๑ นำเสนอจุดเด่น ๓
ชอบ ม.๑/๗ ของบทเพลงที่ตน
สนใจ
๓ การประเมิน ศ๒.๑ การประเมิน ๒
คุณภาพของ ม.๑/๘ คุณภาพ
บทเพลง ของบทเพลง
- ด้านเนื้อหา
- ด้านเสียง
- ด้านองค์
ประกอบ
ของดนตรี
๔ การบำรุงรักษา ศ๒.๑ - ใช้และบำรุง ๑
เครื่องดนตรี ม.๑/๙ รักษาเครื่อง
ดนตรีของตน
อย่างถูกวิธี
- ตระหนักถึง
ความสำคัญใน
การบำรุงรักษา
เครื่องดนตรี
1
4
๕ องค์ประกอบ ศ๒.๒ - องค์ประกอบ ๓
2
ของดนตรีไทย ม.๑/๒ ของดนตรีไทย
และดนตรีพ้น
ื - องค์ประกอบ
บ้าน ของดนตรีพ้น

บ้าน
- จำแนกความ
เหมือน และ
ความแตกต่าง
ระหว่างองค์
ประกอบของ
ดนตรีไทยกับ
ดนตรีพ้น
ื บ้าน
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๑๐ ชั่วโมง)
น้ำ
มาตรฐา
เวลา( หนั
ลำดั ชื่อหน่วยการ นการ
สาระสำคัญ ชั่วโม ก
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/
ง) คะแ
ตัวชีว
้ ัด
นน
๑ การผลิตการ ศ๓.๑ - ฝึ กทักษะการ ๖
แสดง ม.๑/๔ ทำงาน
เป็ นกลุ่มในการ
ผลิต
- การแบ่ง
บทบาทหน้าที่
ของฝ่ ายต่างๆ
1
4
๒ การชมการ ศ๓.๑ - หลักเกณฑ์ใน ๒
3
แสดง ม.๑/๕ การชม
การแสดง
๓ ยุคของละคร ศ๓.๒ - การแบ่งยุคของ ๒
ไทย ม.๑/๒ ละครไทย
รวมตลอดปี /ภาค ๔๐
1
4
โครงสร้างรายวิชาศิลปะ ๓
4
รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๑ ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๒
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
ภาคเรียนที่ ๑
จำนวน ๑ หน่วยกิต
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ (๒๐ ชั่วโมง)
น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดั ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
บที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ แนวคิดในงาน ศ๑.๑ - รูปแบบของทัศน ๒
ทัศนศิลป์ ตาม ม.๒/๑ ธาตุ และแนวคิด
รูปแบบของ ในงานทัศนศิลป์
ทัศนธาตุ
๒ ความแตกต่าง ศ๑.๑ - ความเหมือนและ ๔
ของการใช้วัสดุ ม.๒/๒ ความแตกต่างของ
อุปกรณ์ของ รูปแบบการใช้วัสดุ
ศิลปิ น อุปกรณ์ในงานทัศน
ศิลป์ ของศิลปิ น
๓ เทคนิคการวาด ศ๑.๑ - เทคนิคในการ ๑๐
ภาพ ม.๒/๓ วาดภาพ
สื่อความหมาย
๔ การประเมินและ ศ๑.๑ - การประเมินและ ๒
วิจารณ์งานทัศน ม.๒/๔, วิจารณ์งานทัศน
ศิลป์ ม.๒/๕ ศิลป์
1
4
- การพัฒนางาน
5
ทัศนศิลป์
๕ วัฒนธรรมที่ ศ๑.๒ - ระบุ บรรยาย ๒
สะท้อนในงาน ม.๒/๑ เกี่ยวกับ
ทัศนศิลป์ วัฒนธรรมต่างๆ
ที่สะท้อนถึงงาน
ทัศนศิลป์ ใน
ปั จจุบัน
1
4
สาระที่ ๒ ดนตรี (๑๐ ชั่วโมง)
6
น้ำ
มาตรฐา
เวลา( หนั
ลำดั ชื่อหน่วยการ นการ
สาระสำคัญ ชั่วโม ก
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/
ง) คะแ
ตัวชีว
้ ัด
นน
๑ องค์ประกอบ ศ๒.๑ - องค์ประกอบ ๒
ดนตรีจาก ม.๒/๑ ของดนตรีจาก
วัฒนธรรม แหล่งวัฒนธรรม
ต่างๆ ต่างๆ
๒ อ่าน เขียน ศ๒.๑ เครื่องหมายและ ๔
ร้องโน้ตไทย ม.๒/๒ สัญลักษณ์ทาง
และโน้ตสากล ดนตรี
- โน้ตไทยใน
อัตราจังหวะสอง
ชัน

- โน้ตสากล
(เครื่องหมาย
แปลงเสียง)
๓ ปั จจัยสำคัญที่มี ศ๒.๑ ปั จจัยในการ ๑
อิทธิพลต่องาน ม.๒/๓ สร้างสรรค์
ดนตรี บทเพลง
- จินตนาการ
- การถ่ายทอด
เรื่องราวความคิด
1
4
๔ บทบาทของ ศ๒.๒ - บทบาทของ ๒
7
ดนตรีในต่าง ม.๒/๑ ดนตรีใน
ประเทศ วัฒนธรรมต่าง
ประเทศ
- อิทธิพลของ
ดนตรีใน
วัฒนธรรมต่าง
ประเทศ
๕ บทบาทของ ศ๒.๒ - บทบาทของ ๑
ดนตรีในท้อง ม.๒/๒ ดนตรีใน
ถิ่น วัฒนธรรมท้อง
ถิ่น
- อิทธิพลของ
ดนตรีใน
วัฒนธรรมท้อง
ถิ่น
1
4
8

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๑๐ ชั่วโมง)


น้ำ
มาตรฐา
เวลา( หนั
ลำดั ชื่อหน่วยการ นการ
สาระสำคัญ ชั่วโม ก
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/
ง) คะแ
ตัวชีว
้ ัด
นน
๑ นาฏศิลป์ คือถิ่น ศ๓.๑ -อธิบายการบู ๑
งานศิลปะ ม.๒/๑ รณาการ
งานศิลปะกับ
แขนงอื่น
๒ คิดถึงนาฏครัง้ ศ๓.๑ - องค์ประกอบ ๒
ใดใจเป็ นสุข ม.๒/๒ ของนาฏศิลป์ พื้น
บ้านและ
นาฏศิลป์ ไทย
แสดงละคร ศ๓.๑ - การแสดงละคร ๓
แล้วย้อนดูตน ม.๒/๓ พื้นบ้านและ
สากล
นาฏศิลป์ ไทย ศ๓.๑ - การปรับปรุง ๒
ปรับปรุงได้ ม.๒/๔ การแสดง
1
4
นาฏศิลป์
9
๓ นาฏศิลป์ ดีมี ศ๓.๑ - การนำ ๒
สุนทรีย ม.๒/๔ นาฏศิลป์ ไปใช้
ในชีวิตประจำวัน

รวมตลอดปี /ภาค ๔๐
1
5
0

โครงสร้างรายวิชาศิลปะ ๔
รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๒ ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๒
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
ภาคเรียนที่ ๒ จำนวน
๑ หน่วยกิต

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ (๒๐ ชั่วโมง)


น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดั ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
บที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ วาดภาพแสดง ศ๑.๑ - การวาดภาพถ่าย ๗
บุคลิก ม.๒/๖ ทอดบุคลิกของตัว
ละคร
๒ งานทัศนศิลป์ ใน ศ๑.๑ - วิธีการใช้งาน ๘
การโฆษณา ม.๒/๗ ทัศนศิลป์
ในการโฆษณา
- การนำเสนอ
ตัวอย่างประกอบ
๓ ทัศนศิลป์ ไทยใน ศ๑.๒ - การเปลี่ยนแปลง ๒
แต่ละยุคสมัย ม.๒/๒ ของงานทัศนศิลป์
ของไทยในแต่ละ
1
5
ยุคสมัย
1
๔ แนวคิดการ ศ๑.๒ - เปรียบเทียบ ๓
ออกแบบงาน ม.๒/๓ แนวคิดในการ
ทัศนศิลป์ ไทย ออกแบบงาน
สากล และพื้น ทัศนศิลป์
บ้าน ในวัฒนธรรมไทย
สากล และพื้น
บ้าน
สาระที่ ๒ ดนตรี (๑๐ ชั่วโมง)
น้ำ
มาตรฐา
เวลา( หนั
ลำดั ชื่อหน่วยการ นการ
สาระสำคัญ ชั่วโม ก
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/
ง) คะแ
ตัวชีว
้ ัด
นน
๑ การร้องและ ศ๒.๑ - เทคนิคการร้อง ๖
บรรเลงดนตรี ม.๒/๔ บรรเลงดนตรี
เดี่ยว และเป็ นวง
๒ อารมณ์ของ ศ๒.๑ - การบรรยาย ๑
เพลง ม.๒/๕ อารมณ์ และ
ความรู้สึกใน
บทเพลง
๓ การประเมิน ศ๒.๑ การประเมิน ๑
ทักษะทาง ม.๒/๖ ความสามารถ
ดนตรี ทางดนตรี
- ความถูกต้องใน
1
5
การบรรเลง
2
- ความแม่นยำใน
การอ่าน
เครื่องหมาย
สัญลักษณ์
- การควบคุม
คุณภาพเสียงใน
การร้อง และ
บรรเลง
๔ อาชีพที่ ศ๒.๑ - อาชีพทางด้าน ๑
เกี่ยวข้องกับ ม.๒/๗ ดนตรี
ดนตรี - บทบาทของ
ดนตรีในธุรกิจ
บันเทิง
๕ ประวัติศาสตร์ ศ๒.๒ ประวัติศาสตร์ ๑
ดนตรีไทย ม.๒/๒ ดนตรีไทย
- การ
เปลี่ยนแปลง
ทางการเมืองกับ
งานดนตรี
- การ
เปลี่ยนแปลงทาง
เทคโนโลยีกับงาน
ดนตรี
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๑๐ ชั่วโมง)
1
5
น้ำ
มาตรฐา 3
เวลา( หนั
ลำดั ชื่อหน่วยการ นการ
สาระสำคัญ ชั่วโม ก
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/
ง) คะแ
ตัวชีว
้ ัด
นน
๑ หลักวิจารณ์ ศ๓.๑ - อธิบายการบู ๑
งานนาฏศิลป์ ม.๒/๕ รณาการงาน
ศิลปะกับแขนง
อื่น
๒ นาฏศิลป์ ดีมี ศ๓.๒ม. - องค์ประกอบ ๒
ลักษณะเฉพาะ ๒/๑ ของนาฏศิลป์ พื้น
บ้านและ
นาฏศิลป์ ไทย
๓ ละครพื้นบ้าน ศ๓.๒ - การแสดงละคร ๓
สืบสาน ม.๒/๒ พื้นบ้านและ
วัฒนธรรมไทย สากล
๔ มหรสพไทยใจ ศ๓.๒ - การปรับปรุง ๒
เต็มร้อย ม.๒/๒ การแสดง
นาฏศิลป์
๕ นาฏศิลป์ ดีมี ศ๓.๒ - การนำ ๒
สุนทรียะ ม.๒/๓ นาฏศิลป์ ไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
รวมตลอดปี /ภาค ๔๐
1
5
โครงสร้างรายวิชาศิลปะ ๕
4
รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๑ ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
ภาคเรียนที่ ๑
จำนวน ๑ หน่วยกิต
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ (๒๐ ชั่วโมง)
น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดั ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
บที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ หลักการ ศ๑.๑ - ทัศนธาตุ หลัก ๑
ออกแบบงาน ม.๓/๑, การออกแบบในสิง่
ทัศนศิลป์ และ ม.๓/๓ แวดล้อมและงาน
สิ่งแวดล้อม ทัศนศิลป์
- วิธีการใช้ทัศน
ธาตุและหลักการ
ออกแบบในการ
สร้างงานทัศนศิลป์
๒ เทคนิคของ ศ๑.๑ - เทคนิค วิธีการ ๒
ศิลปิ นในการ ม.๓/๒ ของศิลปิ น
สร้างงานทัศน ในการสร้างงาน
ศิลป์ ทัศนศิลป์
๓ ทักษะในการ ศ๑.๑ -การสร้างงานทัศน ๘
สร้างงานทัศน ม.๓/๔ ศิลป์
ศิลป์ ทัง้ ไทยและสากล
1
5
๔ การออกแบบ ศ๑.๑ -การใช้หลักการ ๘
5
สื่อผสม ม.๓/๕ ออกแบบ
ในการสร้างงาน
สื่อผสม
๕ งานทัศนศิลป์ ศ๑.๒ -งานทัศนศิลป์ กับ ๑
กับการสะท้อน ม.๓/๑ การสะท้อน
คุณค่าของ คุณค่าของ
วัฒนธรรม วัฒนธรรม
สาระที่ ๒ ดนตรี (๑๐ ชั่วโมง)
น้ำ
มาตรฐา
เวลา( หนั
ลำดั ชื่อหน่วยการ นการ
สาระสำคัญ ชั่วโม ก
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/
ง) คะแ
ตัวชีว
้ ัด
นน
๑ องค์ประกอบ ศ๒.๑ การเปรียบเทียบ ๑
ของดนตรีใน ม.๑/๑ องค์ประกอบใน
งานศิลปะ งานศิลปะ
- การใช้องค์
ประกอบในการ
สร้างสรรค์งาน
ดนตรี และ
ศิลปะแขนงอื่น
- เทคนิคที่ใช้ใน
การสร้างสรรค์
งานดนตรี และ
1
5
ศิลปะแขนงอื่น
6
๒ การร้องและ ศ๒.๑ - เทคนิคการ ๒
การบรรเลง ม.๑/๒ แสดงในการ
ดนตรี ขับร้อง การ
บรรเลงดนตรี
เดี่ยวและรวมวง
๓ การประพันธ์ ศ๒.๑ แต่งเพลงสั๒น
้ ๆ ๔ ๔
๔ ๔
เพลง ม.๑/๓ ง่ายๆ
- อัตราจังหวะ
และ
- การประพั
๒ ๔นธ์
๔ ๔
เพลงในอัตรา
จังหวะ และ

๔ การเลือกใช้ ศ๒.๑ - เหตุผลงานการ ๑


องค์ประกอบ ม.๑/๔ เลือกใช้องค์
ในการ ประกอบในการ
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์
- การเลือก
จังหวะ
- การเรียบเรียง
ทำนองเพลง
๕ วิวัฒนาการ ศ๒.๒ - ประวัติดนตรี ๒
ของดนตรี ม.๑/๑ ไทย
- ประวัติดนตรี
1
5
ตะวันตก
7
- ประวัติดนตรี
พื้นบ้าน
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๑๐ ชั่วโมง)
น้ำ
มาตรฐา
เวลา( หนั
ลำดั ชื่อหน่วยการ นการ
สาระสำคัญ ชั่วโม ก
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/
ง) คะแ
ตัวชีว
้ ัด
นน
๑ องค์ประกอบ ศ๓.๑ - โครงสร้างองค์ ๑
ของบทละคร ม.๓/๑ ประกอบของบท
ละคร
๒ ศัพท์ทางการ ศ๓.๑ - ศัพท์ทางการ ๒
ละคร ม.๓/๒ ละครนาฏศิลป์
๓ ละครพื้นบ้าน ศ๓.๑ - การแสดงละคร ๓
สืบสานความ ม.๓/๓ พื้นบ้าน
เป็ นไทย
๔ ละครไทยทำให้ ศ๓.๑ - การแสดงละคร ๒
ครื้นเครง ม.๓/๔ ไทย
๕ นาฏศิลป์ ดีมี ศ๓.๑ - การนำ ๒
สุนทรียะ ม.๓/๕ นาฏศิลป์ ไปใช้
ในชีวิตประจำวัน

รวมตลอดปี /ภาค ๔๐
1
5
โครงสร้างรายวิชาศิลปะ ๖
8
รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๒ ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
ภาคเรียนที่ ๒
จำนวน ๑ หน่วยกิต
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ (๒๐ ชั่วโมง)
น้ำ
มาตรฐาน เวลา(
ลำดั ชื่อหน่วยการ หนัก
การเรียน สาระสำคัญ ชั่วโมง
บที่ เรียนรู้ คะแ
รู้/ตัวชีว
้ ัด )
นน
๑ การสร้างงาน ศ๑.๑ - การสร้างงาน ๖
ทัศนศิลป์ ๒ มิติ ม.๓/๖ ทัศนศิลป์ ๒ มิติ
และ ๓ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อ
ถ่ายทอด
ประสบการณ์
และจินตนาการ
๒ การสื่อเรื่องราว ศ๑.๑ - การประยุกต์ใช้ ๔
ด้วยงานทัศน ม.๓/๗, ทัศนธาตุและหลัก
ศิลป์ ม.๓/๙ การออกแบบสร้าง
งานทัศนศิลป์ เพื่อ
สื่อเรื่องราว
- การใช้เทคนิค
สร้างงานทัศนศิลป์
เพื่อสื่อความหมาย
๓ วิเคราะห์ รูป ศ๑.๑ - การวิเคราะห์รูป ๑
1
5
แบบ เนื้อหา ม.๓/๘ แบบ เนื้อหา
9
และคุณค่าใน และคุณค่าในงาน
งานทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์
๔ การประกอบ ศ๑.๑ - ระบุอาชีพทาง ๑
อาชีพทางทัศน ม.๓/๑๐ ทัศนศิลป์ และ
ศิลป์ ทักษะที่จำเป็ น
๕ การจัด ศ๑.๑ - กำหนดเกณฑ์ที่ ๖
นิทรรศการ ม.๓/๑๑ ใช้ในการคัดเลือก
งานทัศนศิลป์
เพื่อนำไปจัด
นิทรรศการ
- หลักการจัด
นิทรรศการ
๖ งานทัศนศิลป์ ศ๑.๒ - ประวัติของ ๒
ในแต่ละยุค ม.๓/๒ ทัศนศิลป์ ท้องถิ่น
- ยุคสมัยของ
ทัศนศิลป์ ไทย
- ยุคสมัยของ
ทัศนศิลป์ สากล

สาระที่ ๒ ดนตรี (๑๐ ชั่วโมง)


ลำดั ชื่อหน่วยการ มาตรฐา สาระสำคัญ เวลา( น้ำ
บที่ เรียนรู้ นการ ชั่วโม หนั
เรียนรู้/ ง) ก
ตัวชีว
้ ัด คะแ
1
6
นน
0
๑ เปรียบเทียบ ศ๒.๑ การเปรียบเทียบ ๒
งานดนตรี ม.๓/๕ ความแตกต่าง
ของบทเพลง
- สำเนียง
- อัตราจังหวะ
- รูปแบบ
บทเพลง
- การประสาน
เสียง
- เครื่องดนตรีที่
บรรเลง
๒ อิทธิพลของ ศ๒.๑ - อิทธิพลของ ๑
ดนตรี ม.๓/๖ ดนตรีต่อบุคคล
- อิทธิพลของ
ดนตรีต่อสังคม
๓ การจัดการ ศ๒.๑ การจัดการแสดง ๖
แสดงดนตรี ม.๓/๗ ดนตรี
- การเลือกวง
ดนตรี
- การเลือก
บทเพลง
- การเลือกและ
จัดเตรียมสถานที่
- การเตรียม
1
6
บุคลากร
1
- การเตรียม
อุปกรณ์เครื่องมือ
- การจัดรายการ
แสดง
๔ ลักษณะเด่น ศ๒.๒ - ปั จจัยที่ทำให้ ๑
ของงานดนตรี ม.๓/๒ งานดนตรีได้รับ
การยอมรับ
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ (๑๐ ชั่วโมง)

น้ำ
มาตรฐา
เวลา( หนั
ลำดั ชื่อหน่วยการ นการ
สาระสำคัญ ชั่วโม ก
บที่ เรียนรู้ เรียนรู้/
ง) คะแ
ตัวชีว
้ ัด
นน
๑ ทำอย่างไรเมื่อ ศ๓.๑ - วิเคราะห์การ ๑
จัดงานแสดง ม.๓/๖ จัดงาน
การแสดง
๒ เนื้อเรื่องโดนใจ ศ๓.๑ - การนำเสนอ ๒
ให้แนวคิด ม.๓/๗ แนวคิด
จากเนื้อเรื่องของ
นาฏศิลป์
๓ อุปกรณ์ไม่ ศ๓.๒ม. - การออกแบบ ๓
เปลืองเนื้อเรื่อง ๓/๑ อุปกรณ์ประกอบ
สมจริง การแสดง
1
6
๔ นาฏศิลป์ ไทย ศ๓.๒ - บทบาทการ ๒
2
อนุรักษ์ไว้สืบ ม.๓/๒ อนุรักษ์นาฏศิลป์
ต่อไป พื้นบ้านและ
นาฏศิลป์ ไทย
๕ นาฏศิลป์ ดีมี ศ๓.๒ - การนำ ๒
สุนทรียะ ม.๓/๓ นาฏศิลป์ ไปใช้
ในชีวิตประจำวัน

รวมตลอดปี /ภาค ๔๐
1
6
3
การประเมินผลการเรียน
๑. การประเมินผลการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่ม
เติม
๑.๑ ครูผส
ู้ อนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร
หลักสูตรและงานวิชาการ เป็ นผูก
้ ำหนดวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการ
ประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา ซึ่งทั่วไปจะมีการประเมินใน
ระหว่างเรียนและการประเมินเมื่อจบการเรียนแต่ละรายวิชา
๑.๒ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินจะต้องมีหลากหลายและ
สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง โดยทั่วไปจะต้องมีการประเมิน
กลางภาคเรียน ปลายภาคเรียน การประเมินจากผลงาน การประเมิน
จากแฟ้ มสะสมผลงาน การสอบปฏิบัติ การสัมภาษณ์ รวมถึงการ
ประเมินโดยใช้แบบสังเกตและแบบบันทึกต่าง ๆ แล้วปรับผลการ
ประเมินจากเครื่องมือและวิธีการประเมินรูปแบบต่าง ๆ ให้เป็ นคะแนน
โดยทั่วไปจะปรับคะแนนเต็มให้เป็ น ๑๐๐
๑.๓ การให้ระดับผลการเรียนของแต่ละรายวิชา จะใช้วิธีอิง
เกณฑ์หรือตัวชีว้ ัด ตามมาตรฐานหรือผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง โดยจะให้
ระดับผลการเรียนตามคะแนนผลการสอบและการประเมิน ดังนี ้
๔ หมายถึง ผลการเรียน ดีเยี่ยม ได้คะแนน
ร้อยละ ๘๐ - ๑๐๐
๓.๕ หมายถึง ผลการเรียนดีมากได้คะแนนร้อยละ
๗๕-๗๙
๓ หมายถึง ผลการเรียน ดี ได้คะแนนร้อยละ
๗๐-๗๔
1
6
๒.๕ หมายถึง ผลการเรียน ค่อนข้างดี ได้คะแนน
4
ร้อยละ ๖๕-๖๙
๒ หมายถึง ผลการเรียน น่าพอใจ ได้คะแนนร้อย
ละ ๖๐-๖๔
๑.๕ หมายถึง ผลการเรียนพอใช้ ได้คะแนนร้อยละ
๕๕-๕๙
๑ หมายถึง ผลการเรียน ผ่านเกณฑ์ขน
ั ้ ต่ำ ได้
คะแนนร้อยละ ๕๐-๕๔
๐ หมายถึง ผลการเรียน ต่ำกว่าเกณฑ์ขน
ั ้ ต่ำ ได้
คะแนนร้อยละ ๑-๔๙
๑.๔ ตัดสินผลการเรียนเป็ นรายวิชา นักเรียนต้องมีเวลา
เรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทัง้ หมดใน
รายวิชานัน
้ ๆ
๑.๕ นักเรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชีว้ ัด และผ่าน
มาตรฐานตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด
๑.๖ นักเรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนรายวิชาใดวิชาหนึ่งเป็ น “๐” หรือ “๑”
จะต้องทำกิจกรรมหรือเรียนเสริมตามที่ครูผู้สอนกำหนด โดยความเห็น
ชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของโรงเรียน
แล้วจึงสอบแก้ตัวได้ไม่เกิน ๒ ครัง้
๑.๗ ในกรณีที่ไม่สามารถให้ระดับผลการเรียนเป็ น ๘ ระดับ
ให้ใช้ตัวอักษรระบุเงื่อนไขของผลการเรียน ดังนี ้
“มส” หมายถึง นักเรียนไม่มีสิทธิเ์ ข้ารับการ
วัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากนักเรียนมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐
1
6
ของเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา และไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการ
5
วัดผลปลายภาคเรียน
“ร” หมายถึง รอการตัดสินและยังตัดสินผลการ
เรียนไม่ได้ เนื่องจากนักเรียนไม่มีข้อมูลผลการเรียนรายวิชานัน
้ ครบถ้วน
ได้แก่ ไม่ได้วัดผลกลางภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไม่ได้ส่งงานที่มอบ
หมายให้ทำซึ่งงานนัน
้ เป็ นส่วนหนึ่งของการตัดสินผลการเรียนหรือมี
เหตุสุดวิสัยที่ทำให้ประเมินผลการเรียนไม่ได้
๒. การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินจะให้เป็ นผ่านและไม่ผ่าน กรณีที่ผ่านให้ระดับ
ผลการประเมินเป็ นดีเยี่ยม ดี และผ่าน ดังนี ้
๒.๑ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เพื่อการ
เลื่อนชัน
้ และจบการศึกษา โดยกำหนดเกณฑ์การตัดสิน เป็ น ๔ ระดับ
ดังนี ้
ดีเยี่ยม หมายถึง มีผลงานแสดงถึงความสามารถ
ในการอ่าน
คิดวิเคราะห์และเขียนที่มีคุณภาพดีเลิศ
อยู่เสมอ
ดี หมายถึง ผลงานแสดงถึงความสามารถใน
การอ่าน
คิดวิเคราะห์และเขียนที่มีคุณภาพเป็ นที่
ยอมรับ
ผ่าน หมายถึง ผลงานแสดงถึงความสามารถในการ
อ่าน
1
6
คิดวิเคราะห์และเขียนที่มีคุณภาพ
6
เป็ นที่ยอมรับแต่
ยังมีข้อบกพร่องบางประการ
ไม่ผ่าน หมายถึง ไม่มผ
ี ลงานแสดงถึงความ
สามารถในการอ่าน
คิดวิเคราะห์และเขียนหรือถ้ามีผลงาน
ผลงานนัน

ยังมีข้อบกพร่องที่ต้องได้รับการ
ปรับปรุงแก้ไข
หลายประการ
๒.๒ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ครอบคลุม
สดมภ์ดังต่อไปนี ้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สจ
ุ ริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่ เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. รักความเป็ นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
โดยมีเกณฑ์การประเมิน ดังนี ้
ดีเยี่ยม หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตนตาม
คุณลักษณะจนเป็ นนิสัยและ
นำไปใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อประโยชน์
สุขของตนเอง
1
6
และสังคม
7
ดี หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการ
ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
เพื่อให้เป็ นที่ยอมรับของสังคม
ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
และเงื่อนไขที่
โรงเรียนกำหนด
ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบ
ตามกฎเกณฑ์และ
เงื่อนไขที่โรงเรียนกำหนด
๓. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๓.๑ ในแต่ละภาคเรียน ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
และงานวิชาการ จัดทำแบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
สำหรับใช้บันทึกการปฏิบัติกิจกรรมในภาคเรียนนัน
้ ๆ แล้วให้ครูที่
ปรึกษาลงนามรับรอง
๓.๒ เมื่อสิน
้ ภาคเรียนให้ครูที่ปรึกษากิจกรรม รวบรวมแบบ
บันทึกการปฏิบัติกิจกรรมดังกล่าวส่งนายทะเบียนวัดผลเพื่อบันทึกเป็ น
ข้อมูล นักเรียนจะต้องปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามเกณฑ์ขน
ั ้ ต่ำที่
โรงเรียนกำหนด จึงจะถือว่าสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ซึง่ ประกอบ
ด้วยกิจกรรม ๓ ลักษณะ ดังนี ้
๓.๒.๑ กิจกรรมแนะแนว
๓.๒.๒ กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบด้วย
๓.๒.๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
๓.๒.๒.๒ กิจกรรมชุมนุม ชมรม
1
6
๓.๒.๓ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
8
นักเรียนจะต้องมีจำนวนชั่วโมงในการทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาโรงเรียน
และบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคมไม่ต่ำกว่า ๘ ชั่วโมง/ภาคเรียน
ให้ใช้ตัวอักษรที่แสดงผลการประเมิน ดังนี ้
“ผ” หมายถึง นักเรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้
เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงานตามระเบียบการวัดประเมินผล
โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก
“มผ” หมายถึง นักเรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้
เรียน ปฏิบัติกิจกรรมแต่ไม่มีผลงานตามระเบียบการวัดประเมินผล
โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก
๔. การเปลี่ยนผลการเรียน
๔.๑ การเปลี่ยนผลการเรียน “๐”
โรงเรียนจัดให้มีการสอนซ่อมเสริมในมาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชีว้ ัดที่นักเรียนสอบไม่ผ่านก่อน แล้วจึงสอบแก้ตัวได้ไม่เกิน ๒
ครัง้ ถ้านักเรียนไม่ดำเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาที่โรงเรียน
กำหนด ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียนที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไป
อีก ๑ ภาคเรียน ทัง้ นีต
้ ้องดำเนินการให้เสร็จสิน
้ ภายในปี การศึกษานัน

ถ้าสอบแก้ตัวสองครัง้ แล้วยังได้รับผลการเรียน “๐” อีก โรงเรียนจะแต่ง
ตัง้ คณะกรรมการเกี่ยวกับการเปลี่ยนผลการเรียนของนักเรียน โดยถือ
ปฏิบัติดังนี ้
๑) ถ้าเป็ นรายวิชาพื้นฐานให้เรียนซ้ำในวิชานัน

๒) ถ้าเป็ นรายวิชาเพิ่มเติมให้เรียนซ้ำหรือเปลี่ยน
รายวิชาเรียนใหม่ ทัง้ นีอ
้ ยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียน ในกรณีที่เปลี่ยน
รายวิชาเรียนใหม่และหมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่า เรียน
แทนรายวิชาใด
1
6
๔.๒ การเปลี่ยนผลการเรียน “ร”
9
การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” ให้ดำเนินการ ดังนี ้
ให้นักเรียนดำเนินการแก้ไข “ร” ตามสาเหตุเมื่อ
นักเรียนแก้ไขปั ญหาเสร็จแล้ว ให้ได้รับผลการเรียนตามปกติ (ตัง้ แต่
๐-๔)
ถ้านักเรียนไม่ดำเนินการแก้ไข “ร” ให้ครูนำข้อมูลที่มี
อยู่ตัดสินผลการเรียน ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของ
โรงเรียนที่จะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรียน
ทัง้ นี ้ ต้องดำเนินการให้เสร็จสิน
้ ภายในปี การศึกษานัน
้ เมื่อพ้นกำหนดนี ้
แล้ว หากผลการเรียนเป็ น “๐” ให้ดำเนินการแก้ไขตามหลักเกณฑ์
๔.๓ การเปลี่ยนผลการเรียน “มส”
การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” มี ๒ กรณี ดังนี ้
๑. กรณีนักเรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลา
เรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ แต่ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนทัง้ หมด
ให้โรงเรียนจัดให้เรียนเพิ่มเติม โดยใช้ชั่วโมงสอนซ่อมเสริมหรือใช้เวลา
ว่างหรือใช้วันหยุดหรือมอบหมายงานให้ทำ จนมีเวลาเรียนครบตามที่
กำหนดไว้สำหรับรายวิชานัน
้ แล้วจึงให้วัดผลปลายภาคเรียนเป็ นกรณี
พิเศษ ผลการแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “๑” การแก้ “ม
ส” กรณีนใี ้ ห้กระทำให้เสร็จสิน
้ ภายในปี การศึกษานัน
้ ถ้านักเรียนไม่มา
ดำเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้นใี ้ ห้เรียนซ้ำ ยกเว้นแต่
มีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียนที่จะขยายเวลาการแก้ “มส
” ออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรียน แต่เมื่อพ้นกำหนดนีแ
้ ล้วให้ดำเนินการ
ดังนี ้
๑) ถ้าเป็ นรายวิชาพื้นฐานให้เรียนซ้ำในวิชานัน

1
7
๒) ถ้าเป็ นรายวิชาเพิ่มเติมให้อยู่ในดุลยพินิจ
0
ของโรงเรียน ให้เรียนซ้ำ หรือเปลี่ยนวิชาเรียนใหม่
๒. กรณีนักเรียนได้ผลการเรียน “มส” และมีเวลา
เรียนน้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนทัง้ หมดให้โรงเรียนดำเนินการ
ดังนี ้
๑) ถ้าเป็ นรายวิชาพื้นฐานให้เรียนซ้ำในวิชานัน

๒) ถ้าเป็ นรายวิชาเพิ่มเติมให้อยู่ในดุลยพินิจของ
โรงเรียน ให้เรียนซ้ำ หรือเปลี่ยนวิชาเรียนใหม่
ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุใน
ระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทนรายวิชาใด
การเรียนซ้ำรายวิชา หากนักเรียนได้รับการสอนซ่อม
เสริมและสอบแก้ตัวสองครัง้ แล้ว ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมิน ให้เรียนซ้ำ
รายวิชานัน
้ ทัง้ นีใ้ ห้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียนในการจัดให้เรียนซ้ำ ใน
ช่วงใดช่วงหนึ่งที่โรงเรียนเห็นว่าเหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยุด
ชั่วโมงว่างหลังเลิกเรียน ภาคฤดูร้อน เป็ นต้น
ในกรณีภาคเรียนที่ ๒ หากผู้เรียนยังมีผลการเรียน
“๐” “ร” “มส” ให้ดำเนินการให้เสร็จสิน
้ ก่อนเปิ ดภาคเรียนปี การ
ศึกษาถัดไป โรงเรียนอาจเปิ ดการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อน เพื่อ
แก้ไขผลการเรียนของนักเรียนได้ ทัง้ นี ้ หากโรงเรียนไม่สามารถดำเนิน
การเปิ ดทำการเรียนการสอนภาคฤดูร้อนได้ ให้ต้นสังกัดเป็ นผู้พิจารณา
ประสานงานให้มีการดำเนินการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อนเพื่อแก้ไข
ผลการเรียนของนักเรียน
๔.๔ การเปลี่ยนผลการเรียน “มผ”
ในกรณีที่นักเรียนได้ผลการเรียน “มผ” โรงเรียนต้อง
จัดสอนซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทำกิจกรรมในส่วนที่ผู้เรียนไม่ได้เข้าร่วมหรือ
1
7
ไม่ได้ทำจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผลการเรียนจาก “มผ” เป็ น “ผ”
1
ได้ ทัง้ นีด
้ ำเนินการให้เสร็จสิน
้ ภายในภาคเรียนนัน
้ ๆ ยกเว้นมี
เหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียนที่จะพิจารณาขยายเวลาออก
ไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรียน แต่ต้องดำเนินการให้เสร็จสิน
้ ภายในปี การ
ศึกษานัน

๕. การเลื่อนชัน

เมื่อสิน
้ ปี การศึกษา ผู้เรียนจะได้รับการเลื่อนชัน
้ เมื่อมี
คุณสมบัติตามเกณฑ์ดังต่อไปนี ้
๕.๑ รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมได้รับการตัดสินผล
การเรียนผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด
๕.๒ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่าน
ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๕.๓ ระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปี การศึกษานัน
้ ควรได้ไม่ต่ำ
กว่า ๑.๐๐
ทัง้ นีร้ ายวิชาใดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน โรงเรียนสามารถ
ซ่อมเสริมผู้เรียนให้ได้รับการแก้ไขในภาคเรียนถัดไป ทัง้ นีส
้ ำหรับภาค
เรียนที่ ๒ต้องดำเนินการให้เสร็จสิน
้ ภายในปี การศึกษานัน

๖. การเรียนซ้ำชัน

นักเรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะ
เป็ นปั ญหาต่อการเรียนในระดับที่สูงขึน
้ โรงเรียนอาจตัง้ คณะกรรมการ
พิจารณาให้เรียนซ้ำชัน
้ ได้ ทัง้ นีใ้ ห้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความ
สามารถของผู้เรียนเป็ นสำคัญ
1
7
การเรียนซ้ำชัน
้ มี ๒ ลักษณะคือ
2
๖.๑ ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปี การศึกษานัน
้ ต่ำ
กว่า ๑.๐๐ และมีแนวโน้มว่าจะเป็ นปั ญหาต่อการเรียนในระดับที่สูงขึน

๖.๒ ผู้เรียนมีผลการเรียน ๐ ร มส เกินครึ่งหนึ่งของ
รายวิชาที่ลงทะเบียนในปี การศึกษานัน

ทัง้ นีห
้ ากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือทัง้ ๒ ลักษณะ ให้
โรงเรียนแต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุอันสมควรก็
ให้ซ้ำชัน
้ โดยยกเลิกผลการเรียนเดิม และให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน
หากพิจารณาแล้วไม่ต้องเรียนซ้ำชัน
้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียนใน
การแก้ไขผลการเรียน
๗. การลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่าง ๆ
๗.๑ ในแต่ละภาคเรียนนักเรียนจะต้องลงทะเบียนเรียนใน
รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่โรงเรียนกำหนด ในกรณีที่มี
ความจำเป็ นไม่สามารถเรียนได้ตลอดภาคเรียน นักเรียนสามารถขอถอน
รายวิชาและนักเรียนต้องลงทะเบียนเรียนใหม่ตามกำหนดเวลาและวิธี
การที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการเห็นสมควรโดย
ความเห็นชอบของโรงเรียน
๗.๒ การลงทะเบียนเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ในแต่ละภาค
เรียนต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้ปกครอง เมื่อ
ลงทะเบียนเรียน นักเรียนสามารถขอเปลี่ยนแปลงรายวิชาเรียนได้
ภายในเวลาไม่เกิน ๒ สัปดาห์
๘. การเทียบโอนผลการเรียน
โรงเรียนสามารถเทียบโอนผลการเรียนได้ โดยการนำความรู้
ทักษะและประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษารูปแบบต่าง ๆ หรือจากการ
1
7
ประกอบอาชีพ มาเทียบโอนเป็ นผลการเรียนของหลักสูตรใดหลักสูตร
3
หนึ่งในระดับที่กำลังศึกษาอยู่
การพิจารณาเทียบโอนผลการเรียน ให้โรงเรียนดำเนินการ
ได้ดังนี ้
๘.๑ พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา ซึ่งจะให้ข้อมูลที่แสดง
ความรู้ความสามารถของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ
๘.๒ พิจารณาจากความรู้และประสบการณ์ตรงจากการ
ปฏิบัติจริง การทดสอบ การสัมภาษณ์ ฯลฯ
๘.๓ พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติได้จริง
ทัง้ นีใ้ ห้เป็ นไปตามกฎกระทรวงและระเบียบที่กระทรวง
ศึกษากำหนดขึน

รายวิชาพื้นฐาน เป็ นวิชาบังคับที่นักเรียนทุกคนจะต้องลง
ทะเบียนเรียนและต้องได้รับการประเมินผลการเรียนในแต่ละรายวิชา
ไม่ต่ำกว่า ๑ สาระการเรียนรู้ในรายวิชาพื้นฐานของหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก พุทธศักราช ๒๕๕๒ ครอบคลุมสาระการ
เรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กระทรวงศึกษาธิการ

มาตรฐานการเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตัวชีว้ ัด
ชัน
้ ปี ตัวชีว้ ัดช่วงชัน
้ สาระการเรียนรู้ของรายวิชาพื้นฐานแต่ละรายวิชา
ได้จัดทำไว้ในหลักสูตรของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ของโรงเรียน
รายวิชาเพิ่มเติมที่จัดทำไว้แล้วขณะนีไ้ ด้แยกไว้ตามกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถเลือกเรียนเพิ่มเติมได้ตามความ
1
7
ถนัด ความสนใจและศักยภาพของตนเอง โรงเรียนจะจัดให้มีการ
4
พัฒนาและปรับปรุงรายวิชาเพิ่มเติมใหม่ ๆ เพื่อให้ทันต่อความ
ต้องการของนักเรียน และทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการที่เกิดขึน

อย่างรวดเร็วตลอดเวลา
1
7
5

อภิธานศัพท์

ทัศนศิลป์
โครงสร้างเคลื่อนไหว (mobile)
เป็ นงานประติมากรรมที่มีโครงสร้างบอบบางจัดสมดุลด้วยเส้น
ลวดแข็งบาง ๆ ที่มีวัตถุรูปร่าง รูปทรงต่าง ๆ ทีอ
่ อกแบบเชื่อมติดกับเส้น
ลวด เป็ นเครื่องแขวนทีเ่ คลื่อนไหวได้ดว้ ยกระแสลมเพียงเบา ๆ
งานสื่อผสม (mixed media)
เป็ นงานออกแบบทางทัศนศิลป์ ที่ประกอบด้วยหลายสื่อโดยใช้วัสดุ
หลาย ๆ แบบ เช่น กระดาษ ไม้ โลหะ สร้างความผสมกลมกลืนด้วยการ
สร้างสรรค์
จังหวะ (rhythm)
1
7
เป็ นความสัมพันธ์ของทัศนธาตุ เช่น เส้น สี รูปร่าง รูปทรง น้ำ
6
หนักในลักษณะของการซ้ำกัน สลับไปมา หรือลักษณะลื่นไหล
เคลื่อนไหวไม่ขาดระยะจังหวะที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันจะช่วยเน้น
ให้เกิดความเด่น หรือทางดนตรีก็คือการซ้ำกันของเสียงในช่วงเท่ากัน
หรือแตกต่างกันจังหวะให้ความรู้สึกหรือความพอใจทางสุนทรียภาพใน
งานศิลปะ
ทัศนธาตุ (visual elements)
สิ่งที่เป็ นปั จจัยของการมองเห็นเป็ นส่วนต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็ น
ภาพ ได้แก่ เส้น น้ำหนัก ที่ว่าง รูปร่าง รูปทรง สี และลักษณะ
พื้นผิว
ทัศนียภาพ (perspective)
วิธีเขียนภาพของวัตถุให้มองเห็นว่ามีระยะใกล้ไกล
ทัศนศิลป์ (visual art)
ศิลปะทีร่ บ
ั รูไ้ ด้ดว้ ยการเห็น ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพ
พิมพ์ และงานสร้างสรรค์อ่น
ื ๆ ที่รับรู้ด้วยการเห็น
ภาพปะติด (collage)
เป็ นภาพที่ทำขึน
้ ด้วยการใช้วัสดุต่าง ๆ เช่น กระดาษ ผ้า เศษ
วัสดุธรรมชาติ ฯลฯ ปะติดลงบนแผ่นภาพด้วยกาวหรือแป้ งเปี ยก
วงสีธรรมชาติ (color circle)
คือวงกลมซึง่ จัดระบบสีในแสงสีร้งุ ที่เรียงกันอยู่ในธรรมชาติ สี
วรรณะอุ่น จะอยู่ในซีกที่มีสีแดงและเหลือง ส่วนสีวรรณะเย็นอยู่ในซีกที่
มีสีเขียว และสีม่วง สีคู่ตรงข้ามกันจะอยู่ตรงกันข้ามในวงสี
วรรณะสี (tone)
1
7
ลักษณะของสีที่แบ่งตามความรู้สึกอุ่นหรือเย็น เช่น สีแดง อยู่
7
ในวรรณะอุ่น (warm tone) สีเขียวอยู่ในวรรณะเย็น (cool
tone)

สีคู่ตรงข้าม (complementary colors)


สีที่อยู่ตรงกันข้ามกันในวงสีธรรมชาติเป็ นคู่สีกัน คือ สีคู่ที่ตัดกัน
หรือต่างจากกันมากที่สุด เช่น สีแดงกับสีเขียว สีเหลืองกับสีม่วง
สีน้ำเงินกับสีส้ม
องค์ประกอบศิลป์ (composition of art)
วิชาหรือทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสร้างรูปทรงในงานทัศนศิลป์

ดนตรี
การดำเนินทำนอง (melodic progression)
๑. การก้าวเดินไปข้างหน้าของทำนอง
๒. กระบวนการดำเนินคอร์ดซึ่งแนวทำนองขยับทีละขัน

ความเข้มของเสียง (dynamic)
เสียงเบา เสียงดัง เสียงที่มีความเข้มเสียงมากก็ยิ่งดังมากเหมือน
กับ loudness
ด้นสด
เป็ นการเล่นดนตรีหรือขับร้อง โดยไม่ได้เตรียมซ้อมตามโน้ตเพลง
มาก่อน ผู้เล่นมีอิสระในการกำหนดวิธีปฏิบัติเครื่องดนตรีและขับร้อง
บนพื้นฐานของเนื้อหาดนตรีที่เหมาะสม เช่น การบรรเลง
ในอัตราความเร็วที่ยืดหยุ่น การบรรเลงด้วยการเพิ่มหรือตัดโน้ตบางตัว
บทเพลงไล่เลียน (canon)
1
7
แคนอน มาจากภาษากรีก แปลว่า กฎเกณฑ์ หมายถึงรูปแบบ
8
บทเพลงที่มีหลายแนวหรือดนตรีหลายแนว แต่ละแนวมีทำนอง
เหมือนกัน แต่เริ่มไม่พร้อมกันแต่ละแนว จึงมีทำนองที่ไล่เลียนกันไปเป็ น
ระยะเวลายาวกว่าการเลียนทั่วไป โดยทั่วไปไม่ควรต่ำกว่า ๓ ห้อง ระยะ
ขัน
้ คู่ระหว่างสองแนวที่เลียนกันจะห่างกันเป็ นระยะเท่าใดก็ได้ เช่น แค
นอนคู่สอง หมายถึง แคนอนที่แนวทัง้ สองเริ่มที่โน้ตห่างกันเป็ นระยะคู่
๕ และรักษาระยะคู่ ๕ ไปโดยตลอดถือเป็ นประเภทของลีลาสอด
ประสานแนวทำนองแบบเลียนที่มีกฎเกณฑ์เข้มงวดที่สุด
ประโยคเพลง (phrase)
กลุ่มทำนอง จังหวะที่เรียบเรียงเชื่อมโยงกันเป็ นหน่วยของเพลงที่
มีความคิดจบสมบูรณ์ในตัวเอง มักลงท้ายด้วยเคเดนซ์ เป็ นหน่วยสำคัญ
ของเพลง
ประโยคเพลงถาม - ตอบ
เป็ นประโยคเพลง ๒ ประโยคที่ต่อเนื่องกันลีลาในการตอบรับ –
ส่งล้อ – ล้อเลียนกันอย่างสอดคล้อง เป็ นลักษณะคล้ายกันกับบทเพลง
รูปแบบ AB แต่เป็ นประโยคเพลงสัน
้ ๆ ซึง่ มักจะมีอัตราความเร็วเท่ากัน
ระหว่าง ๒ ประโยค และความยาวเท่ากัน เช่น ประโยคเพลงที่ ๑
(ถาม)มีความยาว ๒ ห้องเพลง ประโยคเพลงที่ ๒ (ตอบ) ก็จะมีความ
ยาว ๒ ห้องเพลง ซึง่ จะมีลีลาต่างกันแต่สอดรับกันได้กลมกลืน
ผลงานดนตรี
ผลงานที่สร้างสรรค์ขน
ึ ้ มาโดยมีความเกี่ยวข้องกับการนำเสนองาน
ทางดนตรี เช่น บทเพลง การแสดงดนตรี
เพลงทำนองวน (round)
1
7
เพลงที่ประกอบด้วยทำนองอย่างน้อย ๒ แนว ไล่เลียนทำนอง
9
เดียวกัน แต่ต่างเวลาหรือจังหวะ สามารถไล่เลียนกันไปได้อย่างต่อ
เนื่องจนกลับมาเริ่มต้นใหม่ได้อีกไม่มีวันจบ
รูปร่างทำนอง (melodic contour)
รูปร่างการขึน
้ ลงของทำนอง ทำนองที่สมดุลจะมีทิศทางการขึน
้ ลง
ที่เหมาะสม
สีสันของเสียง
ลักษณะเฉพาะของเสียงแต่ละชนิดที่มีเอกลักษณ์เฉพาะต่างกัน
เช่น ลักษณะเฉพาะของสีสันของเสียงผู้ชายจะมีความทุ้มต่ำแตกต่าง
จากสีสันของเสียงผูห
้ ญิง ลักษณะเฉพาะของสีสันของเสียง ของเด็ก
ผู้ชายคนหนึ่งจะมีความแตกต่างจากเสียงเด็กผู้ชายคนอื่น ๆ

องค์ประกอบดนตรี (elements of music)


ส่วนประกอบสำคัญที่ทำให้เกิดเสียงดนตรี ได้แก่ทำนอง จังหวะ
เสียงประสาน สีสันของเสียง และเนื้อดนตรี
อัตราความเร็ว (tempo)
ความช้า ความเร็วของเพลง เช่น อัลเลโกร(allegero) เลนโต
(lento)
ABA
สัญลักษณ์บอกรูปแบบวรรณกรรมดนตรีแบบตรีบท หรือเทอร์
นารี (ternary)
ternary form
สังคีตลักษณ์สามตอน โครงสร้างของบทเพลงที่มีส่วนสำคัญขยับที
ละขัน
้ อยู่ ๓ ตอน ตอนแรกและตอนที่ ๓ คือ ตอน A จะเหมือนหรือ
1
8
คล้ายคลึงกันทัง้ ในแง่ของทำนองและกุญแจเสียง
0
ส่วนตอนที่ ๒ คือ ตอน B เป็ นตอนที่แตกต่างออกไป ความสำคัญของ
สังคีตลักษณ์นี ้ คือ การกลับมา ของตอน A ซึ่งนำทำนอง
ของส่วนแรกกลับมาในกุญแจเสียงเดิมเป็ นสังคีตลักษณ์ที่ใช้มากที่สุด
โดยเฉพาะในเพลงร้อง จึงอาจเรียกว่า สังคีตลักษณ์เพลงร้อง (song
form) ก็ได้
นาฏศิลป์
การตีบท
การแสดงท่ารำตามบทร้อง บทเจรจาหรือบทพากย์ควรคำนึงถึง
ความหมายของบท แบ่งเป็ นการตีบท ธรรมชาติ และการตีบทแบบ
ละคร
การประดิษฐ์ท่า
การนำภาษาท่า ภาษานาฎศิลป์ หรือ นาฏยศัพท์มาออกแบบ
ให้สอดคล้องสัมพันธ์กับจังหวะทำนอง บทเพลง บทร้อง ลีลา ความ
สวยงาม
นาฏยศัพท์
ศัพท์เฉพาะทางนาฎศิลป์ ที่ใช้เกี่ยวกับการเรียกท่ารำ กิริยาที่
แสดงมีส่วนศีรษะใบหน้าและไหล่ ส่วนแขนและมือ ส่วนของลำตัว
ส่วนขาและเท้า

บุคคลสำคัญในวงการนาฎศิลป์
เป็ นผู้เชี่ยวชาญทางนาฎศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สร้างผลงาน
ภาษาท่า
การแสดงท่าทางแทนคำพูด ใช้แสดงกิริยาหรืออิริยาบถ และใช้
แสดงถึงอารมณ์ภายใน
1
8
1
ส่วนขาและเท้า
กิริยาแสดง เช่น กระทบ ยืดยุบ ประเท้า กระดกเท้า กระทุ้ง จรด
ขยับ ซอย วางส้น ยกเท้า ถัดเท้า
ส่วนแขนและมือ
กิริยาที่แสดง เช่น จีบ ตัง้ วง ล่อแก้ว ม้วนมือ สะบัดมือ กรายมือ
ส่ายมือ
ส่วนลำตัว
กิริยาที่แสดง เช่น ยักตัว โย้ตัว โยกตัว
ส่วนศีรษะใบหน้าและไหล่
กิริยาที่แสดง เช่น เอียงศีรษะ เอียงไหล่ กดไหล่ กล่อมไหล่ กล่อม
หน้า

สิ่งที่เคารพ
ในสาระนาฎศิลป์ มีสงิ่ ที่เคารพสืบทอดมา คือ พ่อแก่ หรือพระ
พรตฤษี ซึ่งผูเ้ รียนจะต้อง แสดงความเคารพ เมื่อเริ่มเรียนและก่อน
แสดง
องค์ประกอบนาฎศิลป์
จังหวะและทำนองการเคลื่อนไหว อารมณ์และความรู้สึก ภาษา
ท่า นาฎยศัพท์ รูปแบบของการแสดง การแต่งกาย
องค์ประกอบละคร
การเลือกและแต่งบท การเลือกผู้แสดง การกำหนดบุคลิกของผู้
แสดง การพัฒนารูปแบบของการแสดง การปฏิบัติตนของผู้แสดงและผู้
ชม
1
8
2

You might also like