You are on page 1of 3

สร้ างความเข้ าใจโรคจิตเวชในวัยรุ่นผ่ านการเล่ าเรื่อง

จากภาพยนตร์ เรื่อง The Perks of Being a Wallflower

• สาระสาคัญและข้ อค้ นพบของงานวิจัย


บทความวิชาการเรื่องนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการเล่าเรื่ องของภาพยนตร์ เรื่ อง The Perks of
being a wallflower ซึ่งเป็ นภาพยนตร์ที่นาเสนอและสร้ างความเข้ าใจเกี่ยวกับโรคจิตเวชในวัยรุ่น โดยศึกษา
แนวคิดการเล่าเรื่อง (Narrative Theory) และแนวคิดโรคเครี ยดหลังจากผ่านเหตุการณ์รุนแรง (Post-
Traumatic Stress Disorder หรือ PTSD) ร่วมด้ วยโรคซึมเศร้ า (Depression) โดยจากการวิเคราะห์พบว่า
วิธีการนาเสนอโรคทางจิตเวชในภาพยนตร์เรื่ องนี ้เต็มไปด้ วยความเข้ าใจ ทังจากสาเหตุ
้ ที่สร้ างความ
เจ็บป่ วย ภาวะภายในจิตใจหรือห้ วงความคิดที่สบั สนจนถึ งพฤติกรรมที่แสดงออก ด้ วยการนาเสนอผ่าน
ภาพยนตร์ แนวก้ าวข้ ามวัย (Coming of age) จึงทาให้ เรื่ องราวมีสีสนั ของวัยรุ่น ทังความตลก
้ สนุกสนาน รัก
และสะเทือนอารมณ์ไปพร้ อมๆกับนาเสนออาการทางจิตเวชซึ่งสอดแทรกเข้ าไปในเรื่ องราวผ่าน
องค์ประกอบต่างๆ ตามทฤษฎีการเล่าเรื่อง เริ่ มตังแต่ ้ การออกแบบตัวละครหลักคือ ชาลี โดยให้ เขาเป็ นผู้
ดาเนินเรื่ องซึ่งเป็ นการเล่าเรื่องแบบมุมมองบุคคลที่ 1 จึงทาให้ ผ้ ชู มติดตามชีวิตของเขา ประกอบกับการวาง
โครงสร้ างภาพยนตร์แบบค่อยเป็ นไปจากองก์ 1 คือ การปูเรื่ องด้ วยการเปิ ดตัวละครชาลีในภาพเด็กหนุ่ม
วัยรุ่นขี ้อาย จนถึงองก์ 2 ผู้ชมเริ่มรู้ว่าชาลีมีปมในอดีตและภาพเหล่านันมั ้ กเกิดขึ ้นวนเวียนซ ้าๆ ในจิตใจของ
เขา นาไปสู่จุดไคลแมกซ์ที่อาการของชาลีกาเริ บรุนแรงเป็ นภาพหลอน ก่อนเข้ าองก์ 3 เมื่อเขาได้ รับการ
ช่วยเหลือทันเวลานาไปสู่การรักษาถึงสาเหตุที่ถูกต้ อง จวบจนช่วงจบเรื่ องเมื่อชาลีเข้ ารับการรักษาจนหายดี
โดยมีครอบครัว เพื่อนและคนรักคอยเคียงข้ าง เขาจึงตัดสินใจก้ าวข้ ามอดีตและเห็นคุณค่าในตัวเอง ซึ่งเป็ น
แก่นของเรื่ อง (Theme) สอดคล้ องกับการยอมรับและเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยจิตเวช จัดเป็ นการ
บาบัดรักษาอาการทางจิตเวชที่ดีที่สดุ

• บทความวิจัยนาเสนอแนวคิดทฤษฎีการเล่ าเรื่อง
วิธีการเล่าเรื่องของ The Perks of Being a Wallflower ภาพยนตร์ เรื่ องนี ้มีองค์ประกอบหลักถึง 3
อย่าง ได้ แก่ การดาเนินเรื่องชวนให้ ผ้ ชู มตามติดชีวิตตัวละคร (Narrative Function) เต็มเปี่ ยมด้ วยความรู้สึก
ต่างๆ มีสีสนั ของพลังวัยรุ่น ทังตลก
้ สนุกสนาน โรแมนติก จนถึงเศร้ าสะเทือนใจ (Emotional Function) ทัง้
ยังสื่อสารประเด็นปัญหาจิตเวชเพื่อสร้ างความเข้ าใจให้ กับผู้ชมอันเป็ นหน้ าที่ในการสื่อสารด้ านความคิด
(Intellectual Function) ทังหมดเป็
้ นหน้ าที่สาคัญของภาพยนตร์ (วรรณา ชานาญกิจ, 2536)
การวิเคราะห์เนื ้อหาภาพยนตร์ โดยใช้ ทฤษฎีการเล่าเรื่ อง (Narrative Theory) ซึ่งประกอบไปด้ วย
1)โครงสร้ างภาพยนตร์ 2)แก่นเรื่อง 3)ตัวละคร 4)ความขัดแย้ ง 5)มุมมองการเล่าเรื่ อง 6)ฉาก และ
7)สัญลักษณ์พิเศษ (ปิยะฉัตร วัฒนพานิช และอุบลวรรณ เปรมศรี รัตน์, 2558)
1) ด้ านโครงสร้ างภาพยนตร์ The Perks of Being a Wallflower แบ่งการเล่าเรื่ องเป็ นสามองก์
(Tree-act-structure) โดยแต่ละองก์มีลกั ษณะดังต่อไปนี ้ องก์แรกเป็ นช่วงเปิ ดเรื่ องเพื่อแนะนาตัวละคร องก์
สองคือ ช่วงพัฒนาเหตุการณ์ ซึ่งตัวละครจะพบความขัดแย้ งและเหตุการณ์ต่างๆอันเป็ นอุปสรรคที่ทาให้ ตวั
ละครต้ องลงมือแก้ ไข และองก์สามคือ เป็ นช่วงคลี่คลายปั ญหาและนาไปสู่จุดจบของเรื่ อง
2) แก่ นความคิด (Theme) สาหรับแก่นความคิดหลักใน The Perks of Being a Wallflower ถูก
บอกเล่าผ่านชาลีซึ่งเป็ นตัวละครหลักของเรื่อง นัน่ คือ ชีวิตในปั จจุบนั เป็ นสิ่งที่มีความหมายและมีคณ ุ ค่า
มากที่สดุ และแก่นนี ้ได้ ถูกตอกย ้าด้ วยตัวละครแซมกับแพททริ กเช่นกัน เมื่อแซมได้ รับความรักจากชาลีจน
ทาให้ เธอรู้สึกมีคณุ ค่าอีกครัง้ จนถึงแพททริกแม้ จะผิดหวังในความรักและถูกล้ อเลียนแต่เขาก็ผ่านมันไปได้
3) ตัวละคร (Character) ในที่นี ้ตัวละครหลักหรื อผู้ดาเนินเรื่ องคือ ชาลี และบทบาทผู้ช่วยเหลือคือ
แพททริ กกับแซม ส่วนบทบาทผู้ร้ายคือ ภาพหลอนของป้าเฮเลนและตัวชาลีเอง
4) ความขัดแย้ ง คือ ความขัดแย้ งระหว่างมนุษย์กับจิตใจตนเอง นัน่ คือ การที่ชาลีมีปัญหาด้ าน
สุขภาพจิต มีภาวะ PTSD (โรคเครียดอย่างรุนแรงหลังประสบเหตุการณ์ร้ายแรง) ร่วมกับโรคซึมเศร้ า
(Depression) จึงทาให้ เขามักเห็นภาพหลอนป้าเฮเลนจนทาให้ เขามีบลุคลิกแปลกแยก ดังนันชาลี ้ ต้องต่อสู้
กับอดีตและภาวะจิตใจของตัวเองเพื่อจะมีชีวิตที่มีความสุขต่อไปได้
5) มุมมองการเล่ าเรื่อง (Point of view) เป็ นมุมมองที่ 1 คือ การเล่าเรื่ องผ่าน ”ชาลี” ซึ่งเป็ นตัว
ละครหลักในการดาเนินเรื่อง ตังแต่ ้ จุดเริ่มคือ การแนะนาตัวละครชาลีโดยใช้ วิธีให้ เขาเขียนจดหมายถึง
เพื่อนสนิทซึ่งก็คือตัวชาลีเอง วิธีการนี ้จะเป็ นการนาพาผู้ชมเข้ าสู่โลกของชาลีที่จะทาให้ เข้ าใจความคิด
ความรู้สึก ความเปราะบาง รับรู้ถึงปมในอดีตจนถึงปั ญหาด้ านจิตใจที่ตวั ละครต้ องเผชิญ นามาซึ่งความ
เข้ าอกเข้ าใจและลุ้นไปกับเรื่องราวของตัวละครหลัก
6) ฉาก (Setting) โดยช่วงเวลาในภาพยนตร์ เรื่ องนี ้เกิดในราวๆ ปี ค.ศ. 1985-1986 ชาลีในวัย 15-
16 ปี ที่กาลังเข้ าศึกษาต่อในชันมั
้ ธยมปลายและอีกช่วงเวลาคือ วัยเด็กของชาลีตอนอายุประมาณ 5-6 ขวบ
ส่วนสถานที่ในเรื่องเกิดขึ ้นที่เมืองพิตต์สเบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริ กา ซึ่งเรื่ องราวส่วนใหญ่ใน
ภาพยนตร์ จะเกิดขึ ้นที่บ้าน โรงเรียนและมีสถานที่สาคัญสร้ างจุดเปลี่ยนในชีวิตของชาลี ตังแต่ ้ การตกหลุม
รักแซมและปรากฏอีกครัง้ ในตอนจบของเรื่องเมื่อชาลีตดั สินใจมีชีวิตต่อและปลดปล่อยตนเองเป็ นอิสระ นัน่
คืออุโมงค์ Fort Pitt Tunnel (Movie Location, n.d.)
7) สัญลักษณ์ คือการสื่อความผ่านสัญลักษณ์ภาพ ด้ วยการฉายภาพนันซ ้ ้าๆ และการสื่อความ
ผ่านสัญลักษณ์เสียง นัน่ คือ ดนตรีประกอบ (soundtrack) เพราะการที่เรื่ องราวเกิดขึ ้นในยุค 80 ซึ่งจัดเป็ น
ทศวรรษที่มีการสร้ างสรรค์ดนตรี หรือวงดนตรี สาคัญและยังทรงอิทธิพลมาถึงปั จจุบนั
• ความน่ าสนใจของบทความวิจัย
เนื่องจากปัญหาด้ านสุขภาพจิตเป็ นเรื่ องที่ละเอียดอ่อน และจากการศึกษาปั จจุบนั พบว่ามีผ้ ปู ่ วย
โรคซึมเศร้ ามากขึ ้นเรื่อยๆ จึงคิดว่าเป็ นเรื่องที่น่าสนใจและไม่ควรมองข้ าม และบทความวิจยั นี ้ได้ ศึกษา
ภาพยนตร์ The Perks of Being a Wallflower ในการเล่าเรื่ องของวัยรุ่นที่แสดงให้ เห็นอาการของโรค PTSD
(Post-Traumatic Stress Disorder) คือภาวะวิตกกังวลหรื อโรคเครี ยดอย่างรุนแรงหลังประสบเหตุการณ์
รุนแรงต่างๆได้ อย่างถูกต้ อง โดยการอธิบายปั ญหาทางจิตวิทยาในแง่มมุ ต่างๆ ทังในแง่ ้ ลกั ษณะอาการ
สภาพจิตใจ ตลอดจนพฤติกรรมที่แสดงออก ซึ่งเป็ นการแสดงภาพที่ดีของจิตเวชศาสตร์ และภาพลักษณ์ที่ดี
ของโรงพยาบาลจิตเวชทังยั ้ งให้ ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับการเจ็บป่ วยด้ านจิตเวช ซึ่งช่วยสร้ างความเข้ าใจและ
ขจัดภาพด้ านลบของผู้ป่วยที่เป็ นภาพจาของคนส่วนใหญ่ได้ ดี

• เอกสารอ้ างอิง
นภสร ลิ ้มไชยาวัฒน์. (2565). สร้ างความเข้ าใจโรคจิตเวชในวัยรุ่นผ่านการเล่าเรื่ อง จากภาพยนตร์ เรื่ อง
The Perks of Being a Wallflower [วารสารนิเทศศาสตร์ ธุรกิจบัณฑิตย์].
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dpuca/article/view/254082

You might also like