You are on page 1of 20

คาทัวเรียน นักเขียนผู้ใช้ชีวิตอยู่กับพี่ชายในรัฐเผด็จการแห่งหนึ่ง ถูกตารวจจับตัวมาสอบสวน

เพื่อจะคลี่คลายคดีสาคัญที่เกิดขึ้นในเมืองและป้องกันเหตุร้ายที่อาจกระทบความมั่นคงของรัฐ
คดีนี้อาจเกี่ยวข้องกับ "พิลโล่แมน" มนุษย์หมอนยิ้มแฉ่งและตัวละครอื่นๆ ในเรื่องสั้นของ
คาทัวเรียน เรื่องที่มักจะจบในแบบที่เจ้าหน้าที่ หรือใครๆ ดูจะไม่ชอบใจสักเท่าไหร่ เพราะทั้ง
ดาร์กและหักมุมอย่างที่หลายคนอาจไม่เคยจินตนาการ

นักแสดง:
วีรภัทร บุญมา (บุ๊ค)
สายฟ้า ตันธนา (สายฟ้า)
เทพธนะ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา (แม็ค)
น้ามนต์ จ้อยรักษา (น้ามนต์)
ศุภวัฒน์ หงษา (มหาทิว)
วรัญญา หมุนแก้ว (วุ้น)
ขวัญอัปสร อานิล (แก้มยุ้ย)

กากับการแสดง:
ภัสสร์ศุภางค์ คงบารุง
องก์ 1 ฉากที่ 1 เหตุการณ์ในห้องสอบสวน
ตัวละคร : ฉากที่ 2 คาทัวเรียนเล่าเรือ่ ง The writer and the writer’s brother ให้ผชู้ มฟั ง
คาทัวเรียน (Katurian), ตูโพลสกี (Tupolski), แอเรียล (Ariel), ไมคาล (Michal), องก์ 2 ฉากที่ 1 เหตุการณ์ในห้องขังไมคาล
พ่อแม่ และเด็กหญิง (Dad, Mom and Girl) ฉากที่ 2 คาทัวเรียนเล่าเรือ่ ง The Little Jesus ให้ผชู้ มฟั ง
องก์ 3 (มีเพียงฉากเดียว) เหตุการณ์ในห้องสอบสวน
ศึกษาแนวทางในกระบวนการกากับ

1. การทางานร่วมกับนักแสดง เพื่อสร้างและพัฒนาตัวละคร

2. การกากับจังหวะของเรื่อง

3. การทางานร่วมกับผู้ออกแบบเพื่อสร้างภาพบนเวที

การใช้อานาจ ความรุนแรง และการตัดสินคุณค่า


ขั้นตอนการดาเนินการวิจัย

1. ค้นคว้า วิเคราะห์และสังเคราะห์ทฤษฎีการกากับ
2. ศึกษาค้นคว้าแนวทางในการกากับละครแบบตลกร้าย ทฤษฎีการสร้างอารมณ์ขัน
3. ตีความบทละคร ประกอบกับศึกษาแนวคิดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นของเรื่อง คือการใช้อานาจ
ความรุนแรง และการตัดสินคุณค่า
4. ทาความเข้าใจตัวละคร
5. ทดลองปฏิบัติใช้ทฤษฎีที่สังเคราะห์ในกระบวนการกากับตลอดระยะเวลาการซ้อม 90 วัน วันละ
ประมาณ 4 ชั่วโมง
6. จัดแสดง ณ ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล จานวน 3 รอบ
7. เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกตของผู้กากับการแสดง การตอบแบบสอบถามและสัมภาษณ์ผู้ชม
8. สรุปและประเมินผลการศึกษา
ทฤษฎีอารมณ์ขัน (Humor Theory)

❑ The Superiority Theory : แนวคิดเรื่องความเหนือกว่า


❑ The Relief Theory : แนวคิดเรื่องการปลดปล่อย
❑ The Incongruity Theory : แนวคิดเรื่องความไม่เข้ากัน
โครงเรื่องและวิธดี าเนินเรื่อง
ลักษณะของดาร์กคอเมดีในเรื่อง The Pillowman ประเด็นของเรือ่ ง

ลักษณะตัวละคร และการกระทา

• การเสียดสี เหน็บแนม วิพากษ์วิจารณ์ นาไปสู่กลวิธีการสร้างอารมณ์ขันแบบดาร์กคอเมดี ซึ่งเป็นวิธีการหลักที่ผู้


• ทาให้เห็นความรุ นแรงอย่างไม่ ศึกษาจะใช้เพื่อทดลองในกระบวนการกากับครั้งนี้ โดยสื่อสารผ่าน
องค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ
ประนีประนอม
• การแสดงให้เห็นความขัดแย้งของขั้วตรง 1. ตัวละคร ผ่านกระบวนการสร้างและพัฒนาตัวละคร โดยผู้ชมจะ
ข้าม (Binary Opposition) เข้าใจประเด็นของเรื่องผ่านการกระทาของตัวละครเป็นหลัก
• การเล่นกับความคาดหวังของผู้ชม 2. จังหวะ ผ่านกระบวนการกากับจังหวะที่เกิดจากความเดือดร้อน
• ความเป็ นการ์ตูน (Comical) และการใช้ ของตัวละคร ทาให้เกิดความขบขัน ชวนติดตาม
เทคนิคเปรียบเทียบเสียดสี (Irony) 3. ภาพบนเวที ผ่านกระบวนการสร้างภาพบนเวที เป็นส่วนที่ช่วย
• มีข้อจากัดด้านเวลาและสถานที่ เสริมการตีความ ความหมาย เพื่อให้ภาพนั้นสื่อสารประเด็นของ
เรื่องกับผู้ชม
Director’s Concept Director’s Design Concept

You might also like