You are on page 1of 7

1

แบบทดสอบ
เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมาและสามัคคี
เสวก
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๒ โรงเรียนสวายวิทยาคาร เวลา ๑
ชั่วโมง
คำชีแ
้ จง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
๑. บทเสภาสามัคคีเสวก เป็ นงานประพันธ์ที่มีเนื้อหาประเภทใด
๑. สุภาษิตคำสอน ๒. ประเพณีและพิธีกรรม
๓. ความบันเทิงสอดแทรกแนวคิด ๔. เหตุการณ์ใน
ประวัติศาสตร์
๒. จุดมุ่งหมายของการแต่งเรื่องนีค
้ ือข้อใด
๑. เพื่อแสดงความสามารถของกวี
๒. เพื่อโน้มน้าวเชิญชวนให้เห็นคุณค่าของศิลปะ
๓. เพื่ออธิบายนำเรื่องระหว่างการฟ้ อนรำตอนต่างๆ
๔. เพื่อเล่าเรื่องเหมือนการเล่านิทาน แต่เพิ่มกรับให้จังหวะ
๓. ข้อใดอธิบายกลวิธีในการนำเสนอเรื่องได้ถูกต้อง
๑. เสนอเรื่องในแง่ดีก่อน แล้วจึงเสนอส่วนไม่ดีถ้าไม่มีศิลปะ
๒. อธิบายเสนอความงามและผลดีของการมีศิลปะ
๓. อธิบายส่วนที่ไม่ดีก่อน แล้วจึงเสนอส่วนที่ดีถ้าไม่มีศิลปะ
๔. สรุปรูปแบบการนำเสนอที่เด่นชัด
๔. บทกลอนที่คัดมาให้ศึกษาตอน “วิศวกรรมา” ผู้เขียนมุ่งแสดงเรื่องใดเป็ น
สำคัญ
๑. ความสำคัญของศิลปะต่อบุคคล
2

๒. ความสำคัญของศิลปะต่อประเทศชาติ
๓. ความสำคัญของศิลปะต่อมนุษยชาติ
๔. ความสำคัญของศิลปะต่อบุคคลและต่อชาติ
๕. ผู้เขียนจบตอนวิศวกรรมาโดยให้ชาวไทยสนับสนุนศิลปิ นและวิชาช่างไทย
ด้วยวิธีใด
๑. แนะนำ ๒. โน้มน้าว ๓. อธิบาย ๔. ขอร้อง
๖. ข้อใดเป็ นผลของการไม่มีช่างผู้เชี่ยวชาญในการสร้างงานศิลปะ
๑. ความอับอาย ๒. ความมั่นคง ๓. ความเป็ นชาติ
๔. ความก้าวหน้า
๗. ผู้เขียนเสนอว่า สาเหตุใดที่ทำให้ประเทศชาติไม่มีการสร้างงานศิลปะ
๑. ศิลปิ นขาดความมั่นคง ๒. ศิลปิ นขาดความมุ่ง
มั่น
๓. ศิลปิ นขาดความรู้ความชำนาญ ๔. ศิลปิ นไม่แน่ใจในผล
งานของตน
๘. น้ำเสียงของผู้เขียนเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมา ตรงกับข้อ
ใด
๑. ชื่นชม ๒. ห่วงใย ๓. ตำหนิ ๔. เย้ยหยัน
3

๙. เจตนาของผู้สง่ สารในเรื่องนีค
้ ือข้อใด
๑. ชีแ
้ จง ๒. ปรามให้กลัว ๓. ปรารภ ง. สั่ง
สอน
๑๐. ข้อใดไม่อาจอนุมานได้จากได้จากการอ่านเรื่องนี ้
๑. คนไทยไม่เห็นความสำคัญของศิลปะ
๒. คนไทยนิยมของต่างชาติมากกว่าของไทย
๓. คนที่ไม่ชอบงานศิลปะเป็ นคนทำลายชาติ
๔. การสร้างงานศิลปะกับบ้านเมืองมีความสัมพันธ์กัน
๑๑. ข้อใดใช้โวหารต่างจากข้ออื่น
๑. ประการหนึ่งพึงคิดในจิตมั่น ว่าทรงธรรม์เหมือนบิดา
บังเกิดหัว
๒. นายจะสั่งสิง่ ใดไม่เข้าจิต จะต้องติดตันใจให้ขัดขวาง
๓. อันชาติใดไร้ช่างชำนาญศิลป์ เหมือนนารินไร้โฉมบรรโลม
สง่า
๔. เหมือนคนป่ าคนไพรไม่ร้เู รื่อง จะพูดด้วยนัน
้ ก็เปลืองซึง่
วาจา
๑๒. “อันชาติใดไร้ช่างชำนาญศิลป์ เหมือนนารินไร้โฉมบรรโลมสง่า
ใครใครเห็นไม่เป็ นที่จำเริญตา เขาจะพากันเย้ยให้อับอาย”
คำประพันธ์ข้างต้นไม่ปรากฏวรรณศิลป์ ใด
๑. การเล่นเสียงสัมผัส ๒. การเปรียบเทียบ
๓. การเล่นคำซ้ำ ๔. การเล่นเชิงคำถาม
๑๓. ศิลปะแขนงใดที่ไม่ปรากฏใน บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมา
๑. นาฏกรรม ๒. สถาปั ตยกรรม ๓. จิตรกรรม
๔. ประติมากรรม
4

๑๔. ข้อใดที่ผู้อ่านได้รับจากการศึกษาบทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมา


น้อยที่สุด
๑. ศิลปะแสดงถึงความเป็ นชาติ
๒. ศิลปะกับมนุษย์เป็ นของคู่กัน
๓. การสร้างสรรค์กับการทำลายเป็ นของคู่กัน
๔. สภาพแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะ
๑๕. “แม้ผู้ใดไม่นิยมชมสิ่งงาม เมื่อถึงยามเศร้าอุราน่าสงสาร
เพราะขาดเครื่องระงับดับรำคาญ โอสถใดจะสมานซึ่งดวงใจ”
ผู้เขียนคิดว่าข้อใดจะเป็ นโอสถได้
๑. ความสามัคคี ๒. ความงาม ๓. ความจริงใจ
๔. ความบันเทิง
๑๖. คำประพันธ์ในข้อ ๑๕ ไม่ปรากฏวรรณศิลป์ ด้านใด
๑. การเลียนเสียงธรรมชาติ ๒. การเล่นเสียงสัมผัสสระ
๓. การเล่นคำเชิงถาม ๔. ข้อ ๑ และ ๓
5

๑๗. บุคลกลุ่มใดเหมาะที่จะศึกษาเรื่องนีม
้ ากที่สุด
๑. ข้าราชการ ๒. ศิลปิ น ๓. นักเรียน ๔.
ประชาชน
๑๘. ข้อใดอธิบายความหมายไม่ถูกต้อง
๑. เหือดหาย = หมดสิน
้ ๒. ชาติไพรัช = ต่าง
ชาติ
๓. เฉไฉ = ฉลาดแกมโกง ๔. รัชดา = เครื่องเงิน
๑๙. บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนสามัคคีเสวก มุ่งถึงบุคคลกลุ่มใด
๑. ทรงธรรม์ ๒. ข้าราชการ ๓. ประชาชน
๔. ลูกเรือ
๒๐. บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนสามัคคีเสวก มุ่งคุณธรรมด้านใด
๑. ความปรองดอง ๒. ความรักใคร่ ๓. ความเสียสละ
๔. ความซื่อสัตย์
๒๑. คุณสมบัติใดที่ลูกเรือไม่ควรประพฤติ
๑. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ๒. ความเป็ นผู้ตามที่ดี
๓. ทิฐิ ๔. รักษาระเบียบวินัย
๒๒. บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนสามัคคีเสวก เด่นในด้านใด
๑. การเล่นคำ ๒. สัมผัส ๓. โวหาร ๔. การ
เลียนเสียง
๒๓. ไม่ควรเลือกที่รักมักที่ชัง สามัคคีเป็ นกำลังพลังศรี
ควรปรองดองในหมู่ราชเสวี ให้สมที่ร่วมพระเจ้าเราองค์เดียว”
ผู้เขียนคำประพันธ์ข้างต้นมีน้ำเสียงอย่างไร
๑. ปราม ๒. ตำหนิ ๓. สั่งสอน ๔. อบรม
๒๔. ข้อใดอนุมานได้ว่าเป็ นความคิดของผู้เขียนจากคำประพันธ์ข้อ ๒๓
6

๑. พลังอำนาจการต่อรองมาจากความสามัคคี
๒. คนทุกคนต้องมีพระเจ้าเพียงองค์เดียวเท่านัน

๓. ความเป็ นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน มีหลักยึดมั่นสิ่งเดียวกัน
๔. พระเจ้ากับหมู่เสวีมีคุณสมบัติเหมือนกันคือความสามัคคี
๒๕. ข้อใดไม่มีคำที่หมายถึงพระมหากษัตริย์
๑. เหล่าเสวกตกที่กะลาสี ๒. ในพระราชสำนัก
พระภูธร
๓. ล้วนเป็ นราชบริพารพระทรงศรี ๔. ว่าทรงธรรม์เหมือน
บิดาบังเกิดหัว
๒๖. “แม้ต่างคนต่างเถียงเกี่ยงแก่งแย่ง นายเรือจะเอาแรงมาแต่
ไหน”
คำประพันธ์ข้างต้นไม่ปรากฏวรรณศิลป์ ด้านใด
๑. การเล่นคำ ๒. การเล่นคำพ้อง
๓. การเล่นเสียงสัมผัส ๔. การเล่นคำเชิงถาม
๒๗. “ประโยชน์ตัวนึกน้อยหน่อยจะดี” คำประพันธ์นแ
ี ้ สดงคุณธรรมด้านใด
๑. ความซื่อสัตย์ ๒. ความอดทน ๓. ความเสียสละ
๔. ความจงรักภักดี
๒๘. ข้อใดเปรียบเทียบไม่ถูกต้อง
๑. เรือ = พระมหากษัตริย์ ๒. ลูกเรือ = ข้าราชการ
๓. วารี, สมุทร = กระแสสังคม/เหตุการณ์ ๔. พายุ =
อุปสรรค/ปั ญหา
๒๙. “คอยตัง้ ใจฟั งบังคับกัปปิ ตัน” จากคำประพันธ์นส
ี ้ ามารถอนุมานได้ว่า
อย่างไร
๑. อิทธิพลภาษาต่างประเทศ ๒. ผู้เขียนมีความรู้เรื่องเรือดี
7

๓. การมีสัมมาคารวะ ๔. ผลของการเป็ นผู้ฟังที่ดี


๓๐. คุณลักษณะของข้าราชการที่ดีจากบทเสภาสามัคคีเสวก ตอนสามัคคี
เสวก คือข้อใด
๑. กล้าคิด กล้าพูด กล้าทำ ๒. ปากว่าตาขยิบ
๓. มีความคิดริเริ่ม ๔. เป็ นผู้ตามที่ดี

You might also like