You are on page 1of 8

ข้ อสอบกลางภาค ภาษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1


ฉบับที่ 1
ตอนที่ 1 ปรนัย
คำชี้แจง เลือกคำตอบที่ถกู ต้ องที่ สุดเพียงคำตอบเดียว
1. คำใดจัดเป็ นสามานยนามทุกคำ 3 เขาชอบดูฟุตบอลแต่เล่นไม่เก่ง
1 กลุ่ม เรื อน บ้าน 4 เขาเหล่านั้นถูกจ้อยสั่งสอนจนไม่กล้ามา
2 น้อง ถนน การเงิน รังแกจ้อยอีก
3 พัทยา สะพานพุทธ 6. “กรุ งศรี อยุธยาเสียแก่ พม่ าครั้ งที่ ๒ สมัย
4 ความคิด ฝูงปลา ฝูงนก สมเด็จพระเจ้ าเอกทัศ” คำตัวหนาทำหน้ าที่ใด
2. ขอใดใชลักษณนามผิด ในประโยค
1 โห 3 ครั้ง 1 กริ ยาแท้
2 ขลยุ 3 เลา 2 สรรพนาม
3 เทียน 3 เลม 3 กริ ยาช่วย
4 ลูกคิด 3 ราง 4 เชื่อมประโยค
3. ขอใดมีสมุหนาม 7. ข้ อใดมีกริยาช่ วยกริยาแท้
1 บุตรเศรษฐีเกิดมาบนกองเงินกองทอง 1 คุณครู พาพวกเราไปเที่ยวน้ำตก
2 ทรัพยสมบัู ติของบุตรเศรษฐีไปกองอยูที่ 2 พวกเราทำบุญตักบาตรเป็ นประจำทุกเช้า
โรงรับจำนำ 3 ประเทศไทยของเราไม่เคยเป็ นเมืองขึ้น
3 ทรัพยสมบัติจ ำนวนกายกองของ ของใคร
พอแม 4 การอ่านออกเสี ยงทำให้เราเข้าใจเรื่ องได้
ตกแกบุตรเศรษฐี มากขึ้น
4 เมื่อมาอยกัู บซินแส บุตรเศรษฐีเปลี่ยน 8. ขอใดมีวเิ ศษณบอกรส
นิสยั ดีข้ ึนเปนกอง 1 แกงเขียวหวานมีรสดี
4. ข้ อใดมีวเิ ศษณ์ ขยายสรรพนาม 2 มะมวงสุ กนารับประทาน
1 ซึ่ งท่านพูดดังนี้ เรามีความยินดียิง่ นัก 3 ทับทิมกรอบหวานมันชื่นใจ
2 อันข้าพเจ้าอุปมาดังวานรนัง่ อยูบ่ นตอไม้ 4 บัวลอยไขหวานหอมชวนชิม
อันไฟไหม้ 9. ขอใดมีคำวิเศษณบอกปริมาณ
3 พระองค์ตรัสชมข้าพเจ้าว่างามนั้น ข้าพเจ้า 1 ขนมชิ้นนี้แข็ง
ยังหาเห็นว่างามไม่ 2 ดอกเข็มมีหลายสี
4 ถ้าท่านเพลี่ยงพล้ำบาดเจ็บโลหิตออกมิมาก 3 คนแข็งแรงทำงานไดดี
แต่แมลงวันกินอิ่มหนึ่ง ก็จะผิดคำที่เรา 4 ทุกคนตองมีความเขมแข็ง
สัญญาไว้กบั พระเชษฐาธิราช 10. ข้ อใดเป็ นคำสั นธานเชื่อมข้ อความที่
5. ข้ อใดมีคำสรรพนามทีท่ ำหน้ าที่ขยายนาม ขัดแย้ งกัน
อย่ างวิเศษณ์ 1 มิฉะนั้น
1 ไม่ตอ้ งบอกก็รู้วา่ เขาเป็ นคนขยัน 2 เพราะว่า
2 โรงเรี ยนของเขาอยูไ่ ม่ไกลจากบ้านนัก 3 แต่ทว่า
4 ครั้น...แล้ว ตกหล่ม
11. คำวา “ดวย” ในขอใดเปนคำ 2 มังรายกะยอฉะวาพ่ายแพ้เพราะเอาแต่ใจ
บุพบท ตนเอง
1 นกไปกับหนิงดวย 3 พลายประกายมาศจึงกลิ่นควาญช้างได้จึง
2 สาชวยไกจั
ู ดโตะหมูบูชาดวย เอางวงกอดนายช้าง
3 กลอยชวยเหลือแกวดวยใจจริ ง 4 พลายประกายมาศอาละวาดไล่แทงรี่ พล
4 แปวเก็บหนังสื อกลับบานไปดวย พม่าล้มตายเป็ นอันมาก แล้วจึงวิ่งเข้าป่ า
12. “อุตส่ าห์ ไปเรี ยนถึงเมืองนอกเมืองนา กลับ กะเลียว
มาแล้ วก็ยงั ตกงานอยู่ดี” คำตัวหนาทำหน้ าที่ 17. ข้ อใดมีบทขยายประธานของประโยค
ใดในประโยค 1 พระเจ้าราชาธิ ราชสัง่ ให้ทหารถือหนังสื อ
1 คำสร้อย กลับไป
2 คำอุทานเสริ มบท 2 มะกลอมนายทหารเรื อพระที่นงั่ กำลังวิด
3 คำซ้อนขยายนาม น้ำท้องเรื ออยู่
4 คำอุทานแสดงความสงสาร 3 มังรายกะยอฉะวาสั่งทหารให้ช่วยกันฉุด
13. ข้ อใดคือลักษณะของประโยคความรวม ช้างที่ชื่อพลายประกายมาศ
1 มีใจความสำคัญเพียงใจความเดียว 4 สมิงพ่อเพชรและสมิงนครอินท์เปรี ยบ
2 ประกอบด้วยประโยคหลักและ ประดุจพระเพลาพระพาหาของพระเจ้า
ประโยคย่อย ราชาธิ ราช
3 ประกอบด้วยประโยคความเดียวที่มี 18. ข้ อใดเป็ นประโยคความซ้ อน
ใจความแยกจากกัน 1 นายแกว่นเคยเล่นลิเกมาก่อน
4 ประกอบด้วยประโยคความเดียวสอง 2 แม่ถนอมเริ่ มวิตกเมื่อนายเสริ มจะมา
ประโยคที่มีใจความเป็ นเอกเทศและ 3 นายเสริ มวางตนเหนือนายแกว่นตลอดมา
เชื่อมกันด้วยสันธาน 4 นายแกว่นยอมลงให้นายเสริ มตลอดมาจึง
14. “เขาหวังผลกำไรจากการค้ าขาย แต่ แล้ วเขาก็ ไม่เกิดเรื่ องร้ายแรงขึ้น
ขาดทุน” ประโยคความรวมข้ างต้ น ข้ อใด 19. ข้ อใดมีบทขยายวิเศษณ์
เป็ นคำเชื่อม 1 พญาเดโชเหมือนคนไทยทัว่ ไป
1 แต่...ก็ 2 พระร่ วงคล้ายบิดาของชาวละโว้ทุกคน
2 แต่แล้ว 3 นายมัน่ เป็ นคนกล้าหาญและมีปฏิภาณดี
3 แต่แล้ว... ก็ เยีย่ ม
4 เพราะ... แล้ว 4 พระร่ วงปกครองราษฎรอย่างพ่อปกครอง
15. “ฉั นไม่ ชอบอาหารรสจัด” ประโยคนีข้ ยาย ลูก
ด้ วยอะไร 20. ข้ อใดไม่ มี นามานุประโยค
1 คำ 3 ประโยค 1 เขาทำให้พอ่ แม่มีความภูมิใจ
2 กลุ่มคำ 4 ถูกทุกข้อ 2 ฉันไม่ชอบคนไม่รักษาสัตย์
16. ข้ อใดเป็ นประโยคความรวมทีม่ ีใจความเป็ น 3 คนที่ขยันหมัน่ เพียรย่อมรุ่ งเรื อง
เหตุเป็ นผลแก่กนั 4 รัฐบาลประกาศขึ้นราคาน้ำมันเป็ นข่าว
1 พลายประกายมาศถูกพม่าจับได้เพราะ พาดหัวที่สำคัญ
21. ข้ อใดมีประโยคขยายบทกริยา สมบูรณ์ เป็ นทหารงานยิ่งนัก” คำที่ขีดเส้ น
1 ความซื้ อสัตย์ท ำให้เขาได้ดี ใต้ หมายความว่ าอย่ างไร
2 เขามีความซื่อสัตย์เขาจึงได้ดี 1 พูด
3 เขาได้ดีเพราะเขามีความซื่อสัตย์ 2 ดู
4 ถูกทุกข้อ 3 นัง่
22. ข้ อใดมีประโยคขยายบทกรรม 4 ยืน
1 แมวกัดหนูจดตาย
2 แม่ท ำกับข้าวสำหรับมื้อเย็น
3 ฉันทำความสะอาดห้องนอนขณะที่เธอ 27. คำว่ า “ข้ าพระพุทธเจ้ า” ใช้ กบั ผู้ฟังระดับ
ซักผ้า ชั้นใด
4 ตำรวจจับคนร้ายที่ลกั รถจักรยานของ 1 สมเด็จพระสังฆราชเจ้า
นักเรี ยน 2 พระเจ้าแผ่นดินและพระราชินี
3 เจ้านายชั้นพระบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้า
23. “คนไข้ ไม่ ยอมกินยาตามหมอสั่ ง” ประโยคนี้ ขึ้นไป
มีคำใดเป็ นคำเชื่อม 4 ถูกทุกข้อ
1 ก็ 28. ประโยคใดใช้ คำสามัญ
2 ตาม 1 ภรรยาของเขาพักอยูต่ ่างจังหวัด
3 เพราะ 2 สมชายซื้ อโคมา 3 ตัว
4 ไม่มีขอ้ ใดถูก 3 หัวปลีเป็ นอาหารบำรุ งหัวใจ
24. “แมวสี ด ำจุดขาวชอบกินปลาย่ าง” 4 สมรคลอดลูกชายเมื่อวานนี้
ข้ อใดคือส่ วนขยายของประโยคนี้ 29. คำว่ า “ทำวัตร” ที่ใช้ กบั พระสงฆ์ ตรงกับคำ
1 ชอบ สามัญว่ าอะไร
2 สี ด ำ 1 นอน
3 ปลาย่าง 2 สวดมนต์
4 สี ด ำจุดขาว 3 ศึกษาพระธรรมวินยั
25. การใช้ คำราชาศัพท์ มีคุณค่าต่ อภาษาไทยใน 4 ปฏิบตั ิพระธรรมวินยั
แง่ ใดมากที่สุด 30. ข้ อใดใช้ คำราชาศัพท์ ไม่ ถกู ต้ อง
1 สร้างระดับภาษา 1 สุ นขั บ้านฉันตายไป ๒ ตัว
2 สร้างความหลากหลายทางภาษา 2 ทศกัณฐ์ตายในตอนจบเรื่ อง
3 แสดงถึงความประณี ตบรรจงของภาษา 3 เจ้าอาวาสมรณภาพเมื่อปลายเดือนที่แล้ว
4 แสดงถึงความเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม 4 ช้างที่เข้ามาเดินเร่ ร่อนในเมืองหลวงล้ม
กับยุคสมัย 31. ข้ อใดใช้ คำไม่ เหมาะสม กับบุคคล
26. “ครั้ นพระเจ้ ามณเฑียรทองแจ้ งว่ า เจ้ าสมิง 1 พ่อไปนิมนต์พระสงฆ์มาสวดมนต์เย็น
พระรามมาแล้ วก็ดีพระทัย เสด็จออกทอด ที่บา้ น
พระเนตรจึง ตรั สสรรเสริ ญว่ า สมิง 2 พระสงฆ์ตอ้ งจำพรรษาที่วดั เป็ นเวลา
พระรามนีไ้ ด้ ยินแต่ ชื่อก็งามอยู่แล้ ว และ ๓ เดือน
บัดนีม้ าได้ เห็นตัวเล่ าก็มีลกั ษณะอัน 3 สมเด็จพระสังฆราชสิ้ นพระชนม์ดว้ ย
ความสงบ บางกอกซิ มโฟนี
4 สมเด็จพระสังฆราชมีลายพระหัตถ์ถึง 2 ตำรวจเห็นสมควรให้ร้ื อคดีน้ ีข้ นึ มา
พระราชาคณะทุกจังหวัด สอบสวนใหม่
32. “ปลาร้ าเป็ นอาหารยอดนิยมของชาวอีสาน” 3 ก่อนจะทำอะไรต้องพิจารณาอย่างถี่ถว้ น
คำสุ ภาพของคำที่ขีดเส้ นใต้คอื อะไร 4 นักเรี ยนควรแต่งกายให้ถูกระเบียบ
1 ปลาหาง 38. ประโยคใดมีภาษาสั นสกฤตอยู่ด้วย
2 ปลามัจฉะ 1 ฉันไม่ชอบเดินคนเดียวตอนเย็น
3 ปลาหมัก 2 ทุกวันอาทิตย์ฉนั ไปวิ่งออกกำลังกาย
4 ปลาหมักดอง 3 อย่าลืมปิ ดไฟทุกครั้งก่อนนอน
33. คำบอกรับที่พระสงฆ์ ใช้ เวลาพูดกับฆราวาส 4 มีพระห้อยคอแล้วรู ้สึกเป็ นสิ ริมงคล
คืออะไร 39. ข้ อใดเป็ นคำภาษาจีนทั้งหมด
1 ครับ 1 อั้งยี่ ยีส่ ิ บ ยีป่ ั่ ว
2 จ๊ะ 2 เก๋ ง ก๋ ง ก๊ก
3 เจริ ญพร 3 ตื๊อ ตุน ตุ๋น
4 นมัสการ 4 เฮง จับกัง นัง่ โต๊ะ
34. ข้ อใด ไม่ ใช่ ลักษณะของภาษาไทย 40. ข้ อใดไม่ เป็ นภาษาชวา
1 มีเสี ยงวรรณยุกต์ 1 ลูกเกด คาราวาน กุหลาบ
2 มีการเปลี่ยนแปลงรู ปคำก่อนนำไปใช้ 2 จารบี ตรา ฐานะ
3 ใช้ตวั สะกดตรงตามมาตรา 3 ราชาวดี องุ่น สนม
4 ไม่นิยมใช้พยัญชนะควบกล้ำ 4 กากี บัดกรี สักหลาด
35. ข้ อใดเป็ นคำไทยแท้ทุกคำ 41. ข้ อใดเป็ นคำภาษาอังกฤษทุกคำ
1 แม่ พ่อ หู 1 เพนกวิน แท็กซี่ นอต
2 เรื อน ครัว ครู 2 เกียร์ ดีเซล ยนตร์
3 เขา มัน เลข 3 ทีวี บัดกรี ดีเซล
4 ผ้า หม้อ รู ป 4 จารบี เรดาห์ ไมโครโฟน
36. ประโยคใดมีลกั ษณะเป็ นภาษาไทยมากที่สุด 42. คำในข้ อใดมาจากภาษาเดียวกันทุกคำ
1 นพพรโดยสารรถยนต์ประจำทางไป 1 บ๋ อย เกม แท็กซี่
โรงเรี ยน 2 สะดือ มัจฉา กงสี
2 มันเป็ นเรื่ องยากที่สุดที่โสภีและโสภา 3 ขนม ถวาย อาสัญ
จะคืนดีกนั 4 ประทัด วิทยา อธิ ษฐาน
3 มิใช่เป็ นการง่ายนักหรอกที่จะปฏิบตั ิ 43. สาเหตุ ที่ทำให คนเราคิดถึงเรื่องต าง ๆ
ตามกฎของลูกเสื อ คืออะไร
ง โรงเรี ยนรัฐบาลอยูภ่ ายใต้การดูแล 1 เกิดปญหา
ของกระทรวงศึกษาธิการ 2 เกิดความสงสัย
3 เกิดความตองการ
37. ประโยคใดต่ อไปนี้ ไม่ มี ภาษาเขมร 4 ถูกทุกขอ
1 เมื่อวานนี้ฉนั ฟังเพลงบรรเลงจากวง 44. ขอใดคือผลที่เกิ ดขึ้ นจากการคิ ดของคน
เรา 1 อานสามกกทำใหฉลาดขึ้นจริ ง
1 ไดความคิดใหม ๆ หรื อ
2 ไดขอสรุ ปหรื อคำตอบที่ตนตอง 2 พระอภัยมณี เปนพระเอกที่ออนแอ
การ 3 สาเหตุของการซื้ อเสี ยงในการเลือกตั้ง
3 สามารถคาดเดาเหตุการณที่จะเกิดขึ้น 4 เปนกระทู
ู ไดทุกขอ
ใน 49. อินเทอร์ เน็ตในความคิดของนักเรียนมี
อนาคตได ลักษณะอย่ างไร
4 ถูกทุกขอ 1 ทันสมัย
45. การที่จะสรางแผนภาพความคิ ดได ดี 2 ข้อมูลกว้างไกล
องคประกอบหลักที่สำคัญที่สุ ดคืออะไร 3 แหล่งรวมความรู ้
1 อายุ 4 ถูกทุกข้อ
2 การฝกฝน 50. การเข้ ามาตอบกระทู้ลกั ษณะใดเป็ นที่
3 ประสาทสัมผัส พอใจแก่ สมาชิกมากที่สุด
4 ระดับการศึกษา 1 มีเหตุมีผล
อ่ านบทร้ อยกรอง แล้วตอบคำถามข้ อ 46-47 2 ใช้ภาษาสุ ภาพ
ขอเชิญเด็กไทย 3 สื่ อความหมายชัดเจน
นึกถึงต้ นไม้ ในด้ านคุณค่ า 4 ถูกทุกข้อ
ปลูกเพื่อประดับ ตกแต่ งเคหา 51. การฟังและดูสิ่งใดต่ อไปนีม้ ีวตั ถุประสงค์
กันแสงสุริยา ด้ วยเงาร่ มเย็น เพือ่ ความรู้
46. ถ้ าจะเขียนเป็ นแผนภาพความคิด ความคิด 1 ฟังนิทาน
หลักคือข้ อใด 2 ดูภาพยนตร์
1 ต้นไม้ 3 ดูสารคดี
2 คุณค่า 4 ฟังธรรมะ
3 ให้ร่มเงา
4 สร้างบ้านเรื อน
52. ข้ อใดเป็ นข้ อคิดเห็น
1 นักเรี ยนดีเด่นมักจะขยันเรี ยนกว่าปกติ
2 ฉันแน่ใจว่าเห็นเขาออกไปตั้งแต่ ๖ โมง
47. ความคิดย่อยของแผนภาพความคิดนีค้ อื 3 ตกลงห้องเรามีนกั เรี ยนทั้งสิ้ น ๔๕ คน
อะไร 4 ถ้าผูเ้ ข้าร่ วมประชุมมาไม่ถึงครึ่ งหนึ่งการ
1 โทษ ประชุมก็เริ่ มไม่ได้
2 คุณค่า 53. หลักสำคัญในการสั งเกตกริยาท่ าทางของ
3 ต้นไม้ ผู้พูดคืออะไร
4ให้ร่มเงา 1 ความมัน่ ใจ
48. ขอความใดที่ สามารถนำไปเปนก 2 ความเหมาะสม
ระทใน ู 3 ความคล่องแคล่ว
กระดานเว็บบอรดได 4 ความกระตือรื อร้น
ฟงเพลง แลวตอบคำถามขอ 54-59 3 ตองต
ู อสูปองกั นบ านเมือง
บรรพบุรุษของไทยแตโบราณ จนตั วตาย
ปกบานปองเมื
ุ องคุมเหยา บนแผนดิน
เสี ยเลือดเสี ยเนือ้ มิใชเบา 4 ตองตอสู
ู ปองกันบานเมืองโดย
หนาที่ เรารั กษาสื บไป ไมถอยหนี
ลูกหลานเหลนโหลนภายหนา ถึงแมจะตองตาย
จะไดมีพสุธาอาศัย 57. เราต องรั กษาเอกราชของประเทศชาติ
อนาคตจะตองมีประเทศไทย ไว
มิยอมใหผู ู ใดมาทำลาย เพราะเหตุผลขอใดเปนสำคัญ
ถึงขฆาลางโคตรก็
ู ไมหวัน่ 1 เพื่อแสดงศักดิ์ศรี ของคนไทย
จะสกัู นไมหลบหนีหาย 2 เพื่อใหเปนมรดกแกลูกหลาน
สตรงนี
ู ส้ ทีู ่นี่สจนตาย
ู 3 เพื่ อแสดงความเปนนั ู กสู ที่ไมกลัว
ถึงเปนคนสุดทายก็ลองดู ความตาย
บานเมืองเราเราตองรั กษา 4 เพื่อสื บทอดเจตนารมณของบรรพบุรุษ
อยากทำลายเชิ ญมาเราสู ที่
เกียรติศักดิ์ของเราเราเชิ ดชู ปกปองบานเมืองไวดวยชีวิต
เราสไมถอยจนกาวเดี
ู ยว 58. เนือ้ เพลงนีม้ ีใจความสำคัญวาอยางไร
1 ใหรักษามรดกไวใหลูกหลาน
2 ใหรักษาเกียรติศกั ดิ์ไวดวยชีวิต
3 ใหรักษาประเทศชาติไวดวยชีวิต
54. การฟงเพลงนีุ ฟ้ งเพือ่ จุดมุงหมายใด 4 ใหเปนนั
ู กตอสูที่เขมแข็งเด็ด
1 ความรู เดี่ยว
2 ความจรรโลงใจ 59. คำวา อนาคตจะตองมีประเทศไทย
3 ความเพลิดเพลิน หมายความวาอยางไร
4 ติดตอสื่ อสารระหวางกัน 1 ประเทศไทยจะต องคงเอกราช
55. เนือ้ เพลงนีเ้ ปนเพลงประเภทใด ไวได
1 เพลงรบ ตลอดไป
2 เพลงชาติ 2 เราจะมีชีวิตอยู ไม ไดหาก
3 เพลงกีฬา ประเทศไทย
4 เพลงปลุกใจ ถูกทำลาย
56. “สตรงนี
ู ส้ ทีู ่นี่สจนตาย”
ู หมายความวา 3 ประเทศไทยจะต องเจริ ญยิ่ งใหญ
อยางไร ใน
1 ตองตอสู
ู ปองกันบานเมือง เวลาขางหนา
ไวดวยชีวิต 4 ความเจริ ญก าวหน าของ
2 ตองตอสู
ู ปองกันบานเมืองโดย ประเทศไทย
ไมเห็น เปนความหวังของเรา
แกชีวิต 60. ข้ อใดคือประโยชน์ สูงสุ ดทีไ่ ด้ จากการฟัง
และดู 3 แยกแยะข้อเท็จจริ งและข้อคิดเห็นได้
1 ประเมินค่าจากเรื่ องที่ฟังได้ 4 จับใจความสำคัญของเรื่ องที่ฟังและดูได้
2 นำมาปรับใช้กบั ชีวิตประจำวันได้
ตอนที่ 2 อัตนัย
คำชี้แจง ตอบคำถามต่ อไปนี ้
1. นักเรี ยนคิดว่าการใช้ค ำให้ถูกกับหน้าที่มีความสำคัญอย่างไร และการใช้ค ำผิดหน้าที่จะเกิด
ผลเสี ยอย่างไร จงอธิบาย

2. แผนภาพความคิดคืออะไร มีแนวทางในการสรางแผนภาพความคิดอยางไร

เฉลยข้ อสอบกลางภาค ภาษาไทย ม. 2 ภาคเรียนที่ 1 ฉบับที่ 1


ตอนที่ 1
1. 2 2.1 3. 1 4. 2 5. 1 6. 1 7. 3 8. 3 9. 2 10. 3
11. 3 12. 2 13. 4 14. 3 15.2 16. 3 17. 2 18. 2 19. 3 20. 3
21. 4 22. 4 23. 4 24. 4 25. 3 26. 2 27. 4 28. 3 29. 2 30. 2
31. 1 32. 2 33. 3 34. 2 35. 1 36. 1 37. 3 38. 2 39. 2 40. 2
41. 1 42. 2 43. 4 44. 4 45. 2 46. 1 47. 4 48. 4 49. 4 50. 4
51. 3 52. 1 53. 2 54. 2 55. 4 56. 4 57. 4 58. 3 59. 1 60. 2

ตอนที่ 2
1. เนื่องจากภาษาไทยเป็ นภาษาคำโดด คำแต่ละคำมีความหมายในตัวไม่สมั พันธ์กบั คำอื่น การเรี ยง
คำในประโยคจะทำให้เกิดความหมายเฉพาะ ถ้าสลับตำแหน่งของคำ ความหมายของประโยคจะ
เปลี่ยนไป การใช้ค ำให้ถูกหน้าที่จึงมีความสำคัญ เช่น คำนามทำหน้าที่หลักๆ คือ เป็ นประธาน
หรื อกรรมในประโยค การวางตำแหน่งนิยมวางไว้ตน้ ประโยคหรื อหน้ากริ ยา เช่น “แดงกินข้าว”
ถ้าร้อยคำใหม่ “ข้าวกินแดง” ความหมายจะเปลี่ยนไป เกิดผลเสี ยคือได้ความหมายใหม่ที่ผดิ
พลาดจากเจตนาของการสื่ อสาร หรื อไม่ตรงกับข้อเท็จจริ ง ฉะนั้นการจะพูดหรื อเขียนควร
พิจารณาหน้าที่ของคำประเภทต่างๆ แล้วใช้ให้ถูกต้อง
2. แผนภาพความคิด คือ การแสดงโครงสรางและกระบวนการคิดตั้งแตตนจนจบ ซึ่ ง
จะชวยใหเรา
มองเห็นภาพรวมของความคิดและเคาโครงของความคิด ชวยสรางความชัดเจนในกา
รสรางความ
สัมพันธของความคิด แนวทางในการสรางแผนภาพความคิด ทำไดโดยการเขียนความ
คิดหลั กไว
ตรงกลาง แลวโยงเสนใหสัมพันธ กับความคิดรอง ถามีความคิ ดยอย ๆ ที่มี
ความสัมพั นธ เชื่อม
โยงกันก็จะขยายต อไปได อีก

You might also like