You are on page 1of 17

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4

ละครสร้างสรรค์

ตัวชีวัด

• สร ้างสรรค ์ละครสันในรู ปแบบที่

ชืนชอบ
(ศ 3.1 ม.4-6/2)
ความเป็ นมาของละครสร ้างสรรค ์
• ละครสร ้างสรรค ์ (Creative Drama)
หมายถึง ละครนอกรู ปแบบทีไม่ ่ จาเป็ นต้องจัด

เวที จะแสดงทีไหนก็ ได้ เพราะไม่ถอ
ื จานวนคน
ดูเป็ นเป้ าหมายสาคัญ เพราะละครสร ้างสรรค ์

จะเน้นความสาค ัญของขันตอนการการแสดง
มากกว่าจะเน้นการประสบผลสาเร็จในการ

ผลิตละคร ซึงบางคร ้ั
งการแสดงละคร
สร ้างสรรค ์ อาจเป็ นเพียงแค่การสาธิตการ
แสดงอย่างง่ าย ๆ เท่านัน ้
ความเป็ นมาของละครสร ้างสรรค ์(ต่อ)
• ่
สถานทีและอุ ปกรณ์ทใช้ี่ ในประกอบการ
แสดงละครสร ้างสรรค ์ ได้แก่ ห้องโล่ง ๆ กว้าง

พอประมาณ อุปกรณ์เป็ นเพียงเครืองกระตุ น
้ ให้
เกิดความคิดสร ้างสรรค ์ องค ์ประกอบต่าง ๆ
ของละครถูกจาก ัดหรือถูกตัดทอนลงไปมาก
เช่น การแต่งกาย แต่งหน้า ฉาก หรือเวทีละคร
หากผู จ
้ ัดการแสดงจะใช้บา้ งก็ได้ แต่ให้มไี ม่
มากนัก
ความเป็ นมาของละครสร ้างสรรค ์(ต่อ)
• กิ จ ก ร ร ม ล ะ ค ร ส ร ้ า ง ส ร ร ค ์ จ ะ ป ร ะ ส บ
คว า ม ส า เ ร็ จไ ด้ ก็ ด ้ว ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง
ผู ร้ ่ว มงานทุ ก ฝ่ ายที่มีใ จร ก ั มีค วามสามัค คี
กัน และความสามารถของผู น ้ าที่จะเตรีย ม
สถานที่ บรรยากาศ เพื่ อให้ผู ้แ สดงได้ใ ช้
จิน ตนาการสร า้ งสรรค ล ์ ะครได้อ ย่ า งเต็ ม ที่
ดัง นั้ นละครสร า้ งสรรค จ ์ ึ ง ต้อ งครอบคลุ ม
กิจกรรมทีใช้ ่ ในการแสดง ดังต่อไปนี ้
ความเป็ นมาของละครสร ้างสรรค ์(ต่อ)
• 1.1. จังหวะและการเคลื่อนไหวร่างกาย จังหวะและการเคลื่อนไหว
ของร่างกาย เป็ นการฝึ กให้นกั แสดงได้ใช้อวัยวะทุกส่วนของร่างกายได้อย่าง
คล่องแคล่ว แต่หลักสาคัญจะต้องเป็ นการเคลื่อนไหวอย่างอิสระ พร้อมที่จะ
รับฟั งจังหวะและการเคลื่อนไหวให้ได้ตามอารมณ์ และความรูส้ กึ นึกคิด เป็ น
การเคลื่อนไหวตามเสียงกระตุน้ ต่าง ๆ อาทิ เสียงนาฬิกา เสียงรถไฟ หรือ
เสียงดนตรี ซึง่ อาจจะเป็ นการกระโดดเชือกตามจังหวะทานองเพลง การเดิน
การวิ่ง การเคลื่อนตัวจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งก็ได้
• 1.2. การใช้ประสาทสัมผัสทัง้ ห้า ประสาทสัมผัสทัง้ ห้า ได้แก่ ตา หู จมูก
ลิน้ การสัมผัสด้วยกาย เพื่อให้มีความไว และความละเอียดอ่อน จนกระทั่ง
สามารถนามาใช้ในการแสดงได้เป็ นอย่างดี
ความเป็ นมาของละครสร ้างสรรค ์(ต่อ)
• ละครสร้างสรรค์มีองค์ประกอบสาคัญที่ใช้ในการแสดง ดังนี้
• 1.โครงเรื่ อง หรื อ เนื้อเรื่ อง (plot) จะต้องมีการวางโครงเรื่ อง หรื อเลือก
เอเรื่ องที่ใช้ในการแสดง เป็ นเนื้อเรื่ องที่สนุกสนานหรื อเศร้า สอดแทรกข้อคิด
ต่าง ๆ
• 2. ตัวละคร (character) ตัวละครในการแสดงจะต้องมีการกาหนด
บุคลิกลักษณะของตัวละครให้สอดคล้องกับเนื้อหาของเรื่ อง และตัวละครอื่น
ๆ ต้องเลือกบุคคลที่สามารถถ่ายทอด
• อารมณ์ความรู ้สึกของตัวละครตัวนั้นได้สมจริ ง
• 3. สถานการณ์ (situation) คือ เหตุการณ์เรื่ องราวที่เกิดขึ้น ทาให้ตวั
ละครต้องพบเจอ ซึ่ งเหตุการณ์จะต้องสัมพันธ์กนั มีคุณค่าในเนื้อเรื่ อง เป็ น
สถานการณ์ที่จะช่วยฝึ กให้ผแู ้ สดงมีจินตนาการสร้างสรรค์ในการแสดงได้
่ ้ฝึ กเป็ นพืนฐานในการแสดง
กิจกรรมเพือใช ้
มีดงั นี ้
• 1. การพัฒนาประสาทสัมผัสทั้ง 5
• การพัฒนาประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ การเห็น การได้กลิ่น การได้
ยิน การสัมผัส รวมทั้งการลิ้มรส ประสาทสัมผัสทั้ง 5 นี้จาเป็ นอย่างยิง่ ที่
ผูแ้ สดงจะต้องพัฒนาให้เกิดการรับรู ้ตามสภาพต่าง ๆ เพื่อให้ไวต่อการ
สร้างสรรค์ผลงาน การพัฒนาประสาทสัมผัสทั้ง 5 นี้ตอ้ งใช้เวลาในการ
ฝึ กฝนพอสมควร
• 2. การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
• ในการแสดงละคร ไม่เพียงแต่อาศัยบทเจรจาเพื่อเป็ นสื่ อแสดงให้
เห็นถึงอุปนิสยั ใจคอ เรื่ องราวต่าง ๆ เท่านั้น ยังมีการเคลือ่ นไหวเพื่อ
ถ่ายทอดเรื่ องราวของภาพต่าง ๆ แสดงให้เห็นถึงการแสดงที่มีชวี ิตชีวา
ของผูแ้ สดง และทาให้การแสดงน่าติดตาม นอกจากนี้การเคลื่อนไหวยัง
ช่วยสร้างบรรยากาศและช่วยเสริ มสร้างบุคลิกภาพของผูแ้ สดงได้อย่าง
ชัดเจนมากขึ้น
• 3. การใช้จงั หวะ เสี ยง
• เสี ยงของผูแ้ สดงละครสื่ อให้เห็นถึงความคิด อุปนิสัย จินตนาการ
และอารมณ์ของผูแ้ สดงแต่ละบทบาท การใช้เสี ยงของนักแสดงจะมี
ลักษณะของความทุม้ ความแหลม ความดัง ความเบา รวมทั้งคุณภาพ
ของเสี ยงที่สอดคล้องกับจังหวะของการเคลื่อนไหวตามบทบาทและ
จังหวะของการพูด
• 4. การใช้บทบาทสมมุติและภาษา
• การที่ผแู ้ สดงจะได้รับบทบาทเป็ นตัวละครใดนั้นขึ้นอยูก่ บั ผูส้ ร้าง
สรรค์บทละครและผูก้ ากับการแสดงที่จะเป็ นผูพ้ ิจารณาความเหมาะสม
ของผูแ้ สดงกับบทบาทที่จะได้รับในละครหรื อเรื่ องราวที่สร้างสรรค์ข้ ึน
จากนั้นผูแ้ สดงจะต้องพิจารณาถึงบทบาทและความคิดของตัวละครที่
จะต้องสวมบทบาทว่า บุคลิกลักษณะความคิด อุปนิสยั ใจคอของตัว
ละครนั้นมีส่วนคล้ายคลึงและส่ วนใดแตกต่างจากตนเองบ้าง จากนั้นผู ้
แสดงละครจะต้องสารวจให้เห็นถึงบุคลิก ลักษณะหน้าตา ท่าทาง
• ตลอดจนการกระทาของตัวละครว่าได้กระทาสิ่ งใดบ้างที่ทาให้เกิด
เหตุการณ์และเรื่ องราวต่าง ๆ ในเหตุการณ์หรื อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นใน
บทละครนั้น ตัวละครมีความรู ้สึกและอารมณ์เช่นใด ต่อเหตุการณ์น้ นั ๆ
จากนั้นต้องพิจารณาถึงยุคสมัยของเรื่ องราวที่จะแสดงตามบทละครว่าอยู่
ในยุคสมัยใด ตัวละครที่จะต้องรับบทบาทมีฐานะเป็ นอย่างไร

• นอกจากนี้ผแู ้ สดงจะต้องสะท้อนภาพของตัวละครที่จะต้องสวมบทบาทว่า เมื่อ
ตัวละครประสบกับสถานการณ์หนึ่งๆ นั้น ตัวละครจะมีการแก้ไขปัญหาละ
สถานการณ์เหล่านั้นอย่างไรบ้าง
• เมื่อพิจารณาอย่างกว้าง ๆ แล้วผูแ้ สดงจะต้องเลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมกับ
บทบาทที่จะแสดงหากตัวละครที่จะต้องสวมบทบาทเป็ นคนธรรมดา จะใช้
ภาษาในการแสดงเป็ นภาษาพูดหรื อภาษาที่ไม่เป็ นทางการ หากสวมบทบาท
เป็ นตารวจที่จะต้องพูดคุยกับผูบ้ ญั ชาการต้องใช้ภาษาที่เป็ นทางการ และหาก
ต้องสวมบทบาทเป็ นผูท้ ี่มีฐานันดรศักดิ์ ก็จาเป็ นจะต้องใช้ภาษาที่เป็ นราชา
ศัพท์
แนวทางการแสดงละครสร ้างสรรค ์
• 1. ผู แ ้
้ สดงมีการฝึ กทักษะเป็ นลาดับขันตอน
จากง่ ายไปยาก
• 2. ใช้วรรรกรรมเป็ นแนวทางในการแสดงละคร
สร ้างสรรค ์
• 3. ฝึ กวิเคราะห ์ตัวละครให้เข้าใจถึงอารมณ์ท ี่
ตัวละครต้องเผชิญ
ละครพูด
• 1. ละครโศกนาฏกรรม เป็ นละครทีเสนอ ่

เรืองราวเป็ ่
นเรืองจริง เน้นสัจธรรมการกระทา
ของมนุ ษย ์ จัดเป็ นละครทางศาสนา ตอนจบ

ของเรืองมั กจบด้วยความเศร ้า ความน่ าสงสาร
ความเสียใจ และความผิดหว ัง
2. ละครสุขนาฏกรรม
ี่
• 2. ละครสุขนาฏกรรม มีทมาจากการแสดง
ของกรีกโบราณเช่นเดียวกับละคร

โศกนาฏกรรม ละครสุขนาฏกรรมมีเรืองราวที ่
ตลกขบขัน เสียดสี ล้อเลียนสังคม
3. ละครแนวเหมือนจริง

• 3. ละครแนวเหมือนจริงเป็ นละครทีสะท้ อนให้
เห็นชีวต
ิ จริงหรือสะท้อนสังคมความเป็ นอยู ่

ของคนในสังคมออกมาเป็ นเรืองราวนั ่นก็คอ

ละครทางโทรทัศน์ในปั จจุบน ั นั่นเอง
• 4. ละครแนวไม่เหมือนจริง เป็ นละครทีไม่ ่ มก ี าร
นาภาพชีวต ิ ความเป็ นจริงมาสะท้อนให้เห็นใน
การแสดงแต่ใช้จน ิ ตนาการหรืออการ
สร ้างสรรค ์ผลงานให้มค ี วามวิจต
ิ ระการตาด้วย
้ าการแต่งกายทีประณี
เสือผ้ ่ ต ละครประเภทนี ้

เน้นไปทีความสวยงามของฉาก แสง สี เสียง

และเครืองแต่ งกาย ปั จจุบน ั ละครแนวไม่เหมือน
จริง ละครเวทีส่วนใหญ่จะจัดแสดง ณ โรงละคร
การแสดงเวทีตา ่
่ งๆซึงหาชมได้ คอ่ นข้างยาก

You might also like