You are on page 1of 12

แบบบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน

(Performance Agreement: PA)


สาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูเชีย่ วชาญ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2565

ผู้จัดทาข้อตกลง
นายอานาจ ทองแสน
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ
แผนกวิชาช่างกลโรงงานและเทคนิคการผลิต

วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน
(Performance Agreement : PA)
สาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูเชีย่ วชาญ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2565

ผูจ้ ดั ทาข้อตกลง

นายอานาจ ทองแสน
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ
แผนกวิชาช่างกลโรงงานและเทคนิคการผลิต

วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
-ก-

คำนำ

ตามที่ ก.ค.ศ. ได้มีมติกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครู และบุคลากร


ทางการศึกษา ตำแหน่งครู ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 9 ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2564 โดยกำหนดให้
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งครูทุกคน ต้องจัดทำข้อตกลงในการพัฒ นางาน (Performance
Agreement : PA) ตามแบบที่ ก.ค.ศ. กำหนด ทุกปีงบประมาณ เสนอต่อผู้อำนวยการสถานศึกษา เพื่อพิจารณาให้ความ
เห็นชอบ ผู้จัดทำจึงได้จัดทำข้อตกลงในการพัฒ นางาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม
พ.ศ. 2564 ถึงวั น ที่ 30 เดือ น กัน ยายน พ.ศ. 2565) เพื่ อ แสดงเจตจำนงว่ า ภายในรอบการประเมิ น จะพั ฒ นาผลลั พ ธ์
การเรีย นรู้ของผู้เรียน เพื่อให้ ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณ ลักษณะประจำวิชา คุณ ลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะ
ที่สำคัญตามหลักสูตร ให้สูงขึ้น โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของตำแหน่งและวิทยฐานะ ที่ดำรงอยู่
ข้อตกลงในการพัฒนางานแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐาน
ตำแหน่ง และส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารข้อตกลงในการพัฒ นางานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์และเป็นแนวทางในการพัฒนางาน
ประจำปีงบประมาณ 2565 นี้ และปีงบประมาณต่อ ๆ ไป

อำนาจ ทองแสน
1 ตุลาคม 2564
-ข-

สารบัญ

หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
ข้อมูลผู้จัดทำข้อตกลง 1
ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ 1
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง 1
1. ภาระงาน 1
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน 1
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู 2
1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 2
2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ 3
3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 4
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน 5
ประเด็นท้าทาย 5
1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน 5
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล 5
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง 7
PA 1/ส
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ
(ทุกสังกัด)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ระหว่างวันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2565

ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ นายอำนาจ นามสกุล ทองแสน ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ
สถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 4 อัตราเงินเดือน .............. บาท
ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด การเรียนรู้จริง)
 ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน
 ห้องเรียนปฐมวัย
 ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
 ห้องเรียนสายวิชาชีพ
 ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ/ตามอัธยาศัย

ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ


ซึ่งเป็นตำแหน่งและวิทยฐานะที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน จำนวน 60 ชั่วโมง/สัปดาห์ ประกอบด้วย
- ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 29 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้
รายวิชาผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 1 รหัสวิชา 20102-2008 จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาเทคนิคผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 2 รหัสวิชา 30102-2102 จำนวน 7 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 30102-2002 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาออกแบบและผลิตด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 30102-2005 จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
-2-

- ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 31 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้


รายวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น รหัสวิชา 20100-1007 จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาทฤษฎีเครื่องมือกล รหัสวิชา 20102-2003 จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชางานวัดละเอียด รหัสวิชา 30100-0005 จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 30102-2002 จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาออกแบบและผลิตด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 30102-2005 จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้าน
ว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)
งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผูเ้ รียนที่แสดง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น
ให้เห็นถึงการเปลีย่ นแปลงไป
การประเมิน กับผู้เรียน ในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนา
(โปรดระบุ) (โปรดระบุ) มากขึ้น หรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
1. ด้านการจัดการเรียนรู้ พัฒนาชุดการสอนเพื่อใช้ในการ - ผู้เรียนมีความสามารถ - ผู้เรียนร้อยละ 75
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง จัดการเรียนรู้รายวิชา ในการใช้เครื่องเจียระไน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร งานเครื่องมือกลเบื้องต้น ลับคมตัด (ความรู้) ในรายวิชางานเครื่องมือกล
การออกแบบ การจัดการเรียนรู้ การจัด (Basic Machine Tools) - ผู้เรียนมีทักษะในการใช้ เบื้องต้น (Basic Machine
กิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างและหรือ รหัสวิชา 20100-1007 เครื่องเจียระไนลับคมตัด Tools) รหัสวิชา 20100-
พัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยี เรื่อง เครื่องเจียระไนลับคมตัด (ทักษะ) 1007 เรื่อง เครื่องเจียระไนลับ
และแหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และงานลับคมตัด สำหรับนักเรียน - ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึง คมตัดงานลับคมตัด
การจัดการเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประสงค์ เช่น มีความ ผ่านเกณฑ์การประเมิน
สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา สาขาวิชาช่างกลโรงงาน รับผิดชอบต่อหน้าที่ - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หรือพัฒนาการเรียนรู้ การจัด โดยมีขั้นตอน ดังนี้ และส่วนรวม มีความขยัน ของนักเรียนก่อนเรียน
บรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน - วิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา อดทน ตรงต่อเวลา และหลังเรียนแตกต่างกัน
และการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะ - พัฒนาหลักสูตรฯ และ ซื่อสัตย์ (เจตคติ) โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ที่ดีของผู้เรียน - ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ หลังเรียนสูงกว่าเรียนอย่างมี
- ออกแบบแผนจัดการเรียนรู้ นัยสำคัญ
- การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - ผู้เรียนร้อยละ 75 มีทักษะ
- สร้างและหรือพัฒนาสื่อ การใช้เครื่องเจียระไนลับคม
นวัตกรรม เทคโนโลยี ตัดผ่านเกณฑ์การประเมิน
และแหล่งเรียนรู้
-3-

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)


ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผูเ้ รียนที่แสดง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น ให้เห็นถึงการเปลีย่ นแปลงไป
การประเมิน กับผู้เรียน ในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนา
(โปรดระบุ) (โปรดระบุ) มากขึ้น หรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
1. ด้านการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) - สร้างเครื่องมือในการวัดและ - ผู้เรียนมีจิตนิสัยในการใช้
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ เครื่องเจียระไนลับคมตัด
การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร - ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ ที่ถูกต้อง ผ่านเกณฑ์
การออกแบบ การจัดการเรียนรู้ การจัด เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการ การประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างและหรือ เรียนรู้
พัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยี - จัดบรรยากาศที่ส่งเสริม
และแหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และพัฒนาผู้เรียน
การจัดการเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ - อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดี
สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา ของผู้เรียน
หรือพัฒนาการเรียนรู้ การจัด
บรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน
และการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะ
ที่ดีของผู้เรียน
2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุน - จัดทำข้อมูลสารสนเทศของ - ผู้เรียนในรายวิชาที่สอน - ผู้เรียนในรายวิชาที่สอน
การจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนและรายวิชาที่สอน และในที่ปรึกษาได้รับ ร้อยละ 80 มีเวลาเรียนครบ
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง เช่น ใช้โปรแกรม EDR หรือสมุด การดูแล ส่งเสริม พัฒนา ตามเกณฑ์ของหลักสูตร
การจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน บันทึกการเข้าชั้นเรียน เต็มตามศักยภาพ - ผู้เรียนในรายวิชาที่สอน
และรายวิชา การดำเนินการตามระบบ การใช้ไลน์กลุ่มติดตามผู้เรียน ด้านความรู้ ด้านทักษะ มี ขร. มส. ไม่เกินร้อยละ 20
ดูแลช่วยเหลือผูเ้ รียน การปฏิบัติงาน - การดำเนินการตามระบบดูแล และด้านเจตคติ - ผู้เรียนในรายวิชาที่สอน
วิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา ช่วยเหลือผู้เรียน เช่น โปรแกรม มีคุณลักษณะที่พึง ร้อยละ 80 มีผลการประเมิน
และการประสานความร่วมมือกับ EDR หรือสมุดบันทึกงานครู ประสงค์ คุณธรรม จริยธรรม
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย ที่ปรึกษา การใช้ไลน์กลุม่ และลักษณะอันพึงประสงค์
และหรือสถานประกอบการ - การปฏิบัติงานวิชาการและงาน ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
อื่น ๆ ของสถานศึกษา เช่น ปฏิบัติ - ผู้เรียนในที่ปรึกษาร้อยละ
หน้าที่หัวหน้างานวิจัย 80 มีผลการประเมิน
คณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ผ่านกิจกรรมที่สถานศึกษา
คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา กำหนด
คณะกรรมการการนิเทศการเรียน
การสอน คณะกรรมการนิเทศ
จัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี
- การประสานความร่วมมือกับ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย
และหรือสถานประกอบการ
ในสาขาวิชาที่สอน
-4-

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)


ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึ้นกับผูเ้ รียนที่แสดง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น
ให้เห็นถึงการเปลีย่ นแปลงไป
การประเมิน กับผู้เรียน ในทางที่ดีขึ้น หรือมีการพัฒนา
(โปรดระบุ) (โปรดระบุ) มากขึ้น หรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น
(โปรดระบุ)
3. ด้านการพัฒนาตนเอง - เข้ารับฝึกอบรม หลักสูตรต่าง ๆ - นำความรู้ ความสามารถ - มีนวัตกรรมการจัดการ
และวิชาชีพ ที่หน่วยงานและสถานศึกษาจัด และทักษะที่ได้รับจากการ เรียนรู้ทพี่ ัฒนาขึ้น เพื่อใช้
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง ฝึกอบรม พัฒนาตนเองและวิชาชีพ ในการจัดจัดการเรียนรู้
การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ - ศึกษาดูงาน ศึกษาค้นคว้าและ มาใช้ในการพัฒนาการ มีประโยชน์ต่อผู้เรียน
และต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการ เรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อนำความรู้ จัดการเรียนการเรียนรู้ ครู บุคลากรทางการศึกษา
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ทางวิชาชีพ และประสบการณ์มาพัฒนา เพื่อพัฒนาผู้เรียน และสถานศึกษา เช่น
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้และการนำ ตนเองและวิชาชีพ และพัฒนานวัตกรรม ชุดการสอน
ความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้ - เป็นผู้นำและมีส่วนร่วมในการ การจัดการเรียนรู้ เอกสารประกอบการสอน
จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง สื่อ Power Point เป็นต้น
มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ - นำความรู้ ประสบการณ์จากการ
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการ พัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพ
พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ มาสร้าง พัฒนาสื่อ นวัตกรรม
เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
เพื่อพัฒนาผู้เรียน เช่น ชุดการ
สอน เอกสารประกอบการสอน
และ สื่อ Power Point เป็นต้น

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการ
เรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผล
โดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของรายวิชาหลักที่ทำ
การสอนทุ กระดับ ชั้น ในกรณี ที่ส อนหลายรายวิช า สามารถเลื อกรายวิช าใดวิช าหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้ เห็ นถึงการ
ปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบ
การประเมิน PA 2
3. การพั ฒ นางานตามข้ อ ตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ ค วามสำคั ญ กั บ ผลลั พ ธ์ ก ารเรี ย นรู้ ข องผู้ เรี ย น
(Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตาม
ข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของ
แต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็นสำคัญ โดยไม่เน้นการประเมิน
จากเอกสาร
-5-

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง
ครู วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของวิทยฐานะเชี่ยวชาญ คือ การคิดค้น พัฒนา
นวัตกรรม และปรับเปลี่ยนให้คุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนสูงขึ้น เป็นแบบอย่างที่ดี และให้คำปรึกษาผู้อื่น (ทั้งนี้ ประเด็น
ท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังในวิทยฐานะที่สูงกว่าได้)
ประเด็น ท้าทาย เรื่อง “พัฒ นาชุดการสอนเพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ รายวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
(Basic Machine Tools) รหัสวิชา 20100-1007 เรื่อง เครื่องเจียระไนลับคมตัด และงานลับคมตัด สำหรับนักเรียนระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาช่างกลโรงงาน” ทำให้ผู้เรียนมีผลลัพธ์การเรียนรู้หรือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มสูงขึ้น
กว่าเดิม (ชุดการสอนที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย เอกสารประกอบการเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สื่อ Power Point
เรื่อง การลับคมตัด เป็นต้น)
1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
เครื่องเจียระไนลับคมตัดและงานลับคมตัด เป็นหน่วยการเรียนหนึ่งในรายวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
(Basic Machine Tools) รหั ส วิช า 20100-1007 ตามหลั กสู ตรประกาศนียบัตรวิช าชีพ พุท ธศักราช 2562 ประเภทวิช า
อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นรายวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐานที่นักเรียนหลายวิชาจะต้องเรียน ได้แก่ สาขาวิชาช่างกล
โรงงาน สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ ความสำคัญของเครื่องเจียระไนลับคมตัด นั้น ผู้เรียน
จะต้องมีความรู้และทักษะในการใช้เครื่องฯ สำหรับลับ คมตัดต่าง ๆ ของเครื่องมือตัดที่ใช้กับเครื่องมือกล เช่น คมตัดของมีด
กลึง และคมตัดของดอกสว่าน เป็นต้น
ดังนั้น ผู้จัดทำฯ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องคิดค้น พัฒนานวัตกรรม และปรับเปลี่ยนวิธีการจัดเรียนรู้ โดยการ
พัฒนาชุดการสอนรายวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น (Basic Machine Tools) รหัสวิชา 20100-1007 เรื่อง เครื่องเจียระไน
ลับคมตัด และงานลับคมตัด เพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ ส่ งเสริมผู้เรียนได้รับความรู้ มีทักษะ เจตคติ และประสบการณ์ตาม
จุดประสงค์รายวิชา และสมรรถนะรายวิชา สามารถเชื่อมโยงความรู้ ความคิด และทักษะ ไปสู่การปรับประยุกต์ในการปฏิบัติ
จริง ทำให้คุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนสูงขึ้น
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล (อาจกำหนดระยะเวลาในการจัดทำแต่ละขั้นตอนเพิ่มเติม ก็ได้)
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล ผู้จัดทำฯ มีวิธีการดังแผนภูมิที่ 1 และตารางที่ 1 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1) ทำการวิเคราะห์หลักสูตร และพัฒนาหลักสูตรฯ
2) ออกแบบหน่วยการเรียนรู้
3) พัฒ นาชุดการสอนรายวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น (Basic Machine Tools) รหัสวิชา 20100-1007
เรื่อง เครื่ องเจี ยระไนลั บ คมตัด และงานลั บ คมตัด ประกอบด้ว ย เอกสารประกอบการเรียน สื่ ออิเล็ กทรอนิ กส์
(E-book) และ สื่อ Power Point เรื่อง การลับคมตัด เป็นต้น
4) นำชุดการสอนที่พัฒนาขึ้นไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
5) ทำการวิเคราะห์ สังเคราะห์ผลที่ได้จากการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบของการวิจัย
6) ปรับปรุงชุดการสอนเพื่อนำไปใช้ในภาคเรียนต่อไป
-6-

เริ่มต้น

วิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา

พัฒนาชุดการสอน

ใบเนื้อหา แบบทดสอบท้าย ใบงาน สื่อการจัดการเรียนรู้


หรือใบความรู้ บทเรียนพร้อมเฉลยฯ และใบประเมินผลฯ (สื่อ Power Point,
สื่ออิเล็กทรอนิกส์)

ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพ ไม่ผา่ น ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม


ชุดการสอน และแก้ไขปรับปรุง

นำชุดการสอน
ไปใช้กับผู้เรียน

วิเคราะห์ข้อมูลการใช้ชุดการสอน

ปรับปรุงชุดการสอน

จบ

รูปที่ 1. แสดงขั้นตอนการพัฒนาชุดการสอน
-7-

ตารางที่ 1. แสดงขั้นตอน วิธีการดำเนินการ และระยะเวลาในการพัฒนางานตามข้อตกลง


ขั้นตอนที่ วิธีการดำเนินการ ระยะเวลา
1 นำเสนอข้อตกลงในการพัฒนางานต่อผู้อำนวยการสถานศึกษา 1 ตุลาคม 2564
2 วิเคราะห์หลักสูตรฯ พัฒนาหลักสูตรรายวิชา และออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 1-30 ตุลาคม 2564
3 พัฒนาชุดการสอน ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ เอกสารประกอบ พฤศจิกายน 2564
การเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) และ สื่อ Power Point ถึง มกราคม 2565
4 ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพชุดการสอน กุมภาพันธ์ 2565
5 นำชุดการสอนที่ผ่านประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญมาแก้ไข ปรับปรุง มีนาคม-เมษายน 2565
6 นำชุดการสอนที่ผ่านแก้ไข ปรับปรุงแล้วไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ พฤษภาคม-กันยายน 2565
7 ทำการวิเคราะห์ สังเคราะห์ผลที่ได้จากการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ กันยายน 2565
ของการวิจัย

3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ
ผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น (Basic Machine Tools) รหัสวิชา 20100-
1007 ตามตารางสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ทุกคนได้ศึกษาและเรียนรู้จากชุดการสอนเรื่อง เครื่องเจียระไนลับคม
ตัดและงานลับคมตัดที่พัฒนาขึ้น
3.2 เชิงคุณภาพ
1) ผู้ เรี ย นที่ ล งทะเบี ย นเรี ย นในรายวิ ช างานเครื่ อ งมื อ กลเบื้ อ งต้ น (Basic Machine Tools) รหั ส วิ ช า
20100-1007 ตามตารางสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75 มีความรู้ ทักษะ และเจตคติ ผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนรายวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น (Basic Machine Tools) รหัสวิชา
20100-1007 2 เรื่อง เครื่องเจียระไนลับคมตัดและงานลับคมตัด ตามตารางสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ก่อนเรียน
และหลังเรียนด้วยชุดการสอนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ
3) ผู้เรียนรายวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น (Basic Machine Tools) รหัสวิชา 20100-1007 เรื่อง เครื่อง
เจียระไนลับคมตัดและงานลับคมตัด ตามตารางสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 มีความพึงพอใจต่อการเรียนจัดการ
เรียนรู้ด้วยชุดการสอนที่พัฒนาขึ้น อยู่ในระดับมาก

ลงชื่อ..........................................
(นายอำนาจ ทองแสน)
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564
-8-

ความเห็นของผู้อำนวยการสานศึกษา
( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอเพื่อพิจารณา
อีกครั้ง ดังนี้
.........................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.....................................................
(นายธีรภัทร์ ไชยสัตย์)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564

You might also like