You are on page 1of 62

การสร้ างข้อสอบตามมาตรฐาน

กรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
นําเสนอโดย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
20/8/2564
องค์ประกอบการจัดการศึกษา

S: Standard/ O : Objective Curriculum


จุดมุ่งหมายทางการศึกษา

E : Evaluation
A: Assessment L : Learning Experience
การวัดและประเมินผล การจัดประสบการณ์การเรียนรู ้
S1
Slide 4

S1 Solihah, 19/8/2564
ลักษณะของการวัดและประเมินผล
(จําแนกตามชว่ งเวลา)

่ งเวลา
ชว ล ักษณะของการประเมินผล

ก่อนเรียน Placement, Diagnosis, Pre

ระหว่างเรียน Formative, Diagnosis

หล ังเรียน Summative, Post


ความสม ั พันธ์ระหว่างการทดสอบ (T)
การวัดผล (M) การประเมินผล (E) และการประเมิน (A)

Evaluation
Assessment

Measurement

Testing
ประเมินจัดตําแหน่ง ประเมินย่อย ประเมินวินจ
ิ ฉั ย ประเมินรวม
(Placement) (Formative) (Diagnosis) (Summative)

ประเพณีนย
ิ ม ทางเลือก การสงั เกต ั ภาษณ์
การสม
(Traditional) (Alternative) (Observational) (Interview)
แบบ/ชนิด/ประเภท
(Types)
แนวคิด
เทคนิค/วิธก
ี าร
(Approach)
C (Techniques)

จุดประสงค์การเรียนรู ้
ความรู ้ ความสามารถ การว ัดผลและประเมินผลการเรียนรู ้ เกณฑ์ให ้คะแนน
A และคุณลักษณะ (Rubric Score)
(ทีวัดและประเมิน)
มาตรประมาณค่า
ระเบียบว่าด้วยการว ัดและประเมินผล (Rating Scale)
P ของสถานศก ึ ษา

ึ ษา พ.ศ. 2542
พ.ร.บ. การศก
รูปแบบ/กรอบอ้างอิง เครืองมือ
(instruments/tools)
(References)
แบบตรวจสอบรายการ
(checklists) คุณลักษณะเครืองมือวัดที
อิงเกณฑ์ อิงกลุม
่ อิงตน/อิงพัฒนาการ ดี
(CR) (NR) (Improvement-Reference) แบบสอบถาม แบบสํารวจ แบบทดสอบ
(Questionnair) (Inventory) (Test)
ทบทวนเกณฑ์การให้คะแนน
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒกิ ารศึกษา
ให้เหมาะสมกับบริบทการเรียนการสอนออนไลน์
การประยุกต์แนวคิดของการประเมินตามสภาพจริง
่ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู ้รายวิชา
สูก

การว ัดและการ จุดประสงค์


ประเมินผล (การเรียนรูร้ ายวิชา
(Authentic (ความคิดระด ับสูง
Assessment) ความสามารถที
ั อ
ซบซ ้ น)

การจ ัดการเรียนรู ้
(การจ ัดการเรียนการสอน)
(เน้นผูเ้ รียนเป็นสําค ัญ)
หมวดที 5 แผนการสอนและการประเมินผล (ต่ อ)
กิจกรรม การเรียนรู ้ ผลการเรี ยนรู ้ วิธี/กิจกรรม สัปดาห์ทีประเมิน สัดส่วนการประเมิน
ที ด้าน การประเมิน
1 คุณธรรม 1. []รัก ศรัทธาและภูมิใจในวิชาชีพครู มีจิตวิ ญญาณและอุดมการณ์
ความเป็ นครู และปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ทีกําหนดโดยคุรุ
 สังเกตพฤติกรรม ตลอดภาค 10
 การตรงเวลา การศึ กษา
จริ ยธรรม สภาและหลักคําสอนศาสนาทีนับถื อ  การเข้าร่วมกิจกรรม
2. []มีจิตวิญญาณแห่งความเมตตา จิตอาสา จิตสาธารณะ อดทน  การแต่งกาย
มีความเสียสละ รับผิดชอบและซื อสัตย์ ต่องานทีได้รับมอบหมายทังด้าน
วิชาการและวิ ชาชีพ และสามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื อง ประพฤติ
ตนเป็ นแบบอย่างทีดี

3. []มีคา่ นิ ยมและคุณลักษณะเป็ นประชาธิ ปไตย คื อ การเคารพสิ ทธิ


และให้เกียรติคนอื น มีคา่ นิ ยมใฝ่ สนั ติ รักความเป็ นเอกภาพและ
สมานฉันท์ มีความสามัคคีและทํางานร่วมกับผูอ้ ื นได้ใช้เหตุผลและ
ปัญญาในการดําเนิ นชีวิตและการตัดสินใจ
4. [] มีความกล้าหาญและแสดงออกทางคุณธรรมจริ ยธรรมที
สอดคล้องกับหลักคําสอนศาสนา สามารถวินิจฉัย จัดการและคิด
แก้ปัญหาทางคุณธรรมจริ ยธรรมด้วยความถูกต้อง เหมาะสมกับสังคม
การทํางานและสภาพแวดล้อมโดยอาศัยหลักคําสอนทางศาสนา
หลักการ เหตุผลและใช้ดุลยพินิจทางค่านิ ยม บรรทัดฐานทางสังคม
ความรู ส้ ึ กของผูอ้ ื นและประโยชน์ของสังคมส่วนรวม
กิจกรรม การเรี ยนรู ้ ผลการเรี ยนรู ้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที สัดส่วนการ
ที หมวดที 5 แผนการสอนและการประเมินผล (ต่ อ)
ด้าน ประเมิน ประเมิน
2 ความรู้ 1. []มีความรอบรู ใ้ นหลักการ แนวคิด ทฤษฎีเนื อหาสาระด้าน  การทดสอบย่อย สัปดาห์ที 4, 60
วิชาชีพของครู อาทิ ค่านิ ยมของครู คุณธรรม จริ ยธรรม  สอบปลายภาค 8,12
จรรยาบรรณ จิตวิญญาณครู ปรัชญาความเป็ นครู  ประเมินงานที และ16
มอบหมาย
2. [] มีความรอบรู ใ้ นหลักการ แนวคิด ทฤษฎีเนื อหาวิชาทีสอน
สามารถวิเคราะห์ความรู ้ และเนื อหาวิ ชาทีสอนอย่างลึกซึง
สามารถติดตามความก้าวหน้าด้านวิทยาการและนําไป
ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผูเ้ รี ยน โดยมีผลลัพธ์การเรี ยนรู แ้ ละ
เนื อหาสาระด้านมาตรฐานผลการเรี ยนรู ด้ า้ นความรู ข้ องแต่ละ
สาขาวิชา
3. [] มีความรู เ้ ข้าใจชีวิต เข้าใจชุมชน เข้าใจโลกและการอยู ่
ร่วมกันอย่างสันติบนพื นฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม
สามารถเผชิญและเท่าทันกับการเปลียนแปลงของสังคม
4. [] มีความรู แ้ ละความสามารถในการใช้ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ และ/หรื อภาษาในสาขาวิชาเฉพาะทางทีเกียวข้อง
เพื อการสื อสารตามมาตรฐาน
5. [] ตระหนักรู ้ เห็ นคุณค่าและความสําคัญของศาสตร์พระราชาเพื อ
การพัฒนาทียังยื นและนํามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตน พัฒนาผูเ้ รี ยน
พัฒนางานและพัฒนาชุมชนโดยบูรณการกับหลักคําสอนศาสนา และ
ไม่ใช้ขอ้ มูลบิดเบื อน หรื อการลอกเลียนผลงาน
หมวดที 5 แผนการสอนและการประเมินผล (ต่ อ)
กิจกรรม การเรียนรู ้ ผลการเรี ยนรู ้ วิ ธีการประเมิน สัปดาห์ที สัดส่วนการประเมิ น
ที ด้าน ประเมิน
3 ทักษะ 1. [] คิด ค้นหา วิเคราะห์ขอ้ เท็จจริ ง และประเมินข้อมูล สื อ  สังเกตการวิเคราะห์ 20
สารสนเทศจากแหล่งข้อมูลทีหลากหลายอย่างรู เ้ ท่าทัน เป็ นพลเมื องตื นรู ม้ ี  สังเกตการสะท้อนคิด
ทาง สํานึ กสากล สามารถเผชิญและก้าวทันกับการเปลียนแปลงในโลกยุค  ประเมินผลการ
ปัญญา ดิจิทลั เทคโนโลยีขา้ มแพลทฟอร์ม (Platform) และโลกอนาคต ปฏิ บตั ิ การ
นําไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั ิงานและวินิจฉัยแก้ปัญหาและพัฒนางานได้  ประเมินผลงานที
อย่างสร้างสรรค์โดยคํานึ งถึงความรู ห้ ลักการทางทฤษฎีประสบการณ์ มอบหมาย
ภาคปฏิบตั ิ หลักคุณธรรมจริ ยธรรม ค่านิ ยม แนวคิด นโยบายและ
ยุทธศาสตร์ชาติ บรรทัดฐานทางสังคมและผลกระทบทีอาจเกิดขึน

2. []สามารถคิดริ เริ มและพัฒนางานอย่างสร้างสรรค์

3. [] สร้างและประยุกต์ใช้ความรู จ้ ากการทําวิจยั และสร้างหรื อร่วม


สร้างนวัตกรรมเพื อพัฒนาการเรี ยนรู ข้ องผูเ้ รี ยนและพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ น
ผูส้ ร้างหรื อร่วมสร้างนวัตกรรม รวมทังการถ่ายทอดความรู แ้ ก่ชุมชนและ
สังคมโดยใช้วิธีการทีมีวิทยปัญญา
หมวดที 5 แผนการสอนและการประเมินผล (ต่ อ)
กิจกรรม การเรียนรูด้ า้ น ผลการเรี ยนรู ้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที สัดส่วนการ
ที ประเมิน ประเมิน

4 ด้าน 1.[o] เข้าใจและใส่ใจอารมณ์ความรู ส้ ึ กของผูอ้ ื น มีความคิ ด  สังเกตการเข้าร่วม 5


ความสัมพันธ์ เชิงบวก มีวุฒิภาวะทางอารมณ์และทางสังคม กิจกรรมกลุม่
ระหว่างบุคคล 2. [o] ทํางานร่วมกับผูอ้ ื นบนพื นฐานหลักเมตตาธรรมและ  สังเกตุพฤติกรรมความ
รับผิดชอบ
และความ หลักเอกภาพ ทํางานเป็ นทีม เป็ นผูน้ ําและผูต้ ามทีดี มี
 การระดมสมอง
รับผิดชอบ สัมพันธภาพทีดีกบั ผูเ้ รี ยน ผูร้ ่วมงาน ผูป้ กครองและคนในชุมชน
 สังเกตุภาวะการเป็ น
มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวมทังด้านเศรษฐกิจ สังคมและ ผูน้ ํา
สิ งแวดล้อม
3. [] มีความรับผิดชอบต่อหน้าที ต่อตนเอง ต่อผูเ้ รี ยน ต่อ
ผูร้ ่วมงาน และต่อส่วนรวมสามารถช่วยเหลื อและแก้ปญ ั หา
ตนเอง กลุม่ และระหว่างกลุม่ ได้อย่างสร้างสรรค์
4. [o]มีภาวะผูน้ ําทางวิ ชาการและวิชาชีพ มีความเข้มแข็ง
และกล้าหาญทางจริ ยธรรมบนพื นฐานหลักคําสอนทางศาสนา
ทีนับถื อ สามารถชีนําและถ่ายทอดความรู แ้ ก่ผูเ้ รี ยน
สถานศึ กษา ชุมชนและสังคมอย่างสร้างสรรค์
หมวดที 5 แผนการสอนและการประเมินผล (ต่ อ)
กิจกรรมที การเรียนรู ้ ผลการเรี ยนรู ้ วิธีการประเมิ น สัปดาห์ทีประเมิน สัดส่วนการประเมิน
ด้าน
5 ทักษะการ 1. [o] มีทกั ษะการวิเคราะห์ขอ้ มูลสถิติ การสังเคราะห์  สังเกตการซักถาม 5
วิเคราะห์เชิ ง ข้อมูลเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพเพื อเข้าใจองค์ความรู ้ หรื อ  สังเกตผลงานที
ตัวเลข การ ประเด็นปัญหาทางการศึ กษาได้อย่างรวดเร็ วและถูกต้อง มอบหมาย
สือสาร และ 2. [o] สื อสารกับผูเ้ รี ยน พ่อแม่ผูป้ กครอง บุคคลในชุมชนและ  สังเกตการนําเสนอ
การใช้ สังคม และผูเ้ กียวข้องกลุม่ ต่างๆได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยใช้ งานผ่านสื ออิเล็ก
เทคโนโลยี วิทยปัญญา สามารถเลื อกใช้การสื อสารทางวาจา การเขียน ทรอนิ กส์
สารสนเทศ หรื อการนําเสนอด้วยรู ปแบบต่างๆโดยใช้เทคโนโลยีการสื อสาร
หรื อนวัตกรรมต่างๆทีเหมาะสมและสร้างสรรค์
3. [] ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูลหรื อความรู ้
จากแหล่งการเรี ยนรู ต้ า่ งๆได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สามารถใช้
โปรแกรมสําเร็ จรู ปทีจําเป็ นสําหรับการเรี ยนรู ้ การจัดการเรี ยนรู ้
การทํางาน การประชุม การเผยแผ่ความรู ้ การจัดการและสื บค้น
ข้อมูลและสารสนเทศ รับและส่งข้อมูลและสารสนเทศโดยใช้
ดุลยพินิจทีดีในการตรวจสอบความน่าเชื อถื อของข้อมูลและ
สารสนเทศอีกทังตระหนักถึงการละเมิดลิขสิ ทธิ และการลอก
เลียนผลงาน
ตัวอย่างการวางแผนการประเมินผลการเรียนรู้
ระยะการประเมิน ผลการเรียนรู ้ วิธี/กิจกรรมการประเมิน สัปดาห์ทีประเมิน สัดส่วนของ
การประเมิน
1.ระหว่างเรี ยน 1.คุณธรรมจริยธรรม 1. สังเกตพฤติกรรม ตลอดภาคการศึ กษา 10

2.ความรู ้ 1.การทดสอบ สัปดาห์ที 9 สัปดาห์ที 20


2. การประเมินการปฏิ บตั ิงาน 5 10 15
3.ทักษะทางปั ญญา 1. การทดสอบ สัปดาห์ที 9 สัปดาห์ที 30
2. การประเมินการปฏิ บตั ิงาน 14-15
4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่าง 1. การสังเกตพฤติกรรม สัปดาห์ที 2 และ 10 10
บุคคลและความรับผิดชอบ 2. การประเมินตนเองของนักศึกษา
5.ทักษะการวิ เคราะห์ การ 1. การประเมินการปฏิ บตั ิงาน สัปดาห์ที 2 และ 10 10
สือสารและการใช้ เทคโนโลยี 2. การประเมินตนเองของนักศึกษา
สารสนเทศ
2.ปลายภาคเรี ยน 2.ความรู ้ 1. การทดสอบ สัปดาห์ที 16 20
2. การประเมินการปฏิ บตั ิงาน
รวม 100
หมวดที 5 แผนการสอนและการประเมินผล
การเรียนรูด้ า้ น จํานวนหน่ วยกิต
3(3-0-6) 3(2-3-5) 3(1-4-4)
1.คุณธรรม จริยธรรม 10 5 5

2.ความรู ้ 50 60 20

3.ทักษะปั ญญา 15 5 5

4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ 10 5 5
ความรับผิ ดชอบ
5.ทักษะการวิเคราะห์เชิ งตัวเลข 10 5 5
การสื อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
6.ทักษะพิสยั - 20 60
จํานวนร้อยละ
(ตัวอย่ าง)
สัดส่ วนคะแนนระหว่ างภาคและปลายภาค
รายวิชา………………………………..
1. คะแนนระหว่างภาค 80 %
1.1 แฟ้มสะสมผลงาน 10 %
1.2 โครงงาน/วิจ ัย 20 %
1.3 ทดสอบย่อย 10 %
1.4 กิจกรรมกลุม
่ เรียนรู ้ 15 %
ร่วมก ัน

1.5 สอบกลางภาค 20 %
2. สอบปลายภาค 20 %
กิจกรรม การเรี ยนรู ้ ผลการเรี ยนรู ้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที สัดส่วนการ
ที หมวดที 5 แผนการสอนและการประเมินผล (ต่ อ)
ด้าน ประเมิน ประเมิน
2 ความรู้ 1. []มีความรอบรู ใ้ นหลักการ แนวคิด ทฤษฎีเนื อหาสาระด้าน  การทดสอบย่อย ตลอดภาค 60
วิชาชีพของครู อาทิ ค่านิ ยมของครู คุณธรรม จริ ยธรรม  สอบปลายภาค การศึ กษา
จรรยาบรรณ จิตวิญญาณครู ปรัชญาความเป็ นครู  ประเมินงานที
มอบหมาย
2. [] มีความรอบรู ใ้ นหลักการ แนวคิด ทฤษฎีเนื อหาวิชาทีสอน
สามารถวิเคราะห์ความรู ้ และเนื อหาวิ ชาทีสอนอย่างลึกซึง
สามารถติดตามความก้าวหน้าด้านวิทยาการและนําไป
ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผูเ้ รี ยน โดยมีผลลัพธ์การเรี ยนรู แ้ ละ
เนื อหาสาระด้านมาตรฐานผลการเรี ยนรู ด้ า้ นความรู ข้ องแต่ละ
สาขาวิชา
3. [] มีความรู เ้ ข้าใจชีวิต เข้าใจชุมชน เข้าใจโลกและการอยู ่
ร่วมกันอย่างสันติบนพื นฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม
สามารถเผชิญและเท่าทันกับการเปลียนแปลงของสังคม
4. [] มีความรู แ้ ละความสามารถในการใช้ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ และ/หรื อภาษาในสาขาวิชาเฉพาะทางทีเกียวข้อง
เพื อการสื อสารตามมาตรฐาน
5. [] ตระหนักรู ้ เห็ นคุณค่าและความสําคัญของศาสตร์พระราชาเพื อ
การพัฒนาทียังยื นและนํามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตน พัฒนาผูเ้ รี ยน
พัฒนางานและพัฒนาชุมชนโดยบูรณการกับหลักคําสอนศาสนา และ
ไม่ใช้ขอ้ มูลบิดเบื อน หรื อการลอกเลียนผลงาน
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรายวิชา

จุดประสงค์ จํานวน ั ว
สดส ่ น กิจกรรม เทคนิค/เครืองมือ
ที
รายวิชา ั
ชวโมง ความสําค ัญ การเรียนรู ้ ว ัดและประเมิน
สงั เกต
การพัฒนาหลักสูตร
1 2.5 ร่วมมือเรียนรู ้ แฟ้ มผลงานกลุม ่
สถานศกึ ษา
...... (ทักษะการแก ้ปั ญหา)

การนํ าหลักสูตร โครงงาน


2 2 โครงงาน
ไปใช ้ ...... ั
การนํ าเสนอหน ้าชน
บรรยาย เรียงความ
การประเมิน
3 2 ึ ษาด ้วย
ศก
หลักสูตร แบบฝึ กหัด
...... ตนเอง
ั สว่ นคะแนนระหว่างภาค/ปลายภาค
สด
ภาค … / …. รายวิชา………..

จํานวน ั ว
สดส ่ น ระหว่างภาค/ เทคนิค/เครืองมือ
ที จุดประสงค์รายวิชา

ชวโมง ความสําค ัญ ปลายภาค ว ัดและประเมิน

สงั เกต
การพัฒนาหลักสูตร
1 2.5 5 4/1 แฟ้ มผลงานกลุม ่
สถานศกึ ษา
(ทักษะการแก ้ปั ญหา)
การนํ าหลักสูตร โครงงาน
2 2 4 3/1
ไปใช ้ ั
การนํ าเสนอหน ้าชน

เรียงความ
3 การประเมินหลักสูตร 2 4 4/1
แบบฝึ กหัด
.
. ...... ...... ...... ...... ......
.

รวม 50 100 80/20


ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม Bloom
จํา/ใจ/ใช้/วิ/สัง/ประ (เดิม)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม Bloom
จํา/ใจ/ใช้/วิ/ประ/สรรค์ (ใหม่)
กระบวนการทางปั ญญาในด้านจุดมุ่งหมายทางการศึกษาด้านพุทธิพิสัย
ของบลูมทีปรับปรุ งใหม่ (Bloom’s Revised Taxonomy)

ภาพจาก : สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
ภาพจาก : สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
ภาพจาก : สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
ภาพจาก : สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
ตารางที 1 Bloom’s Taxonomy
และคําสําคัญทีช่วยในการสร้างข้อคําถาม
ระดับของ กระบวนการ ทาง ทักษะทีแสดงออก (ตัวอย่าง) คําสําคัญทีใช้ในการสร้างคําถาม
ปั ญญา
ความรู ้ - สังเกตแล้วจําข้อมูล จัดทํารายการ (list)
- ความรู ข้ อ้ มูล วันที เหตุการณ์ สถานที แสดง (show)
- ความรู เ้ กียวกับแนวคิดสําคัญ ระบุ (define)
- ความรู ใ้ นเนื อหาวิ ชา ติดป้ายบอก (label)
บอก (tell)
รวบรวม (collect)
พรรณนา (describe)
ตรวจ (examine)
ระบุ (identify)
จัดทําตาราง (tabulate)
ระบุคาํ พูด จดบันทึ ก (record)
บอกชื อ เลื อก (select)
การใช้คาํ ถามประเภท ใคร อะไร ทีไหน เมื อไร
ตารางที 1 Bloom’s Taxonomy
และคําสําคัญทีช่วยในการสร้างข้อคําถาม
ระดับของ กระบวนการ ทักษะทีแสดงออก (ตัวอย่าง) คําสําคัญทีใช้ในการสร้างคําถาม
ทางปั ญญา
ความเข้าใจ - เข้าใจข้อมูล สรุ ป (summarize)
- จับความได้ พรรณนา (describe)
- ถ่ายโอนความรู เ้ ป็ นบริ บทใหม่ อภิ ปราย (discuss)
- ตีความ เปรี ยบเทียบความ เหมื อนความ ตีความ (interpret)
แตกต่าง อธิ บาย (explain)
- ทํานายผลพวงทีตามมา บอกความแตกต่าง (contrast)
เชื อมโยง (associate)
จําแนก (distinguish)
ประมาณ (estimate)
ทํานาย พยากรณ์ (predict)
ตารางที 1 Bloom’s Taxonomy
และคําสําคัญทีช่วยในการสร้างข้อคําถาม
ระดับของ กระบวนการ ทาง ทักษะทีแสดงออก (ตัวอย่าง) คําสําคัญทีใช้ในการสร้างคําถาม
ปั ญญา
การนําไปใช้ - ใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ ใช้(apply)
- ใช้วิธีการ กรอบความคิด ทฤษฎีใน เชื อมโยง (relate)
สถานการณ์ใหม่ สาธิ ต (demonstrate)
- แก้ปัญหาโดยใช้ทกั ษะหรื อ ความรู ท้ ีจําเป็ น เปลียนแปลง (change)
นัน ๆ คํานวณ (calculate)
จัดประเภท (classify)
ทดลอง (experiment)
ค้นหา (discover) แสดงให้ดู (show)
ติดตัง (establish) แก้ปัญหา (solve)
ถ่ายโอน (transfer) ตรวจสอบ (examine)
สร้าง (construct) ปรับ (modify)
บริ หารจัดการ (administer)
ทําให้สมบูรณ์ (complete)
ขยายความประกอบ (illustrate)
ตารางที 1 Bloom’s Taxonomy
และคําสําคัญทีช่วยในการสร้างข้อคําถาม
ระดับของ กระบวนการ ทาง ทักษะทีแสดงออก (ตัวอย่าง) คําสําคัญทีใช้ในการสร้างคําถาม
ปั ญญา
การวิเคราะห์ - การเห็ นรู ปแบบ วิเคราะห์ (analyze)
- การจัดส่วนย่อยต่างๆ เข้าด้วยกัน จัดประเภท (classify)
- การเข้าใจนัยของความหมายแฝง แยก (separate)
- การระบุสว่ นประกอบต่าง ๆ จัดเรี ยง (arrange)
จัดลําดับ (order)
แบ่ง (divide)
อธิ บาย (explain)
เปรี ยบเทียบ (compare)
เชื อมโยง (connect)
เลื อก (select)
พาดพิง (infer)
ตารางที 1 Bloom’s Taxonomy
และคําสําคัญทีช่วยในการสร้างข้อคําถาม
ระดับของ กระบวนการ ทาง ทักษะทีแสดงออก (ตัวอย่าง) คําสําคัญทีใช้ในการสร้างคําถาม
ปั ญญา
การประเมินค่า - เปรี ยบเทียบแล้วจําแนกระหว่าง ผล ประเมิ น (assess) วิจารณ์ (criticize)
ความคิดต่าง ๆ ตัดสิ นใจ (decide) ชักจูง (convince)
- ประเมินคุณค่าของทฤษฎี การนําเสนอ จัดอันดับ (rank) ปกป้อง (defend)
- เลื อกโดยใช้เหตุผลทีโต้แย้งกันแล้ว ให้ระดับ (grade) ตัดสิ น (judge)
- พิสูจน์คุณค่าของหลักฐาน ทดสอบ (test) อธิ บาย (explain)
วัด (measure) แบ่งแยก (discriminate)
สรุ ป (summarize) เปรี ยบเทียบ (compare)
ตารางที 1 Bloom’s Taxonomy
และคําสําคัญทีช่วยในการสร้างข้อคําถาม
ระดับของ กระบวนการ ทาง ทักษะทีแสดงออก (ตัวอย่าง) คําสําคัญทีใช้ในการสร้างคําถาม
ปั ญญา
สร้างสรรค์ -ใช้ความคิดในการสร้างสรรค์สิง ใหม่ ผนวก (combine) แต่ง เขียน (write)
- สรุ ปกฎจากข้อเท็ จจริ งทีให้ บูรณาการ (integrate) สร้างสูตร (formulate)
- เชื อมโยงความรู จ้ ากสาขาวิชาต่างๆ ต่อรอง (negotiate) แนะนํา (devise)
- พยากรณ์ ลงสรุ ป จัดเรี ยงใหม่ (rearrange) สรุ ปเป็ นกฎ
(generalize) แทนที (substitute)
แก้ไขเขียนใหม่ (rewrite) วางแผน (plan)
ออกแบบ (design) ประดิ ษฐ์ (invent)
สร้างสรรค์ (create)
ตารางที 2 การวัดพุทธิพสิ ัยของ Bloom จําแนกตามพฤติกรรม นิยาม คําบ่งชี และ
ลักษณะคําถาม
ระดับ พฤติกรรม นิ ยาม ตัวอย่างคําบ่งชี ตัวอย่าง
ความรู ้ ความจํา ความสามารถระลึ กจดจําคําศัพท์ นับ บอก ระบุ ชี บอกชื อ ขีดเส้นใต้ -ข้อใดหมายถึงความหมายของการ ประเมิน
ข้อเท็ จจริ ง กระบวนการ ความสัมพันธ์ มโน บรรยาย ให้นิยาม จับคู ่ ท่อง เลื อก -จงบอกรายชื อตัวละครหลักของเรื อง
ทัศน์ตา่ งๆ กําหนด เขียน วาด ลอก
ความเข้าใจ ความเข้าใจในสิ งทีเรี ยนรู ้ สามารถแปลความ อธิ บาย แปล ถ่ายโคลงกลอน เป็ น -“สมฤดีเก่งคณิ ตศาสตร์” ตรงกับ ลักษณะใด
ตีความ ขยายความด้วยภาษาตนเอง คําพูด ปรับแก้ ใช้ ตีความหมาย ขยาย -อะไรเป็ นใจความสําคัญของเรื องนี ?
ความ ยกตัวอย่าง เปรี ยบเทียบ
อภิ ปราย เขียนใหม่
การนําไปใช้ ความสามารถใช้สิงทีเรี ยนรู แ้ ล้ว มาใช้ในการ สาธิ ต จัดกระทํา แก้ไข ใช้ ผลิต -เมื อท่านต้องการทราบพัฒนาการของ ผูเ้ รี ยนท่านจะ
แก้ปัญหา หรื อสร้าง แนวทางเลื อกใหม่ คํานวณ ปฏิบตั ิ ดําเนิ นการ เปลียน เลื อกใช้เครื องมื อวัดผล ในข้อใด
สร้าง ทํานาย แก้ปัญหา -จงใช้โครงสร้างจากเรื องทีอ่านเขียน เรื องใหม่เกียวกับ
ตัวผูเ้ รี ยน
ตารางที 2 การวัดพุทธิพสิ ัยของ Bloom
จําแนกตามพฤติกรรม นิยาม คําบ่งชี และลักษณะคําถาม
ระดับ พฤติกรรม นิ ยาม ตัวอย่างคําบ่งชี ตัวอย่าง
การวิเคราะห์ ความเข้าใจในองค์ประกอบย่อย ของ ต่างๆ แบ่งแยก บอกความแตกต่าง จัด -การวัดและการประเมิ นสัมพันธ์กนั อย่างไร
สิ งต่างๆ และสามารถจัด ประเภท ประเภท แยกย่อย แตกประเด็นออก -จงแบ่งเรื องทีอ่านออกเป็ นตอนๆ พร้อมบอกความสัมพันธ์ของแต่ละตอน
แบ่งแยกสิ ง จําแนก แผนผัง

การประเมินค่า สามารถตัดสิ นคุณค่า หรื อความ ประเมิน ตัดสิ น โต้แย้ง วิ พากษ์วิจารณ์ -ท่านคิดอย่างไร หากผูส้ อนใช้ขอ้ สอบ เลื อกตอบเป็ นเครื องมื อวัดผล
เหมาะสมของสิ งใดสิ งหนึ ง โดยใช้ ให้ระดับ คุณภาพ เสนอแนะ อย่างเดียว
เกณฑ์เหมาะสมมีเหตุผล -ในความคิดเห็ นของท่าน เรื องที กําหนดให้อา่ นเป็ นเรื องทีดีหรื อไม่ และ
ทําไมท่านจึงคิ ดเช่นนัน
-การจัดลําดับหลักมากอซีรชารี อะห์(Maghosir Shariah)มี
ความสําคัญอย่างไร จงอธิบายพร้อมให้เหตุผลประกอบ
คิดสร้างสรรค์ ความสามารถของสติปัญญาในการ ออกแบบ สร้าง -การออกแบบแผนการจัดการเงินในยุคโควิดควรเป็ นอย่างไร
สร้างสิ งใหม่จากสิ งทีเคยเรี ยนรู ห้ รื อ เสนอสิ งใหม่ ประดิ ษฐ์ -การสร้างแบบแผนการจัดการธุรกิจในอิสลามทีแตกต่างจากแผนธุ รกิจ
พบเห็ นในบริ บทต่างๆทีสามารถใน วางแผน สร้าง ทัวไปควรเป็ นอย่างไร
การสร้างสรรค์งาน วางแผนงาน เสนอ จัดตัง --หากต้องการสร้างแบบวัดผลสัมฤทธิ ทีมีคุณภาพต้องดําเนิ นการอย่างไร
และดําเนิ นงานตามกระบวนการจน ริ เริ ม ทํานาย -จาก 2 เรื องทีกําหนดให้ จงทํานาย ประชากรของปลาวาฬในอนาคต
ได้รับความสําเร็ จ แต่ง
แบบทดสอบ (Test)
 แบบทดสอบ (Test) แบบทดสอบ หมายถึง ชุดของคําถาม (items) ทีสร้างขึนเพื อให้ผูส้ อบ
แสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ งออกมาให้ผูส้ อนสังเกตและวัดได้
 แบบทดสอบเป็ นเครื องมื อวัดพฤติกรรม ด้านพุทธิ พิสยั ซึงถื อว่าเป็ นสติปัญญาของมนุ ษย์ทีซ่อนแฝง
อยูใ่ นตัวบุคคลว่ามีความรู ห้ รื อไม่เพียงใดทังในด้านพฤติกรรมความรู ค้ วามจํา ความเข้าใจ การ
นําไปใช้และอื น ๆ
 หากแบ่งประเภทแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนโดยใช้เกณฑ์ลกั ษณะการตอบแล้ว สามารถ
แบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท ดังน
แบบทดสอบอัตนัยหรือแบบความเรียง
 แบบทดสอบอัตนัยหรือแบบความเรียง มีลักษณะเด่นดังนี
 ให้อิสระแก่ผตู้ อบ ผูต้ อบจะต้องหาหรือสร้างคําตอบเองแทนทีจะมีคาํ ตอบให้เลือก
เหมือนกับข้อสอบแบบกําหนดคําตอบให้
 ข้อสอบแบบนีจะใช้ในการวัดผลการเรียนรูท้ ไม่
ี สามารถวัดโดยใช้ขอ้ สอบแบบกําหนด
คําตอบได้ เช่น วัด ความสามารถในการจัดการ ความสามารถในการบูรณาการ
ความสามารถในการสังเคราะห์ความรู ้ ความสามารถในการแก้ปัญหา ตลอดจน
ความสามารถในการประเมิน เป็ นต้น
 เหมาะทีจะนํามาใช้เมือ ต้องการวัดความสามารถในการใช้เหตุผล การวางแผน การ
แสดงความคิดเห็น สร้างสรรค์หรือจินตนาการ ผูต้ อบจะต้องรูล้ กึ ในเรืองทีจะตอบจึงจะ
เขียนตอบได้ดี
แบบทดสอบ (Test)
1. แบบทดสอบอัตนัยหรือแบบความเรียง
2. แบบทดสอบปรนัย
แบบทดสอบอัตนัยหรือแบบความเรียง

ข้อสอบแบบความเรียงแบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ


1.คําถามแบบจํากัดคําตอบ (restricted response questions)
2.คําถามชนิดขยายคําตอบ (extended response questions)
1.1 คําถามแบบจํากัดคําตอบ
เป็ นคําถามทีจํากัดเนื อหาคื อกําหนดขอบเขต ทีจะให้ตอบ
ดังตัวอย่าง
 1) ให้ผูเ้ รี ยนอธิ บายเรื องยาเสพติดให้ครอบคลุมหัวข้อต่อไปนี
ก. ความหมายของยาเสพติด
ข. ประเภทของยาเสพติด
2) ให้ผูเ้ รี ยนเปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างกฏหมายแพ่ง
กับกฏหมายอาญา
1.2 คําถามแบบขยายคําตอบ
 เป็ นคําถามทีไม่จาํ กัดขอบเขตให้ตอบ
 ผูต้ อบสามารถเลื อกข้อความรู แ้ ละนําความรู เ้ หล่านันมาจัดระบบให้ดีแล้วนํามา
เขียนเป็ นคําตอบ จึงเป็ นข้อสอบทีใช้วดั ความสามารถในการรวบรวมความรู ้
สังเคราะห์ความรู เ้ หล่านันแล้วนํามาเรี ยบเรี ยงและเขียนเป็ นคําตอบได้ เป็ นอย่าง
ดี ดังตัวอย่าง
 1) ให้ผูเ้ รี ยนอธิ บายโครงสร้างของสังคมไทยปัจจุบนั
ข้อสังเกต
 ข้อสอบแบบความเรี ยงนี เป็ นการฝึกให้ผูเ้ รี ยนรู จ้ กั รวบรวมความรู ห้ รื อข้อมูลต่าง ๆ นํามาประมวลเป็ นเรื อง
เดียวกัน จัดระบบความรู เ้ หล่านัน แล้วเรี ยบเรี ยงถ่ายทอดสิ งเหล่านันออกมาด้วย ภาษาของตนเองเพื อสื อให้
ผูอ้ ื นเข้าใจ
 เป็ นกระบวนการของการฝึ กความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนของผูเ้ รี ยน และสอดคล้องกับ
แนวคิดใหม่ของบลูม (Revised Bloom’s Taxonomy) ที กล่าวถึงการประเมินด้านสติปญ ั ญา
ว่า เป็ นการประเมิ นได้ทงทั
ั กษะการคิดขันพื นฐานจนถึงขันสูง
 ั นฐานคื อ จําได้ (remember) และเข้าใจ (understand) เนื อหา
โดยผูส้ อบจะต้องมีความรู ข้ นพื
ความรู เ้ หล่านันแล้ว นําไปปรับใช้ (apply) โดยอาจจะวิเคราะห์ (analyze) ประเมิน
(evaluate) แล้วสร้างสรรค์สิงใหม่ (create) โดยเขียนสื อสิ งทีเกิดขึนตามกระบวนการทางการคิด
นันออกมาเป็ นคําตอบ
 ในขณะเดียวกันผูส้ อนต้อง คํานึ งถึงการตรวจให้คะแนนด้วย เนื องจากการตรวจให้คะแนนต้องใช้เวลามาก ต้อง
กําหนดเกณฑ์การให้คะแนน (rubrics) เพื อตรวจให้คะแนนได้อย่างยุติธรรม
กําหนดเกณฑ์การให้คะแนน (rubrics)
หลักการเขียนข้อสอบแบบอัตนัย
 1. กําหนดให้ชดั เจนว่าต้องการวัดพฤติกรรมด้านใดของผูส้ อบ
2. เขียนคําถามให้ชดั เจน จําเพาะเจาะจง ว่าต้องการให้ผูส้ อบทําอย่างไร
เช่น อธิ บาย วิ เคราะห์ แสดงความคิดเห็ น ฯลฯ รวมทังมีคะแนนข้อละกีคะแนน
3. เขียนคําถามโดยใช้สถานการณ์ใหม่ๆ ไม่ควรถามตามตํารา หรื อถามในสิ ง
ทีเรี ยนมาแล้ว
4. ต้องถามเฉพาะสิ งทีเป็ นประเด็นสําคัญของเรื อง
5. กําหนดเวลาในการสอบให้เหมาะสม เพื อผูต้ อบจะได้วางแผนการตอบได้ถูกต้อ
โดยเอาจํานวนข้อไปหารจํานวนเวลาทังหมดก็จะทราบว่าแต่ละข้อควรใช้เวลา
เท่าไร
หลักการเขียนข้อสอบแบบอัตนัย
 6. ถ้าไม่จาํ เป็ น ควรหลีกเลียงการให้ผตู ้ อบเลือกตอบเป็ นบางข้อได้ ควรให้ทาํ ทุกข้อ
7. พยายามใช้คาํ ถามหลายๆ แบบโดยเน้นการอธิ บาย
ควรเป็ นคําถามประเภททําไม อย่างไร หรื อให้อธิ บาย บรรยาย เปรี ยบเทียบ
หาความสัมพันธ์ หาความขัดแย้ง ตีความ วิเคราะห์เหตุผล วิจารณ์และ
ประเมินผล เป็ นต้น
8. ควรกําหนดความยาวและความซับซ้อนของข้อสอบให้พอเหมาะกับความสามารถ
ของผูส้ อบ
9. ถ้าข้อสอบมีหลายข้อควรจัดเรี ยงลําดับจากง่ายไปหายาก เพือยัวยุให้อยากตอบมากยิงขึน
 10.เมือเขียนคําถามแล้ว ควรเขียนคําตอบหรื อแนวคําตอบทีต้องการไว้ดว้ ย หรื ออาจจะ
เขียนในลักษณะคําหรื อข้อความสําคัญ (Key Words)ของคําตอบข้อนันๆ
เอาไว้ดว้ ย
แบบทดสอบปรนัย
 เป็ นข้อสอบทีมีคาํ ถามเฉพาะเจาะจง ตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน มีคาํ สัง
วิธีการปฏิบตั ิและวิธีการตรวจให้คะแนนทีชัดเจน
 แบบทดสอบปรนัยทีนิ ยมใช้กนั คื อ
 1.แบบถูก-ผิด (true-false)
 2.แบบจับคู ่ (matching)
 3.แบบเลื อกตอบ (multiple choices)
แบบทดสอบปรนัย
เป็ นข้อสอบทีมีคาํ ถามเฉพาะเจาะจง ตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน
มีคาํ สังวิธีการปฏิบัติและวิธีการตรวจให้คะแนนทีชัดเจน

1.แบบถูก-ผิ ด
แบบทดสอบ 2.แบบจับคู่
(true-
ปรนัยทีนิ ยม (matching)
false)
ใช้กนั คือ
3.แบบเลือกตอบ
(multiple
choices)
1.ข้อสอบแบบถูกผิด
 เป็ นข้อคําถามทีกําหนดข้อความให้ผูเ้ รี ยนพิจารณาเลื อกตอบสอง
ทางเลื อก เช่น ถูก-ผิด ใช่-ไม่ใช่ จริ ง-ไม่จริ ง เหมื อนกัน-ต่างกัน ฯลฯ
 โดยใช้ความรู ้ ตามหลักวิชา เป็ นเกณฑ์พิจารณา ตัวคําถามของข้อสอบ
มักจะเขียนในรู ปประโยคบอกเล่าธรรมดา หรื ออาจจะ เป็ นประโยค
คําถาม โดยมีขอ้ ความถูกบ้างผิดบ้างคละเคล้ากันไป
หลักการเขียนข้อสอบแบบถูกผิด
 1) ข้อความจะต้องมีความหมายชัดเจน ไม่กาํ กวม และไม่ควรใช้คาํ ทีแสดงคุณภาพ เช่น มาก น้อย บ่อย ๆ บางครัง ส่วนมาก
ส่วนน้อย ไม่คอ่ ยจะ เป็ นต้น
ควรเลื อกคําทีแสดงปริ มาณจะมีความหมายชัดเจนกว่า เช่น
ไม่ดี – พม่ายกกองทัพมาตีไทยบ่อยครังในสมัยกรุ งธนบุรี
ดีขึน – พม่ายกกองทัพมาตีไทย 4 ครังในสมัยกรุ งธนบุรี
 2) ข้อความทีกําหนดให้ตอ้ งตัดสิ นได้วา่ ถูกจริ งหรื อผิดจริ งและเป็ นสากล เช่น
ไม่ดี – น้าเดื อดทีอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส
ดีขึน – ณ ระดับน้าทะเล น้าจะเดื อดทีอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส
 3) แต่ละข้อคําถาม ควรถามจุดสําคัญเพียงเรื องเดียว เช่น
ไม่ดี – อําเภอเบตงอยูใ่ นจังหวัดยะลา และอยูใ่ ต้สุดของประเทศไทย
ดีขึน – อําเภอเบตงอยูใ่ นจังหวัดยะลา
ดีขึน – อําเภอเบตงอยูใ่ ต้สุดของประเทศไทย
 4) ไม่ควรสร้างข้อคําถามเชิงปฏิเสธหรื อปฏิเสธซ้อน เพราะจะทําให้ผูส้ อบเข้าใจผิ ด
ไม่ดี – ถ้าผูเ้ รี ยนไม่ออกไปตากน้าค้าง ผูเ้ รี ยนจะไม่เป็ นหวัด
ดีขึน – การออกไปตากน้าค้างทําให้ผูเ้ รี ยนเป็ นหวัด
หลักการเขียนข้อสอบแบบถูกผิด (ต่อ)

 5) ควรหลีกเลียงการลอกข้อความจากหนังสื อหรื อตําราเรี ยนโดยตรง


เพราะจะส่งเสริ มการเรี ยนแบบท่องจํา (ยกเว้นบางรายวิ ชาทีจําเป็ น
เช่น อัลกุรอาน อัลหะดีษ กฏหมาย เป็ นต้น)
 6) ให้ขอ้ สอบแต่ละข้อเป็ นอิสระแก่กนั
 7) ข้อความแต่ละข้อควรมีความยาวใกล้เคียงกัน
 8) ข้อสอบควรเรี ยงลําดับตามเนื อหา
 9) ควรให้มีจาํ นวนข้อถูกและข้อผิดใกล้เคียงกัน และอยูก่ ระจายคละกัน
2.ข้อสอบแบบจับคู่
 เป็ นข้อคําถามทีกําหนดข้อความทีสัมพันธ์กนั ให้ 2 รายการ
 รายการทางด้านซ้ายเรี ยกว่าตัวยื นหรื อคําถาม
 รายการด้านขวาเรี ยกว่าตัวเลื อกหรื อคําตอบให้
 ผูต้ อบพิจารณาความสัมพันธ์ของรายการทังสองด้านรายการทีนํามาออกข้อสอบแบบจับคู ่ ได้แก่
- คําศัพท์กบั ความหมาย
- เหตุการณ์กบั เวลา
- เวลากับสถานที
- ชื อบุคคลกับผลงาน
- ชื อกระบวนการกับการผลิต,
- กฎกับการใช้เหตุกบั ผล,
- เครื องมื อกับประโยชน์ใช้สอย เป็ นต้น
หลักการเขียนข้อสอบแบบจับคู่
 1) เขียนคําชีแจงให้ชดั เจนว่าจะให้จบั คูไ่ ด้เพียงตัวเลื อกเดียว หรื ออาจจับคูไ่ ด้
หลายตัวเลื อก
 2) เนื อหาวิชาทีนํามาออกข้อสอบจะต้องเป็ นเรื องหรื อเนื อหาเดียวกัน เช่น
ตัวอย่างแบบทดสอบแบบจับคู ่
 คําชีแจง : รายการทางซ้ายเป็ นคําถาม รายการด้านทางขาวเป็ นคําตอบ ให้ทา่ นนําเอาหัวข้อของคําตอบ ทาง
ขวามื อมาใส่ในวงเล็บหน้าคําถามทางซ้ายมื อ คําตอบทางขวามื อนันสามารถใช้ได้ เพียงครังเดียวหรื อไม่ใช้เลยก็ได้
(........ ) 1. ใครเป็ นผูท้ ีได้รับตําแหน่งคอลีฟะห์ดว้ ยวิธีการแต่งตัง(วะศียตั ) ก. ท่านอบูบกั ร
(........ ) 2. ใครเป็ นผูท้ ีได้รับตําแหน่งคอลีฟะห์ดว้ ยวิธีการเลื อกตังจากคณะผูท้ รงวุฒิ ข. ท่านอุมรั
(.........) 3. ใครเป็ นคอลีฟะห์คนแรกในรวมรวมอัลกุรอานจากทีต่างๆ ค. ท่านอุสมาน
(.........) 4. ใครเป็ นคอลีฟะห์ผูค้ ดั ลอกอัลกุรอานและแจกจ่ายไปยังเมื องใหญ่ๆ ง. ท่านอาลี
หลักการเขียนข้อสอบแบบจับคู่ (ต่อ)
3) ควรให้คาํ ตอบมีมากกว่าคําถาม 3-4 ตัว
4) ข้อสอบแบบจับคูช่ ุดหนึ งไม่ควรมีมากข้อเกินไป
ควรอยูร่ ะหว่าง 5-12 คู ่ และ ควรให้อยูใ่ นหน้าเดียวกัน
ทังหมด
5) คําหรื อข้อความทีเป็ นคูก่ นั ไม่ควรจัดให้อยูต่ รงกัน
3.ข้อสอบแบบเลือกตอบ (ต่อ)
 เป็ นข้อสอบทีประกอบด้วยคําถามและคําตอบให้เลื อกหลายๆ คําตอบ
ข้อสอบประเภทนี มี 2 ส่วนคื อ
1) ตัวนําหรื อตัวคําถาม (stem)เป็ นข้อความทีเป็ นตัวเร้าให้ผูส้ อบคิด
2) ตัวเลื อก (choices) เป็ นคําตอบหลายๆคําตอบ
ั วถูก (key)
เพื อให้ผูส้ อบเลื อกตอบอย่าง ใดอย่างหนึ ง มีทงตั
และตัวลวง (distracters)
3.ข้อสอบแบบเลือกตอบ
 เป็ นข้อสอบทีประกอบด้วยคําถามและคําตอบให้เลื อกหลายๆ คําตอบ ข้อสอบประเภทนี มี 2
ส่วนคื อ
1) ตัวนําหรื อตัวคําถาม (stem)เป็ นข้อความทีเป็ นตัวเร้าให้ผูส้ อบคิด
2) ตัวเลื อก (choices) เป็ นคําตอบหลายๆคําตอบ
เพื อให้ผูส้ อบเลื อกตอบอย่าง ใดอย่างหนึ ง มีทงตัั วถูก (key)
และตัวลวง (distracters)
 ข้อสอบแบบเลื อกตอบทีดีนนตั ั วเลื อกทุกตัวจะมีนาหนั
้ กพอๆกัน
 ถ้าดูผิวเผินหรื อไม่มีความรู ใ้ นข้อนันจริ งๆจะเห็ นว่าถูกหมดทุกข้อ
 และในการสอบแต่ละครังตัวเลื อกแต่ละตัวจะมีโอกาสถูกเลื อกพอๆ กัน
 นันคื อ หากมีขอ้ สอบ 20 ข้อ และมี 4 ตัวเลื อก โอกาสทีตัวเลื อก ก ข ค หรื อ ง จะถูกเลื อก
จะเท่ากัน และคําตอบถูกควรจะกระจายกันไปทุกตัวเลื อกไม่ใช่อยูท่ ีตัวใดตัวหนึ ง
หลักการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ
 ด้านตัวคําถาม
 1) เขียนคําถามให้เป็ นประโยคคําถามทีสมบูรณ์
 2) เขียนคําถามให้กะทัดรัด ชัดเจน ตรงจุด ไม่ใช้คาํ ฟุ่มเฟื อย
 3) ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับระดับผูส้ อบ
 4) คําถามควรเร้าให้ผูส้ อบได้ใช้ความคิด
 5) หลีกเลียงการใช้คาํ ถามปฏิเสธซ้อน
 6) ไม่ควรถามในสิ งทีผูส้ อบท่องจําจนคล่องปาก
 7) คําถามแต่ละข้อควรเป็ นอิสระขาดจากกัน
 8) อาจใช้รูปภาพช่วยเพื อลดความเครี ยดของผูส้ อบ หรื อทําให้เข้าใจคําถามดีขึน
หลักการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ(ต่อ)
 ด้านตัวเลื อก
 1) คําถามข้อหนึ ง ๆ ต้องมีคาํ ตอบทีถูกต้องทีสุ ดเพียงตัวเลื อกเดียวเท่านัน
 2) เขียนให้ทงตั
ั วถูกและตัวผิด ถูกผิดตามหลักวิชา
 3) เขียนให้ตวั เลื อกเป็ นอิสระจากกัน
 4) เขียนตัวเลื อกให้กะทัดรัด ไม่ยืดยาว หรื อเพิมคําทีไม่จาํ เป็ น
 5) ตัวเลื อกต้องเป็ นเอกพันธ์
 6) ตัวเลื อกทีถูกไม่ควรยาวเกินไป
หลักการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ(ต่อ)
ด้านตัวเลื อก
 7) จัดตัวเลื อกให้เป็ นระบบ เช่น เรี ยงตามพ.ศ. เรี ยงจากน้อยไปมาก เป็ นต้น
 8) หลีกเลียงการเขียนตัวถูกให้พอ้ งเสี ยง หรื อมีคาํ /ข้อความทีซ้ากับตัวคําถาม
 9) ตําแหน่งของตัวถูกควรกระจายในลักษณะสุ ม่
 10) ตัวลวงต้องมีโอกาสเป็ นไปได้
 11) ไม่ควรมีตวั เลื อกประเภท “ถูกหมดทุกข้อ” หรื อ “ไม่มีขอ้ ใดถูก”
หมายเหตุ : รูปแบบแบบทดสอบ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนอาจเป็ นแบบปรนัยหรื ออัตนัย
อย่างใดอย่างหนึ ง
หรื ออาจเป็ นทังแบบปรนัยและอัตนัยรวมกันในแบบทดสอบฉบับ
เดียวกันก็ได้
ทังนี ขึนอยูก่ บั วัตถุประสงค์ในการวัดระดับพฤติกรรมการเรี ยนรู ้
ทีต้องการวัด จํานวนผูเ้ ข้าสอบ ระยะเวลาในการสร้างข้อสอบ
การ ดําเนิ นการสอบและการตรวจข้อสอบ
‫) وﷲ أعل ُ‬
‫م(‬

You might also like