You are on page 1of 217

รายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร ตามแบบ

ฟอร์ม มคอ.7
สำหรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ
หลักสูตร ปี การศึกษา 2562
(สำหรับหลักสูตรตามเกณฑ์ฯ 58)

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจำปี การศึกษา


2562
หลักสูตรหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการ
ศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

วันที่รายงาน 20 มิถุนายน 2563


คำนำ

การประกันคุณภาพภายใน เป็ นการสร้างระบบและกลไกในการ


พัฒนา ติดตามตรวจสอบและประเมินการดำเนินงานของสถาบัน
อุดมศึกษาให้เป็ นไปตามนโยบาย เป้ าหมาย และระดับคุณภาพตาม
มาตรฐานที่กำหนด โดยคณะกรรมการการบริหารหลักสูตรศึกษาศาสตร
บัณฑิต ได้กำหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในและให้ถือว่าการ
ประกันคุณภาพภายในเป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่
ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
กระบวนการบริหารหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ
สอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา มีระบบและกลไกในการควบคุม
คุณภาพ (Quality Control) ตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) และ
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจำปี การศึกษา
2562
ประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) การดำเนินงานการประกัน
คุณภาพการศึกษาในแต่ละองค์ประกอบคุณภาพตามดัชนีบ่งชีท
้ ี่กำหนด
เพื่อให้มั่นใจได้ว่า คุณภาพการศึกษาได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง และได้
ผลผลิตของการศึกษาที่มีคุณภาพ หลักสูตรได้ดำเนินการเป็ นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและเกณฑ์มาตรฐานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
โดยให้พิจารณาองค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ การกำกับมาตรฐาน บัณฑิต
นิสิต อาจารย์ หลักสูตรการเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน และสิ่ง
สนับสนุนการเรียนรู้ เพื่อให้สามารถผลิตบัณฑิตให้มีคณ
ุ ภาพและได้มีการ
จัดทำรายงานประจำปี ที่เป็ นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
รายงานประเมินคุณภาพภายในหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา ฉบับนีจ
้ ัดทำขึน

เพื่อเป็ นการรายงานผลการดำเนินงานคุณภาพหลักสูตรศึกษาศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา ประกอบ
ด้วยองค์ประกอบในการประกันคุณภาพหลักสูตร 5 ประกอบ คือ 1.การ
กำกับมาตรฐาน 2.นิสิต 3.อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.หลักสูตรการเรียน
การสอนการประเมินผู้เรียน 5.สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และมีตัวบ่งชี ้
ทัง้ หมด 11 ตัวบ่งชี ้ คณะผู้จัดทำหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนีจ
้ ะเป็ น
ฐานข้อมูลในการพัฒนาการผลิตบัณฑิตเพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะพึง
ประสงค์และเป็ นบัณฑิตที่มีคณ
ุ ภาพต่อไป

............................................................
ประธานหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา
วันที่ 20 มิถุนายน 2563
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจำปี การศึกษา
2562
สารบัญ

หน้า
คำนำ
สารบัญ

องค์ การกำกับมาตรฐาน 1
ประกอบที่
1
องค์ บัณฑิต 13
ประกอบที่
2
องค์ นักศึกษา 15
ประกอบที่
3
องค์ อาจารย์ 44
ประกอบที่
4
องค์ หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้ 86
ประกอบที่ เรียน
5
องค์ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 96
ประกอบที่
6

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจำปี การศึกษา


2562
บทสรุปผู้บริหาร

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มีผลการ
ดำเนินงานในปี การศึกษา 2562 ได้มาตรฐานตามมาตรฐานการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และมีระดับคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก (4.65
คะแนน) ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร 4 องค์
คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจำปี การศึกษา
2562
ประกอบ 11 ตัวบ่งชี)้ โดยมีจำนวน 3 องค์ประกอบ อยู่ในระดับดีมาก (อ
งค์ประกอบที่ 4, 5, 6 ) และมีจำนวน 1 องค์ประกอบ อยู่ในระดับดี (อง
ค์ประกอบที่ 3 )

สรุปผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบ

องค์ประกอบ คะแนน ระดับคุณภาพ หมายเห


0.01 – 2.00 น้อย
การ ตุ
2.01 – 3.00 ปาน
ประเมิน กลาง
3.01 – 4.00 ดี
เฉลี่ย 4.01 – 5.00 ดีมาก

องค์ประกอบที่ 1 ผ่าน/ไม่ผ่าน ผ่าน


องค์ประกอบที่ 2 ไม่รับการประเมิน
องค์ประกอบที่ 3 5 ดีมาก ผ่าน
องค์ประกอบที่ 4 4.37 ดีมาก ผ่าน
องค์ประกอบที่ 5 4.25 ดีมาก ผ่าน
องค์ประกอบที่ 6 5 ดีมาก ผ่าน
เฉลี่ยรวมทุกตัว 4.65 ดีมาก ผ่าน
บ่งชี ้
ของทุกองค์
ประกอบ

จุดเด่นและแนวทางเสริม
1. จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรที่ สกอ. กำหนด

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจำปี การศึกษา


2562
2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตรและ
อาจารย์ผู้สอนมีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานที่ สกอ. และคุรุสภา
กำหนด
3.หลักสูตรที่ออกแบบมีความสอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานที่ สกอ.
และ คุรุสภากำหนด
4.หลักสูตรที่ออกแบบมีการบูรณาการอิสลามและสอดคล้องกับ
บริบทอาเซียนซึ่งตอบสนองความต้องการของคนในพื้นที่
5.หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการสอนภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา เป็ นหลักสูตรที่พัฒนาขึน
้ ตามความร่วมมือกับหน่วย
งานต่างๆที่มีกลุ่มเป้ าหมายที่ชัดเจน
6.อาจารย์ประจำหลักสูตรมีคุณภาพตามเกณฑ์การประเมิน
หลักสูตร
7.หลักสูตรมีระบบและกลไกการกำหนดสาระของรายวิชาใน
หลักสูตรและการปรับปรุงหลักสูตรมีระบบกลไกการกำหนดผูส
้ อน
8.สาระในหลักสูตรมีความทันสมัยและครอบคลุมตามเกณฑ์
มาตรฐานวิชาชีพ
9.หลักสูตรเป็ นที่ต้องการของสังคมเนื่องจากการภาวะขาดแคลน
ของครูสาขาด้านการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา
10.หลักสูตรมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน
วิชาชีพและเหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ปั จจุบันยังมีโรงเรียนต่างๆที่ขาดแคลนครูทจ
ี่ บตรงวุฒิด้านการ
สอนภาษามลายู ทำให้หลักสูตรเป็ นที่ต้องการของครูผู้สอนในโรงเรียน

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจำปี การศึกษา


2562
ต่างๆ ตามโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของสำนักงาน
เอกชนยังมีต่อเนื่องอีกหลายปี ทำให้หลักสูตรยังคงมีกลุ่มผู้เข้าศึกษา
2. ในปี การศึกษา 2562 คณะศึกษาศาสตร์ได้รับการปรับปรุง
หลักสูตรเอกเดี่ยวเป็ นเอกคู่ อาจารย์ในสายวิชามีจำนวนเพิ่มเติม ทำให้ใน
ปี การศึกษา 2562 หลักสูตรมีอาจารย์ผู้สอนที่หลากหลายและมีคุณภาพ
มากขึน

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจำปี การศึกษา


2562
1
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับ
มาตรฐาน

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประจำปี การศึกษา


2562
(มคอ.7 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป)
1. รหัสและชื่อหลักสูตร (ใช้ขอ
้ มูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
หัวข้อที่ 1)
รหัสหลักสูตร 25591371101144
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษา
มลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา (4 ปี )
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching
Malay and
Educational Technology
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา (ใช้ขอ
้ มูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
หัวข้อที่ 2)
ชื่อเต็ม (ภาษาไท : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการ
ศึกษา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ): Bachelor of Education (Teaching Malay
and Educational Technology)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ): B.Ed. (Teaching Malay and
Educational Technology)
3. รูปแบบของหลักสูตร (ใช้ข้อมูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 1 ข้อมูลทัว
่ ไป
หัวข้อที่ 5)
3.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
3.2 ภาษาที่ใช้  ภาษาไทย
 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอาหรับ ภาษามลายู และภาษา
อังกฤษ)
4. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร (ใช้
ข้อมูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 1 ข้อมูลทัว
่ ไป หัวข้อที่ 6)
 หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2562
 สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรในการประชุม ครัง้ ที่ 69 เมื่อวันที่
17 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2562 เปิ ดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปี การ
ศึกษา 2562
 องค์กรวิชาชีพ(ถ้ามี) ............... ให้การรับรองเมื่อวันที่
 เปิ ดสอน ภาคการศึกษาที่ ....1....ปี การศึกษา .......2562..................
 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) รับทราบหลักสูตรเมื่อวัน
ที่ 14 เมษายน 2563
5. การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร (นับตัง้ แต่เปิ ดสอนถึงปั จจุบัน) จำนวน…
2… ครัง้
ลำดับที่ของการ
ปี พ.ศ. ที่ทำการ หมายเหตุ/เหตุผลในการพัฒนา/
พัฒนา/ปรับปรุง
พัฒนา/ปรับปรุง ปรับปรุง
หลักสูตร
1. พัฒนา ปี การศึกษา 2559 เพื่อเปิ ดรับนักศึกษา ปี การศึกษา
หลักสูตรใหม่ 2559

2. หลักสูตร ปี การศึกษา 2562 ปรับปรุงตามนโยบายของ


ปรับปรุง พ.ศ (เปิ ดสอนในภาคการ กระทรวงศึกษาธิการ จาก
หลักสูตร 5 ปี ให้เป็ นหลักสูตร 4
2562 ศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา
ปี และเพื่อผลิตบัณฑิที่มีความรู้
2562)
ความสามารถด้านการจัดการเรียน
รู้ภาษามลายูและเทคโนโลยีการ
ศึกษา

6. จำนวนบุคลากรประจำหลักสูตรประจำปี การศึกษา 2562 จำแนกตามประเภท


บุคลากรวุฒกิ ารศึกษาและตำแหน่งทางวิชาการ
วุฒิการศึกษา ตำแหน่งทางวิชาการ
ประเภท จำนว ป.ตรี ป.โท ป.เอ อาจา ผศ. รศ. ศ.
บุคลากร น ก รย์
สายวิชาการ 6 - 5 1 4 2 - -

7. การดำเนินงานตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะจากการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายใน ปี การศึกษา (ปี ที่ผ่านมา)
ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การดำเนินงาน/ผลการปรับปรุงตาม
ข้อเสนอแนะ
1.นักศึกษามีความพึงพอใจใน 1.โครงการ “Wacana Ilmiah

ระบบการดูแลนักศึกษาที่ดีมาก Guru Bahasa Bahasa Melayu”


ส่งเสริมให้ดำเนินการต่อเนื่อง 2.โครงการ “Jalinan Muhibbah
2.ส่งเสริมทักษะภาษาอังกฤษให้ Keluarga Pendidikan Bahasa
นักศึกษา Melayu”
3.โครงการ “Jejak Warisan

Melayu”
1.การจัดการเรียนการสอนมีกา โครงการ Progam Ukhuwah
รบูรณาการบริการวิชาการ และ Ziarah Sekolah

ทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมใน
รายวิชา
2.พัฒนาเอกสารประกอบการ
สอนที่บูรณาการงานวิจัยของ
อาจารย์
3.พัฒนาระบบการประเมินผล
ของการบูรณาการ งานวิจัย
บริการวิชาการ และทำนุบำรุง
ศิลปะวัฒนธรรมในการจัดการ
เรียนการสอน

สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้มีความ หลักสูตรมีการนำผลการประเมิน
เหมาะสมกับนักศึกษา และข้อเสนอแนะมาปรับปรุง
กระบวนการและแนวทางพัฒนา
ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

8. อาจารย์ประจำหลักสูตร

มคอ 2 ปั จจุบัน หมายเหตุ


(ระบุครัง้ ที่/วันที่ผ่านสภา
มหาวิทยาลัย)

แอสซูมานี มาโซ แอสซูมานี มาโซ -สภามหาวิทยาลัย


3-9606-00235-35-1 3-9606-00235-35-1 อนุมัติหลักสูตรในการ
เภาซัน เจ๊ะแว เภาซัน เจ๊ะแว ประชุม  เมื่อวันที่ 17
3-9411-00083-64-9 3-9411-00083-64-9 เดือน มีนาคม  พ.ศ.
นูรณี บูเกะมาตี นูรณี บูเกะมาตี 2562
3-9501-00492-67-0 3-9501-00492-67-0 -สกอ.รับทราบหลักสูตร
อดุลย์ ภัยชำนาญ อดุลย์ ภัยชำนาญ เมื่อวันที่ 14 เมษายน 2
3-9304-00116-83-5 3-9304-00116-83-5 563
จิระพันธ์ เดมะ จิระพันธ์ เดมะ
3-9407-00030-20-1 3-9407-00030-20-1
ฮูนาดี มะสีละ ฮูนาดี มะสีละ
5950600019368 5950600019368

ตารางที่ 1.1 แสดงรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คุณวุฒิ และ


ผลงานทางวิชาการย้อนหลัง 5 ปี (ปี ปฏิทิน 2556-2560)
ลำ ชื่อ- คุณวุฒิและ สถานภ ผลงานทางวิชาการ ย้อน
ดับ นามสกุล สถาบันที่สำเร็จ าพ หลัง 5 ปี
การศึกษา
1. แอสซูมานี M.Ed- Universiti บุคลากร -Asmani Maso. (2558).
มาโซ Pendidikan มหาวิท Peningkatan Pemikiran
3-9606- Sultan Idris, ยาลัย Kritis dalam
00235-35- Malaysia. ประจำ Pengajaran dan
1 BA-มหาวิทยาลัย สาย Pembelajaran Bahasa
สงขลานครินทร์ วิชาการ Melayu dalam
วิทยาเขตปั ตตานี Kalangan Mahasiswa
Jabatan Pendidikan
Bahasa Melayu
Melalui Aktiviti Latihan
Mengajar. การประชุม
วิชาการระดับชาติครัง้ ที่ 2
(หน้า 357). ปั ตตานี:มหาวิ
ทยาลัยฟาฏอนี.
-Asmani Maso. (2560).
Pendidikan Bersepadu
dalam Membina
Mahasiswa Jabatan
Pendidikan Bahasa
Melayu , UFT.การ
ประชุมวิชาการระดับชาติ
ครัง้ ที่ 6 (หน้า 268-282).
ปั ตตานี:มหาวิทยาลัย
ฟาฏอนี.
-Asmani Maso. (2017).
Syekh Ismail Lutfi
Chapakiya Ulama
Patani Berperanan
Memperkukuhkan
Bahasa Melayu Tulisan
Jawi di Seluruh
Nusantara.
Proceedings SelPTI
2017 (pp.551). Pattani:
Fatoni University.
2. เภาซัน เจ๊ Ph.D- Universiti บุคลากร -Phaosan Jehwae.
ะแว Brunei มหาวิท 2559. Analisis
3-9411- Darussalam, ยาลัย Kesalaha Penggunaan
00083-64- Brunei สาย Imbuhan Awalan
9 Darussalam. วิชาการ Bahasa Melayu Dalam
M.Ed- State Lalangan Mahasiswa
University Of Universiti Fatoni,
Jakarta, Selatan Thai.การประชุม
Indonesia. วิชาการระดับชาติและ
Diploma- นานาชาติ ครัง้ ที่5 ประจำ
Gadjah Mada ปี 2559 (หน้า 916).
University, ปั ตตานี:มหาวิทยาลัย
Indonesia. ฟาฏอนี.
- Phaosan Jehwae .
BA- Islamic (2017). Dilema
State University Kesusasteraan
Of Sunan (Pantun) Melayu di
Kalijaga, Patani, Selatan Thai.
Yogyakarta, Proceedings SelPTI
Indonesia. 2017 (pp.867). Pattani:
Fatoni University.
- History of Malay
Language Education In
Patani South Thai
Proceeding The I st
INTERNATINAL
SEMINAR HISTORY
EDUCATION Univerfitas
Pendidikan Indonesia,
November 2, 2018
- Phaosan Jehwae.
(2560). Warisan
Tembikar Traditional
Melayu di Pahang.
IJCFH, 2017(5):124-
143.

3. นูรณี บูเกะ M.Ed- Universiti บุคลากร -Nurnee Bukehmatee.


มาตี Pendidikan มหาวิท (2017). Kurikulum
3-9501- Sultan Idris, ยาลัย Bahasa Melayu
00492-67- Malaysia. ประจำ Sekolah Menengah :
0 BA- Universiti สาย Perbandingan Sekolah
Pendidikan วิชาการ Kerajaan (SMK)
Sultan Idris, dengan Sekolah
Malaysia. Agama Swasta (sas) di
Wilayah Yala, Thailand
(wsst). ICDETAH 2017
(m/s 540). Malaysia:
Unversiti Pendidikan
Sultan Idris.
4. อดุลย์ ภัย M.Ed- บุคลากร -สิริวรรณ ขุนดำ และ
ชำนาญ มหาวิทยาลัย มหาวิท อดุลย์ ภัยชำนาญ.
3-9304- สงขลานครินทร์ ยาลัย 2561. แนวคิดเชิง
00116-83- วิทยาเขตปั ตตานี ประจำ นวัตกรรมกับการเรียนการ
5 BA- มหาวิทยาลัย สาย สอนภาษาอาหรับในสถาน
อิสลามยะลา วิชาการ ศึกษา.การประชุมวิชาการ
- มหาวิทยาลัย ระดับชาติ ครัง้ ที่ 4 ประจำ
อิสลามยะลา ปี 2561 (หน้า 1468-
1479). ปั ตตานี:มหาวิทยา
ลัยฟาฏอนี.
5. จิระพันธ์ Post Grad. Dip- บุคลากร -จิระพันธ์ เดะมะ และ
เดมะ Hiroshima มหาวิท คณะ. (2558). ความคิด
3-9407- University, ยาลัย เห็นของกำนันและผู้ใหญ่
00030-20- Japan ประจำ บ้านต่อการใช้ทุ่งยางแดน
1 M.Ed- สาย โมเดลในการแก้ไขปั ญหา
มหาวิทยาลัย วิชาการ ความไม่สงบในจังหวัด
ศรีนครินทรวิโรฒ ชายแดนภาคใต้ .การ
ประสานมิตร ประชุมวิชาการระดับชาติ
BA-มหาวิทยาลัย ครัง้ ที่ 2 (หน้า 510).ปั ตตา
สงขลานครินทร์ นี: มหาวิยาลัยฟาฏอนี.
วิทยาเขตปั ตตานี -จิระพันธ์ เดมะ และ
คณะ. (2558). การ
จัดการเรียนรู้อิสลามศึกษา
ประจำศูนย์การเรียนรู้ยุ
วกุต๊าบ คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี โดย
ใช้ QAiMt Model. การ
ประชุมวิชาการระดับชาติ
ครัง้ ที่ 2 (หน้า 230).
ปั ตตานี:มหาวิทยาลัย
ฟาฏอนี.

6 ฮูนาดี มะสี M.Ed- Universiti บุคลากร -ฮูนาดี มะสีละ และคณะ.


ละ Islam มหาวิท (2560). นักเรียนประถม
Antarabangsa, ยาลัย ศึกษาปี ที่ 4 เพื่อเตรียม
595060001
Malaysia. ประจำ ความพร้อมสู่การเป็ น
9368 BA- มหาวิทยาลัย สาย ประชาคมอาเซียน กรณี
สงขลานครินทร์ วิชาการ ศึกษาโรงเรียนเอกชนสอน
วิทยาเขตปั ตตานี ศาสนาอิสลามในจังหวัด
ยะลา. การประชุม
วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่
6.(หน้า 387-401).ปั ตตานี
: มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

ตารางที่ 1.2 อาจารย์ประจำหลักสูตร คุณวุฒิ และผลงานทางวิชาการ


ย้อนหลัง 5 ปี (ปี ปฏิทิน 2556-2560)(ไม่จำ กัดจำนวนและประจำได้ม ากกกว่าหนึ่ง
หลักสูตร)
ลำ ชื่อ- คุณวุฒิและ สถานภา ผลงานทางวิชาการ ย้อน
ดับ นามสกุล สถาบันที่สำเร็จ พ หลัง 5 ปี
การศึกษา
1. แอสซูมานี M.Ed- Universiti บุคลากร -Asmani Maso.
มาโซ Pendidikan มหาวิทย (2558). Peningkatan
3-9606- Sultan Idris, าลัย Pemikiran Kritis dalam
00235-35- Malaysia. ประจำ Pengajaran dan
1 BA-มหาวิทยาลัย สาย Pembelajaran Bahasa
สงขลานครินทร์ วิชาการ Melayu dalam
วิทยาเขตปั ตตานี Kalangan Mahasiswa
Jabatan Pendidikan
Bahasa Melayu
Melalui Aktiviti
Latihan Mengajar. การ
ประชุมวิชาการระดับชาติ
ครัง้ ที่ 2 (หน้า 357).
ปั ตตานี:มหาวิทยาลัย
ฟาฏอนี.
-Asmani Maso.
(2560). Pendidikan
Bersepadu dalam
Membina Mahasiswa
Jabatan Pendidikan
Bahasa Melayu , UFT.
การประชุมวิชาการระดับ
ชาติ ครัง้ ที่ 6 (หน้า 268-
282).ปั ตตานี:มหาวิทยา
ลัยฟาฏอนี.
-Asmani Maso.
(2017). Syekh Ismail
Lutfi Chapakiya
Ulama Patani
Berperanan
Memperkukuhkan
Bahasa Melayu
Tulisan Jawi di
Seluruh Nusantara.
Proceedings SelPTI
2017 (pp.551). Pattani:
Fatoni University.
2. เภาซัน เจ๊ Ph.D- Universiti บุคลากร -Phaosan Jehwae.
ะแว Brunei มหาวิทย 2559. Analisis
3-9411- Darussalam, าลัย สาย Kesalaha Penggunaan
00083-64- Brunei วิชาการ Imbuhan Awalan
9 Darussalam. Bahasa Melayu Dalam
M.Ed- State Lalangan Mahasiswa
University Of Universiti Fatoni,
Jakarta, Selatan Thai.การ
Indonesia. ประชุมวิชาการระดับชาติ
Diploma- และนานาชาติ ครัง้ ที่5
Gadjah Mada ประจำปี 2559 (หน้
University, า 916). ปั ตตานี:มหาวิ
Indonesia. ทยาลัยฟาฏอนี.
- Phaosan Jehwae .
BA- Islamic (2017). Dilema
State University Kesusasteraan
Of Sunan (Pantun) Melayu di
Kalijaga, Patani, Selatan Thai.
Yogyakarta, Proceedings SelPTI
Indonesia. 2017 (pp.867). Pattani:
Fatoni University.
- History of Malay
Language Education
In Patani South Thai
Proceeding The I st
INTERNATINAL
SEMINAR HISTORY
EDUCATION
Univerfitas Pendidikan
Indonesia, November
2, 2018
- Phaosan Jehwae.
(2560). Warisan
Tembikar Traditional
Melayu di Pahang.
IJCFH, 2017(5):124-
143.
3. นูรณี บูเกะ M.Ed- Universiti บุคลากร -Nurnee Bukehmatee.
มาตี Pendidikan มหาวิทย (2017). Kurikulum
3-9501- Sultan Idris, าลัย Bahasa Melayu
00492-67- Malaysia. ประจำ Sekolah Menengah :
0 BA- Universiti สาย Perbandingan sekolah
Pendidikan วิชาการ kerajaan (SMK)
Sultan Idris, dengan sekolah
Malaysia. agama Swasta (sas) di
wilayah Yala,Thailand
(wsst). ICDETAH 2017
(m/s
540).Malaysia:Unversiti
Pendidikan Sultan
Idris.
4. อดุลย์ ภัย M.Ed- บุคลากร -สิริวรรณ ขุนดำ และ
ชำนาญ มหาวิทยาลัย มหาวิทย อดุลย์ ภัยชำนาญ.
3-9304- สงขลานครินทร์ าลัย 2561. แนวคิดเชิง
00116-83- วิทยาเขตปั ตตานี ประจำ นวัตกรรมกับการเรียน
5 BA- มหาวิทยาลัย สาย การสอนภาษาอาหรับใน
อิสลามยะลา วิชาการ สถานศึกษา.การประชุม
- มหาวิทยาลัย วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่
อิสลามยะลา 4 ประจำปี 2561 (หน้
า 1468-1479).
ปั ตตานี:มหาวิทยาลัย
ฟาฏอนี.
5. จิระพันธ์ Post Grad. Dip- บุคลากร -จิระพันธ์ เดะมะ และ
เดมะ Hiroshima มหาวิทย คณะ. (2558). ความคิด
3-9407- University, าลัย เห็นของกำนันและผู้ใหญ่
00030-20- Japan ประจำ บ้านต่อการใช้ทุ่งยางแดน
1 M.Ed- สาย โมเดลในการแก้ไขปั ญหา
มหาวิทยาลัย วิชาการ ความไม่สงบในจังหวัด
ศรีนครินทรวิโรฒ ชายแดนภาคใต้ .การ
ประสานมิตร ประชุมวิชาการระดับชาติ
BA-มหาวิทยาลัย ครัง้ ที่ 2 (หน้า 510).ปั ตต
สงขลานครินทร์ านี: มหาวิยาลัยฟาฏอนี.
วิทยาเขตปั ตตานี -จิระพันธ์ เดมะ และ
คณะ. (2558). การ
จัดการเรียนรู้อิสลาม
ศึกษาประจำศูนย์การ
เรียนรู้ยุวกุต๊าบ คณะ
ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย
ฟาฏอนี โดยใช้ QAiMt
Model. การประชุม
วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่
2 (หน้า 230).
ปั ตตานี:มหาวิทยาลัย
ฟาฏอนี.

6 ฮูนาดี มะสี M.Ed- Universiti บุคลากร -ฮูนาดี มะสีละ และคณะ.


ละ Islam Antara มหาวิทย (2560). นักเรียนประถม
Bangsa, าลัย ศึกษาปี ที่ 4 เพื่อเตรียม
59506000
Malaysia. ประจำ ความพร้อมสู่การเป็ น
19368
BA- มหาวิทยาลัย สาย ประชาคมอาเซียน กรณี
สงขลานครินทร์ วิชาการ ศึกษาโรงเรียนเอกชนสอน
วิทยาเขตปั ตตานี ศาสนาอิสลามในจังหวัด
ยะลา. การประชุม
วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่
6.(หน้า 387-401).ปั ตตา
นี: มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

ตารางที่ 1.3 จำนวนอาจารย์ผู้สอน ที่เป็ นอาจารย์ประจำในมหาวิทยา


ลัยฟาฏอนี ปี การศึกษา 2562

ำ คุณวุฒิ สถาบันที่สำเร็จการ
ชื่อ – นามสกุล
ดั (ทุกระดับการศึกษา) ศึกษา

1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศษ.ด. ภาวะผู้นำและ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ดร.จารุวัจน์ สอง นวัตกรรมทางการศึกษา วิทยาเขตปั ตตานี
ล ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ สถาบันที่สำเร็จการ
ำ (ทุกระดับการศึกษา) ศึกษา
เมือง
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ph.D. Curriculum Universit I Pendidikan
ดร.มูฮามัสสกรี มัน Management and Sultan Idris, Malaysia.
ยูนุ Development
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ph.D.Philosophy Universit I Sains Malaysia,
ดร.รูฮานา สาแมง Malaysia.
4 ดร.มะยูตี ดือรามะ Ph.D. Psychometric Universit I Sains Malaysia,
and Educational Malaysia.
Evaluation
5 ดร.อิสมาอีล ราโอบ Ph.D. Statistics and Universiti Sains Malaysia,
Research Malaysia.
Methodology
6 ดร.อับดุลรอฮมาน Ph.D. Islamic Stete Islamic
สามะอาลี Education University Sunan
Kalijaga Yogyakarta,
Indonesia
7 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Post.Grad, Educational - Hiroshima
จิระพันธ์ เดมะ Technology University, Japan.
ก ศ .ม . เ ท ค โ น โ ล ย ีก า ร - มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์
ศึกษา วิโรฒ ประสานมิตร
6 อาจารย์ซาฟี อี บารู ศษ.ม. ศึกษาศาสตร์เพื่อ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
พัฒนาชุมชน วิทยาเขตปั ตตานี
9 อาจารย์อิบรอเฮ ศษ.ม. จิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มอัลมุสฏอฟา วิทยาเขตปั ตตานี
ล ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ สถาบันที่สำเร็จการ
ำ (ทุกระดับการศึกษา) ศึกษา
10 อาจารย์มาหามะรอ กศ.ม.หลักสูตรและการ มหาวิทยาลัยทักษิณ
สลีแมยู สอน วิทยาเขตสงขลา
11 อาจารย์อดุลย์ ภัย ศษ.ม.เทคโนโลยีและ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชำนาญ สื่อสารการศึกษา วิทยาเขตปั ตตานี
12 อาจารย์อับดุลฟั ต ศษม.อิสลามศึกษา
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
ตาห์ จะปะกียา
13 อาจารย์สิริวรรณ M.A. Islamic Studies Al-Qadi al-Eyad
ขุนดำ (Modern Fiqh) University, Morocco.
14 สุไรยา จะปะกียา Ph.D in Malay Universiti Sains
Linguistics Malaysia
15 อมมุลอุมมะห์ โตะ MA in Malay Universiti Brunei
หลง Linguistics Darussalam

9. สถานที่จ ัด การเรีย นการสอน มหาวิท ยาลัย ฟาฏอนี 135/8 ม. 3


ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปั ตตานี
การกำกับให้เป็ นไปตามมาตรฐาน
ตัวบ่งชี ้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่
กำหนดโดยสกอ.

กรณีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
เกณฑ์การประเมิน ข้อ 1 จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร
หลักสูตรมีอาจารย์ประจำหลักสูตรครบตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา
ตามหลักสูตร
อาจารย์ประจำหลักสูตร.....6........คนดังนี ้
1. แอสซูมานี มาโซ
2. เภาซัน เจ๊ะแว
3. นูรณี บูเกะมาตี
4. อดุลย์ ภัยชำนาญ
5. จิระพันธ์ เดมะ
6. ฮูนาดี มะสีละ
สรุปผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน

เกณฑ์การประเมิน ข้อ 2 คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร


อาจารย์ประจำหลักสูตรมีคุณสมบัติเป็ นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ดังนี ้
1. แอสซูมานี มาโซ M.Ed- Universiti Pendidikan Sultan
Idris, Malaysia.
ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
2. เภาซัน เจ๊ะแว Ph.D- Universiti Brunei Darussalam,
Brunei Darussalam
M.Ed- State University Of Jakarta,
Indonesia.
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
3. นูรณี บูเกะมาตี M.Ed- Universiti Pendidikan Sultan
Idris, Malaysia.
ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
4. อดุลย์ ภัยชำนาญ M.Ed- มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปั ตตานี
ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
5. จิระพันธ์ เดมะ M.Ed- มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
6. ฮูนาดี มะสีละ M.Ed- Universiti Islam Antarabangsa,
Malaysia
ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
สรุปผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน

เกณฑ์การประเมิน ข้อ 3 คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร


หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยี
การศึกษา (4 ปี ) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 เปิ ดรับนักศึกษา ปี การ
ศึกษา 2562 เปิ ดสอนโดยใช้หลักสูตรนีม
้ าแล้ว 1 ปี ระยะเวลาการจัดการ
เรียนการสอนของหลักสูตร 4 ปี หลักสูตรกำลังจะครบรอบการปรับปรุง
หลักสูตร ปี การศึกษา 2565 และขณะนี ้ หลักสูตรได้ผ่านการอนุมัติจาก
สภามหาวิทยาลัย เพื่อใช้ในปี การศึกษา 2562
สรุปผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน

เกณฑ์การประเมิน ข้อ 4 คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน
กรณีอาจารย์ประจำ อ้างอิงตารางที่ 1.3

ำ คุณวุฒิ สถาบันที่สำเร็จการ
ชื่อ – นามสกุล
ดั (ทุกระดับการศึกษา) ศึกษา

1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศษ.ด. ภาวะผู้นำและ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ดร.จารุวัจน์ สอง นวัตกรรมทางการศึกษา วิทยาเขตปั ตตานี
เมือง
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ph.D. Curriculum Universit I Pendidikan
ดร.มูฮามัสสกรี มัน Management and Sultan Idris, Malaysia.
ยูนุ Development
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ph.D.Philosophy Universit I Sains Malaysia,
ดร.รูฮานา สาแมง Malaysia.
4 ดร.มะยูตี ดือรามะ Ph.D. Psychometric Universit I Sains Malaysia,
and Educational Malaysia.
Evaluation
5 ดร.อิสมาอีล ราโอบ Ph.D. Statistics and Universiti Sains Malaysia,
Research Malaysia.
Methodology
6 ดร.อับดุลรอฮมาน Ph.D. Islamic Stete Islamic
สามะอาลี Education University Sunan
Kalijaga Yogyakarta,
Indonesia
7 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Post.Grad, Educational - Hiroshima
ล ชื่อ – นามสกุล คุณวุฒิ สถาบันที่สำเร็จการ
ำ (ทุกระดับการศึกษา) ศึกษา
จิระพันธ์ เดมะ Technology University, Japan.
ก ศ .ม . เ ท ค โ น โ ล ย ีก า ร - มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์
ศึกษา วิโรฒ ประสานมิตร
6 อาจารย์ซาฟี อี บารู ศษ.ม. ศึกษาศาสตร์เพื่อ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
พัฒนาชุมชน วิทยาเขตปั ตตานี
9 อาจารย์อิบรอเฮ ศษ.ม. จิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มอัลมุสฏอฟา วิทยาเขตปั ตตานี
10 อาจารย์มาหามะรอ กศ.ม.หลักสูตรและการ มหาวิทยาลัยทักษิณ
สลีแมยู สอน วิทยาเขตสงขลา
11 อาจารย์อดุลย์ ภัย ศษ.ม.เทคโนโลยีและ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชำนาญ สื่อสารการศึกษา วิทยาเขตปั ตตานี
12 อาจารย์อับดุลฟั ต ศษม.อิสลามศึกษา
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
ตาห์ จะปะกียา
13 อาจารย์สิริวรรณ M.A. Islamic Studies Al-Qadi al-Eyad
ขุนดำ (Modern Fiqh) University, Morocco.
14 สุไรยา จะปะกียา Ph.D in Malay Universiti Sains
Linguistics Malaysia
15 อมมุลอุมมะห์ โตะ MA in Malay Universiti Brunei
หลง Linguistics Darussalam

เกณฑ์การประเมิน ข้อ 10 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่


กำหนด
หลัก สูต รศึก ษาศาสตรบัณ ฑิต สาขาวิช าการสอนภาษามลายู
หลักสูต รใหม่ พ.ศ. 2559 เปิ ดรับนักศึก ษา ปี การศึก ษา 2559 เปิ ดสอน
โดยใช้ห ลัก สูต รนีม
้ าแล้ว 3 ปี ระยะเวลาการจัด การเรีย นการสอนของ
หลัก สูต ร 5 ปี ในปี การศึก ษา 2561 หลัก สูต รได้ทำ การปรับ ปรุง เป็ น
หลัก สูต รศึก ษาศาสตรบัณ ฑิต สาขาวิช าการสอนภาษามลาย ูแ ละ
เทคโนโลยีก ารศึก ษา (4 ปี ) (หลัก สูต รปรับ ปรุง พ.ศ. 2562) ได้เ ริ่ม ใช้
หลักสูตรในปี การศึกษา 2562
สรุปผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 1 : การกำกับมาตรฐาน


ตัวบ่ง เป้ าหมาย ผลการดำเนิน ผลการประเมิน
ชี ้ งาน
 หลักสูตรได้มาตรฐาน
 ผ่าน
1.1 ผ่าน  หลักสูตรไม่ได้
 ไม่ผ่าน
มาตรฐาน

ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 1
จุดเด่น
1. อาจารย์ประจำหลักสูตรมีผลงานวิชาการที่เป็ นประจักษ์
2. อาจารย์ประจำหลักสูตรมีความเชี่ยวชาญทางด้านเรียนรู้ภาษา
มลายูและเทคโนโลยีการศึกษา
3. อาจารย์ประจำหลักสูตรมีคุณวุฒิที่สอดคล้องกับหลักสูตร
โอกาสในการพัฒนา
1. ส่งเสริมอาจารย์ประจำหลักสูตรได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก
2. ส่งเสริมอาจารย์ประจำหลักสูตรทำวิจัยที่หลากหลายและ
สอดคล้องกับสาขาวิชา
องค์ประกอบที่ 2 บัญฑิต

(มคอ.7 หมวดที่ 3 นักศึกษาและบัณฑิต)


ข้อมูลนักศึกษา
ปี การศึกษาที่ จำนวนนักศึกษาคงอยู่ (จำนวนจริง) ในแต่ละปี การศึกษา
รับเข้า(ตัง้ แต่ปี ลา
การศึกษาที่เริม
่ 2562 2561 2560 2559 คงอยู่ ออก
ใช้หลักสูตร)
2562 14 13 1
2561 14 15 14 1
2560 18 18 22 18 4
2559 28 28 28 53 28 25
รวมนักศึกษาคงอยู่ 74 -
จำนวนนักศึกษาที่ออก - 18
หมายเหตุ นักศึกษาที่อยู่เกินกว่า อายุข องหลักสูตร ให้นับรวมอยู่ในช่องนักศึกษา
ตกค้าง

จำนวนการสำเร็จการศึกษา
ปี การ จำนวนรับ จำนวนสำเร็จการศึกษาตาม จำนวนที่ลาออก
ศึกษา เข้า (1) หลักสูตร (2) และคัดชื่อออก
สะสมจนถึงสิน
้ ปี
การศึกษา .........
(3)

สูตรการคำนวณอัตราสำเร็จการศึกษา= (2)x 100


(1)
ปี การศึกษา 2559 2560 2561 2562
ร้อยละการสำเร็จการศึกษา 0 0 0 0
ของนักศึกษา

ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อจำนวนนักศึกษาสาขาการสอนภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา

การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการพัฒนาระบบและกลไก

ในปี การศึกษา 2562 สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยี


การศึกษา ได้มีการพัฒนาหลักสูตรจากหลักสูตร 5 ปี เป็ นหลักสูตร 4 ป ี
อีกทัง้ ยังได้เปลี่ยนจากหลักสูตรเอกเดี่ยวเป็ นเอกคู่ เพื่อเป็ นการเพิ่มทาง
เลือกให้กบ
ั นักศึกษา ทัง้ นี ้ ทางสาขาได้การมีการแนะแนวประชาสัมพันธ์
หลักสูต รหลากหลายรูปแบบ ทัง้ แนะแนวทางเว็บ ไซต์ข องมหาวิทยาลัย
แนะแนวผ่านสื่อสังคมออนไลน์ แนะแนวตามสถาบันการศึกษา ผลที่ตาม
มาจำนวนนักศึกษาไม่เป็ นไปตามเป้ าที่วางเอาไว้ และจำนวนนักศึกษาก็
ลดลงจากปี การศึกษา 2562 จากการดำเนินการพบว่าสภาพและปั ญหามี
ดังนี ้
1. การแนะแนวประชาสัมพันธ์หลักสูตรยังไม่กว้างขวาง
สาขาวิชาภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษาได้มีการปรับเปลี่ยน
จากหลัก สูต ร 5 ปี เป็ นหลัก สูต ร 4 ปี อีก ทัง้ ยัง ได้ม ีก ารพัฒ นา
หลักสูตรจากเอกเดี่ยว เป็ นเอกคู่ ด้วยระยะเวลาการประชาสัมพันธ์
ที่จำกัด ทำให้ทางสาขามีโอกาสประชาสัมพันธ์ตามโรงเรียนต่างๆใน
พื้นที่ 3 จังหวัดเท่านัน

2. จำนวนผู้ที่มารายงานตัวไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา มีเป้ าหมาย
รับนักศึกษา 60 คน โดยผู้ที่มาสมัคร กับผู้ที่มารายงานตัวมีความ
แตกต่างกัน เนื่องจากสาเหตุแรกรายชื่อผู้สมัครส่วนใหญ่มาจากการ
เลือกสาขาอันดับที่สองในใบสมัคร ซึ่งผูส
้ มัครส่วนใหญ่มีความตัง้ ใจ
ที่จะเรียนในสาขาที่เลือกอันดับที่ 1 มากกว่า สาเหตุที่สอง บางส่วน
ของผูส
้ มัครเป็ นการรับสมัครในวันที่แนะแนวตามโรงเรียนต่างๆ ผู้ที่
สมัครมีการกรอกใบสมัครโดยที่ยังขาดความพร้อมในการตัดสินใจ
ศึกษาต่อ บางคนกรอกใบสมัครทุกสถาบันที่ไปแนะแนว ทัง้ นีส
้ าขา
วิชามีการโทรติดตามผู้สมัครทุกคน เพื่อติดตามความต้องการที่จะ
ศึก ษาในสาขาวิช าการสอนภาษามลายูแ ละเทคโนโลยีก ารศึก ษา
ก่อนที่จะมีการสอบสัมภาษณ์และรายงานตัว พบว่าบางส่วนของผู้
สมัค รไม่ม ีค วามประสงค์ท ี่จ ะศึก ษา ด้ว ยปั จจัย ด้า นส่ว นตัว ของ
นักศึกษา เช่นฐานะทางบ้านยากไร้ ผู้ปกครองไม่สามารถส่งเล่าเรียน
ได้ นักศึกษาบางคนสมัครเรียนไว้หลายมหาวิทยาลัย และเลือกไป
เรียนที่อ่ น
ื นักศึกษาบางรายไม่ทราบสาเหตุ
3. อัตราครูภาษามลายูในโรงเรียนรัฐบาลมีน้อย
สาขาวิช าการสอนภาษามลายูแ ละเทคโนโลยีก ารศึก ษา ยัง ไม่
ปรากฏในบัญชีอัตราการบรรจุข้าราชการครู หรือโครงการครูคืนถิ่น
โอกาสในการสอบบรรจุข ้าราชการมีน ้อ ย ตำแหน่ง ครูภาษามลายู
ส่วนใหญ่เ ปิ ดรับ โดยโรงเรียนเอกชน ซึ่ง มีก ารเรียนการสอนภาษา
มลายูอย่างจริงจังในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เท่านัน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

(มคอ.7 หมวดที่ 3 นักศึกษาและบัณฑิต)


ตัวบ่งชี ้ 3.1 การรับนักศึกษา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ก า ร ร ับ หลักสูตร การสอนภาษามลายู TMT 3.1-1 ระบบ
นักศึกษา และเทคโนโลยีการศึกษา มีระบบการ และกลไกการรับ
รับนักศึกษาตามข้อบังคับมหาวิทยา นักศึกษาใหม่
ลัยฟาฏอนี ว่าด้วยการศึกษาระดับ TMT3.1-2
ปริญญาตรี และดำเนินการรับ ประกาศ
นักศึกษาร่วมกับคณะและสำนัก มหาวิทยาลัยว่าด้วย
บริการการศึกษา ซึ่งมีขน
ั ้ ตอน ดังนี ้ การรับนักศึกษา
TMT3.1-1 ใหม่ การประกาศ
1) กำหนดเป้ าหมายจำนวนการรับ รายชื่อผู้มีสิทธิส์ อบ
นัก ศึก ษา แล ะ จ ัด ทำ แผ น ก า ร ร ับ และผูผ
้ ่านการสอบ
นักศึกษา คัดเลือก
1.1 หลักสูตรวิเคราะห์ความต้องการ TMT 3.1-4 แบบ
ของตลาดแรงงาน และแนวโน้นความ ทดสอบวัดระดับ
ต้องการทักษะวิชาชีพในอนาคต เฉพาะทาง
1.2 ห ล ัก ส ูต ร กำ ห น ด จำ น ว น เ ป้ า TMT 3.1-5 แบบ
หมายจำ นวนการรับ นัก ศึก ษา โดย ทดสอบวัดแวว
คำ น ึง ถ งึ ส ัด ส ่ว น ข อ ง อ า จ า ร ย ์ต ่อ ความเป็ นครู
จำนวนนักศึกษา ศักยภาพทรัพยากร TMT 3.1-6 แบบ
ของคณะและสิ่ง สนับ สนุน การเรีย น สอบสัมภาษณ์
การสอน TMT 3.1-7
1.3 หลักสูตรจัดทำแผนการรับ รายงานการประชุม
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
นักศึกษาและเสนอแผนการรับ ว่าด้วยเรื่องการ
นักศึกษาต่อคณะกรรมการประจำ ดำเนินการรับสมัคร
คณะ นักศึกษาประจำปี
2) กำหนดระบบการรับนักศึกษา การศึกษา 2562
ตามบริบทของหลักสูตร คณะ และ TMT 3.1-8 เพจเฟ
มหาวิทยาลัย ซบุค
้ ของ
มหาวิทยาลัยมีการกำหนดระบบ สาขา,นักศึกษา
การรับนักศึกษาที่สะท้อนถึงปรัชญา และช่องยูทูป เพื่อ
วิสัยทัศน์ ของมหาวิทยาลัย การประชาสัมพันธ์
- ระดับ ปริญ ญาตรี ระบบการรับ และแนะแนวสาขา
น ัก ศ ึก ษ า ผ ่า น ร ะ บ บ ร ับ ต ร ง ต า ม การสอนภาษา
ล ัก ษ ณ ะ ข อ ง ห ล ัก ส ูต ร โ ด ย แ บ ่ง มลายูและ
ประเภทการรับ นัก ศ ึก ษา เ ป็ น 2 เทคโนโลยีการ
ประเภท ดังนี ้ ศึกษา
1.1 รับนักศึกษาประเภทโควตา
1.2 รับนักศึกษาประเภททั่วไป
3) กำหนดเกณฑ์การรับนักศึกษา
ตาม ปรัชญา วิสัยทัศน์ของ
หลักสูตร คณะ และมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมีการกำหนดเกณฑ์
การรับนักศึกษาที่สะท้อนถึงปรัชญา
วิสัยทัศน์ ของมหาวิทยาลัย และ
เกณฑ์คณ
ุ สมบัติในระดับหลักสูตรที่
ปรากฏใน มคอ.2
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
คุณสมบัติผู้สมัครสอบเข้าศึกษา
ต่อ ใช้คุณสมบัติตามเกณฑ์ มคอ.2
โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้
4.1 ระดับปริญญาตรี
ระบบการรับนักศึกษาในประกาศ
รับนักศึกษา
1) สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษา
ตอนปลายหรือเทียบเท่า
2)มีคะแนนผลการเรียนเฉลี่ยไม่
น้อยกว่า 2.5 หรือเป็ นไปตามดุลพินิจ
ของคณะกรรมการคัดเลือกนักศึกษา
3)มีคณ
ุ สมบัติครบถ้วนตาม
ระเบียบมหาวิทยาลัยฟาฏอนี
4) ผ่านการทดสอบวัดแววความ
เป็ นครูของคณะศึกษาศาสตร์ และ
ทดสอบวัดความรู้ด้านภาษามลายู
และเทคโนโลยีจัดโดยสาขา
5) ประชาสัมพันธ์หลักสูตรที่เปิ ดรับ
สมัคร คุณสมบัติ ขัน
้ ตอนการ
ดำเนินการการรับนักศึกษา และ
กำหนดการต่างๆ
1. จัดให้มีการประชาสัมพันธ์
ข้อมูลหลักสูตรผ่าน website และ
facebook ของมหาวิทยาลัย คณะ,
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ตามเพจ facebook ของสาขา และ
คณาจารย์ และจัดแสดงผลงานเพื่อ
แนะนำหลักสูตรตลอดปี การศึกษา
เช่นการจัดทำป้ ายประชาสัมพันธ์
และสื่อวิดีโอ และอื่นๆ
2. ประกาศเกณฑ์การรับ
นักศึกษาผ่านช่องทาง เว็บไซต์ และ
ประกาศมหาวิทยาลัยฟาฏอนี
3. ประกาศกำหนดวันรับสมัคร
นักศึกษาใหม่ โดยระบุวันเวลาตาม
รอบการสมัคร TMT 3.1-2
4. ประกาศกำหนดการวัน สอบ
คัดเลือก
5.ประกาศเลขที่นั่งสอบและราย
ชื่อผู้มีสิทธ์สอบข้อเขียน
6) การสร้างเครื่องมือเพื่อใช้ในการ
สอบคัด เลือ กนัก ศึก ษาและแต่ง ตัง้
คณะกรรมการดำ เนิน การสอบคัด
เ ล ือ ก แ ต ง่ ต งั ้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร อ อ ก
ข้อสอบและดำเนินการสอบคัดเลือก
TMT 3.1-3
1. คณะ มีหน้าที่ ออกข้อสอบและ
ดำเนินการสอบคัดเลือกนักเรียน โดย
มีการใช้เครื่องมือในการประเมินผู้
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
สมัคร ผ่านกระบวนการสอบประเมิน
ความรู้พ้น
ื ฐาน TMT 3.1-4 สอบวัด
แววความเป็ นครู TMT 3.1-5 และ
สอบสัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกนักศึกษา
ที่มีความพร้อมทางด้านสติปัญญา
สุขภาพกาย เจตคติที่ดีต่อความเป็ น
ครู TMT 3.1-6
2. หลักสูตรและคณะจัดทำ
ข้อสอบวัดแววความเป็ นครู
7) ดำเนินการจัดสอบและประกาศ
ผลการสอบคัดเลือก
1. หลักสูตร คณะ และ
มหาวิทยาลัยดำเนินการจัดสอบตาม
กระบวนการที่หลักสูตรกำหนด
ประกอบด้วยการสอบข้อเขียน และ
การสอบสัมภาษณ์
2. ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบ
คัดเลือก
3. ประกาศวันนักศึกษารายงานตัว

นำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การ
ดำเนินงาน/กระบวนการรับ
นักศึกษา(DO)
หลักสูตร ศษ.บ. สาขาวิชา การสอน
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา
ได้ประชุมวางแผนการดำเนินการรับ
นักศึกษาประจำปี การศึกษา 2562
ได้กำหนดแนวทางการทำงานดังนี ้
หลักสูตรและคณะได้นำระบบ
ของมหาวิทยาลัยมาบริหารจัดการใน
การรับนักศึกษาในทุกประเภทโดย
ผ่านกระบวนการประชาสัมพันธ์ และ
ผ่านกระบวนการรับสมัครของสำนัก
ทะเบียนและส่งเสริมวิชาการ ทัง้ นีม
้ ี
การแต่งตัง้ คณะกรรมการรับผิดชอบ
ดำเนินการจัดสอบ และมี
กระบวนการออกข้อสอบประกอบ
ด้วย รายวิชาเอกเฉพาะ วิชาวัดแวว
ความเป็ นครู และสอบสัมภาษณ์
หลักสูตรนำกระบวนการรับ
นักศึกษามาจากนโยบายและแผน ที่
ผ่านการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ต่างๆ
ตามมคอ.2 ของหลักสูตร และแผน
ยุทธศาสตร์ประจำปี การศึกษานัน
้ ทัง้
ในระดับหลักสูตร และคณะ แล้วจึง
เกิดผลเป็ นแนวปฏิบัติดำเนินการ
ดังนี ้
1) การกำหนดเป้ าหมายจำนวนรับ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
นักศึกษา คำนึงถึงศักยภาพ
ทรัพยากรของคณะและหลักสูตรทาง
ด้านบุคลากรทัง้ สายสนับสนุนและ
สายวิชาการโดยเฉพาะทางด้าน
วิชาการจะต้องให้สอดคล้องกับค่า
FTES (สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็ม
เวลาต่ออาจารย์ประจำ 30:1) ของ
หลักสูตร-คณะที่ทำการเปิ ดสอน และ
สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนที่มีอยู่
ประกอบกับความต้องการของตลาด
แรงงานในกลุ่มสาขาวิชาชีพที่
ขาดแคลนในปั จจุบันและอนาคต
2) การกำหนดกลุ่มเป้ าหมายและ
สร้างเกณฑ์ในการรับนักศึกษาแรก
เข้า เพื่อประกาศรับและ
ประชาสัมพันธ์การรับ โดยกลุ่มเป้ า
หมายและเกณฑ์การรับต้องสะท้อน
คุณภาพของนักศึกษาที่เหมาะสมกับ
หลักสูตรที่เปิ ดสอนและสอดคล้องกับ
ปรัชญา วิสัยทัศน์ของสถาบันและ
หลักสูตร ผลลัพธ์การเรียนรู้ทกำ
ี่ หนด
ในหลักสูตร
3) หลักเกณฑ์กระบวนการที่ใช้ใน
การคัดเลือกนักศึกษา ใช้เครื่องมือ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
การสอบรับตรงที่หลักสูตรและคณะ
เป็ นผู้ดำเนินการ

สาขาวิชามีการประชาสัมพันธ์เชิงรุก
หลากหลายรูปแบบ อาทิเช่น
1 การไปแนะแนวตามโรงเรียน
ต่างๆโดยนำนักศึกษาที่เป็ น
ศิษย์เก่าโรงเรียนมีส่วนร่วมใน
การแนะแนว
2 การประชาสัมพันธ์สาขาผ่าน
สื่อสังคมออนไลน์ โดยให้
นักศึกษามีส่วนร่วมในการนำ
เสนอข้อมูลสาขา ผ่านการถ่าย
ทำวิดีโอ ลงยูทูปและเฟซบุค
3 มีการประชาสัมพันธ์หลักสูตร
ใน TV FTU รายการทีวี
ออนไลน์
ผลจากการประชาสัมพันธ์ในปี นี ้
ทำให้ในปี การศึกษา 2562 สาขาการ
สอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการ
ศึกษา มีการรับสมัครนักศึกษา
ทัง้ หมด 4 รอบ
มีจำนวนผู้สมัครทัง้ หมด 21 คน และ
มารายงานตัวเป็ นนักศึกษาจำนวน
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
14 คน
หลักสูตร สัดส่ว เป้ าหมาย
น การรับตาม
จำนวน แผน
ที่รับ
ตาม
แผน
ประเภท 6 คน 60 คน
โควตา
ประเภท 3 คน
ทั่วไป 1
ประเภท 3 คน
ทั่วไป 2
ประเภท 2 คน
ทั่วไป 3
รวม 14 คน

มีการประเมินผลกระบวนการรับ
นักศึกษา(CHECK)
หลักสูตร ศษ.บ. สาขาวิชา การ
สอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการ
ศึกษาได้ประชุมทบทวนระบบและ
กลไกการรับนักศึกษาและผลการ
ดำเนินงาน พบว่าผลการรับนักศึกษา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ปี 2562 หลักสูตรได้นักศึกษาตาม
คุณสมบัติที่กำหนดไว้ แต่ได้จำนวน
นักศึกษาที่มารายงานตัวน้อยกว่าปี
การศึกษา 2561 และไม่เป็ นไปตาม
จำนวนแผนรับนักศึกษาที่กำหนดไว้
ตาม มคอ.2 สะท้อนให้เห็นถึง การ
รับรู้ข้อมูลการเปิ ดหลักสูตรใหม่ของ
คณะและของมหาลัยที่ยังไม่ทั่วถึง
ครอบคลุมทุกพื้นที่ อีกทัง้ ยังไม่มี
บัณฑิตที่จบจากหลักสูตรนี ้ เพื่อป้ อน
เข้าไปในตลาดแรงงานของสังคมส่ง
ผลต่อความเชื่อมั่นของหลักสูตรใน
การผลิตบัณฑิตที่อาจจะส่งผลต่อการ
ตัดสินใจของนักเรียนและผู้ปกครอง
ต่อการเข้ามาศึกษาในหลักสูตรนี ้ ผล
การรับนักศึกษาและแนวโน้มจำนวน
นักศึกษาตัง้ แต่เปิ ดหลักสูตร 2559
จนถึงปั จจุบัน ดังแสดงในตาราง ดังนี ้
ตารางแสดงผลการรับและจำนวน
นักศึกษาตัง้ แต่ปีการศึกษา 2559-
2562
รายก ปี การ ปี การ ปี ปี
าร ศึกษา ศึกษา การ การ
2559 2560 ศึกษา ศึกษา
2561 2562
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
การ ไม่ทัน ได้ ได้ ได้
ประ ประชา ประช ประชา ประชา
ชา สัมพัน าสัมพั สัมพัน สัมพัน
สัมพั ธ์ นธ์ ธ์ทุกร ธ์ผ่าน
นธ์ เพราะ ทุกร อบ สื่อ
หลัก หลักสู อบ มีเดีย
สูตร ตรพึง ต่างๆ
ถูก เช่น
อนุมัติ เพจ
จาก เฟซบุ้ค
สกอ.แ และยู
ละคุรุ ทูป
สภา
รอบ รอบที่ รอบ รอบ รอบ
ที่ 3 รอบ โค้วต้ โค้วต้า โค้วต้า
เปิ ด เดียว า และ และ
รับ และ รอบ รอบ
นักศึ รอบ ปกติ ปกติ
กษา ปกติ ทัง้ สาม ทัง้ สาม
ทัง้ รอบ รอบ
สาม
รอบ
จำน 53 22 15 14
วน
นักศึ
กษา
ที่มา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
รายง
าน
ตัว
เข้า
เรียน

จากตารางข้างต้นพบว่าจำนวน
นักศึกษาที่มารายงานตัวเข้าเรียนมี
แนวโน้มลดลงทางหลักสูตรจึงได้
ประชุมปรึกษาหารือเพื่อทบทวน
แนวทางการดำเนินงานของหลักสูตร
ในอนาคตถึงความต้องการการศึกษา
ต่อในหลักสูตรของนักเรียนในพื้นที่
และแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงของ
ตลาดแรงงานในอนาคตเพื่อให้เป็ น
หลักสูตรที่ทันสมัย สอดคล้องต่อ
ความต้องการของผู้ประกอบการใน
ท้องถิ่น จนได้ข้อสรุปเป็ นมติดังนี ้
- หลักสูตรมีการปรับปรุง ในปี
การศึกษา 2562 เพื่อพัฒนาหลักสูตร
จาก 5 ปี เป็ น 4 ปี ให้สอดคล้องกับ
นโยบายของรัฐบาลที่ต้องการให้
บัณฑิตทำงานได้เร็วขึน

- ในการนี ้ ได้พัฒนาหลักสูตร
จากหลักสูตรเอกเดี่ยวเป็ นหลักสูตร
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
เอกคู่ ตามการพัฒนาของโลกปั จจุบัน
คือหลักสูตรการสอนภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา เพื่อเปิ ดโอกาส
ให้บณ
ั ฑิต ที่จบจากสาขาสามารถ
สอบบรรจุรับราชการเนื่องจาก
บัณฑิตที่จบมาจากหลักสูตรใหม่นี ้
สามารถสอบบรรจุรับราชการเป็ นได้
ทัง้ สองสาขาวิชา กล่าวคือเป็ นได้ทงั ้
ครูสอนภาษามลายู และครูสอน
เทคโนโลยี อีกทั่งสอดคล้องกับความ
ต้องการของสังคมไทยและสังคมโลก
เพื่อต้องการบัณฑิตที่มีหลายทักษะ
อาทิเช่น ทักษะทางด้านภาษามลายู
ที่เป็ นภาษาสำคัญของอาเซียน และ
ทักษะทางด้านเทคโนโลยี
- ทบทวนคุณสมบัติของผู้มา
สมัครใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการ
พัฒนาหลักสูตรเอกคู่ดังกล่าว
มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ
จากผลการประเมิน (ACTION)
1. หลักสูตรฯได้มีการปรับปรุงและ
พัฒนากระบวนการจากผลการ
ประเมิน
2. หลักสูตรฯได้มีการเปรียบเทียบ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ผลการรับนักศึกษา 4 ปี ย้อนหลัง
(2559-2562) ดังนี ้

ผลการรับนักศึกษา
ปี ปี
ปี การ การ การ
ปี การ
รายการ ศึกษ ศึกษ ศึก
ศึกษา
า า ษา
2560
2559 256 256
1 2
จำนวน 53 22 15 14
นักศึกษารับ
เข้า
จำนวนคงอยู่ 28 18 14 13
ร้อยละคงอยู่ 52.8 81.82 93.3 93
3 3

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
กระบวนการรับนักศึกษาปี ที่ผ่านมา
สาขาวิชาควรปรับกลยุทธ์ในการ
ประชาสัมพันธ์หลักสูตรโดยการเพิ่ม
แนวการในการรับข้อมูลข่าวสารที่
หลากหลายช่องทาง TMT 3.1-8 ทัง้
ทางเพจเฟซบุค
้ ของสาขา เพจเฟ
ซบุค
้ ของนักศึกษา และช่องยูทูป เพื่อ
การเข้าถึงผู้เข้าชมที่หลากหลาย อีก
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ทัง้ ยังเป็ นการส่งเสริมนักศึกษาในการ
ประยุกต์ใช้ทักษะภาษามลายูเข้ากับ
ยุคศตวรรษที่21
- การเตรียมความพร้อมก่อนเข้า TMT 3.1-8 ระบบ
ศึกษา และกลไกการเตรี
มีระบบและกลไก (PLAN) ยมความพร้อม
นักศึกษา

TMT 3.1-9
กำหนดการ
โครงการเตรียม
ความพร้อมสำหรับ
การใช้ชีวิตใน
มหาวิทยาลัย
TMT 3.1-10
หลักสูตรมีการประชุมเพื่อ
รายงานสรุปผลการ
เตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาที่
ดำเนินกิจกรรม
ได้รับคัดเลือกให้เข้าศึกษาต่อ เพื่อจัด
เตรียมความพร้อม
เตรียมความพร้อม ให้สามารถเรียนรู้
แก่นักศึกษาใหม่
ในหลักสูตร และมีความสุขในการใช้
TMT 3.1-11
ชีวิตการเป็ นนักศึกษา จนสำเร็จการ
รายงานการประชุม
ศึกษา โดยมีระบบกลไกดังนี ้
อาจารย์ประจำ
1) จัดทำแผนการเตรียมความพร้อม
หลักสูตร ว่าด้วย
สำหรับนักศึกษาตามบริบทของ
ประเมินผลการ
หลักสูตร
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
หลักสูตรจัดทำแผนการเตรียม ดำเนินงานกิจกรรม
ความพร้อมสำหรับนักศึกษาตาม เตรียมความพร้อม
บริบทของหลักสูตร อาทิ ความพร้อม แก่นักศึกษาใหม่ ปี
ด้านวิชาการ ความพร้อมด้านทักษะ การศึกษา 2562
การใช้ชีวิต ความพร้อมด้านการ
ทำงานเป็ นทีม ความพร้อมทางด้าน
จิตวิญญาณความเป็ นครู และเสนอ
ต่อคณะกรรมการประจำคณะ TMT
3.1-8
2) จัดทำโครงการการเตรียมความ
พร้อมสำหรับนักศึกษา
หลักสูตรจัดเตรียมโครงการและ
งบประมาณการดำเนินโครงการให้
สอดคล้องกับการดำเนินงาน เพื่อให้
บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เสนอต่อคณะกรรมการ
ประจำคณะ TMT 3.1-9
3) ดำเนินโครงการการเตรียมความ
พร้อมสำหรับนักศึกษา
หลักสูตรดำเนินโครงการ และ
เสนอต่อคณะกรรมการประจำคณะ
4) ประเมินผลการดำเนินโครงการ
5) ประเมินกระบวนการเตรียมความ
พร้อมสำหรับนักศึกษา ใน
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
กระบวนการดำเนินงานสำหรับ
นักศึกษา
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ระหว่างหลักสูตรและคณะในการ
ดำเนินงาน โดยการประชุมสรุปผล
การประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อ
พิจารณาจุดเด่น จุดด้อยกระบวนการ
เตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษา
หรือ จัดการความรู้ในกระบวนการ
เตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษา
เสนอคณะกรรมการประจำคณะ
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการ
เตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษา
ให้มีประสิทธิภาพมากขึน
้ เพื่อเป็ น
แนวทางปฏิบัติที่ดีในกระบวนการ
เตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษา
6) นำไปปรับปรุงในกระบวนการ
วางแผนการเตรียมความพร้อม
สำหรับนักศึกษาครัง้ ต่อไป
นำแนวปฏิบัติที่ดีในกระบวนการ
เตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษา
ไปปรับปรุงในการวางแผนการเตรียม
ความพร้อมสำหรับนักศึกษาครัง้ ต่อ
ไป
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

นำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การ
ดำเนินงาน/กระบวนการ (DO)
หลักสูตร มีการประชุมว่า
ด้วยการเตรียมความพร้อมก่อนเข้า
ศึกษาของนักศึกษาใหม่ผ่าน
โครงการ/กิจกรรมต่างๆ ของ
มหาวิทยาลัยโดยสำนักพัฒนา
ศักยภาพนักศึกษาร่วมกับคณะและ
หลักสูตรดังนี ้
โครงการการเตรียมความ
พร้อมด้านทักษะการใช้ชีวิตใน
มหาวิทยาลัยทัง้ ในระดับ
มหาวิทยาลัย คณะ และหลักสูตร ใน
ระดับมหาวิทยาลัย นักศึกษาใหม่มี
กิจกรรมพบปะผูบ
้ ริหารระดับสูง
ได้แก่ อธิการบดี รองอธิการบดี และ
ผู้ช่วยอธิการบดีทุกฝ่ าย เพื่อแสดง
ความยินดี ให้โอวาท และแนะนำ
แนวทางการใช้ชีวิตเป็ นนักศึกษาใน
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี และฟั งการ
ชีแ
้ จงแนวทางการศึกษา การทำ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
กิจกรรม และการเป็ นนักศึกษามหาวิ
ทยาลัยฟาฏอนี จากหน่วยงานต่างๆ
อาทิ สำนักบริการการศึกษา ชีแ
้ จงว่า
ด้วยการลงทะเบียนเรียนและการ
เรียนการสอน สำนักพัฒนานักศึกษา
ชีแ
้ จงว่าด้วยเรื่องกิจกรรมนักศึกษา
สำนักงานหอพัก ว่าด้วยการอยู่อาศัย
ในหอพักมหาวิทยาลัย ในระดับคณะ
นักศึกษาใหม่มีกิจกรรมพบปะผู้
บริหารคณะ ทัง้ คณบดี รองคณบดี
หัวหน้าสำนัก และหัวหน้าสาขาทุก
สาขาวิชาทัง้ ในระดับปริญญาตรีและ
ปริญญาโท เพื่อให้โอวาทและแนะนำ
ทักษะการเรียน กระบวนการจัดการ
เรียนการสอน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ของคณะศึกษาศาสตร์โดยภาพรวม
ทัง้ นี ้ ในระดับคณะมีกิจกรรมของ
สโมสรนักศึกษาในการเตรียมความ
พร้อมก่อนเข้าศึกษารวมอยู่ด้วย หลัง
จากนักศึกษาใหม่พบปะและมี
กิจกรรมในระดับคณะแล้ว ในระดับ
หลักสูตร นักศึกษามีการพบปะกับ
หัวหน้าสาขาวิชา คณาจารย์ในสาขา
วิชาทุกท่าน ตลอดจนชุมนุมสาขา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
วิชา ซึง่ มีรูปแบบกิจกรรมที่เน้นใน
การสร้างความใกล้ชิดและความ
สัมพันธ์ระหว่างคณาจารย์ นักศึกษา
รุ่นพีแ
่ ละนักศึกษาใหม่

หลักสูตรได้ดำเนินการจัด
กิจกรรมเตรียมความพร้อมแก่
นักศึกษาใหม่ ปี การศึกษา 2562
ภายใต้โครงการ “Jalinan
Muhibbah Keluarga
Pendidikan Bahasa Melayu
dan Teknologi Pendidikan”
โดยมีจุดประสงค์เพื่อเตรียมความ
พร้อมและพัฒนาทักษะการสื่อสาร
ภาษามลายู และการใช้เทคโนโลยี
เบื้องต้น แก่นักศึกษาใหม่ ราย
ละเอียดกิจกรรมมีดังนี ้
วัน ผู้รับผิดชอบ เนื้อหา
ที่
1 อ.อมมุลอมมะห์ หลักภาษา
โตะหลง มลายู
2 อ.นรณี บูเกะ การฟั ง การพูด
มาตี
3 ดร. สุไรยา จะ การอ่าน และ
ปะกียา การเขียน
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
4 อ.อดุลย์ ภัย การใช้
ชำนาญ เทคโนโลยี
เบื้องต้น
มีผลการประเมินตัวชีว
้ ัดโครงการ
ดังนี ้
1. นักศึกษาใหม่เข้าร่วมโครงการ
คิดเป็ น ร้อยละ 90.00
2. นักศึกษามีความพึงพอใจต่อ
กิจกรรม ในระดับ มาก คิดเป็ น
คะแนน 4.31 โดยแยกแต่ละด้านดังนี ้
ปี 2562
รายการ ระดับ
คะแนน
ด้านวิทยากร 4.39
ด้านสถานที่/ระยะ 4.36
เวลา
ด้านความรู้ความ 4.31
เข้าใจ
ด้านคุณภาพ 4.25
ด้านวัตถุประสงค์ 4.06
คะแนนเฉลี่ยทุก 4.31
ด้าน

จากตารางข้างต้น ในปี การ


ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ศึกษา 2562 มีการประเมิน คะแนน
อยู่ในระดับดีมาก อย่างไรก็ตาม
การเตรียมความพร้อมครัง้ ต่อไปคณะ
กรรมการจะทำการทบทวนและ
ปรับปรุงวิธีการให้ดีขน
ึ ้ กว่าเดิมเพื่อ
เตรียมการรับนักศึกษาเข้าปี การ
ศึกษา 2563 ต่อไป
นอกจากกิจกรรมเตรียมความ
พร้อมสำหรับนักศึกษาใหม่แล้ว ทาง
สาขาวิชาได้จัดกิจกรรมสอนเสริม
ภาษามลายูเพิ่มเติมในช่วงสอง
สัปดาห์แรกของการเรียนการสอน
โดยเน้นทักษะการฟั ง พูด อ่าน เขียน
และการใช้เทคโนโลยีเบื้องต้น
มีการประเมินผลกระบวน
การ(CHECK)
หลักสูตรได้ประชุมเพื่อประเมิน
ผลการดำเนินงานการเตรียมความ
พร้อมนักศึกษาสาขาวิชาการสอน
ภามลายู และนำข้อเสนอแนะมาปรับ
แก้เพื่อประยุกต์ใช้ในการรับนักศึกษา
ใหม่ปีต่อไป จากการดำเนินงาน พบ
ว่านักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษา
มลายูและเทคโนโลยีการศึกษา มีพ้น

ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ฐานภาษามลายูที่ต่างกันอย่างเห็นได้
ชัด มีกลุ่มนักศึกษาที่สามารถสื่อสาร
ภาษามลายูได้แล้ว และกลุ่มนักศึกษา
ที่ไม่มีทักษะภาษามลายูเลย ด้วยเหตุ
นีท
้ างสาขาวิชาได้ประสานไปยัง
อาจารย์ที่ปรึกษาให้ทำการสอนเสริม
แก่นักศึกษาที่มีแนวโน้มจะเรียน
ไม่ทันเพื่อน ภายหลังการสอนเสริม
ทางสาขาวิชาได้นำคะแนนของ
นักศึกษาประจำปี การศึกษา 2562
มาประมวลผลปรากฏว่าคะแนนวิชา
ทักษะภาษามลายู1 มีเกรดสูงสุดอยู่ที่
A จำนวน 8 คน และคะแนนต่ำสุดอยู่
ที่ B จำนวน 3 คน และคะแนนวิชา
ทักษะยาวี1 มีเกรดสูงสุดอยู่ที่ A
จำนวน 7 คน และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่
B จำนวน 3 คน

ผลการประเมินความพึงพอใจ
ของนักศึกษาต่อกิจกรรมเตรียมความ
พร้อมสำหรับนักศึกษาใหม่มีค่าเฉลี่ย
ระดับความพึงพอใจดีมาก ซึ่งสาขา
วิชาได้รวบรวมผลการประเมินความ
พึงพอใจของนักศึกษา พบว่า
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
นักศึกษามีความพึงพอใจต่อ
กระบวนการจัดเตรียมความพร้อมแก่
นักศึกษาใหม่ โดยระบุว่าเป็ นการ
เตรียมความพร้อมในการเรียนได้ดีขน
ึ้
และสามารถแก้ปัญหาลดความกังวล
ต่อพื้นฐานภาษามลายูเป็ นอย่างดี
ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 3.1
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : คะแนน เกณฑ์ประเมิน
5.00 คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน 
บรรลุเป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 5.00 คะแนน

ตัวบ่งชี ้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา


ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
ก า ร ส ่ง การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษา TMT 3.2-
เ ส ร ิม แ ล ะ วิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาในระดับ 1 คู่มือ
พ ัฒ น า อาจารย์ที่
ปริญญาตรี
นักศึกษา ปรึกษา
ระบบและกลไก
มหาวิทยาลัยฟาฏอนีมีระบบและ TMT 3.2-
กลไกการควบคุมดูแลการให้คำปรึกษา 2 ภาระ
งาน
วิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาผ่านระบบ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
อาจารย์ที่ปรึกษา TMT 3.2-1 และกลุ่ม อาจารย์ที่
ศึกษาอัลกุรอาน ภายใต้การกำกับดูแลของ ปรึกษา
ระบบ
ฝ่ ายพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยและ
บริการการ
คณะ มีภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาในระบบ
ศึกษา (E-
บริการการศึกษา (E-register) ของ
register)
มหาวิทยาลัย ผ่านช่องทาง TMT 3.2-
www.reg.ftu.ac.th TMT 3.2-3 ที่เอื้อให้ 3 ระบบ
หลักสูตรและอาจารย์ที่ปรึกษาทุกคนป้ อน และกลไก

ข้อมูลนักศึกษาภายใต้อาจารย์ที่ปรึกษา การควบคุม
การดูแล
กำหนดสถานการณ์เข้าระบบ และดูแล
การให้คำ
ควบคุมการลงทะเบียนเรียน การส่งข้อความ
ปรึกษา
ถึงนักศึกษาและการตรวจสอบข้อมูลต่างๆ
วิชาการ
เกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษามี TMT 3.2-
ระบบการประเมินภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษา 4 คำสัง่
อย่างเป็ นระบบ แต่งตัง้
อาจารย์ที่

-อาจารย์ที่ปรึกษา ดำเนินการตาม ปรึกษา ปี


แนวทางการปฏิบัติสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา การศึกษา
ในการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวการ 2562
ศึกษาแก่นักศึกษา โดยในปี การศึกษา 61 TMT 3.2-
หลักสูตรได้กำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาต้อง 5 ชั่วโมง
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
กำหนดตารางเวลาให้คำปรึกษาให้นักศึกษา และช่อง
เข้าพบเพื่อปรึกษาหารือ อีกทัง้ ทางหลักสูตร ทางการให้
ได้ส่งเสริมให้อาจารย์ที่ปรึกษาดำเนินการให้
คำปรึกษา
คำปรึกษาแก่นักศึกษาในหลายๆ ช่องทางด้วย
กัน เช่น ทาง facebook ทางไลน์ หรือทาง TMT 3.2-6
โทรศัพท์ รายงาน
-ทางหลักสูตรร่วมกับฝ่ ายพัฒนาศักยภาพของ การประชุม
คณะ กำหนดกิจกรรมพบปะอาจารย์ที่ปรึกษา ว่าด้วยเรื่อง
แล้วให้อาจารย์ที่ปรึกษามาพบนักศึกษาตาม
การแต่งตัง้
ปฏิทินที่กำหนด
อาจารย์ที่
-ทางหลักสูตรได้ทำการประเมินผลความพึง
ปรึกษา
พอใจในการให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่
ปรึกษาโดยให้นักศึกษาเข้าไปประเมินแบบ TMT
ออนไลน์ผ่านระบบบริการการศึกษา (E- 3.2.7
register) ของมหาวิทยาลัย รายงาน
- อาจารย์ที่ปรึกษาจัดทำรายงานสรุปผลการ การประชุม
ให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่ ผลการ
นักศึกษา และจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อการ ดำเนิน
ดำเนินการในปี ต่อไป
งานการให้
การดำเนินงาน
คำปรึกษา
หลักสูตร ศษ.บ. สาขาวิชา การสอน
แก่
ภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษามีการ
ประชุมเพื่อพิจารณาอาจารย์ที่ปรึกษา โดยได้ นักศึกษาปี
ดำเนินการตามขัน
้ ตอนดังนี ้ การศึกษา
1) วิเคราะห์ภาระหน้าที่ของอาจารย์ใน 2562
หลักสูตร
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
2) เสนอแต่งตัง้ อาจารย์ที่ปรึกษา โดย
กำหนดรายละเอียดดังนี ้
รายชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา
ชัน
้ ปี ที่ วิชาการ
1 ดร. สุไรยา จะปะกียา
(รหัส 62)
2 อาจารย์ อมมุลอม
(รหัส 61) มะห์ โตะหลง
3 อาจารย์ นูรณี บูเกะ
(รหัส 60) มาตี
3 ผศ.ดร เภาซัน เจ๊ะแว
(รหัส 59) อาจารย์ แอสซูมานี
นักศึกษา มาโซ
ชาย
นักศึกษา
หญิง
ชั่วโมง 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
ปรึกษา
วันเวลา ตามตารางของ
อาจารย์

สาขาวิชา การสอนภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษาได้การดำเนินกิจกรรม
อาจารย์ที่ปรึกษาได้พบปะนักศึกษาอย่างใกล้
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
1. สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ทุกคนพบ
นักศึกษาในเวลาเดียวกันเดือนละ 1 ครัง้ ใน
วันอังคาร สัปดาห์สุดท้ายของเดือนตัง้ แต่เวลา
10.00-12.00 น.
2. สาขาวิชาให้อาจารย์ทุกท่านกำหนด
ชั่วโมงให้คำปรึกษาสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมงแก่
นักศึกษา
จากการประชุม มีการพูดคุยการแลกเปลี่ยน
ประสบการในการทำหน้าที่ของอาจารย์
อาจารย์ปรึกษาทำให้ทราบว่า อาจารย์ที่
ปรึกษาได้ทำหน้าที่สอดส่องดูแลตักเตือนให้
คำปรึกษาด้านส่วนตัว การเรียน การใช้ชีวิต
ในสังคมทัง้ ในรัว้ และนอกรัว้ มหาวิทยาลัย
อย่างอบอุ่น ชีแ
้ จงแผนการเรียนตลอด
หลักสูตรรวมถึงกฎระเบียบในการศึกษา สิ่ง
อำนวยความสะดวกในการศึกษาที่คณะและ
หลักสูตรจัดให้ผ่านช่องทางต่างๆ ทัง้ การเข้า
พบที่ห้องทำงาน ผ่าน Facebook, Line,
และการพูดคุยผ่านกลุ่มศึกษาอัลกุรอาน พา
ไปเลีย
้ งอาหาร ไปเยี่ยมบ้านของนักศึกษา
นอกจากนี ้ มหาวิทยาลัยโดยสำนัก
ทะเบียนและส่งเสริมวิชาการ มีระบบอาจารย์
ที่ปรึกษา ที่เอื้อให้หลักสูตรและอาจารย์ที่
ปรึกษาทุกคนป้ อนข้อมูลนักศึกษาภายใต้
อาจารย์ที่ปรึกษา กำหนดสถานะการเข้า
ระบบและดูแลควบคุมการลงทะเบียนเรียน
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
การส่งข้อความถึงนักศึกษา และการตรวจ
สอบข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน
ของนักศึกษา
จากผลการดำเนินงานเรื่องอาจารย์ที่
ปรึกษา ทำให้ทราบว่ามีนักศึกษาบางส่วนไม่มี
พื้นฐานด้านภาษามลายู ทำให้นักศึกษาขาด
แรงจูงใจและได้คะแนนอ่อนในบางรายวิชา
ทางอาจารย์ที่ปรึกษาได้ประสานไปยังสาขา
วิชาให้จัดกิจกรรมสอนเสริมทักษะทางภาษา
ให้แก่นักศึกษาดังกล่าว ทำให้นักศึกษาได้
พัฒนาทักษะทางภาษาได้ดียิ่งขึน
้ ต่อไป
จากการดำเนินงานอาจารย์ที่ปรึกษา
พบว่านักศึกษาหลายๆ คนในหลักสูตรมีฐานะ
ยากจน ซึ่งทางหลักสูตรศษ.บ. สาขาวิชาการ
สอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษาได้
ให้นักศึกษากรอกใบสมัครทุน ทำให้ มี
นักศึกษาได้รับทุนการศึกษาทัง้ ภายในและ
ภายนอกมหาวิทยาลัย ประกอบไปด้วย(ทุน
การศึกษา 50%) ทุน 30% ทุนสกอ. และ
ทุนการศึกษาจาก AIU ดังตารางด้านล่าง
ประเภททุนการ นักศึกษา
ศึกษา ที่ได้รับ ชั ้
ทุน (คน
ทุนการศึกษา(ทุน 3 1
50%)ปี
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง

ทุนการศึกษา(ทุน 7 1
30%)
ทุนสกอ. 1 1
ทุน AIU (Al- 1 1
Bukhari Islamic
University)
รวม 12

การประเมินผลการควบคุมการดูแลการให้
คำปรึกษาวิชาการ
หลักสูตรได้ประเมินผลการดำเนินงาน
ผ่านที่ประชุม โดยการประเมินความพึงพอใจ
ของนักศึกษาต่อการให้บริการคำปรึกษาของ
อาจารย์ที่ปรึกษาประจำปี การศึกษา 2562
พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการให้
บริการคำปรึกษาอยู่ในระดับที่มากทัง้ 5 ท่าน
ผลการประเมินดังนี ้
อาจารย์ที่ปรึกษา คะแนน/ผลการ
ประเมินปี การศึกษา
2562
1/2562 2/2562
ดร.สุไรยา จะปะ 4.692
กีย 4.469
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
อมมุลอมมะห์ โตะ 4.474 4.675
หลง
นูรณี บูเกะมาตี 4.237 4.378
ผศ.ดร เภาซัน เจ๊ 3.764 4.038
ะแว
อาจารย์ แอสซูมานี 4.250 4.288
มาโซ

จากการดูแลนักศึกษาอย่างใกล้ชิดทำให้
นักศึกษากลุ่มเสี่ยงลดลง นักศึกษาทุกคนมีผล
การเรียนอยู่ระดับที่น่าพอใจ นักศึกษามีความ
ตัง้ ใจในการเรียนมากขึน
้ มีแรงจูงใจในการ
เรียน และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของ
สาขาวิชา
ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกระบวนการ
ควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการ
ปั ญหาและข้อเสนอแนะที่ทางสาขาได้พบมี
ดังนี ้
1) อาจารย์ที่ปรึกษา ให้ความสำคัญกับ
นักศึกษาที่เรียนอ่อน ซึ่งพบว่ามีนักศึกษาส่วน
น้อยไม่มีพ้น
ื ฐานด้านภาษามลายู ทำให้
นักศึกษาขาดแรงจูงใจและได้คะแนนอ่อนใน
รายวิชาเอก ทางอาจารย์ที่ปรึกษาได้ประสาน
ไปยังสาขาวิชาให้จัดกิจกรรมสอนเสริมทักษะ
ทางภาษาทัง้ 4 ด้าน คือ การฟั ง การพูด การ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
อ่าน การเขียนภาษามลายูและความรู้เรื่อง
เทคโนโลยี ให้กับนักศึกษาที่เรียนอ่อนดัง
กล่าว พร้อมทัง้ สอนเสริมหลักภาษามลายูด้วย
หลังจากมีการสอนเสริม นักศึกษาที่เรียนอ่อน
รู้สึกมีความมั่นใจมากขึน
้ ทักษะทางภาษา
และการใช้เทคโนโลยีดีขน
ึ ้ ส่งผลให้นก
ั ศึกษามี
แรงจูงใจในการเรียนต่อไป
2) จากการสอบถามความพึงพอใจของ
นักศึกษาต่อการปฏิบัติงานของอาจารย์ที่
ปรึกษา ปี การศึกษา 2562 พบว่านักศึกษามี
ความพึงพอใจต่อการปฏิบัติของอาจารย์ที่
ปรึกษาอยู่ในระดับมากที่สุด
ในที่ประชุมได้ประเมินผลการดำเนินงาน
ตลอดจนพูดคุยถึงแนวปฏิบัติที่ดีร่วมกัน
ระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษาทุกท่านในที่ประชุม
สาขาวิชาเพื่อพัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษา
ในปี ถัดไปให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน
้ โดยใน
ปี การศึกษาหน้า ในที่ประชุมเสนอแนะให้
หลักสูตรดำเนินการดังนี ้
1) กำหนดให้อาจารย์แต่ละท่านจัดหา
ทุนเพื่อการศึกษาแก่นักศึกษาในหลักสูตรเพื่อ
สร้างกำลังใจในการเรียน
2) ให้มีกิจกรรมสร้างสัมพันธ์อาจารย์ที่
ปรึกษาและอาจารย์ภายในหลักสูตรไปเยี่ยม
บ้านนักศึกษาและมีทัศนศึกษาร่วมกัน
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริม TMT 3.2-
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
สร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 8 ระบบ
ระบบและกลไก TMT 3.2-12 และกลไก
การพัฒนา
ศักยภาพ
นักศึกษา
TMT 3.2-
9 มคอ.2
หมวดที่ 2
หลักสูตร ศษ.บ. สาขาวิชาการสอนภาษา ข้อมูล
มลายูและเทคโนโลยีการศึกษา ได้ตระหนัก เฉพาะของ
และให้ความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพ หลักสูตร
นักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ (ปรัชญา
ในศตวรรษที่ 21 โดยระบุไว้ในปรัชญาของ ความ
หลักสูตร “มุ่งผลิตบัณฑิตวิชาชีพการศึกษาที่ สำคัญ
มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพครูสาขาการ วัตถุประสง
สอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษาที่มี ค์ และแผน
มาตรฐานสากลและบูรณาการอิสลามบนพื้น พัฒนา
ฐานของจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู ปรับปรุง)
แสวงหาความรู้ความก้าวหน้าในศาสตร์อย่าง TMT3.2-
ต่อเนื่อง ใฝ่ สันติ และเป็ น พลเมืองไทยและ 10
พลเมืองโลกที่ดี” กำหนดวัตถุประสงค์ของ รายงาน
หลักสูตรเพื่อให้บณ
ั ฑิต TMT 3.2-10 การประชุม
1) มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพครูและ สาขา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
วิชาการทางภาษามลายูอย่างลุ่มลึกมีทักษะ วิชาการ
และเทคนิควิธีการสอน สามารถบูรณาการ สอนภาษา
องค์ความรู้อิสลาม มีทักษะการวิจัยทางการ มลายู ว่า
ศึกษาและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ ด้วยการ
ได้อย่างถูกต้องและมีมาตรฐาน กำหนด
2) มีทักษะชีวิต ทักษะการคิด ทักษะการแก้ ทักษะการ
ปั ญหา สามารถเผชิญกับสถานการณ์ได้อย่าง เรียนรู้ใน
มีสติและเหมาะสม ศตวรรษที่
3) มีคุณธรรมจริยธรรม มีจิตสำนึกความเป็ น 21 แก่ผู้
ครู มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เรียน
ตลอดจนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์และสังคม TMT3.2-
4) มีความสามารถในการพัฒนาตน ใฝ่ รู้ใฝ่ 11
เรียนอย่างต่อเนื่อง มีทักษะการใช้เทคโนโลยี รายงาน
สารสนเทศในการจัดการเรียนรู้และการ สรุป
ดำเนินชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทาง โครงการ
สังคม และมีทักษะสำหรับการเป็ นประชากร “เตรียม
ในยุคศตวรรษที่ 21 และบริบททางการศึกษา ความพร้อม
อย่างมีดุลยภาพ แก่
5) มีภาวะผู้นำและผู้ตาม และพัฒนาตนเอง นักศึกษา
อย่างต่อเนื่องทัง้ คุณวุฒิ ประสบการณ์ในการ ใหม่ และ
จัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง อบรมการ
สม่ำเสมอ และมีความสามารถในการศึกษา ใช้
ต่อในระดับที่สูงขึน
้ เทคโนโลยี
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
ทางหลักสูตรได้ประชุมเพื่อกำหนด สารสนเทศ
แนวทางการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาผ่าน ”
การประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร TMT 3.2-
ดังนี ้ 1) พิจารณาแนวทาง 12
พัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและเสริมสร้าง รายงาน
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สรุป
2) กำหนดทักษะการเรียนรู้ใน โครงการ
ศตวรรษที่ 21 แก่ผเู้ รียน พัฒนา
3) ดำเนินการตามแนวทางพัฒนา คุณธรรม
ศักยภาพของนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะ จริยธรรม
การเรียนรู้ในศตวรรษที่21 สำหรับนักศึกษา มูอัลลิมร็
ทุกคน อบบานีย์สู่
4) จัดทำรายงานสรุปผลการพัฒนา สันติ
ศักยภาพของนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะ TMT3.2-
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 13
ผลการดำเนินงาน ประมวล
หลักสูตรได้ดำเนินการกำหนดทักษะที่ ภาพการ
ต้องการพัฒนาและส่งเสริมแก่ผู้เรียนในแต่ละ เข้าร่วม
ชัน
้ ปี ผ่านการหารือในที่ประชุมอย่างชัดเจน กิจกรรม
เพื่อความครอบคลุมทัง้ กิจกรรมในห้องเรียน และเกียรติ
กิจกรรมเสริมหลักสูตรและกิจกรรมพัฒนา บัตร ของ
ทักษะต่างๆโดยในแต่ละปี การศึกษาทางสาขา นักศึกษา
วิชาได้ทำความร่วมมือร่วมกันกับทางสถาบัน จาก
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
ภาษาณประเทศมาเลเซียเพื่อการส่งนักศึกษา โครงการ
ได้เข้าร่วมสัมมนาทางภาษามลายูและฝึ ก ต่างๆ
ทักษะด้านการฟั ง การพูด การอ่าน การเขียน
ทีจำ
่ เป็ นกับเจ้าของภาษา โดยในปี การศึกษา
2562 ทางสาขาวิชาได้ส่งนักศึกษาชัน
้ ปี ที่ 1
ในการเข้าร่วมกิจกรรมผ่านโครงการ Jejak
Warisan Melayu ณ BPB Darul Aman
Resort รัฐเคดาห์ประเทศมาเลเซียเมื่อวันที่
28-30 พฤศจิกายน 2562
นอกเหนือจากนี ้ ทางสาขาวิชาได้ส่ง
นักศึกษาชัน
้ ปี ที่ 4 ในการเข้าร่วมพัฒนา
ทักษะด้านภาษาผ่านโครงการ Latihan
Industri Bahasa Melayu ณ สถาบันภาษา
Dewan Bahasa dan Pustaka Wilayah
Timur เมื่อวันที่ 1-3 พฤษภาคม 2562
ตลอดปี การศึกษา 2562 ที่ประชุมได้
กำหนดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แก่
ผู้เรียนที่มีความหลากหลาย ดังนี ้
โครงการ/กิจกรรมในหลักสูตร
ทักษะ โครงการ ชัน
้ ปี
การ 1 2
เรียนรู้ 4
ใน
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
ศตวรร
ษที่ 21

ทักษะ เตรียมความ
การ พร้อมแก่
เรียนรู้ นักศึกษาใหม่
และ
นวัตกร
รม

ทักษะ -ทัศนะศึกษา
การคิด Jejak
วิจารณ Warisan 
  
ญาณ Melayu
และ -กิจกรรมกีฬา
การแก้ สีสาขาการ
ปั ญหา สอนภาษา
มลายู
ทักษะ -รับน้อง
การ Jalinan
   
สื่อสาร Muhibbah
Keluarga
Pendidikan
Bahasa
Melayu dan
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
Teknologi
Pendidikan


ภาวะ -ค่ายพัฒนา
ผู้นำ ศักยภาพสู่การ
เป็ นผู้นำรุ่น
ใหม่ 
  
- โครงการ
พัฒนา
คุณธรรมจริย
ธรรมมูอัลลิมร็
อบบานีย์สู่
สันติศึกษา
   
ทักษะ อบรมการใช้
สารสนเ เทคโนโลยี
ทศ สื่อ สารสนเทศ
และ
เทคโนโ
ลยี
การประเมินผลการพัฒนาศักยภาพ
นักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21
โครงการเพิ่มทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
ภายใต้กิจกรรม เตรียมความพร้อมแก่
นักศึกษาใหม่ เป็ นโครงการที่อาจารย์ประจำ
สาขาและนักศึกษาของสาขาจัดขึน
้ เพื่อปรับ
พื้นฐานในเรื่องของทักษะทางภาษา เป็ นการ
เตรียมนักศึกษาให้มีความพร้อมทางภาษา
และโครงการเพิ่มทักษะสารสนเทศ สื่อและ
เทคโนโลยี โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้าง
ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ TMT
3.2-14
ผลจากการการทำกิจกรรมต่างๆ
ทำให้นักศึกษามีทักษะการคิดขัน
้ สูง มีการ
ตัดสินใจที่ถูกต้อง นำไปสู่การไปประยุกต์ใช้
ผ่านกิจกรรมต่างๆ ดังนี ้ TMT 3.2-15
ชื่อนศ. กิจกรรมที่เข้า เข้าร่วม จัดกิจกรรม
ร่วม กิจกรร โดย
มเมื่อ
นางสาว กิจกรรมครู 6-7 สำนักงาน
นดา ต้นแบบ เพื่อ สิงหาค ศึกษาธิการ
บุญมา พัฒนาทักษะ ม 2562
เลิศ การใช้
เทคโนโลยีใน
การสอน
นางสาว Kursus Jati 7-15 Ma’had
นดา Diri ธันวาค Attarbiyah
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
บุญมา &Kesukarew ม 2562 Al-
เลิศัง anan Islamiyah,
หวัด Remaja (i- Perlis,
ยะลา JDK) Malaysia.

นาย นิ เข้าร่วมการ 13 กันย Pantai


นัจมีย์ สุ แข่งขัน วิ่ง ายน Merdeka
ไลมาน มาราธอน 2562 Fun Run
นาย นิ ย์ สุไลมาน 25 โรงเรียนสา
นัจม เข้าร่วมการ สิงหาค ธิต มอ.
แข่งขัน มินิ ม 2562 ปั ตตานี
มาราธอน
ฉลองครบรอบ
50 ปี สาธิต
มอ. ปั ตตานี
นาย อิ เข้าร่วมการ 11-12 สำนักงาน
ควาน แข่งขัน ตุลาคม พัฒนา
มะบูเกะ ประกวด 2562 วิทยาศาสต
หนังสือ ร์แล
อิเล็กทรอนิกส์
มาตรฐาน
EPUB 3 ครัง้ ที่
3
นางสาว การแข่งขัน 2-8 UPSI,
ปารีณา สุนทรพจน์ทาง กันยาย Malaysia
ปะเงาะ ภาษามลายู น 2562
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
เทคโนโ ระดับ
ลยีแห่ นานาชาติ
ชาติ

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 3.2
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : คะแนน เกณฑ์ประเมิน
5.00 คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 5.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน 
บรรลุเป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 5.00 คะแนน
ตัวบ่งชี ้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
1. การคงอยู่และการสำเร็จการศึกษา
ปี การ จำนวนรับ จำนวนสำเร็จการศึกษาตาม จำนวนที่ลาออก
ศึกษา เข้า (1) หลักสูตร (2) และคัดชื่อออก
2558 2559 2560 สะสมจนถึงสิน
้ ปี
การศึกษา 2560
(3)
2559 53 0 0 0 25
2560 22 0 0 0 4
2561 15 0 0 0 1
2562 14 0 0 0 1
1. อัตราการคงอยู่= (1)-(3) x 100
(1)

ปี การศึกษา 2559 2560 2561 2562


ร้อยละการคงอยู่ของ 52.83 81.82 93 93
นักศึกษา

2. อัตราสำเร็จการศึกษา= (2)x 100


(1)
ปี การศึกษา 2559 2560 2561 2562
ร้อยละการสำเร็จ 0 0 0 0
การศึกษาของ
นักศึกษา

3. ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อจำนวนนักศึกษา
การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการพัฒนาระบบและกลไก
ในปี การศึกษา 2562 สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีก าร
ศึกษา ได้มีการพัฒนาหลักสูตรจากหลักสูตร 5 ปี เป็ นหลักสูตร 4 ปี อีก
ทัง้ ยังได้เปลี่ยนจากหลักสูตรเอกเดี่ยวเป็ นเอกคู่ เพื่อเป็ นการเพิ่มทางเลือก
ให้ก ับ นัก ศึก ษา ทัง้ นี ้ ทางสาขาได้ก ารมีก ารแนะแนวประชาสัม พัน ธ์
หลักสูต รหลากหลายรูปแบบ ทัง้ แนะแนวทางเว็บ ไซต์ข องมหาวิทยาลัย
แนะแนวผ่านสื่อสังคมออนไลน์ แนะแนวตามสถาบันการศึกษา ผลที่ตาม
มาจำนวนนักศึกษาไม่เป็ นไปตามเป้ าที่วางเอาไว้ และจำนวนนักศึกษาก็
ลดลงจากปี การศึกษา 2561 จากการดำเนินการพบว่าสภาพและปั ญหามี
ดังนี ้
1. การแนะแนวประชาสัมพันธ์หลักสูตรยังไม่กว้างขวาง
สาขาวิชาภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษาได้มีการปรับเปลี่ยน
จากหลัก สูต ร 4 ปี เป็ นหลัก สูต ร 5 ปี อีก ทัง้ ยัง ได้ม ีก ารพัฒ นา
หลักสูตรจากเอกเดี่ยว เป็ นเอกคู่ ด้วยระยะเวลาการประชาสัมพันธ์
ที่จำกัด ทำให้ทางสาขามีโอกาสประชาสัมพันธ์ตามโรงเรียนต่างๆใน
พื้นที่ 3 จังหวัดเท่านัน

2. จำนวนผู้ที่มารายงานตัวไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา มีเป้ าหมาย
รับนักศึกษา 60 คน โดยผู้ที่มาสมัคร กับผู้ที่มารายงานตัวมีความ
แตกต่างกัน เนื่องจากสาเหตุแรกรายชื่อผู้สมัครส่วนใหญ่มาจากการ
เลือกสาขาอันดับที่สองในใบสมัคร ซึ่งผูส
้ มัครส่วนใหญ่มีความตัง้ ใจ
ที่จะเรียนในสาขาที่เลือกอันดับที่ 1 มากกว่า สาเหตุที่สอง บางส่วน
ของผูส
้ มัครเป็ นการรับสมัครในวันที่แนะแนวตามโรงเรียนต่างๆ ผู้ที่
สมัครมีการกรอกใบสมัครโดยที่ยังขาดความพร้อมในการตัดสินใจ
ศึกษาต่อ บางคนกรอกใบสมัครทุกสถาบันที่ไปแนะแนว ทัง้ นีส
้ าขา
วิชามีการโทรติดตามผู้สมัครทุกคน เพื่อติดตามความต้องการที่จะ
ศึก ษาในสาขาวิช าการสอนภาษามลายูแ ละเทคโนโลยีก ารศึก ษา
ก่อนที่จะมีการสอบสัมภาษณ์และรายงานตัว พบว่าบางส่วนของผู้
สมัค รไม่ม ีค วามประสงค์ท ี่จ ะศึก ษา ด้ว ยปั จจัย ด้า นส่ว นตัว ของ
นักศึกษา เช่นฐานะทางบ้านยากไร้ ผู้ปกครองไม่สามารถส่งเล่าเรียน
ได้ นักศึกษาบางคนสมัครเรียนไว้หลายมหาวิทยาลัย และเลือกไป
เรียนที่อ่ น
ื นักศึกษาบางรายไม่ทราบสาเหตุ
3. อัตราครูภาษามลายูในโรงเรียนรัฐบาลมีน้อย
สาขาวิช าการสอนภาษามลายูแ ละเทคโนโลยีก ารศึก ษา ยัง ไม่
ปรากฏในบัญชีอัตราการบรรจุข้าราชการครู หรือโครงการครูคืนถิ่น
โอกาสในการสอบบรรจุข ้าราชการมีน ้อ ย ตำแหน่ง ครูภาษามลายู
ส่วนใหญ่เ ปิ ดรับ โดยโรงเรียนเอกชน ซึ่ง มีก ารเรียนการสอนภาษา
มลายูอย่างจริงจังในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เท่านัน

4. ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อการสำเร็จการศึกษา

ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง


อ้างอิง
-ค ว า ม พ ึง - ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการ TMT 3.4-1 สรุป
พ อ ใ จ ต ่อ วัดและการประเมินผลของอาจารย์ผู้ ผลการสำรวจความ
สอน
การบริหาร พึงพอใจต่อการ
และความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุน
ห ล ัก ส ูต ร บริหารหลักสูตรของ
การเรียนรู้
และผลการ นักศึกษา
หลังจากที่นักศึกษาได้ทำการ
จ ัด ก า ร ข อ้ TMT 3.4-2
ประเมินผ่านกระบวนการออนไลน์
ร ้อ ง เ ร ีย น ฝ่ ายแผนและประกันฯ คณะศึกษา รายงานการประชุม
ข อ ง ศาสตร์ จะเป็ นผู้รวบรวมข้อมูลและ ว่าด้วยการจัดการ
นักศึกษา ส่งต่อเพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาและ ข้อร้องเรียนของ
ปรับปรุงการบริหารจัดการหลักสูตร นักศึกษา
ต่อไป
2. ผลการสำรวจความพึงพอใจ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ต่อการบริหารหลักสูตรและผล
การจัดการข้อร้องเรียนของ
นักศึกษา TMT 3.4-1
ระดั

ท ค่า ควา
รายการประเมิน เฉลี่ย มพึง
ี่
พอใ

หลักสูตร
1 การจัดการศึกษา
สอดคล้องกับปรัชญา 4.18 มาก
และวัตถุประสงค์ของ
หลักสูตร
2 มีการจัดแผนการเรียน
แต่ละปี การศึกษาเป็ นไป 4.12 มาก
ตามแผนการศึกษาตลอด
หลักสูตร
3 มีปฏิทินการศึกษาและ
โปรแกรมการศึกษา 4.35 มาก
แต่ละภาคการศึกษา
อย่างชัดเจน
4 หลักสูตรมีความทันสมัย
สอดคล้องกับศาสตร์ใน 4.35 มาก
สาขาวิชาและความ
ต้องการของตลาด
แรงงาน
5 วิชาเรียนมีการเสริม
ทักษะในศตวรรษที่ 21 4.35 มาก
สรุป ด้าน
หลัก มาก
สูตร

4.27
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ระดั
ท ค่า
รายการประเมิน บ
ี่ เฉลี่ย
ควา

กระบวนการคัดเลือกนักศึกษา
1 การกำหนดคุณสมบัติผู้มี
สิทธิเ์ ข้าศึกษา มีความ 4.2 มาก
เหมาะสม
9
2 หลักเกณฑ์การคัดเลือก
เข้าศึกษา มีความเหมาะ 4.3 มาก
สม
5
3 กระบวนการคัดเลือกเข้า
ศึกษา มีความเหมาะสม 4.3 มาก
5
สรุปด้านกระบวนการคัด
เลือกนักศึกษา 4.3 มาก
3

อาจารย์ผู้สอน
1 อาจารย์ในหลักสูตรมี
4.2 มาก
คุณวุฒิและประสบการณ์
เหมาะสมกับรายวิชาที่ 9
สอน
2 อาจารย์ในหลักสูตรสอน
เนื้อหา ตรงตาม 4.2 มาก
วัตถุประสงค์ โดยใช้วิธี
9
การที่หลากหลาย และ
เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
3 อาจารย์ในหลักสูตร ีย
สนับสนุนส่งเสริมให้นัก นรู้ มาก
ศึกษาเ แล
ะพั
นา
ตนเ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ระดั
ท ค่า
รายการประเมิน บ
ี่ เฉลี่ย
ควา
อง
อย่
าง
สม
่ำเส
มอ

4.4
7
4 อาจารย์เป็ นผู้มีคุณธรรม
และจิตสำนึกในความ 4.2 มาก
เป็ นครู
4
สรุปด้านอาจารย์ผู้สอน
4.3 มาก
2

อาจารย์ที่ปรึกษา
1 ได้รับความสะดวกในการ
4.3 มาก
ติดต่อกับอาจารย์ที่
5
ปรึกษา
2 ช่องทางติดต่อกับ
มาก
อาจารย์ที่ปรึกษามีเพียง
4.2

4
3 อาจารย์ที่ปรึกษาให้คำ
4.1 มาก
ปรึกษาเรื่องการลง
8
ทะเบียนเรียน การเรียน
การใช้ชีวิตระหว่างเรียน
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ระดั
ท ค่า
รายการประเมิน บ
ี่ เฉลี่ย
ควา
4 อาจารย์ที่ปรึกษาให้
4.1 มาก
ความสนใจติดตามผล
8
การเรียนของนักศึกษา
และช่วยเหลือให้
นักศึกษาเรียนเป็ นไป
ตามระยะเวลาของ
หลักสูตร
5 อาจารย์ที่ปรึกษาให้ ่ว
มาก
ความ ย
เหลื

แก่

ศึก
ษา
ใน
ด้า

อื่น

นอ

เหนื

ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ระดั
ท ค่า
รายการประเมิน บ
ี่ เฉลี่ย
ควา
จา

ด้า

วิชา
การ
แล

การ
ใช้
ชีวิ

4.1
8
สรุปด้านอาจารย์ที่ปรึกษา
4.2 มาก
2

การจัดการเรียนการสอน
1 การจัดการเรียนการสอน
4.1 มาก
สอดคล้องกับลักษณะ
8
วิชาและวัตถุประสงค์
การเรียนรู้
2 การใช้ส่ อ
ื ประกอบการ
4.4 มาก
สอนอย่างเหมาะสม
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ระดั
ท ค่า
รายการประเมิน บ
ี่ เฉลี่ย
ควา

1
3 วิธีการสอนส่งเสริมให้
4.4 มาก
นักศึกษาได้ประยุกต์
7
แนวคิดศาสตร์ทาง
วิชาชีพและ/หรือศาสตร์
ที่เกี่ยวข้องในการ
พัฒนาการเรียนรู้
4 มีการใช้เทคโนโลยี
4.2 มาก
สารสนเทศประกอบการ
9
เรียนการสอน
5 มีการจัดการเรียนการ
4.2 มาก
สอนที่ส่งเสริมทักษะ
4
ศตวรรษที่ 21
6 ม การ
มาก
จัด
สอ

ซ่อ
มเ
ริม
สำ
หรั

นัก
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ระดั
ท ค่า
รายการประเมิน บ
ี่ เฉลี่ย
ควา
ศึก
ษา
ที่มี
ปั ญ
หา
ทาง
การ
เรีย

4.1
2
สรุปด้านการจัดการเรียน
4.2 มาก
การสอน
8

การวัดและประเมินผล
1 วิธีการวัดประเมินผล
4.3 มาก
สอดคล้องกับ
5
วัตถุประสงค์ และกิน
กรรมการเรียนการสอน
2 การวัดและประเมินผล ่
มาก
เป็ นไปตามระเบียบกฎ กำ
เกณฑ์และข้อตกลงท หน
ดไว้
ล่ว
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ระดั
ท ค่า
รายการประเมิน บ
ี่ เฉลี่ย
ควา
หน้

4.2
4
3 การวัดและประเมินผลมี
4.2 มาก
ประสิทธิภาพและ
4
ยุติธรรม
สรุปด้านการวัดและ
4.2 มาก
ประเมินผล
7

สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
1 ห้องเรียนมีอุปกรณ์
4.6 มาก
เหมาะสม เอื้อต่อการ
5
เรียนรู้ และเพียงพอต่อ
นักศึกษา
2 ห้องปฏิบัติการมีอุปกรณ์ ม
มาก
เหมาะ เอื้อ
ต่อ
กา
เรีย

ู้
แล

ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ระดั
ท ค่า
รายการประเมิน บ
ี่ เฉลี่ย
ควา
เพีย

พอ
ต่อ
นัก
ศึก
ษา

4.1
8
3 ระบบบริการสารสนเทศ
4.3 มาก
เหมาะสม เอื้อต่อการ
5
เรียนรู้และเพียงพอต่อ
นักศึกษา
4 ห้องสมุดเหมาะสม เอื้อ
4.2 มาก
ต่อการเรียนรู้ และเพียง
4
พอต่อนักศึกษา
5 สนามกีฬา ที่ออกกำลัง ื้อ
มาก
กาย ที่นั่งอ่านหนังสือเห ต่อ
มาะสมเ การ
เรี
นรู้
แล

เพีย
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ระดั
ท ค่า
รายการประเมิน บ
ี่ เฉลี่ย
ควา

พอ
ต่อ
นัก
ศึก
ษา

4.3
5
6 หนังสือตำรา มีความ
4.3 มาก
เพียงพอและมีคุณภาพ
5
ทันสมัยส่งเสริมการเรียน
รู้
7 สภาพแวดล้อมภายใน
4.2 มาก
ห้องเรียนโดยรวม (เช่น
9
ความสะอาด แสง
อากาศถ่านเท เป็ นต้น)
8 สภาพแวดล้อมภายนอก สะ
มาก
ห้องเรียนโดยรวม (เช่น อา
ควา ด
แส

อา
าศ
ถ่า
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ระดั
ท ค่า
รายการประเมิน บ
ี่ เฉลี่ย
ควา
นเท
เป็ น
ต้น)

4.1
8
สรุปด้านสิ่งสนับสนุนการ
4.3 มาก
เรียนรู้
5
ภาพรวม
4.3 มาก
0

ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อ
ร้องเรียนของนักศึกษา
3. แนวทางการแก้ปัญหาต่อผลการ
ประเมินและข้อร้องเรียนของ
นักศึกษา
ทางหลักสูตรได้ปรึกษาพูดคุยในที่
ประชุมตลอด จนทำให้นักศึกษามี
ความพึงพอใจต่อการจัดการข้อร้อง
เรียนดีกว่าปี ที่ผ่านมาคิดเป็ นคะแนน
เท่ากับ 4.65 สูงกว่าปี การศึกษา
2561 และ 2560 โดยปี การศึกษา
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
2561 มีคะแนนเท่ากับ 4.24 และ
การศึกษา 2560 มีคะแนน
เท่ากับ 4.12 อย่างไรก็ตามที่ประชุม
เห็นว่าผลการการประเมินยังไม่แตก
ต่างกันมากนัก จึงมีข้อเสนแนะให้
ทางหลักสูตรมีกิจกรรมพบปะ
นักศึกษาให้บ่อยขึน
้ เพื่อสร้างความ
สนิทสนมระหว่างนักศึกษากับ
อาจารย์ และมีโครงการนักศึกษา
พบปะอาจารย์ประจำหลักสูตรบ่อย
ขึน
้ เพื่อรับข้อร้องเรียนและหาวิธีการ
แก้ไขร่วมกันระหว่างอาจารย์
นักศึกษา และเจ้าหน้าที่ในสาขาและ
เพื่อที่ปัญหานัน
้ สามารถดำเนินการ
แก้ไขได้อย่างทันถ่วงที แล้วนำผลมา
พูดคุยในที่ประชุมเพื่อให้อาจารย์ใน
หลักสูตรรับทราบ ปรับปรุง และหลีก
เลี่ยงข้อผิดพลาดในปี การศึกษาถัดไป

1. ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหลักสูตรและผลการจั ดการข้อร้อง
เรียนของนักศึกษา
ผลการประเมินความพึงพอใจของนัก ศึก ษาต่อ กระบวนการที่ ดำ เนิน
การในตัวบ่งชี ้ 3.1 และ 3.2
ประเด็นการ ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ
ประเมิน ปี การศึกษา ปี การศึกษา
2561 2562
หลักสูตร 4.46 4.27
กระบวนการ 4.3 4.33
ค ัด เ ล ือ ก
นักศึกษา
อาจารย์ผู้สอน 4.23 4.32
อ า จ า ร ย ์ท ี่ 4.44 4.22
ปรึกษา
ก า ร จ ัด ก า ร 3.90 4.28
เรียนการสอน
ก า ร ว ัด แ ล ะ 4.02 4.27
ประเมินผล
ส ิ่ง ส น ับ ส น ุน 4.33 4.35
การเรียนรู้

2. ความพึงพอใจต่อการจัดข้อร้องเรียน
ปี การศึกษา 2560 2561 2562
คะแนนเฉลี่ยความพึง 4.12 4.24 4.65
พอใจต่อการจัดข้อร้อง
เรียน

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 3.3
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : คะแนน เกณฑ์ประเมิน
5.00 คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 5.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน 
บรรลุเป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 5.00 คะแนน
สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 3 : นักศึกษา
ตัวบ่ง เป้ าหมาย ผลการดำเนิน คะแนนการประเมิน
ชี ้ งาน
3.1 5 ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ
3.2 5 ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ
3.3 5 ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ
ค่าเฉลี่ยจากการประเมิน 3 ตัวบ่งชี ้ (คะแน 5 /3 = 5 คะแนน
นเต็ม 5 คะแนน) ระดับคุณภาพดีมาก

ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 3
จุดเด่น
1.หลักสูตรมีกลุ่มเป้ าหมายของการรับนักศึกษาที่ชัดเจน
2.หลักสูตรมีการส่งเสริมนักศึกษาในการนำความรู้ไปประยุกต์กับ
การทำกิจกรรมอื่นๆ เพื่อความเท่าทันในยุคโลกาภิวัตน์
3. กลุ่มผู้เรียนที่ได้รับทุนการศึกษาเพิ่มมากขึน
้ อย่างเห็นได้ชัด
โอกาสในการพัฒนา
1.ปั จจุบันยังมีโรงเรียนต่างๆอีกมากที่ต้องการครูที่จบตรงวุฒิการ
ศึกษาด้านการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา ทำให้
หลักสูตรเป็ นที่ต้องการของครูผู้สอนในโรงเรียนต่างๆ
2. บัณฑิตที่จบจากสาขาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการ
ศึกษา สามารถประกอบอาชีพทางด้านการใช้เทคโนโลยี ที่ต้องใช้
ทักษะทางด้านภาษาร่วมด้วย เช่น อาชีพล่าม คอลเซ็นเตอร์ และ
อื่นๆ
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
(มคอ.7 หมวดที่ 2 อาจารย์)
ตัวบ่งชี ้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
การบริหาร -ระบบการรับและแต่งตัง้ อาจารย์ประจำ TMT4.
และพัฒนา หลักสูตร 1-1 การ
อาจารย์ หลักสูตรมีระบบและกลไกในระบบการรับ รับและ
อาจารย์และแต่งตัง้ อาจารย์ ที่ใช้ร่วมกับ แต่งตัง้
มหาวิทยาลัย ในการกำหนดคุณวุฒิในการรับ อาจารย์
สมัครอาจารย์ และการแต่งตัง้ อาจารย์ประจำ ประจำ
หลักสูตรให้เป็ นไปตามระเบียบทางมหาวิทยาลัย หลักสูต
กำหนด ดังนี ้ TMT4.1-1 ร

1. การรับอาจารย์ TMT4.
หลักสูตรใช้เกณฑ์การรับอาจารย์ตามข้อ 1-2 คำ
บังคับมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ตามพระราชบัญญัติ สั่งแต่ง
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 (เอกสาร) ตัง้
เพื่อแต่งตัง้ บุคคลให้ปฏิบัติงานในตำแหน่งอาจารย์ อาจารย์
และได้กำหนดวุฒิการศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐาน
อาจารย์
1.1 หลักสูตรกำหนดคุณสมบัติทงั ้ ด้านคุณวุฒิ
ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ให้สอดคล้อง
กับความต้องการหลักสูตร และนำเสนอคุณสมบัติ
ต่อมหาวิทยาลัยเพื่อดำเนินการประกาศรับสมัคร
1.2 หลักสูตรนำเสนอรายชื่อกรรมการคัดเลือกซึ่ง
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
มาจากอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อมหาวิทยาลัย
เพื่อทำหน้าที่ออกข้อสอบและตรวจข้อสอบข้อ
เขียน สอบสัมภาษณ์และสอบปฏิบัติการสอน
1.3 อาจารย์ประจำหลักสูตรเป็ นกรรมการในการ
คัดเลือกอาจารย์ใหม่
1.4 อาจารย์ประจำหลักสูตรที่ได้รับแต่งตัง้ ออก
ข้อสอบข้อเขียน แล้วนำส่ง กองการเจ้าหน้าที่
เพื่อรวบรวมและจัดทำข้อสอบคัดเลือก
1.5 อาจารย์ประจำหลักสูตรร่วมดำเนินการตรวจ
สอบคุณสมบัติผู้สมัคร และมหาวิทยาลัยประกาศ
รายชื่อผู้มีสิทธิส์ อบข้อเขียน
1.6 มหาวิทยาลัยดำเนินการสอบข้อเขียน และ
ประกาศรายชื่อผู้สอบผ่าน พร้อมทัง้ ประกาศวัน
สอบสัมภาษณ์และสอบปฏิบัติการสอน
1.7 คณะกรรมการสอบคัดเลือกดำเนินการสอบ
สัมภาษณ์ และสอบปฏิบัติการสอนโดยกรรมการ
แต่ละคนให้คะแนน และเลขานุการรวบรวม
คะแนน สรุปคะแนนที่ได้นำส่งมหาวิทยาลัย
1.8 มหาวิทยาลัยประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัด
เลือกเป็ นอาจารย์ใหม่และแต่งตัง้ เป็ นบุคลากร
มหาวิทยาลัย
1.9 อาจารย์ประจำหลักสูตร ประชุมทบทวนผล
การดำเนินงานตามตามกระบวนการการรับและ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
แต่งตัง้ อาจารย์ประจำหลักสูตร
1.10 นำผลการทบทวนการดำเนินงานมาพัฒนา
และปรับปรุงกระบวนการการรับและแต่งตัง้
อาจารย์ประจำหลักสูตร
2. การแต่งตัง้ อาจารย์ประจำหลักสูตร
TMT4.1-2
หลักสูตรมีหลักเกณฑ์ในการแต่งตัง้ อาจารย์
ประจำหลักสูตรตามระเบียบที่มหาวิทยาลัย
กำหนด ซึ่งเป็ นไปตามประกาศกระทรวง
ศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 และประกาศกระทรวง
ศึกษาธิการ เรื่องแนวทางการบริหารเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548
และให้เป็ นไปตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการ
ศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
1.1 อาจารย์ประจำหลักสูตรร่วมเป็ นคณะ
กรรมการเพื่อพิจารณาคุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิด
ชอบหลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตร
1.2 หลักสูตรเสนอรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตรต่อคณะและคณะนำเสนอต่อมหา
วิทยาลัยเพื่อแต่งตัง้ ให้เป็ นอาจารย์ประจำ
หลักสูตร
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
1.3 หลักสูตรตรวจสอบข้อมูลและเสนอต่อมหา
วิทยาลัย นำเสนอข้อมูลอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัยอนุมัติ (กรณี
เปลี่ยนแปลงอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้
หลักสูตรจัดทำสมอ. 08 เสนอต่อมหาวิทยาลัย
เพื่อให้สภาอนุมัติ)
1.4 มหาวิทยาลัยนำส่งรายชื่ออาจารย์ประจำ
หลักสูตรที่ได้รับความเห็นชอบจากสภา
มหาวิทยาลัย เสนอต่อ สกอ. เพื่อรับทราบ
1.5 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประชุมทบทวน
ผลการดำเนินงานตามตามกระบวนการแต่งตัง้
อาจารย์ประจำหลักสูตร
1.6 นำผลการทบทวนการดำเนินงานมาพัฒนา
และปรับปรุงกระบวนการแต่งตัง้ อาจารย์ผู้รับผิด
ชอบหลักสูตร

เมื่อเปิ ดภาคการศึกษาที่ 1/2562 หลักสูตร


ได้มีอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน 6 คน ซึง่
ประกอบไปด้วยอาจารย์ประจำเอกการสอนภาษา
มลายู จำนวน 3 คนและอาจารย์ประจำเอกการ
สอนเทคโนโลยี จำนวน 3 คน
-การบริหารอาจารย์ TMT4.1-3 TMT4.
หลักสูตรมีการประชุมเพื่อวางแผนในด้านต่างๆ 1-3
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
ดังนี ้ การ
- ด้านบทบาท ภาระหน้าที่ของอาจารย์ บริหาร
ประจำหลักสูตรประกอบด้วย 4 ด้าน คือ อาจารย์
ภาระงานสอน ไม่เกินกว่า 16 ชั่วโมงเรียนต่อ
สัปดาห์ โดยหลักสูตรนำรายวิชาจากแผนการ TMT4.
เรียน มาประชุมเพื่อกำหนดผู้สอนให้ครบ 1-4
รายวิชาที่เปิ ดสอน พร้อมทัง้ กำหนดผู้ประสาน รายงาน
งานรายวิชาแล้วนำเสนอให้คณบดีนำเสนอต่อ การ
ฝ่ ายวิชาการเพื่อดำเนินการตามขัน
้ ตอนต่อไป ประชุม
ภาระงานวิจัย หลักสูตรส่งเสริมให้อาจารย์ทุก ว่าด้วย
คน มีงานวิจัยอย่างน้อยปี ละ 1 เรื่อง โดย การ
สามารถจัดทำและนำเสนอต่อสำนักวิจัยต่อไป มอบ
ภาระการบริการวิชาการ หลักสูตรส่งเสริมให้ หมาย
อาจารย์ทุกคน จัดหรือมีส่วนร่วมในการจัด ภาระ
โครงการการบริการวิชาการ ซึ่งจะต้องจัดทำ งานสอน
แผนโครงการการบริการวิชาการ เพื่อขอตัง้ งบ
ประมาณ จากนัน
้ จึงทำข้อเสนอโครงการเสนอ
ต่อคณะ เพื่อขออนุมัติจากคณบดีต่อไป
ภาระงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม หลักสูตร
ส่งเสริมให้อาจารย์ทุกคนเข้าร่วมโครงการของ
คณะและมหาวิทยาลัยกำหนด
ด้านการบริหารหลักสูตร มีการประชุมเพื่อ
วางแผนการจัดการเรียนการสอน ติดตามผล
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
และประเมินผล เก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อ
เตรียมปรับปรุงหลักสูตร ตลอดจนปรึกษา
หารือแนวทางที่จะทำให้บรรลุเป้ าหมายตาม
หลักสูตรหลักสูตรดำเนินการนำแผนมาปฏิบัติ
โดยมีกลไกสำคัญ คือ
ด้านบทบาท ภาระหน้าที่ หลักสูตรได้มีการก
ระจายและมอบหมายงานให้กับอาจารย์
ประจำสาขาวิชาการสอนภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา โดย
- หลักสูตรพิจารณาจัดผู้สอนตามความรู้ความ
สามารถและประสบการณ์สอนเดิม
- อาจารย์ทุกท่านมีภาระงานสอนตามมอบ
หมายให้
อาจารย์ผู้สอนจัดทำรายละเอียดของ
รายวิชา (มคอ.3) ในวิชาที่สอนเพื่อจัดส่ง
ก่อนเปิ ดภาคเรียน 30 วัน และมอบหมาย
ให้อาจารย์รายงานผลการดำเนินการของ
รายวิชา (มคอ.5) ภายหลังสิน
้ สุดการเรียน
30 วัน
- อาจารย์จัดทำการบริการวิชาการ มีการจัด
ทำโครงการการบริการวิชาการโดยใช้งบ
ประมาณมหาวิทยาลัย ซึง่ คณาจารย์จะต้อง
ร่วมกันทำสู่ชุมชน
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
- อาจารย์ประจำหลักสูตรเข้าร่วมโครงการ
ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่จัดโดยระดับ
คณะหรือมหาวิทยาลัย
หลักสูตรประชุม เพื่อติดตามและประเมิน
ผลกระบวนการบริหารอาจารย์
- ด้านบทบาท ภาระหน้าที่ของอาจารย์
ประจำสาขาวิชาการสอนภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา มีการติดตามผลการ
ดำเนินงาน โดยผ่านระบบของมหาวิทยาลัย
และระบบกลุ่ม เครือข่ายสังคมออนไลน์
(Line, E-mail) และมีการประเมินผลการ
ปฏิบัติหน้าที่จากผู้บริหารคณะฯ และการ
ประเมินการจัดการเรียนการสอนจาก
นักศึกษา
- ด้านบริหารการจัดการเรียนการสอน
- งานสอน อาจารย์ทุกคนมีภาระงานสอนไม่
เกิน 16 ชั่วโมงเรียนต่อสัปดาห์
- อาจารย์ประจำหลักสูตรรวบรวม มคอ.3
ครบทุกรายวิชาก่อนเปิ ด
ภาคการศึกษา
- อาจารย์ประจำหลักสูตรรวบรวม มคอ.5
ครบทุกรายวิชา เมื่อสิน
้ สุดภาคการศึกษา
- อาจารย์ประจำหลักสูตร จัดทำ มคอ.7 เมื่อ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
สิน
้ สุดปี การศึกษา 2562 และจัดส่งสำนักงาน
บริการการศึกษาของคณะฯ ตามกำหนด
ระยะเวลา
หลักสูตรได้ดำเนินการตามระบบและกลไก
และมีการกำหนดบทบาทหน้าที่และภาระงาน
สอนตามความเชี่ยวชาญของแต่ละคนดังนี ้
TMT4.1-4
ผศ.ดร.เภาซัน มีหน้าที่เป็ นประธานหลักสูตร
เจะแว กำกับดูแลบริหารหลักสูตรให้
เป็ นไปตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
และมีภาระงานสอนรายวิชาด้าน
ภาษาศาสตร์ และด้านหลักสูตร
และการสอนภาษามลายู

แอสซูมานี รับผิดชอบด้านบริหารวิชาการ
มาโซ และรับภาระงานสอนรายวิชา
ด้านภาษาศาสตร์ ทักษะยาวี
และด้านหลักสูตรและการสอน
ภาษามลายู
อ.นูรณี บูเกะ รับผิดชอบด้านบริการวิชาการ
มาตี และมีภาระงานสอนด้านหลัก
ภาษามลายูและรายวิชาด้านการ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
พัฒนาทักษะภาษามลายู และ
ด้านหลักสูตรและการสอนภาษา
มลายู
ผศ.จิระพันธ์ รับผิดชอบด้านบริการวิชาการ
เดมะ และมีภาระงานสอนด้านการถ่าย
ภาพดิจิทัลเพื่อการศึกษา
อาจารย์อดุลย์ รับผิดชอบด้านบริหารวิชาการ
ภัยชำนาญ และมีภาระงานสอนด้าน
นวัตกรรมการจัดการ
อาจารย์ฮูนาดี รับผิดชอบด้านการพัฒนา
มะสีละรียนรู้ นักศึกษา ควบคุมดูแลกิจกรรม
พัฒนานักศึกษาให้เป็ นไปตาม
แผนที่กำหนดไว้

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประชุม
ทบทวนผลการดำเนินงานจากแบบประเมินความ
พึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อการ
บริหารอาจารย์ระดับหลักสูตร และข้อเสนอแนะ
จากที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตร ครัง้ ที่ 8
เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2563 พบว่า อาจารย์มี
ความพึงพอใจสูงต่อระบบ การบริหารอาจารย์ ใน
เรื่องของอัตราส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษา การมีส่วน
ร่วมของอาจารย์ในการวางแผน และการกำหนด
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ ทัง้ นีภ
้ าระ
งานอาจารย์ในสาขาวิชาในการดูแลนักศึกษายังอยู่
ในระดับปานกลาง
หลักสูตรได้ดำเนินการปรับปรุงกระบวนการ
การบริหารอาจารย์ โดย มีการวิเคราะห์ภาระงาน
อาจารย์ในสาขาวิชาในการดูแลนักศึกษายังอยู่ใน
ระดับปานกลาง เนื่องจากจำนวนนักศึกษามี
จำนวนน้อย จึงมีการส่งเสริมให้อาจารย์เน้นการ
พัฒนาด้านวิชาการเพื่อให้มีผลงานอย่างต่อเนื่อง
4.อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการจัดหาการอบรม TMT4.
สัมมนา ที่เกี่ยวข้อง หรือจัดทำผลงานทางวิชาการ 1-5
และดำเนินการขอทุนหรือขออนุญาตไปพัฒนา ประชุม
ตนเอง ว่าด้วย
5.อาจารย์ประจำหลักสูตร และอาจารย์ผู้รับผิด การส่ง
ชอบหลักสูตรดำเนินการรายงานผลการพัฒนา เสริม
ตนเองต่อคณะและมหาวิทยาลัย และ
6.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประชุมทบทวน พัฒนา
ผลการดำเนินงานตามตามกระบวนการการส่ง อาจารย์
เสริมและพัฒนาอาจารย์
7. นำผลการทบทวนการดำเนินงานมาพัฒนาและ TMT4.
ปรับปรุงกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ 1-6
หลัก
นำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/การดำเนินงาน/ ฐานการ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
กระบวนการ TMT4.1-6 เข้าร่วม
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการ การ
ศึกษาได้มีการส่งเสริมตามระบบและกลไกที่วางไว้ พัฒนา
โดยสาขาวิชาได้มีการส่งเสริมพัฒนาอาจารย์ดังนี ้ ของ
1. โครงการพัฒนาอาจารย์สาขาการสอนภาษา อาจารย์
มลายู (จัดโดยสาขาวิชาการสอนภาษามลายู
ตามแผนปฏิบัติการประจำปี TMT4.
2. โครงการพัฒนาอาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ 1-7
(รับผิดชอบโดยฝ่ ายวิชาการ วิจัย และ การ
ประกันคุณภาพการศึกษา คณะศึกษา ประเมิน
ศาสตร์) ความพึง
3. โครงการพัฒนาอาจารย์มหาวิทยาลัย พอใจ
ฟาฏอนี (รับผิดชอบโดยศูนย์พัฒนาอาจารย์สู่ ของ
ความเป็ นเลิศ มูอัลลิมร็อบบานีย์ อาจารย์
ต่อการ
จากการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ดัง บริหาร
กล่าวข้างต้น ทำให้อาจารย์สาขาวิชาการสอน หลักสูต
ภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษามีผลงานเป็ น ร
ที่ประจักษ์ตลอด 4 ปี ที่หลักสูตรได้ดำเนินการมา
อาจารย์ประจำหลักสูตรสามารถปฏิบัติหน้าที่ตาม
กรอบภาระงานได้ครบทุกด้าน
ในปี การศึกษา 2562 สรุปผลงานได้ดังนี ้
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง

ตารางสรุปผลงานวิชาการ
ชื่อ-สกุลอาจารย์ ผลงานทางวิชาการ

1. ผศ.ดร. เภาซัน บทความวิชาการ


เจ๊ะแว -The Role of Malay
Language and Its
Challenges in the
Globalization Era
Proceedings of the 28th
International conference
on Literature, July 11-
13, 2019 , Indonesia
(P:9-18)
- Sejarah Pendidikan
Bahasa Melayu di Patani
Selatan Thai Jurnal
Amtarabangsa
Persuratan Melayu
(RUMPUN), 7 Jan 2019,
1-17.
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
- Problems of Malay
Language Education in
Patani Southern Thailand
(Scopus)Proceedings of
The 1st EAI Bukittinggi
International Conference
on Education, BICED 2019,
17-18 October, 2019,
Bukititinggi, West
Sumatera, Indonesia.
2. อ.แอสซูมานี บทความวิชาการ
มาโซ - Penguasaan Ejaan Jawi
dalam Kalangan Pelajar:
Kajian Kes Pelajar Kursus
Kemahiran Tulisan Jawi
Proceeding การประชุม
วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 1
(2562) เครือข่ายศึกษา
ศาสตร์อิสลามเพื่อการพัฒนา
ระบบนิเวศทางการศึกษา
สำหรับอุมมะฮฺในศตวรรษที่
21
เอกสารประกอบการสอน
-เอกสารประกอบการสอน
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
รายวิชา สรศาสตร์ภาษา
มลายู
-เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา การจัดการเรียนรู้
ภาษามลายู1
3. นูรณี บูเกะมาตี บทความวิชาการ
- Penyerapan Kaedah
Pengajaran Abad ke-21
(Peta Pemikiran I-Think)
dalam Pengajaran dan
Pembelajaran Bahasa
Melayu
Proceeding การประชุม
วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 1
(2562) เครือข่ายศึกษา
ศาสตร์อิสลามเพื่อการพัฒนา
ระบบนิเวศทางการศึกษา
สำหรับอุมมะฮฺในศตวรรษที่
21
4. ผศ.จิระพันธ์ บทความวิชาการ
เดมะ INVENTORI VOKAL
DALAM DIALEK MELAYU
PATANI SATU ANALISIS
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
FITUR DISTINGTIF
Proceeding การประชุม
วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 1
(2562) เครือข่ายศึกษา
ศาสตร์อิสลามเพื่อการพัฒนา
ระบบนิเวศทางการศึกษา
สำหรับอุมมะฮฺในศตวรรษที่
21
5. อาจารย์อดุลย์ บทความวิชาการ
ภัยชำนาญ การส่งเสริมการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์โดยใช้สะเต็ม
ศึกษาผ่านกิจกรรมการเรียน
รู้โซลาร์เซลล์ของนักเรียน
ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 5-
6
Proceeding การประชุม
วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 1
(2562) เครือข่ายศึกษา
ศาสตร์อิสลามเพื่อการพัฒนา
ระบบนิเวศทางการศึกษา
สำหรับอุมมะฮฺในศตวรรษที่
21
6. อาจารย์ฮูนาดี บทความวิชาการ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
มะสีละ Faktor-Faktor yang
Membantu Pelajar
Sekolah Pondok
di Selatan Negara Thai
Menguasai Pembelajaran
Jawi
Proceeding การประชุม
วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 1
(2562) เครือข่ายศึกษา
ศาสตร์อิสลามเพื่อการพัฒนา
ระบบนิเวศทางการศึกษา
สำหรับอุมมะฮฺในศตวรรษที่
21

ตารางแสดงการนำไปใช้ประโยชน์(บริการ
วิชาการแก่สังคม/ชุมชน)
อาจารย์ ชื่อเรื่อง ว/ด/ป การนำ
ประจำ /สถานที่ ไปใช้
หลักสูตร/ ประโยช
อ.ผู้รับผิดชอบ น์
หลักสูตร
1. ผศ.ดร. เภา 1.Menimba - ผู้
ซัน เจ๊ะแว ng Posisi 29/4/201 บรรยาย
Kebudayaa 9
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
n Melayu Balai
dalam Serindit
Kemajuan Gedung
Riau ke Daerah
Depan Gubernur
(Meneroka an,
Riau Tahun provinsi
2045) Riau,
Indonesi
2.ทักษะการ a.
พูดในที่ชุมชน
สำหระบนัก
เรียนขาย 19/7/256
2
บ้านสวน
ประมง
3.ทักษะการ อาสา
พูดในที่ชุมชน อ.โคกโพธ์
สำหระบนัก จ.ปั ตตานี
เรียนขาย
8/8/2562
บ้านสวน
ประมง
อาสา
อ.โคกโพธ์
4.Bukit จ.ปั ตตานี
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
Tinggi
Iternational
Conference
on 17-
Education 18/10/20
(BICED) 19
2019 Student
Organizing Center of
committee State
Islamic
Universit
y (IAIN)
Bukit
Tinggi JI.
Raya
Gurun
Aur
Kubang
4.Seminar Putih,
Internasion Bukit
al Bahasa Tinggi,
dan Sastera West
Austronesia Sumater
-Melanesia a,
Indonesi
a.
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
5. Dialog
Tiga 22-
Wilayah 23/10/25
dan Dialog 62
Puncak Kupang,
Karyawan Nusa
Asasi 2019 Tenggara
Timur,
Indonesi
a.
6.
Internasion
al Seminar 28-
of Malay 30/11/25
Heritage 62
Hotel
BDB,
Darulam
an Goif
Resort,
Jitra,
Kedah.
Malaysia

11-
12/3/202
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
0
Ballroom
Gedung
Susiana
Tabrani
Conventi
on Hall,
Jalan
Bakti
Kota
Pekanbar
u,
Provinsi
Riau,
Indonesi
a.

2.อาจารย์แอส 1. Dialog a dan ผู้


ซูมานี มาโซ Puncak Sastra di บรรยาย
Karyawan Sekolah”
Asasi Dialog 28-30
Tiga /11/2019
Wilayah Hotel
BDB
Darulam
an Golf
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
2.ประชุมจัด Reasort,
ทำราย Jitra
ละเอียดผัง Kedah,
การสร้าง Malaysia.
ข้อสอบ สำนักงาน
สมรรถนะ เลขาธิการ
ด้านความรู้ คุรุสภา
ภาคทฤษฏี กระทรวง
และความรู้ ศึกษาธิกา
จากการ ร กทม.
ปฏิบัติงาน
ตาม
มาตรฐาน
วิชาชีพครู
Dewan
3.Program Bahasa
Lawatan dan
Industri Pustaka,
Malaysia
4.โครงการ
“Guruwan
Baha
3.อาจารย์นูรณี 1. Dialog 28-30 ผู้
บูเกะมาตี Puncak /11/2019 บรรยาย
Karyawan Hotel
Asasi Dialog BDB
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
Tiga Darulam
Wilayah an Golf
Reasort,
Jitra
Kedah,
2.Program Malaysia.
Lawatan Dewan
Industri Bahasa
dan
Pustaka,
Malaysia
โครงการ
“Guruwan เดือน
Bahasa dan ตุลาคม-
Sastra di มีนาคม
Sekolah” 2563
4.ผศ.จิระพันธ์ โครงการ เดือน ผู้
เดมะ “Guruwan ตุลาคม- บรรยาย
Bahasa dan มีนาคม
Sastra di 2563
Sekolah”
อาจารย์อดุลย์ โครงการ เดือน ผู้
ภัยชำนาญ “Guruwan ตุลาคม- บรรยาย
Bahasa dan มีนาคม
Sastra di 2563
Sekolah”
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
อาจารย์ฮูนาดี โครงการ เดือน ผู้
มะสีละ “Guruwan ตุลาคม- บรรยาย
Bahasa dan มีนาคม
Sastra di 2563
Sekolah”

โครงการ
เสริมสร้าง
ความเป็ น 23-24
ผู้นำ รุ่นที่ 13 กุมภาพันธ์
2562
โครงการ
อบรมการ 16-17
เป็ นวิทยากร กุมภาพันธ์
พัฒนาบุคลิค 2562
ภาพ

รางวัลที่ได้รับ
1. ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว ได้รับรางวัล
ANUGERAH TOKOH MAHRAJAN
PERSURATAN DAN KESENIAN ISLAM
PERINGKAT NUSANTARA KALI KE-8,
2019 ประเทศมาเลเซีย

ทางหลักสูตรมีการประเมินความพึงพอใจ
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง
ของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีต่อการบริหาร
จัดการหลักสูตร การส่งเสริมและการพัฒนา
อาจารย์ พบว่า อาจารย์มีความพึงพอใจในภาพ
รวม อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็ น 4 สูงกว่าเมื่อ
เทียบกับปี ที่ผ่านมาดังตาราง TMT4.1-7
ความพึงพอใจต่อการ
รายการ บริหารหลักสูตร
ประเมิน ปี ปี ปี ปี
2559 2560 2561 2562
ผลการ
4.72
ประเมิน
มาก
ความพึง
ที่สุด
พอใจของ 4.56
4.50 4.41
อาจารย์ มาก
มาก มาก
ต่อการ ที่สุด
บริหาร
จัดการ
หลักสูตร
ในที่ประชุมได้ข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนาและ
ปรับปรุงการบริหารจัดการหลักสูตรในปี การศึกษา
หน้า โดยเสนอแนะให้ทางหลักสูตรจัดสรรงบ
ประมาณในการพัฒนาอาจารย์และในการไปนำ
เสนอผลงานทางวิชาการให้มากกว่าเดิม
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/
ตาราง
อ้างอิง

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 4.1
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์
ประเมิน 5.00 คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการ
ดำเนินงาน  บรรลุเป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน
ตัวบ่งชี ้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
1. ร้อยละอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาเอก
จำนวนอาจารย์ คุณวุฒิของอาจารย์ประจำ ร้อยละ
ประจำหลักสูตร หลักสูตร อาจารย์
ทัง้ หมด ตรี โท เอก ประจำ
หลักสูตรที่มี
วุฒิปริญญา
เอก
6 0 5 1 ร้อยละ 17

หลักฐาน/ตารางอ้างอิง TMT4.2-1 ปริญาบัตร ป. เอก ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊


ะแว
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : ร้อยละ 17 / 4.17 คะแนน เป้ า
หมายปี ต่อไป : ร้อยละ 20
2. ร้อยละอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ
จำนวนอาจารย์ อาจาร ตำแหน่งทางวิชาการของ ร้อยละอาจารย์
ประจำ ย์ อาจารย์ประจำหลักสูตร ประจำ
หลักสูตร ผศ. รศ. ศ. หลักสูตรที่มี
ทัง้ หมด ตำแหน่งทาง
วิชาการ
6 4 2 0 0 ร้อยละ 33.33

หลักฐาน/ตารางอ้างอิง TM4.2-2 หนังสือแต่งตัง้ การดำรงตำแหน่งทาง


วิชาการ ผศ.ดร.เภาซัน เจ๊ะแว
TM4.2-2 หนังสือแต่งตัง้ การดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ผศ.ผศ.จิระพันธ์
เดมะ
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : ร้อยละ 33.33/ 2.78 คะแนน เป้ า
หมายปี ต่อไป : ร้อยละ 40
3. ผลงานวิชาการของอาจารย์
ตารางที่ 3.1 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ได้รับการตี
พิมพ์หรือเผยแพร่
ชื่ออาจารย์ประจำ ชื่อผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ แหล่งตีพิมพ์เผย
หลักสูตร แพร่/ปี ที่ตีพิมพ์เผย
แพร่
บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ
ระดับชาติ
(ค่าน้ำหนัก 0.20)
1. อ.แอสซูมานี มาโซ บทความ การประชุมวิชาการ
- Penguasaan Ejaan Jawi ระดับชาติ ครัง้ ที่ 1
dalam Kalangan Pelajar: (2562) เครือข่าย
ชื่ออาจารย์ประจำ ชื่อผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ แหล่งตีพิมพ์เผย
หลักสูตร แพร่/ปี ที่ตีพิมพ์เผย
แพร่
Kajian Kes Pelajar Kursus ศึกษาศาสตร์อิสลาม
Kemahiran Tulisan Jawi เพื่อการพัฒนาระบบ
Proceeding นิเวศทางการศึกษา
สำหรับอุมมะฮฺใน
ศตวรรษที่ 21
18 พฤศจิกายน
2562
มหาวิทยาลัยฟาฏอ
นี
2. อ.นูรณี บูเกะมาตี บทความ การประชุมวิชาการ
- Penyerapan Kaedah ระดับชาติ ครัง้ ที่ 1
Pengajaran Abad ke-21 (2562) เครือข่าย
(Peta Pemikiran I-Think) ศึกษาศาสตร์อิสลาม
dalam Pengajaran dan เพื่อการพัฒนาระบบ
Pembelajaran Bahasa นิเวศทางการศึกษา
Melayu สำหรับอุมมะฮฺใน
Proceeding ศตวรรษที่ 21
18 พฤศจิกายน
2562
มหาวิทยาลัยฟาฏอ
นี
3. ผศ.จิระพันธ์ บทความ การประชุมวิชาการ
เดมะ INVENTORI VOKAL DALAM ระดับชาติ ครัง้ ที่ 1
ชื่ออาจารย์ประจำ ชื่อผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ แหล่งตีพิมพ์เผย
หลักสูตร แพร่/ปี ที่ตีพิมพ์เผย
แพร่
DIALEK MELAYU PATANI (2562) เครือข่าย
SATU ANALISIS FITUR ศึกษาศาสตร์อิสลาม
DISTINGTIF เพื่อการพัฒนาระบบ
Proceeding การประชุม นิเวศทางการศึกษา
วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 1 สำหรับอุมมะฮฺใน
(2562) เครือข่ายศึกษาศาสตร์ ศตวรรษที่ 21
อิสลามเพื่อการพัฒนาระบบ 18 พฤศจิกายน
นิเวศทางการศึกษาสำหรับอุม 2562 มหาวิทยาลัย
มะฮฺในศตวรรษที่ 21 ฟาฏอนี
4. อาจารย์อดุลย์ บทความ การประชุมวิชาการ
ภัยชำนาญ การส่งเสริมการเรียนรู้ ระดับชาติ ครัง้ ที่ 1
วิทยาศาสตร์โดยใช้สะเต็ม (2562) เครือข่าย
ศึกษาผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ ศึกษาศาสตร์อิสลาม
โซลาร์เซลล์ของนักเรียนระดับ เพื่อการพัฒนาระบบ
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 5-6 นิเวศทางการศึกษา
Proceeding การประชุม สำหรับอุมมะฮฺใน
วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 1 ศตวรรษที่ 21
(2562) เครือข่ายศึกษาศาสตร์ 18 พฤศจิกายน
อิสลามเพื่อการพัฒนาระบบ 2562
นิเวศทางการศึกษาสำหรับอุม มหาวิทยาลัยฟาฏอ
มะฮฺในศตวรรษที่ 21 นี
5. อาจารย์ฮูนาดี มะ บทความ การประชุมวิชาการ
สีละ Faktor-Faktor yang ระดับชาติ ครัง้ ที่ 1
ชื่ออาจารย์ประจำ ชื่อผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ แหล่งตีพิมพ์เผย
หลักสูตร แพร่/ปี ที่ตีพิมพ์เผย
แพร่
Membantu Pelajar (2562) เครือข่าย
Sekolah Pondok ศึกษาศาสตร์อิสลาม
di Selatan Negara Thai เพื่อการพัฒนาระบบ
Menguasai Pembelajaran นิเวศทางการศึกษา
Jawi สำหรับอุมมะฮฺใน
Proceeding การประชุม ศตวรรษที่ 21
วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 1 18 พฤศจิกายน
(2562) เครือข่ายศึกษาศาสตร์ 2562
อิสลามเพื่อการพัฒนาระบบ มหาวิทยาลัยฟาฏอ
นิเวศทางการศึกษาสำหรับอุม นี
มะฮฺในศตวรรษที่ 21
บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ
ระดับนานาชาติฯ (ค่าน้ำหนัก 0.40)
ผศ.ดร. เภาซัน เจ๊ บทความวิชาการ International
ะแว -The Role of Malay conference on
Language and Its Literature, July
Challenges in the 11-13, 2019 ,
Globalization Era Indonesia (P:9-18)
Proceedings of the 28th

บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูล
ชื่ออาจารย์ประจำ ชื่อผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ แหล่งตีพิมพ์เผย
หลักสูตร แพร่/ปี ที่ตีพิมพ์เผย
แพร่
ระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ.ฯ (ค่าน้ำหนัก 1.00)
ผศ.ดร. เภาซัน 1.Sejarah Pendidikan Jurnal
เจ๊ะแว Bahasa Melayu di Patani Amtarabangsa
Selatan Thai Persuratan
Melayu
(RUMPUN), 7 Jan
2019, 1-17.
Bukittinggi
2.Problems of Malay International
Language Education in Conference on
Patani Southern Thailand Education 1 (1)
BiCED 2019 Indonesia

ผลลัพธ์การดำเนินงาน
ผลรวมถ่วงน้ำหนัก จำนวนอาจารย์ ร้อยละผลรวมถ่วงน้ำ
ผลงานวิชาการของ ประจำหลักสูตร หนักต่อจำนวน
อาจารย์ประจำ ทัง้ หมด อาจารย์ประจำ
หลักสูตร หลักสูตร
3.4 6 ร้อยละ 56.6
หลักฐาน/ตารางอ้างอิง TMT 4.2-3 สรุปผลงานอาจารย์ประจำหลักสูตร
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : ร้อยละ 56.6 / 5.00 คะแนน
เป้ าหมายปี ต่อไป: ร้อยละ 60
จำนวน
ผลการดำเนินงาน ตัว คะแนน
จำนวน อาจารย์ ร้อยละ
บ่งชี ้ 4.2 ประเมิน
ประจำ
4.2.1 อาจารย์ปริญญา 1 คน 6 ร้อยละ 4.17
เอก 16.67
4.2.2 อาจารย์ที่มี 2 คน 6 ร้อยละ 2.77
ตำแหน่ง 33.33
4.2.3 ผลงานที่นำ 8 ชิน
้ 6 ร้อย 5
เสนอ งาน ละ 56.6
รวมค่าเฉลี่ยตัวบ่งชี ้ 4.2 3.98
ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 4.2
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 3.98 คะแนน เกณฑ์ประเมิน
5.00 คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 3.98 คะแนน ผลการดำเนินงาน 
บรรลุเป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน

ตัวบ่งชี ้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์


1. อัตราการคงอยู่ของอาจารย์
ปี การศึกษา 2559- ปี การศึกษา 2560- ปี การศึกษา 2561-2563
2561 2562
จำนวนรายชื่อ ร้อยละ จำนวนรายชื่อ ร้อยละ จำนวนรายชื่อ ร้อยละ
อาจารย์ที่มีการ การคง อาจารย์ที่มีการ การคง อาจารย์ที่มีการ การคง
เปลี่ยน แปลง อยู่ของ เปลี่ยนแปลง อยู่ เปลี่ยนแปลง อยู่ของ
อาจาร ของ อาจารย์
ย์ อาจาร
ย์
1.ผศ.ดร. เภาซัน 100 % 1.ผศ.ดร. เภาซัน 100 % 1.ผศ.ดร. เภาซัน 100 %
เจ๊ะแว เจ๊ะแว เจ๊ะแว
2.อ.แอสซูมานี 100 % 2.อ.แอสซูมานี 100 % 2.อ.แอสซูมานี 100 %
มาโซ มาโซ มาโซ
3.อ.นูรณี บูเกะ 100 % 3.อ.นูรณี บูเกะ 100 % 3.อ.นูรณี บูเกะ 100 %
มาตี มาตี มาตี
4.อาจารย์อดุลย์ 100 % 4.อาจารย์อดุลย์ 100 %
ภัยชำนาญ ภัยชำนาญ
5.ผศ.จิระพันธ์ 100 % 5.ผศ.จิระพันธ์ 100 %
เดมะ เดมะ
6.อาจารย์ฮูนาดี 100 % 6.อาจารย์ฮูนาดี 100 %
มะสีละ มะสีละ
จากผลการดำเนินงานหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ
สอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา มีอาจารย์ประจำหลักสูตร
จำนวน 6 ท่าน ซึ่งจำนวนอาจารย์มีความเพียงพอต่อสัดส่วนจำนวน
นักศึกษาที่ใช้สำหรับการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนตาม
มาตรฐานหลักสูตร รวมทัง้ มีการจัดทำแบบสำรวจแนวโน้มอัตราการคงอยู่
ของอาจารย์ประจำหลักสูตรตัง้ แต่ปีการศึกษา 2559-2562 อัตราการคง
อยู่ ร้อยละ 100
2. ความพึงพอใจของอาจารย์
ร้อยละความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อการบริหารและ
พัฒนาอาจารย์ประจำหลักสูตร (ในตัวบ่งชี ้ 4.1) มีค่าเท่ากับ 4.72 มาก
ที่สุด รายละเอียดดังตาราง
ลำดับ ประเด็นการประเมิน ค่าเฉลี่ยระดับความ
พึงพอใจ (คะแนนเต็ม
5.00)
1 ด้านการบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.77
หลักสูตร มีการประชุมคณะ
กรรมการประจำหลักสูตรเพื่อหารือ
2 ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร 4.53
ด้านการบริหารจัดการหลักสูตรทุก
เดือน โดยอาจารย์ประจำหลักสูตร
เข้าร่วมการประชุมมากกว่า ร้อยละ
80 ทุกครัง้ ทำให้การหารือการ
จัดการเรียนการสอน การกำหนดผู้
สอน การติดตามการจัดทำมคอ.
3 ด้านกระบวนการเรียนการสอนและ 4.69
การวัดประเมินผล
ในปี การศึกษา 2562 มีการประเมิน
ความพึงพอใจของอาจารย์ประจำ
หลักสูตรต่อการบริหารจัดการ
หลักสูตรในประเด็นต่างๆ มีค่า
คะแนนเฉลี่ย 4.45 อยู่ในระดับความ
พึงพอใจมาก เมื่อนำมาเปรียบเทียบ
3 ปี พบว่า ระดับความพึงพอใจ
อาจารย์ต่อการบริหารหลักสูตรอยู่ใน
ระดับที่สูง

ตารางสรุปค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการหลักสูตร
ระดับความพึงพอใจ
ที่ รายการประเมิน
2560 2561 2562

ด้านการบริหารและพัฒนาอาจารย์
1 การวางแผนระยะยาวด้านอัตรากำลัง 4.5 4.8 4.67
อาจารย์ให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตร
2 การกำหนดบทบาทหน้าที่และความรับ 5 4.8 4.67
ผิดชอบของอาจารย์ประจำหลักสูตรและ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีความ
ชัดเจน
3 การมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจำ 4.5 4.8 5.00
หลักสูตรในการประชุมเพื่อวางแผน
ติดตาม และทบทวนการดำเนินงาน
หลักสูตร
4 การจัดรายวิชาให้อาจารย์สอนใน 4.5 4.8 5.00
หลักสูตรมีความเหมาะสม ตรงกับความรู้
ความสามารถของอาจารย์ผู้สอน
5 จำนวนภาระงานสอนของอาจารย์ใน 4 4.6 5.00
หลักสูตรมีความเหมาะสม
6 การประเมินการสอนของอาจารย์ และ 5 4.6 4.67
นำผลมาใช้ในการส่งเสริมพัฒนาความ
สามารถด้านการสอนของอาจารย์
7 อาจารย์ใหม่ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศ 4 4.8 4.67
หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการ
สอน
ระดับความพึงพอใจ
ที่ รายการประเมิน
2560 2561 2562

8 อาจารย์ประจำหลักสูตรทุกคนได้รับการ 5 4.6 4.67


พัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ
อย่างน้อยปี ละหนึ่งครัง้
9 อาจารย์ได้รับการส่งเสริมให้เข้าสู่ 4 4.6 4.67
ตำแหน่งทางวิชาการหรือศึกษาต่อ
10 การเสริมสร้างบรรยากาศทางวิชาการ 4 4.6 4.67
ระหว่างอาจารย์ทงั ้ ภายในและระหว่าง
หลักสูตร
สรุปด้านการบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.7 4.77
ด้านการบริการจัดการหลักสูตร
1 ความทันสมัยและหลากหลายของ 4.5 4.8 4.67
รายวิชาในหลักสูตร
2 การกำกับและติดตามการจัดทำราย 4.5 4.6 4.33
ละเอียดของรายวิชา และประสบการณ์
ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ
มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิ ดสอนใน
แต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
3 การกำกับและติดตามการจัดทำรายงาน 4.5 4.8 4.33
ผลการดำเนินการของรายวิชา และ
ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ
มคอ.5 และ มคอ. 6 ภายใน 30 วัน หลัง
สิน
้ สุดภาคการศึกษาที่เปิ ดสอนให้ครบ
ทุกรายวิชา
ระดับความพึงพอใจ
ที่ รายการประเมิน
2560 2561 2562

4 การทวนสอบผลสัมฤทธิข์ องนักศึกษา 4.5 4.4 4.67


ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ทีกำ
่ หนดใน
มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อย
ร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิ ดสอนใน
แต่ละปี การศึกษา
5 การพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการ 4 4.6 4.67
สอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมิน
ผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการ
ดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปี ที่แล้ว
สรุปด้านการบริหารจัดการหลักสูตร 4.64 4.53
ด้านกระบวนการเรียนการสอนและการวัดประเมินผล
1 การควบคุมการจัดการเรียนการสอนใน - 4.8 4.33
วิชาที่มีหลายกลุ่มเรียนให้ได้มาตรฐาน
เดียวกัน
2 การส่งเสริมให้อาจารย์ใช้วิธีการสอน - 3.8 4.67
ใหม่ๆ ที่พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของ
นักศึกษา
3 การส่งเสริมการทำวิจัยของอาจารย์เพื่อ - 4 4.67
พัฒนานักศึกษา
4 การควบคุมกำกับ และการส่งเสริม - 4.4 4.67
กระบวนการจัดการเรียนการสอนและ
การวัดประเมินผลนักศึกษา
ระดับความพึงพอใจ
ที่ รายการประเมิน
2560 2561 2562

5 การนำกระบวนการบริการทางวิชาการ - 3.4 4.67


เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการ
สอนและส่งผลต่อการเรียนรู้ของ
นักศึกษา
6 การนำกระบวนการวิจัยมาใช้ในการเรียน - 3.6 5.00
การสอนและส่งผลต่อการเรียนรู้ของ
นักศึกษา
7 กระบวนการจัดการเรียนการสอนของ - 3.6 4.67
หลักสูตร เน้นการพัฒนานักศึกษาให้
เรียนรู้ตามโครงสร้างหลักสูตร
8 การจัดการเรียนการสอนมีการบูรณาการ - 3.4 5.00
พันธกิจต่างๆ ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 และการเรียนรู้ตลอด
ชีวิตให้นักศึกษา
สรุปด้านกระบวนการเรียนการสอนและ - 3.88 4.69
การวัดประเมินผล
ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
1 มีทรัพยากร เอกสาร และสื่อประกอบ - 4.8 5.00
การเรียนรู้ที่เพียงพอเหมาะสม และเอื้อ
ต่อการเรียนรู้
2 มีอาคาร ห้องเรียนที่เพียงพอ เหมาะสม - 4.6 4.67
สภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้
3 มีการบริการคอมพิวเตอร์ และระบบ - 4.6 4.67
อินเตอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น
ระดับความพึงพอใจ
ที่ รายการประเมิน
2560 2561 2562

4 มีสถานที่สำหรับทำกิจกรรมของ - 4.4 5.00


นักศึกษา
สรุปด้านสิง่ สนับสนุนการเรียนรู้ - 4.6 4.83
4.41 4.45 4.72

ตารางเปรียบเทียบผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์(ย้อนหลัง
3 ปี )
ตารางเปรียบเทียบผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์
ต่อการบริหารจัดการหลักสูตร การสอนภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา
ปี การศึกษา 2560 ปี การศึกษา 2561 ปี การศึกษา 2562
4.41 4.45 4.72

ข้อเสนอแนะอื่นๆ เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการ
หลักสูตร
จากผลการประเมินความพึ่งพอใจของอาจารย์ต่อการบริหาร
จัดการหลักสูตร คะแนนความพึงพอใจเพิ่มจากปี 2561 คะแนน 4.45
เพิ่มเป็ น 4.72 สะท้อนให้เห็นว่าความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการบริหาร
หลักสูตรได้รับการแก้ไข อย่างไรก็ตามทางมติที่ประชุมเห็นตรงกันว่าผล
การประเมินยังไม่แตกต่างกันมากนัก จึงได้มีการพัฒนาจากเสนอแนะจาก
อาจารย์ ให้มีการเพิ่มสื่อการสอนหนังสือจำนวนหนึ่งจากนักกวีและ
สถาบันภาษาจากประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซียและสิงคโปร์ขณะมาทำ
กิจกรรมร่วมกันกับสาขาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา
ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 4.3
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.0 คะแนน เกณฑ์ประเมิน
5.00 คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน 
บรรลุเป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 4 : อาจารย์


ตัวบ่ง เป้ าหมาย ผลการดำเนิน คะแนนการประเมิน
ชี ้ งาน
4.1 4.0 4.0 4.0
4.2 4.0 3.98
4.2(1
20 17 4.17
)
4.2(2
40 33.33 2.8
)
4.2(3
20 56.6 5
)
4.3 4.0 4.00 4.00
ค่าเฉลี่ยจากการประเมิน 3 ตัวบ่งชี ้ (คะแน 12.37/3 = 4.12 คะแนน
นเต็ม 5 คะแนน) ระดับคุณภาพ ดีมาก
ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 4
จุดเด่น
1. ทางสาขาวิชามีการจัดประชุมกับอาจารย์ผู้สอนในการมอบ
หมายรายวิชา ทำให้อาจารย์ผู้สอนในหลักสูตรมีความเหมาะสม ตรงกับ
ความรู้ความสามารถของอาจารย์ผู้สอน
2. ทางสาขาวิชาได้มีการส่งเสริมให้อาจารย์ประจำหลักสูตรเขียน
บทความวิชาการและบทความวิจัย ทำให้ในปี การศึกษา 2562 จำนวน
บทความทีได้รับการตีพิมพ์เพิมขึน

โอกาสในการพัฒนา
1. สาขาวิชาควรส่งเสริมอาจารย์ประจำหลักสูตรนำเสนอผลงาน
วิจัยได้รับการตีพิมพ์สู่ระดับนานาชาติให้มากกว่าเดิม
2. สาขาวิชาควรส่งเสริมอาจารย์ในการขอตำแหน่งวิชาการและ
ต่อยอดทางการศึกษา
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การ
ประเมินผู้เรียน
(มคอ.7 หมวดที่ 4 ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตรและ
คุณภาพการสอนในหลักสูตร)

ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตร
สรุปผลรายวิชาศึกษาทั่วไปที่เปิ ดสอนในภาค/ปี การศึกษา (นำมาจาก
มคอ 5 ของแต่ละวิชา)
ภาคการศึกษาที่1/2562
ภาค/ จำนวน
ร้อยละการกระจายของเกรด
ปี นักศึกษา
รหัส
การ ลง
ชื่อวิชา C Au สอบ
ศึกษ A B+ B C D+ D F I P S U W ทะเ
+ dit ผ่าน
า บียน
GE2100 1/25 3 5 3 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 13 13
-101 62
อัลกุ
รอาน
เพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 1
GE2100 1/25 0 6 3 1 1 2 0 0 0 0 0 0 0 0 13 13
-122 62
อัลกุ
รอาน
เพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 2
GE2200 1/25 0 4 2 4 1 2 0 0 0 0 0 0 0 0 13 13
-422 62
ภาษา
ไทยใน
ชีวิต
ประจำ
วัน
GE2200 1/25 0 1 4 1 2 2 2 1 0 0 0 0 0 0 13 13
-431 62
ภาษ
อังกฤษ
ในชีวิต
ประจำ
วัน
GE2100 1/25 0 4 1 5 2 1 0 0 0 0 0 0 0 0 13 13
-221 62
อิสลาม
และวิถี
การ
ดำเนิน
ชีวิต

GE2300 1/25 2 1 3 2 4 1 0 1 0 0 0 0 0 0 14 13
-311 62
คอมพิวเ
ตอร์และ
เทคโนโ
ลยี
สารสนเ
ทศ

GE2100 1/25 5 5 3 1 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 15 15
-103 62
อัลกุ
รอาน
เพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 3
GE2300 1/25 2 0 0 4 1 7 1 0 0 0 0 0 0 0 15 15
-303 62
อิสลาม
กับ
วิทยาศา
สตร์
GE2100 1/25 3 8 1 2 1 1 2 0 0 0 0 0 0 0 18 18
-105 62
อัลกุ
รอาน
เพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 5
GE2100 1/25 3 1 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 18 18
-205 62 1
สันติ
ศึกษา
GE2100 1/25 5 5 3 5 6 1 3 0 0 0 0 0 0 0 28 28
-107 62
อัลกุ
รอาน
เพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 7
ED347- 1/25 3 7 2 2 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 15 15
111 62
คุณธรร

จริยธรร
มและ
จรรยา
บรรณ
ครู
ภาคการศึกษาที่2/2562
จำนวน
ร้อยละการกระจายของเกรด
ภาค/ นักศึกษา
รหัส ชื่อ
ปี การ ลง
วิชา C Audi สอบ
ศึกษา A B+ B C D+ D F I P S U W ทะเบี
+ t ผ่าน
ยน
GE2100- 2/25 3 1 4 2 0 0 0 0 3 0 0 0 0 0 13 10
123 อัลกุ 62
รอาน
เพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 3
GE2100- 2/25 2 5 3 2 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 13 13
222 การ 62
สื่อสาร
และการ
เผยแผ่
อิสลาม
GE2100- 2/25 1 2 1 1 1 0 0 1 0 0 0 0 0 0 16 15
104 อัลกุ 62 0
รอาน
เพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 4
GE2100- 2/25 7 7 6 2 1 0 1 1 0 0 0 0 0 0 25 24
203 การ 62
สื่อสาร
และการ
เผยแผ่ใน
อิสลาม
GE2100- 2/25 1 2 1 3 1 0 1 0 2 0 0 0 0 0 20 18
106 อัลกุ 62 0
รอาน
เพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 6
GE2100- 2/25 6 3 8 3 7 0 1 0 0 0 0 0 0 0 28 28
108 อัลกุ 62
รอาน
เพื่อ
พัฒนา
คุณภาพ
ชีวิต 8
ED2300- 2/25 7 3 2 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 13 13
002 62
วิทยาการ
การ
ศึกษา
อิสลาม
ED347- 2/25 2 1 2 7 2 0 0 1 0 0 0 0 0 0 15 14
105 62
หลักสูตร
และการ
พัฒนา
หลักสูตร

ED347- 2/25 3 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 14 14
108 62 0
นวัตกรร
มและ
เทคโนโล
ยี
สารสนเท
ศทางการ
ศึกษา
ED347- 2/25 2 6 3 6 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 17 17
107 การ 62
วิจัยเพื่อ
การ
พัฒนากา
รเรียนรู้
ED347- 2/25 1 3 0 0 0 0 0 0 0 7 0 0 0 0 28 21
113 การ 62 8
ฝึ กปฏิบัติ
วิชาชีพ
ระหว่าง
เรียน 2

สรุปผลรายวิชาเฉพาะที่เปิ ดสอนในภาค/ปี การศึกษา (นำมาจาก มคอ 5


ของแต่ละวิชา)
ภาคการศึกษาที่1/2562
จำนวน
ร้อยละการกระจายของเกรด
นักศึกษา
ภาค/
รหัส สอ
ปี การ ลง
ชื่อวิชา C บ
ศึกษา A B+ B C D+ D F I P S U W Audit ทะเบี
+ ผ่า
ยน

ML220 1/25 3 3 5 3 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 15 15
5-001 62
ภาษาศา
สตร์
ทั่วไป

ML220 1/25 9 6 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 15 15
5-071 62
ทักษะ
ยาวี 1
ML220 1/25 7 3 4 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 18 18
5-151 62
การแปล
1
ML220 1/25 5 4 8 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 18 18
5-103 อ 62
รรถ
ศาสตร์
ภาษา
มลายู

ML220 1/26 6 8 2 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 18 18
5-168 52
วรรณกร
รมมลายู
ร่วมสมัย
ML220 1/25 1 1 3 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
5-181 62 0 3
การ
ตีความ
ภาษา
มลายู
TM240 1/25 1 6 5 2 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
6-701 62 3
ภาษา
มลายู
เชิง
จิตวิทยา
TM240 1/25 1 9 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
6-704 62 9
สัมมนา
ทางการ
จัดการ
เรียนรู้
ภาษา
มลายู
TM240 1/25 2 3 3 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
6-706 62 2
การ
จัดการ
เรียนรู้
ภาษา
มลายู 2
ML220 1/25 1 6 5 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
5-152 62 6
การแปล
2
TM240 1/25 8 2 3 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 14 13
7-101 62
ทักษะ
ภาษา
มลายู1
ภาคการศึกษาที่2/2562
จำนวน
ร้อยละการกระจายของเกรด
ภาค/
นักศึกษา
รหัส ชื่อ
ปี การ ลง
วิชา B C Audi สอบ
ศึกษา A B C D+ D F I P S U W ทะเ
+ + t ผ่าน
บียน
ML2205 2/25 3 4 2 0 1 0 1 0 2 0 0 0 0 0 13 11
-001 62
ภาษาศา
สตร์
ทั่วไป
ML2205 2/25 8 1 1 0 2 1 0 0 0 0 0 0 0 0 13 13
-111 62
หลัก
ภาษา
มลายู 1
ML2205 2/25 7 3 3 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 13 13
-071 62
ทักษะยา
วี1
ML2205 2/25 8 4 2 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 15 14
-141 62
การเขียน
ภาษา
มลายู
ML2205 2/25 2 3 3 2 4 0 0 1 0 0 0 0 0 0 15 14
-102 สร 62
ศาสตร์
ภาษา
มลายู
ML2205 2/25 7 5 2 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 15 14
-164 62
วรรณกร
รมมลายู
ML2205 2/25 1 3 7 4 2 0 0 0 0 1 0 0 0 0 18 17
-113 62
หลัก
ภาษา
มลายู 3
ML2205 2/25 3 9 5 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 18 18
-131 62
การอ่าน
ภาษา
มลายู
ML2205 2/25 7 9 1 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 18 17
-142 62
การเขียน
ปริเฉท
ภาษา
มลายู
TM2406 2/25 1 5 3 4 5 0 0 0 0 0 0 0 0 0 18 18
-731 62
การเขียน
เชิง
สร้างสรร
ค์ภาษา
มลายู

TM2406 2/25 7 8 1 1 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 18 17
-703 62
วาทศิลป์
ภาษา
มลายูเพื่อ
การสอน
TM2406 2/25 1 7 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 18 17
-705 62 0
การ
จัดการ
เรียนรู้
ภาษา
มลายู 1
ML2205 2/25 9 5 6 7 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
-162 62
ประวัติศ
าสตร์
มลายู
TM2406 2/25 1 6 7 3 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
-702 62 1
ภาษา
มลายูเพื่อ
การสอน
ML2205 2/25 1 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
-072 62 3 4
ทักษะยา
วี2
TM2406 2/25 6 1 2 5 3 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 28
-707 62 2
การ
จัดการ
เรียนรู้
ภาษา
มลายู 3

ตัวบ่งชี ้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร


คุณภาพหลักสูตรการเรียนการสอนและการประเมินผล
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
สาระของ หลักคิดในการออกแบบหลักสูตรและสาระ TMT 5.1-
รายวิชาใน รายวิชาในหลักสูตร ข้อมูลที่ใช้ในการ 01 มคอ.2
หลักสูตร พัฒนาหลักสูตรและวัตถุประสงค์ของ
หลักสูตร TMT 5.1-
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขา 02 คำสั่ง
วิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการ แต่งตัง้ คณะ
ศึกษา มีการออกแบบตามกรอบมาตรฐาน กรรมการ
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ร่าง/ออกแ
เพื่อให้การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร บบและ
สอดคล้องกับความต้องการของบุคลากร พัฒนา
ทางการศึกษาและการเปลี่ยนแปลงของ หลักสูตร
เทคโนโลยีจาการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรม ตามระบบกลไกของการปรับปรุง
หลักสูตรที่มหาวิทยาลัยฟาฏอนีกำหนดไว้
TMT 5.1-01
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
ขัน
้ ตอนการร่างหลักสูตร
1. หลักสูตรการสอนภามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา เป็ นหลักสูตรที่พัฒนา
มาจากหลักสูตรการสอนภาษามลายู (5 ปี )
ที่ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านการภาษามลายู แต่เนื่องจาก
นักศึกษามีความต้องการพัฒนาศาสตร์ที่
สามารถเกิดประโยชน์สูงสุดในด้านภาษาและ
เทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ ตามความคาด
หวังของสถานศึกษาและสังคมต่อไป ดังนัน

ทางผูบ
้ ริหารมหาวิทยาลัยเล็งเห็นว่าควรมี
การเปิ ดหลักสูตรให้กับผู้ที่ต้องการเป็ นครู
ภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา ได้
ศึกษาในหลักสูตรศึกษาศาสตร์ 4 ปี
2. มหาวิทยาลัยแต่งตัง้ คณะกรรมการ
ร่าง/ออกแบบและพัฒนาหลักสูตร (5.1-02)
และคณะกรรมการคณะร่วมกับสาขาวิชาการ
สอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา จึง
ได้ดำเนินการออกแบบและพัฒนาเอกสาร
หลักสูตร มคอ.2 ตามกลไกดังกล่าวโดย
กำหนดบริบทของหลักสูตรที่สะท้อนอัต
ลักษณ์บัณฑิตกำหนดคุณสมบัติบัณฑิตอันพึง
ประสงค์ออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชา
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
ให้สอดคล้องกับสมรรถนะที่ต้องการและ
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งผลิตบัณฑิต
วิชาชีพครูที่มีความรู้และทักษะในการใช้
ภาษามลายูควบคู่กันเทคโนโลยีสารสนเทศ
และมีการจัดการเรียนรู้ภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพ มี
การบูรณาการอิสลามในหลักสูตร เพื่อผลิต
บัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติตน
เหมาะสมกับความเป็ นครูตามจรรยาบรรณ
วิชาชีพ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
บริบททางการศึกษา วิทยาการร่วมสมัยและ
ประชาคมอาเซียนที่สอดคล้องกับกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
1. เชิญผู้วิพากษ์มาวิพากษ์หลัก
สูตรฯ
2. ส่งหลักสูตรให้สภาวิชาการเพื่อ
ตรวจสอบ
3. คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
พิจารณาและอนุมัติหลักสูตร
4. ส่งหลักสูตรเพื่อให้คณะกรรมการ
คุรุสภารับรองหลักสูตรและ
5. ส่งให้ สกอ. รับทราบหลักสูตร
และประกาศ
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ประกอบด้วย
เพื่อจัดการศึกษาและผลิตบัณฑิตระดับ
ปริญญาตรีด้านวิชาชีพทางการศึกษา สาขา
วิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการ
ศึกษา ที่มีคุณลักษณะดังนี ้
1. มีความรู้ทางภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา สามารถบูรณาการองค์
ความรู้อิสลามและสามารถนำไปประยุกต์ใช้
ในวิชาชีพในบริบทประชาคมอาเซียน
2. มีทักษะและเทคนิควิธีการสอนภาษา
มลายู ที่เขียนด้วยอักษรรูมีและยาวีขน
ั ้ พื้น
ฐานได้และมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการ
ศึกษา
3. สามารถออกแบบแผนการจัดการเรียน
รู้ตามหลักสูตรสาระภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา และสามารถจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ตามแผนการจัดการ
เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. มีทักษะการวิจัยทางวิชาชีพ และ
ทางการศึกษา
5. มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม มีจิตอาศา มี
จิตสำนึกความเป็ นครู มีความรับผิดชอบต่อ
ตนเองและสังคม ตลอดจนเป็ นแบบอย่างที่ดี
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
6. มีทักษะสังคมยุคศตวรรษที่ 21 และ
ความสามารถในการพัฒนาตน ใฝ่ รู้ รู้เท่าทัน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม บริบททางการ
ศึกษา และบริบทของประชาคมอาเซียน
7. มีภาวะผู้นำและผู้ตาม และพัฒนา
ตนเองทัง้ คุณวุฒิ ประสบการณ์ในการจัดการ
เรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง
สม่ำเสมอ และมีความสามารถในการศึกษา
ต่อในระดับที่สูงขึน

8. ใฝ่ สันติและสามารถดำรงตนในบริบท
สังคมพหุวัฒนธรรมของท้องถิ่น ประชาคม
อาเซียนและประชาคมโลกได้อย่างสันติสข

รายวิชาต่างๆในหลักสูตรสามารถแบ่ง
หมวดได้ดังนี ้
1. รายวิชาเอกบังคับการภาษามลายู
ML2205-001 ภาษาศาสตร์ทั่วไป
ML2205-141 การเขียนภาษามลายู
ML2205-071 ทักษะยาวี 1
ML2205-102 สรศาสตร์ภาษามลายู
ML2205-111 หลักภาษามลายู 1
ML2205-112 หลักภาษามลายู 2
ML2205-164 วรรณกรรมมลายู
TM2407-101 ทักษะภาษามลายู 1
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
TM2407-102 หลักสูตรและการสอน
ภาษามลายู
TM2407-103 ทักษะวิจัยด้านการ
สอนภาษามลายู
TM2407-104 สัมมนาทางการจัด
สัมมนาการจัดการเรียนรู้ภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา
2. รายวิชาการสอนวิชาเอกภาษามลายู
TM2407-105 การจัดการเรียน
รู้ภาษามลายู 1
TM2407-106 การจัดการเรียน
รู้ภาษามลายู 2
3. รายวิชาเอกเลือกการสอนภาษา
มลายู
ML2205-101 ภาษาศาสตร์
มลายู
ML2205-151 การแปล 1
TM2407-201 ยาวีเพื่อการ
สอน
TM2407-203 การเขียนภาษา
มลายูเชิงสร้างสรรค์ TM2407-204
หลักภาษามลายูเพื่อการเรียนการสอน
TM2407-207 วาทศิลป์ ภาษา
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
มลายูเพื่อการสอน
TM2407-208 การแปล
4. รายวิชาเอกเทคโนโลยีการศึกษา
ET2408-102 นวัตกรรมการ
จัดการเรียนรู้
ET2408-103 การถ่ายภาพ
ดิจิทัลเพื่อการศึกษา
ET2408-104 การสื่อสารด้วย
ภาพสำหรับสื่อดิจิทัล
ET2408-105 คอมพิวเตอร์
กราฟฟิ กสำหรับสื่อดิจิทัล 1
ET2408-106 คอมพิวเตอร์
กราฟฟิ กสำหรับสื่อดิจิทัล 2
ET2408-107 การพัฒนาแอฟ
พลิเคชั่นทางการศึกษา
ET2408-108 พัฒนาการเกม
ดิจิทัล
ET2408-109 การผลิตสื่อ
ดิจิทัล
ET2408-110 การผลิตเสียง
สื่อดิจิทัล
ET2408-111 การจัดการเรียน
รู้ผ่านอีเลิร์นนิง
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
ET2408-112 นวัตกรรม
มัลติมีเดีย
5. รายวิชาการสอนวิชาเอกเทคโนโลยี
การศึกษา
ET2408-101 การจัดการเรียนรู้
เทคโนโลยีการศึกษา
6. รายวิชาเอกเลือกเทคโนโลยีการ
ศึกษา
ET2408-201 เทคโนโลยีการ
จัดการจัดข้อมูล
ET2408-202 กลยุทธ์ด้านสื่อ
และการตลาดสำหรับธุรกิจดิจิทัลคอมเทนต์
ET2408-203 กฎหมาย
์ ้านธุรกิจสื่อดิจิทัล
จริยธรรมและลิขสิทธิด
ET2408-204 การจัดการเรียน
รู้เทคโนโลยี
ET2408-205 การออกแบบ
และพัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ET2408-206 การพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์และสภาพแวดล้อม ใหม่
เพื่อการเรียนรู้
ET2408-207 ระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
ET2408-208 การถ่ายภาพใน
สตูดิโอ
จากรายวิชาดังกล่าวสามารถทำให้
บัณฑิตสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้
ภาษามลายูและควบคู่กับเทคโนโลยีการ
ศึกษาที่มีความสามารถในการประกอบอาชีพ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพทัง้ ในระดับประเทศ
และระดับสากล มีความพร้อมที่จะเป็ นครู
ภาษามลายูและครูเทคโนโลยีการศึกษา และ
เป็ นผู้นำการเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอน
ภาษามลายูและเทคโนโลยีรวมทัง้ สามารถนำ
ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมใน
ประเทศไทย
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความ
ก้าวหน้าในศาสตร์สาขาวิชานัน
้ ๆ
ผลการดำเนินงานในปี การศึกษา 2562
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยี
การศึกษามีการใช้หลักสูตรเป็ นปี แรก จาก
การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรการสอนภาษา
มลายู ฉบับปี พ.ศ. 2560 หลักสูตรฉบับดัง
กล่าวนีไ้ ด้รับทราบ/รับรองการเปิ ดสอนจาก
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา เมื่อวันที่
14 เมษายน 2563 โดยมีขน
ั ้ ตอนการปรับปรุง
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
ตามระบบและกลไก ดังต่อไปนี ้
1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมอบหมาย
หน้าที่ให้อาจารย์ประจําหลักสูตรจัดเก็บ รวม
รวม ข้อมูลเพื่อใช้ในการปรับปรุงหลักสูตร
ประกอบด้วย ข้อมูลจากกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาพ.ศ. 2560 รายงาน
ผลการดําเนินงานหลักสูตร (มคอ.7) การ
วิเคราะห์ความต้องการของตลาดแรงงาน
ศึกษาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องเป็ นต้น เพื่อจัดทํา
หลักสูตรปรับปรุง
2. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรทําการ
ประชุมเพื่อสรุปประเด็นการปรับปรุง
หลักสูตร จัดทํารายงานการประชุม ทําบันทึก
เสนอต่อคณบดีเพื่อขอปรับปรุงหลักสูตร
เพื่อนําเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร
มหาวิทยาลัยต่อไป
3. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจัดทําร่าง
หลักสูตรปรับปรุงใหม่โดยดําเนินการตาม
คู่มือ พัฒนาหลักสูตรของมหาวิทยาลัย และ
ข้อมูลต่าง ๆ ที่ดําเนินการแล้วในข้อ 1 แล้ว
เสร็จนําเข้า ประชุมเพื่อวิพากษ์หลักสูตรโดย
คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและมาตรฐาน
การศึกษา ซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการ
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
ภายนอกเป็ นคณะกรรมการร่วมพิจารณา
4. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรนําร่าง
หลักสูตรที่วิพากษ์แล้วมาปรับแก้ไข และนํา
เสนอต่อ สํานักวิชาการเพื่อดําเนินการตรวจ
สอบความถูกต้องของเอกสาร หลังจากเสร็จ
เรียบร้อยแล้ว นําเสนอต่อคณะผู้บริหาร
มหาวิทยาลัย คณะกรรมการสภาวิชาการเพื่อ
พิจารณา และเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยเพื่อ
เห็นชอบอนุมัติ
5. สํานักวิชาการดําเนินการส่งหลักสูตรที่ได้
รับการอนุมัติไปยัง สกอ.เพื่อพิจารณารับรอง
หลักสูตรและส่งกลับมายังมหาวิทยาลัยโดย
หลักสูตรดําเนินการเรียนการสอนตาม
หลักสูตรที่ได้รับการรับรอง
จากปี การศึกษา 2562 หลักสูตรยัง
ไม่มีการปรับปรุง เนื่องจากหลักสูตรมีการเริ่ม
ใช้ในปี การศึกษานี ้

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 5.1
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์
ประเมิน 5.00 คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการ
ดำเนินงาน บรรลุเป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน

ตัวบ่งชี ้ 5.2 ผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน


หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
การวางระบบ ผลการดำเนินงาน TMT 5.2-
ผู้สอนและ 1. สาขาวิชาฯประชุมเพื่อกำหนดผูส
้ อน 01
กระบวนการ ในการจัด การเรีย นการสอน (5.2-01) ตาม รายงาน
จัดการเรียน แผนการเรียน (5.2-02) ที่ปรากฏในหลักสูตร การ
การสอน โดยพิจารณาอาจารย์ผ ู้สอนแต่ละรายวิชาให้ ประชุม
เหมาะกับความเชี่ยวชาญของอาจารย์แ ต่ล ะ ครัง้ ที่1 ว่า
ท่าน โดยพิจารณาจากความชํานาญในเนื้อหา ด้วยเรื่อง
วิชา และ ประสบการณ์การสอนในรายวิชาที่ แผนการ
รับผิดชอบที่ผ่านมา เปิ ด
2. เสนอผลการกำ หนดผูส
้ อนโดย รายวิชา
อาจารย์ป ระจำหลัก สูต รในที่ป ระชุม สาขาฯ ภาคการ
เพื่อ รับ ทราบและพิจ ารณาปรับ เปลี่ย นตาม ศึกษา
เหตุผลและความเห็นของที่ประชุม ตลอดจน
สรุปเป็ นมติของที่ประชุม (5.2-03) TMT 5.2-
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
3. ส่ง รายวิช าที่จะเปิ ดสอนพร้อ มราย 02
ชื่อผู้สอนตามมติที่ประชุมไปยัง สำนักบริการ รายงาน
การศึก ษาเพื่อ ดำเนิน การในส่วนที่เ กี่ย วข้อ ง สรุปผล
ต่อไป การตรวจ
4. แจ้ง รายวิช าที่ต ้อ งรับ ผิด ชอบแก่ สอบการ
อาจารย์ผู้สอนโดยใช้ตารางภาระงานสอน กำหนดผู้
ประเมินผลการดำเนินงาน สอน
ประชุม สาขาโดยมีอ าจารย์ป ระจำ
หลัก สูต รและอาจารย์ท ี่เ กี่ย วข้อ งประเมิน TMT 5.2-
ก ร ะ บ ว น ก า ร ก า ร กำ ห น ด ผ ู้ส อ น ผ ล ก า ร 03
ประเมิน พบว่า อาจารย์ป ระจำ หลัก สูต รได้ รายงาน
ภาระงานสอนยังไม่เกินโหลดเนื่องจากสาขา การ
การสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา ประชุม ว่า
ม ีก า ร ป ร ับ เ ป ล ี่ย น ห ล ก
ั ส ูต ร (5 ปี ) เ ป็ น ด้วยเรื่อง
หลัก สูต ร (4 ปี ) ส่ว นอาจารย์ป ระจำ วิช า แผนการ
เทคโนโลยียังไม่มีรายวิชาที่เปิ ดสอนในปี การ เปิ ด
ศึกษานี ้ (5.2-02) รายวิชา
ภาคการ
ศึกษา

-การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำ


แผนการเรียนรู้(มคอ. 3 และมคอ.4)
ระบบและกลไก
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง

ผลการดำเนินงาน
1. สาขาวิช าฯ ประชุม แจ้ง รายวิช าที่เ ปิ ด
สอนในแต่ละภาคเรียนของปี การศึกษา 2562
(5.2-03) และกําหนดผูส
้ อนแต่ละรายวิชา ซึ่ง
ผู้ส อนแต่ล ะรายวิช าจะต้อ งจัด ทํา เอกสาร
มคอ.3 ก่อ นเปิ ดภาคเรีย นทุก ครัง้ โดยภาค
เรียนที่ 1/2562 จะมี มคอ.3 ตามจํานวนราย
วิชาที่เปิ ดคือ จํานวน 23 รายวิชา และภาค
เรียนที่ 2/2562 มีจํานวนรายวิชาที่เ ปิ ดสอน
จํานวน 27 โดยการปฏิบัติในขัน
้ นีเ้ ป็ นไปตาม
ข้อกําหนดตัวบ่งชีผ
้ ลการดําเนินงานในหมวด
ท ี่ 7 ก า ร ป ร ะ ก ัน ค ณ
ุ ภ า พ ห ล ัก ส ูต ร ข อ ง
มคอ.2
2. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุม
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
เพื่อติดตาม และตรวจสอบการจัดทํามคอ.3
และแนวทางการทวนสอบก่อนสอน ชีแ
้ จง
แนวทางการจัดทำ มคอ.3 แก่อาจารย์ผู้รับผิด
ชอบรายวิชา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัด
ทำแผนการเรียนรู้ใน มคอ.3
3. ดำเนินการทวนสอบการจัดทำแผนการ
เรียนรู้ใน มคอ.3 โดยการทวนสอบก่อนสอน
อาจารย์ผู้สอนชีแ
้ จง มคอ.3 แก่นักศึกษา
ดำเนินการสอนตามแผนการเรียนรู้ มีการ
ทวนสอบระหว่างสอน นักศึกษาประเมิน
ประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์หลังจาก
เสร็จสิน
้ การจัดการเรียนการสอนของแต่ละ
ภาคการศึกษาตามระบบของมหาวิทยาลัย
4. จัดทำรายงานสรุปผลการประเมิน
ประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์จากการ
ประเมินของนักศึกษาทุกรายวิชาที่เป็ นวิชา
เฉพาะ และผลการประเมินพบว่า
ประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์ที่สอนวิชา
เฉพาะเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับดีมาก โดยมีค่า
เฉลี่ยระหว่าง 3.94- 4.6 คะแนน จากคะแนน
เต็ม 5 การประเมินการจัดการเรียนการสอน
ในรายวิชาที่สอนในภาคการศึกษาที่ 1/2562
และ 2/2562 มีคะแนนประเมินเฉลี่ยทัง้ 2
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
ภาคการศึกษาเป็ น 4.27 ผลการประเมินอยู่
ในระดับดีทุกรายวิชาแสดงถึงความเหมาะสม
ของอาจารย์ผู้สอนต่อรายวิชาที่จัดการเรียน
การสอน
5. อาจารย์ประจำหลักสูตร นำผลการ
ประเมินการจัดการเรียนการสอน ข้อร้อง
เรียนของนักศึกษาด้านคุณภาพการสอน
หารือร่วมกันในที่ประชุมเพื่อเป็ นข้อมูล
สำหรับการกำหนดผู้สอนในปี ต่อไป
ประเมินผลการดำเนินงาน
ประชุมสาขาโดยมีอาจารย์ประจำ
หลักสูตรและอาจารย์ที่เกี่ยวข้องร่วมประเมิน
กระบวนการการกำกับ ติดตาม และตรวจ
สอบการจัดทำแผนการเรียนรู้มคอ. 3 และม
คอ.4 ผลการประเมินพบปั ญหาข้อจำกัด คือ
ขัน
้ ตอนการกำกับ ติดตาม การส่ง มคอ ยัง
ล่าช้าเนื่องจากส่วนใหญ่เป็ นรายวิชาร่วมสอน
กับสาขาวิชาภาษามลายูคณะศิลปศาสตร์ ซึง่
การจัดทำมคอ.3 นัน
้ ต้องผ่านการพิจารณา
เห็นชอบทัง้ สาขาวิชาภาษามลายูและสาขา
วิชาการสอนภาษามลายู

-การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี TMT 5.2-


หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
ที่มีการบูรณาการกับการวิจัยการบริการ 04
วิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปะ มคอ. 5
และวัฒนธรรม รายวิชา M
ระบบและกลไก l2205-
ผลการดำเนินงาน 111 หลัก
ประชุมสาขาโดยมีอาจารย์ประจำหลักสูตร ภาษา
และอาจารย์ที่เกี่ยวข้องพิจารณาแนวทางการ มลายู 1
จัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการกับ
การวิจัย การบริการทางสังคม และการทำนุ 5.2-05
บำรุงศิลปะและวัฒนธรรม TMT
สาขาวิชาการสอนภาษามลายูมีการ มคอ. 5
จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มี รายวิชา M
การบูรณาการกับการวิจัยการบริการวิชาการ L2205-
ทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปะและ 168
วัฒนธรรมดังนี ้
1. การจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณา
การกับการวิจัย รายวิชา ML2205-111 หลัก 5.2-06
ภาษามลายู 1 มีการจัดการเรียนการสอนที่ TMT
บูรณาการกับการวิจัยเรื่อง “Analisis มคอ. 5
Kesalahan Bahasa Melayu dalam รายวิชา T
Kalangan Pelajar Sekolah Pondok M2407-
Daerah Yarang, Wilayah Pattani” 101
(5.2.3-03) เป็ นการบูรณาการกับการเรียน ทักษะ
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
การสอนด้านความรู้ โดยนักศึกษามีส่วนร่วม ภาษา
ในการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อผิดพลาดใน มลายู1
การใช้คำในภาษามลายู จาก 80 เรียงความ
ในภาษามลายู 10 โรงเรียนเอกชน ในพื้นที่
อำเภอ ยะรัง จังหวัดปั ตตานี ผลจากความ
ร่วมมือของนักศึกษาในครัง้ นี ้ ทำให้นักศึกษา
ได้เรียนรู้ข้อผิดพลาดในการใช้คำในภาษา
มลายูและปั จจัยที่ส่งผลให้นักเรียนใช้คำผิด
2. การจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณา
การการบริการวิชาการทางสังคม รายวิชา
ML2205-168 วรรณกรรมมลายูร่วมสมัย
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีคุณภาพด้านทักษะ
การใช้ภาษาและวรรณกรรมมลายู มีการ
จัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการบริการ
วิชาการทางสังคมจากโครงการ “Guruwan
Bahasa dan Sastra di Sekolah”
โครงการนีจ
้ ัดขึน
้ ในปี การศึกษาที่ 2 สถานที่
จัด โรงเรียนมุสลิมพัฒนศาสตร์จังหวัด
ปั ตตานี โรงเรียนพัฒนาวิทยา จังหวัดยะลา
โรงเรียนอาซิสสถานมูลนิธิ จังหวัดปั ตตานี ใน
โครงการนีม
้ ีนักศึกษารายวิชาดังกล่าวมีส่วน
ร่วมในกิจกรรมเพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตร
และรายละเอียดของสาขาวิชาฯ ให้ผู้ที่สนใจ
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
ได้ทราบข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจน สามารถนำ
ไปประกอบการพิจารณาตัดสินใจในการเลือก
เรียนต่อในสาขาวิชาฯ ที่ต้องการเรียนใน
อนาคตได้อย่างไม่ผิดพลาดและมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึน

จากกิจกรรมในครัง้ นีน
้ ักศึกษาสามารถ
นำความรู้จากห้องเรียนในรายวิชา
วรรณกรรมมลายูร่วมสมัยมาถ่ายทอดและ
แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ในด้านการอ่านและ
การแสดงวรรณกรรมมลายูให้กับน้องๆ
นักเรียนที่โรงเรียน จากกิจกรรมนีทำ
้ ให้
นักศึกษามีความกล้าแสดงออกมากขึน
้ และ
ร่วมแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ
Puisi Drama โดยใช้วิจารณญาณและบำรุง
คุณค่าของมนุษยชาติและส่งเสริมความรักต่อ
ศาสนาและวัฒนธรรมมลายู
3. การจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณา
การการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
รายวิชา TM2407-101 ทักษะภาษามลายู 1
มีการบูรณาการการทำนุบำรุงศิลปะและ
วัฒนธรรมกับโครงการ Jejak Warisan
Melayu dan Industri Kreatif โครงการนี ้
จัดขึน
้ เมื่อวันที่ 28-30 พฤศจิกายน 2562
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
เป็ นกิจกรรมทัศนศึกษาเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม
มลายู ณ รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย
ซึง่ มีจุดประสงค์เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้มี
ทักษะการสื่อสารทางภาษามลายูและได้แลก
เปลี่ยนเรียนรู้และเห็นคุณค่าวัฒนธรรมท้อง
ถิ่น ในกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านสมาชิกอาเซียน
กิจกรรมในครัง้ นีน
้ ักศึกษาได้เรียนรู้
วัฒนธรรมทางภาษา และวิถีชีวิตจากเจ้าชาว
มลายูในประเทศเพื่อนบ้านในประเทศ
มาเลเซีย ได้สัมผัสและเรียนรู้เพื่อฝึ กทักษะ
การสื่อสารทางด้านภาษามลายูจากเจ้าของ
ภาษาโดยตรง และสามารถเปิ ดโลกทัศน์ทาง
ความคิดของนักศึกษาให้กว้างขึน
้ และเกิด
แรงบันดาลใจอันจะเป็ นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมให้
เกิดการพัฒนาในทางที่ดีขน
ึ ้ แก่ตัวนักศึกษา
เอง
การประเมินกระบวนการและเสนอแนวทาง
พัฒนา
ประชุม สาขาโดยมีอ าจารย์ป ระจำ
หลักสูตรและอาจารย์ที่เกี่ยวข้องมีการจัดการ
เรีย นการสอนในระดับ ปริญ ญาตรีท ี่ม ีก ารบู
รณาการกับ การวิจัยการบริก ารวิช าการทาง
ส ัง ค ม แ ล ะ ก า ร ทำ น ุบำ ร ุง ศ ิล ป ะ แ ล ะ
หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
วัฒ นธรรมพบว่า การบูร ณาการยัง ไม่เ ต็ม รูบ
แบบ ควรมีก ารวางแผนและเตรีย มการที่
เตรียมพร้อมมากกว่านี ้

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 5.2
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์
ประเมิน 5.00 คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการ
ดำเนินงาน  บรรลุเป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 4.00 คะแนน

ตัวบ่งชี ้ 5.3 การประเมินผู้เรียน


หลักฐาน/
ตัวบ่งชี ้ ระบบละผลการดำเนินงาน ตาราง
อ้างอิง
การประเมินผู้ ระบบและกลไก TMT5.3-

เรียน 01 รายงาน
การประชุม
การประเมิน
ผลการเรียน
รู้ตามกรอบ
มาตรฐาน
คุณวุฒิ
TMT5.3-
02 รายงาน
การประชุม
สาขา เรื่อง
การตรวจ
ผลการดำเนินงาน สอบการ
1. ปร ะ ช ุม ส าข าโ ดย มีอ า จ าร ย์ป ร ะ จำ ประเมินผล
หลักสูตรและอาจารย์ที่ การเรียนรู้
เกี่ย วข้อ งพิจ ารณาแนวทางการประเมิน ผล ของ
การเรียนรู้ของนักศึกษา และแนวทางปฏิบัติ นักศึกษา
TMT5.3-
สำหรับ การออกแบบการวัด และประเมิน ผล
03 รายงาน
(5.3-02)ทุกรายวิชาดำเนินการออกแบบการ
การทวน
วัดและประเมินผลใน มคอ.3 สอบผล
2. คณะกรรมการ (5.3-03) มีก ารทวนสอบ สัมฤทธิ ์
การวัด และประเ มิน ผลใน มค อ .3 มีก าร TMT 5.3-
วิพากษ์ข้อสอบและพิจารณาความเหมาะสม 04 แบบ
ของข้อ สอบโดยมีแ บบประเมิน ข้อ สอบสรุป ประเมิน
ข้อสอบ
ผลการประเมิน และส่ง ให้อ าจารย์ป ระจำ
รายวิชาดำเนินการแก้ไขผลการดำเนินงาน
1. ประชุมสาขาโดยมีอาจารย์ประจำ
หลัก สูต รและอาจารย์ท ี่เ กี่ย วข้อ งพิจ ารณา
แ นวทาง การป ระ เ มิน ผ ล ก า รเ รีย นร ้ข
ู อง
นัก ศึก ษา และแนวทางปฏิบ ัต ิสำ หรับ การ
ออกแบบการวัด และประเมิน ผล (TMT5.3-
02) ทุก รายวิช าดำเนิน การออกแบบการวัด
และประเมินผลใน มคอ.3

2. คณะกรรมการ (TMT5.3-03) ม ี
กา รท วน ส อ บ ก าร วัด แ ล ะ ป ร ะ เ ม ิน ผ ล ใ น
มคอ.3 มีก ารวิพ ากษ์ข ้อ สอบและพิจ ารณา
ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง ข ้อ ส อ บ โ ด ย ม ีแ บ บ
ประเมินข้อสอบสรุปผลการประเมินและส่งให้
อาจารย์ประจำรายวิชาดำเนินการแก้ไข
3. อาจารย์ป ระจำ รายวิช าแก้ไ ข
ข้อสอบตามผลการวิพากษ์ และส่งข้อสอบให้
ประธานกรรมการวิพากษ์ข ้อสอบตรวจสอบ
ความถูกต้องของการแก้ไข เรียบร้อยแล้ว จึง
ส่ง ข้อ สอบฉบับ สมบูร ณ์เ พื่อ ทำ ชุด ข้อ สอบ
ดำเนินการสอบ
4. อาจารย์ผ ู้อ อกข้อ สอบ บัน ทึก
คะแนนตามผลลัพ ธ์ก ารเรีย นรู้ร ายวิช า รวม
คะแนนและตัด เกรด ทวนสอบการตัด เกรด
แล้วส่งเกรดให้ทางสาขา
5. สาขาวิช าฯมีก ารประชุม เพื่อ
ติดตามการประเมินผลการเรียนของนักศึกษา
แต่ละรายวิชาที่จัดการเรียนการสอนในปี การ
ศึก ษา 2562 โดยพ ิจ ารณ าตามมค อ .3 ท
อาจารย์แจ้งไว้ดังนัน
้ มคอ.3 และมคอ.5 ต้อง
สอดคล้องกันโดยตรวจสอบผลการเรียนของ
นัก ศึก ษาว่าเป็ นไปตามหลัก เกณฑ์ใ นการให้
ระดับ คะแนน(เกรด) ตามระเบีย บข้อ บัง คับ
ของมหาวิท ยาลัย ฟาฏอนีว ่า ด้ว ยการศึก ษา
ระดับปริญญาตรี
์ าม
6. มีก ารทวนสอบผลสัม ฤทธิต
มาตรฐานการเรียนรู้โดยคณะกรรมการทวน
สอบ 100% ของรายวิช าที่เปิ ดสอนในปี การ
ศึกษา 2562 และสรุปผลการทวบสอบ (5.3-
03) ใน 27 รายวิชาเฉพาะของสาขา
ผลการทวนสอบพบว่า ในประเด็น
ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์รายวิชากับ
มาตรฐานผลการเรียนรู้ พบว่า ทุก รายวิช ามี
ความสอดคล้อ งกัน กับ วัต ถุป ระสงค์ร ายวิช า
กับมาตรฐานผลการเรียนรู้
ด ้า น เ น ้อ
ื ห าก ับ แ ผ น ก า รส อนแ ล ะ
มาตรฐานการเรียนรู้พบว่าทุกรายวิชามีความ
สอดคล้องกัน
ด้านการวัดประเมินผล จากการตรวจ
เอกสารหลักฐาน วิธีสอน วิธีการวัด ประเมิน
ผลกับแผนการสอน มีความสอดคล้องกันทุก
รายวิชา
ด้านความสอดคล้องของมาตรฐาน
ผลการเรีย นรู้ก ับ แผนการวัด ประเมิน ผล มี
ความสอดคล้องทุกรายวิชา จากนัน
้ นำผลการ
ท ว น ส อ บ แ จ ้ง ท ี่ป ร ะ ช ุม ส า ข า ท ร า บ เ พ ่ อ

ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ต่อ ไปโดย คณะกรรมการบริห ารหลัก สูต ร
พิจารณาแล้วเห็น ว่าเอกสารทวนสอบมีก าร
ประเมินความรู้ของผู้เรียนตามเนื้อหาเฉพาะ
ของแต่ล ะรายวิช าที่ช ัด เจน หลัง จากนัน
้ จึง
ดำเนินการส่งผลการศึกษาไปยังงานทะเบียน
และวัดผลของมหาวิทยาลัย
ประเมินผลการดำเนินงาน
สาขาวิชามีการประชุมสรุปการตรวจสอบการ
ประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา พบว่าขัน

ตอนการวิพ ากษ์ข ้อ สอบและการทวนสอบ
อาจมีความล่าช้าเนื่องจากอาจารย์มีภาระงาน
มาก ต้องบริหารเวลาให้ทันตามกำหนดการที่
วางเอาไว้
2. คณะกรรมการ (5.3-03) มีก ารทวนสอบ
การวัด และประเ มิน ผลใน มค อ .3 มีก าร
วิพากษ์ข้อสอบและพิจารณาความเหมาะสม
ของข้อ สอบโดยมีแ บบประเมิน ข้อ สอบสรุป
ผลการประเมิน และส่ง ให้อ าจารย์ป ระจำ
รายวิชาดำเนินการแก้ไขผลการดำเนินงาน
1. ประชุมสาขาโดยมีอาจารย์ประจำ
หลัก สูต รและอาจารย์ท ี่เ กี่ย วข้อ งพิจ ารณา
แ นวทาง การป ระ เ มิน ผ ล ก า รเ รีย นร ้ข
ู อง
นัก ศึก ษา และแนวทางปฏิบ ัต ิสำ หรับ การ
ออกแบบการวัดและประเมินผล (5.3-02) ทุก
รายวิช าดำ เนิน การออกแบบการวัด และ
ประเมินผลใน มคอ.3
2. คณะกรรมการ (5.3-03) มีก าร
ทวนสอบการวัดและประเมินผลใน มคอ.3 ม ี
การวิพากษ์ข้อสอบและพิจารณาความเหมาะ
สมของข้อ สอบโดยมีแ บบประเมิน ข้อ สอบ
สรุปผลการประเมินและส่งให้อาจารย์ประจำ
รายวิชาดำเนินการแก้ไข
3. อาจารย์ป ระจำ รายวิช าแก้ไ ข
ข้อสอบตามผลการวิพากษ์ และส่งข้อสอบให้
ประธานกรรมการวิพากษ์ข ้อสอบตรวจสอบ
ความถูกต้องของการแก้ไข เรียบร้อยแล้ว จึง
ส่ง ข้อ สอบฉบับ สมบูร ณ์เ พื่อ ทำ ชุด ข้อ สอบ
ดำเนินการสอบ
4. อาจารย์ผ ู้อ อกข้อ สอบ บัน ทึก
คะแนนตามผลลัพ ธ์ก ารเรีย นรู้ร ายวิช า รวม
คะแนนและตัด เกรด ทวนสอบการตัด เกรด
แล้วส่งเกรดให้ทางสาขา
5. สาขาวิช าฯมีก ารประชุม เพื่อ
ต ิด ต า ม ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ผ ล ก า ร เ ร ีย น ข อ ง
นัก ศึก ษาแต่ล ะรายวิช าที่จ ัด การ เรีย นการ
สอนในปี การศึกษา 2562 โดยพิจารณาตามม
คอ.3 ที่อ าจารย์แ จ้ง ไว้ด ัง นัน
้ มคอ.3 และม
คอ.5 ต้องสอดคล้องกันโดยตรวจสอบผลการ
เรียนของนัก ศึก ษาว่า เป็ นไปตามหลัก เกณฑ์
ในการให้ร ะดับ คะแนน(เกรด) ตามระเบีย บ
ข้อบังคับของมหาวิทยาลัยฟาฏอนีว่าด้วยการ
ศึกษาระดับปริญญาตรี
์ าม
6. มีก ารทวนสอบผลสัม ฤทธิต
มาตรฐานการเรียนรู้โดยคณะกรรมการทวน
สอบ 100% ของรายวิช าที่เปิ ดสอนในปี การ
ศึกษา 2561 และสรุปผลการทวบสอบ (5.3-
03) ใน 27 รายวิชาเฉพาะของสาขา
ผลการทวนสอบพบว่า ในประเด็น
ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์รายวิชากับ
มาตรฐานผลการเรียนรู้ พบว่า ทุก รายวิช ามี
ความสอดคล้อ งกัน กับ วัต ถุป ระสงค์ร ายวิช า
กับมาตรฐานผลการเรียนรู้
ด ้า น เ น ้อ
ื ห าก ับ แ ผ น ก า รส อนแ ล ะ
มาตรฐานการเรีย นรู้ม ีค วามสอดล้อ งกัน ทุก
รายวิชา
ด้านการวัดประเมินผล จากการตรวจ
เอกสารหลักฐาน วิธีสอน วิธีการวัด ประเมิน
ผลกับแผนการสอน มีความสอดคล้องกันทุก
รายวิชา
ด้านความสอดคล้องของมาตรฐานผล
การเรียนรู้กับแผนการวัดประเมินผล มีความ
สอดคล้องทุกรายวิชา จากนัน
้ นำผลการทวน
สอบแจ้ง ที่ป ระชุม สาขาทราบเพื่อ ปรับ ปรุง
และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนต่อไปโดย
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาแล้ว
เห็นว่าเอกสารทวนสอบมีการประเมินความรู้
ของผู้เ รีย นตามเนื้อ ห าเ ฉพาะ ของแ ต ่ล ะ
รายวิชาที่ชัดเจน หลังจากนัน
้ จึงดำเนินการส่ง
ผลการศึกษาไปยังงานทะเบียนและวัดผลของ
มหาวิทยาลัย
ประเมินผลการดำเนินงาน
สาขาวิชามีการประชุมสรุปการตรวจสอบการ
ประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา พบว่าขัน

ตอนการวิพ ากษ์ข ้อ สอบและการทวนสอบ
อาจมีความล่าช้าเนื่องจากอาจารย์มีภาระงาน
มาก ต้องบริหารเวลาให้ทันตามกำหนดการที่
วางเอาไว้
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการ TMT 5.3-

สอน และประเมินหลักสูตร(มคอ.5 มคอ.6 05 รายงาน


การประชุม
และมคอ.7)
การกำกับ
ผลการดำเนินงาน
การประเมิน
1. เมื่อสอนจบภาคการศึกษา นักศึกษา การจัดการ
จะต้องประเมินการสอนของอาจารย์แต่ละ เรียนการ
รายวิชาในระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ซึง่ ข้อ สอนและ
คําถาม ในการประเมินประกอบด้วยด้านต่าง ประเมิน

ๆคือด้านเทคนิคการจัดกิจกรรมการจัดการ หลักสูตร
(มคอ.5
เรียนรู้ ด้านบุคลิกภาพของผูส
้ อน ด้านการ
มคอ.6 และ
ประเมินผล และ ด้านการนำสิ่งสนับสนุนการ
มคอ.7)
เรียนรู้ เพื่อนําไปพัฒนาปรับปรุงต่อไป
2. สาขาวิชาฯมีการประชุมเพื่อพิจารณา
ร่วมกัน เกี่ยวกับผลการประเมินของอาจารย์ผู้
สอนรายบุคคล (5.3-05) โดยการใช้แบบ
ติดตามผลการประเมินของอาจารย์ผู้สอน
โดยการปฏิบัติในขัน
้ นีเ้ ป็ นไปตามข้อกําหนด
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดําเนินงานในหมวดที่ 7 การ
ประกันคุณภาพหลักสูตร ของ มคอ.2 (ตัวบ่ง
ชีผ
้ ลการดําเนินงานข้อ 6)
3. สาขาวิชาฯ โดยคณะกรรมการประจำ
หลักสูตร ได้ดําเนินการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ
ได้แก่ การสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เรียนเพื่อ
สะท้อนให้เห็นคุณภาพการสอนของอาจารย์ที่
ชัดเจนยิ่งขึน

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 5.3
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 4.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน
5.00 คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 4.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน
 บรรลุเป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไ : 4.00 คะแนน
ตัวบ่งชี ้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติตามที่ระบุใน มคอ. 2 ของหลักสูตร
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
1. อาจารย์ประจำหลักสูตร  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีส่วน การ/ไม่ผ่าน
ร่วมในการประชุมเพื่อ ผลการดำเนินงาน
วางแผน ติดตาม และทบทวน หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ
การดำเนินการหลักสูตร สอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา ได้
มีการประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตร โดยมี
อาจารย์เข้าร่วมการประชุม เพื่อวางแผน
ติดตามและทบทวนผลการดำเนินงาน
หลักสูตร จำนวน 6 คน คิดเป็ นร้อยละ 100
โดยมีการประชุมทัง้ หมด 8 ครัง้ ดังนี ้
ครัง้ ที่ 1 วันที่ 4 มิถุนายน 2562 คนที่เข้า
ร่วมประชุม 6 คน
ครัง้ ที่ 2 วันที่ 4 กรกฏาคม 2562 คนที่เข้า
ร่วมประชุม 6 คน
ครัง้ ที่ 3 วันที่ 20 สิงหาคม 2562 คนที่เข้า
ร่วมประชุม 6 คน
ครัง้ ที่ 4 วันที่ 10 กันยายน 2562 คนที่เข้า
ร่วมประชุม 6 คน
ครัง้ ที่ 5 วันที่ 24 ตุลาคม 2562 คนที่เข้าร่วม
ประชุม 6 คน
ครัง้ ที่ 6 วันที่ 3 ธันวาคม 2662 คนที่เข้าร่วม
ประชุม 6 คน
ครัง้ ที่ 7 วันที่ 7 มกราคม 2562 คนที่เข้า
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
ร่วมประชุม 6 คน
ครัง้ ที่ 8 วันที่ 17 มีนาคม 2562 คนที่เข้า
ร่วมประชุม 6 คน
2. มีรายละเอียดของหลักสูตร  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
ตามแบบ มคอ. 2 ที่ การ/ไม่ผ่าน
สอดคล้องกับมาตรฐาน ผลการดำเนินงาน
คุณวุฒิแห่งชาติ หรือ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/หลักสู สอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา มี
ตร (ถ้ามี) การจัดทำหลักสูตร (มคอ.2) และ สกอ.ได้รับ
ทราบหลักสูตร เมื่อวันที่
3. มีรายละเอียดของรายวิชา  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
และรายละเอียดของ การ/ไม่ผ่าน
ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้า ผลการดำเนินงาน
มี) ตามแบบ มคอ.3 และ มหาวิทยาลัย เปิ ดภาคเรียนที่ 1/2562 วันที่
มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิ ด 16 มิถุนายน 2662 และเปิ ดภาคเรียนที่
สอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ 2/2562 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2662
ครบทุกรายวิชา หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ
สอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา ได้
กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนจัดทำรายละเอียด
ของรายวิชา (มคอ.3) และของประสบการณ์
ภาคสนาม (มคอ.4) ตามแบบฟอร์มของ สกอ.
ก่อนการเปิ ดสอน ครบทุกรายวิชาและนำส่ง
ให้คณะและมหาวิทยาลัย
ภาคเรียนที่ 1/2562 มีรายวิชาที่เปิ ดสอน
ทัง้ หมด 22 รายวิชา
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
สาขาวิชาการสอนภาษามลายู จัดทำเอกสาร
มคอ.3 (1.1-06) ซึ่งเป็ นรายละเอียดของ
รายวิชาทุกรายวิชาก่อนการเปิ ดสอนในภาค
เรียนที่ 1 และ 2 ของปี การศึกษา 2562
จำนวน 50 รายวิชา ดังนี ้
ภารเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2562 ได้แก่
1. GE 2100-101 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 1
2. GE 2100-122 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 2
3. GE 2200-422 ภาษาไทยในชีวิตประจำวัน
4. GE 2200-431 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ
วัน
5. GE 2100-221 อิสลามและวิธีการดำเนิน
ชีวิต
6. GE 2300-311 คอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสรเทศ
7. GE2100-103 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 3
8. GE2300-303 อิสลามกับวิทยาศาสตร์
9. GE2100-105 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 5
10. GE2100-205 สันติศึกษา
11. GE2100-107 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 7
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
12. ED347-111 คุณธรรมจริยธรรมและ
จรรยาบรรณครู
13. ML2205-001 ภาษาศาสตร์ทั่วไป
14. ML2205-071 ทักษะยาวี 1
15. ML2205-151 การแปล 1
16. ML2205-103 อรรถศาสตร์ภาษามลายู
17. ML2205-168 วรรณกรรมมลายูร่วมสมัย
18. ML2205-181 การตีความภาษามลายู
19. TM2406-701 ภาษามลายูเชิงจิตวิทยา
20. TM2406-704 สัมมนาทางการจัดการ
เรียนรู้ภาษามลายู
21. TM2406-706 การจัดการเรียนรู้ภาษา
มลายู 2
22. ML2205-152 การแปล 2
23. TM2407-101 ทักษะภาษามลายู 1
ภารเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562 ได้แก่
1. GE2100-123 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 3
2. GE2100-222 การสื่อสารและการเผยแผ่
อิสลาม
3. GE2100-104 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 4
4. GE2100-203 การสื่อสารและการเผยแผ่
ในอิสลาม
5. GE2100-106 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
คุณภาพชีวิต 6
6. GE2100-108 อัลกุรอานเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิต 8
7. ED2300-002 วิทยาการการศึกษาอิสลาม
8. ED347-105 หลักสูตรและการพัฒนา
หลักสูตร
9. ED347-108 นวัตกรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศทางการศึกษา
10. ED347-107 การวิจัยเพื่อการพัฒนาการ
เรียนรู้
11. ED347-113 การฝึ กปฏิบัติวิชาชีพ
ระหว่างเรียน 2
12. ML2205-001 ภาษาศาสตร์ทั่วไป
13. ML2205-111 หลักภาษามลายู 1
14. ML2205-071 ทักษะยาวี1
15. ML2205-141 การเขียนภาษามลายู
16. ML2205-102 สรศาสตร์ภาษามลายู
17. ML2205-164 วรรณกรรมมลายู
18. ML2205-113 หลักภาษามลายู 3
19. ML2205-131 การอ่านภาษามลายู
20. ML2205-131 การอ่านภาษามลายู
21. ML2205-142 การเขียนปริเฉทภาษา
มลายู
22. TM2406-703 วาทศิลป์ ภาษามลายูเพื่อ
การสอน
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
23. TM2406-705 การจัดการเรียนรู้ภาษา
มลายู 1
24. ML2205-162 ประวัติศาสตร์มลายู
25. TM2406-702 ภาษามลายูเพื่อการสอน
26. ML2205-072 ทักษะยาวี2
27. TM2406-707 การจัดการเรียนรู้ภาษา
มลายู 3
4. จัดทำรายงานผลการดำเนิน  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
การของรายวิชา และรายงาน การ/ไม่ผ่าน
ผลการดำเนินการของ ผลการดำเนินงาน
ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้า มหาวิทยาลัย เปิ ดภาคเรียนที่ 1/2562 วันที่
มี) ตามแบบ มคอ.5 และ 16 มิถุนายน 2562 และเปิ ดภาคเรียนที่
มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิน
้ 2/2562 วันที่ 10 มิถุนายน 2562 หลักสูตร
สุดภาคการศึกษาที่ เปิ ดสอน หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ
ให้ครบทุกรายวิชา สอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา ได้
กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนจัดทำรายละเอียด
ของรายวิชา (มคอ.3) และของประสบการณ์
ภาคสนาม (มคอ.4) ตามแบบฟอร์มของ สกอ.
ก่อนการเปิ ดสอน ครบทุกรายวิชาและนำส่ง
ให้คณะและมหาวิทยาลัย
ภาคเรียนที่ 1/2562 มีรายวิชาที่เปิ ดสอน
ทัง้ หมด 23 รายวิชา
ภาคเรียนที่ 2/2562 มีรายวิชาที่เปิ ดสอน
ทัง้ หมด 27 รายวิชา
5. จัดทำรายงานผลการดำเนิน  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนินการ/
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
การของหลักสูตรตามแบบ ไม่ผ่าน
มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิน
้ ผลการดำเนินงาน
สุดปี การศึกษา หลักสูตรหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขา
วิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการ
ศึกษา ได้จัดทำรายงานผลการดำเนินการของ
หลักสูตร (มคอ.7) และนำส่งให้คณะและ
มหาวิทยาลัย
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ ์  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนินการ/
ของนักศึกษาตามมาตรฐาน ไม่ผ่าน
ผลการเรียนรูท
้ กำ
่ี หนดใน  ไม่เลือก
มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่าง ผลการดำเนินงาน
น้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่ ในปี การศึกษา 2562 สาขาวิชาการสอนภาษา
เปิ ดสอนในแต่ละปี การศึกษา มลายูและเทคโนโลยีการศึกษามีการทวนสอบ
ผลสัมฤทธิข์ องนักศึกษาตามมาตรฐานผลการ
เรียนรู้ทกำ
ี่ หนดในมคอ. 3 ทุกรายวิชา (1.1-
09) จากรายวิชาที่เปิ ดสอนตลอดปี การศึกษา
2562 ทัง้ สิน
้ 27 รายวิชา (วิชาเอก) คิดเป็ น
ร้อยละ 100 ของรายวิชาที่เปิ ดสอนทัง้ หมด
ในปี การศึกษา 2562 และรายวิชาที่ทำการ
ทวนสอบคือ
1. ML2205-001 ภาษาศาสตร์ทั่วไป
2. ML2205-071 ทักษะยาวี 1
3. ML2205-151 การแปล 1
4. ML2205-103 อรรถศาสตร์ภาษามลายู
5. ML2205-168 วรรณกรรมมลายูร่วมสมัย
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
6. ML2205-181 การตีความภาษามลายู
7. TM2406-701 ภาษามลายูเชิงจิตวิทยา
8. TM2406-704 สัมมนาทางการจัดการ
เรียนรู้ภาษามลายู
9. TM2406-706 การจัดการเรียนรู้ภาษา
มลายู 2
10. ML2205-152 การแปล 2
11. TM2407-101 ทักษะภาษามลายู 1
12. ML2205-001 ภาษาศาสตร์ทั่วไป
13. ML2205-111 หลักภาษามลายู 1
14. ML2205-071 ทักษะยาวี1
15. ML2205-141 การเขียนภาษามลายู
16. ML2205-102 สรศาสตร์ภาษามลายู
17. ML2205-164 วรรณกรรมมลายู
18. ML2205-113 หลักภาษามลายู 3
19. ML2205-131 การอ่านภาษามลายู
20. ML2205-131 การอ่านภาษามลายู
21. ML2205-142 การเขียนปริเฉทภาษา
มลายู
22. TM2406-703 วาทศิลป์ ภาษามลายูเพื่อ
การสอน
23. TM2406-705 การจัดการเรียนรู้ภาษา
มลายู 1
24. ML2205-162 ประวัติศาสตร์มลายู
25. TM2406-702 ภาษามลายูเพื่อการสอน
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
26. ML2205-072 ทักษะยาวี2
27. TM2406-707 การจัดการเรียนรู้ภาษา
มลายู 3

7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการ  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน


จัดการเรียนการสอน กลยุทธ์ การ/ไม่ผ่าน
การสอนหรือการประเมินผล  ไม่เลือก
การเรียนรู้ จากผลการ ผลการดำเนินงาน
ประเมินการดำเนินงานที่  มีผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงาน
รายงานใน มคอ.7 ปี ที่แล้ว ใน มคอ.7 ปี ที่แล้ว โดยสาขาได้คะแนน
การประเมิน คือ 3.72
 มีโครงการ กิจกรรม หรือรายวิชาที่
ดำเนิน การเพื่อ พัฒ นา/ปรับ ปรุง การจัด การ
เรียนการสอนจากผลการประเมิน ในปี ที่แล้ว
โดยมีก ารนำ ข้อ เสนอแนะ จากผู้ป ระเมิน
หลักสูตรในปี ที่ผ่านมาจัดทำเป็ น แผนพัฒนา
คุณภาพการศึก ษา ระดับหลักสูตร ประจำปี
การศึกษา 2562
8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนินการ/
ได้รับการปฐมนิเทศหรือคำ ไม่ผ่าน
แนะนำด้านการจัดการเรียน  ไม่เลือก
การสอน ผลการดำเนินงาน
9. อาจารย์ประจำหลักสูตรทุก  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนินการ/
คนได้รับการพัฒนาทาง ไม่ผ่าน
วิชาการ และ/หรือวิชาชีพ  ไม่เลือก
ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
อย่างน้อยปี ละหนึ่งครัง้ ผลการดำเนินงาน
คณาจารย์ประจำหลักสูตรทุกคนได้รับการ
พัฒนาทางวิชาการจำนวน 2 ครัง้ กับโครง
การคลินิควิจัยและโครงการการเผ่ยแพร่ผล
งานวิชาการ ในปี การศึกษา 2562 โดยเฉพาะ
ทุกวันพุธ เวลา 10.00-12.00 เป็ นชั่วโมงการ
พัฒนาอาจารย์

10. จำนวนบุคลากรสนับสนุน  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนินการ/


การเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้ ไม่ผ่าน
รับการพัฒนาวิชาการ  ไม่เลือก
และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า ผลการดำเนินงาน
ร้อยละ 50 ต่อปี
11. ระดับความพึงพอใจของ ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนิน
นักศึกษาปี สุดท้าย/บัณฑิต การ/ไม่ผ่าน
ใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร  ไม่เลือก
เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จาก ผลการดำเนินงาน
คะแนนเต็ม 5.0 มีนักศึกษาปี สุดท้าย
- จำนวนนักศึกษาปี สุดท้าย 28 คน
- จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 28 คน
- ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม 100
- ระดับความพึงพอใจ 4.35

12. ระดับความพึงพอใจของผู้  ดำเนินการ/ผ่าน  ยังไม่ได้ดำเนินการ/


ตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน
ใช้บณ
ั ฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ ไม่ผ่าน
เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จาก  ไม่เลือก
คะแนนเต็ม 5.0 ผลการดำเนินงาน
ยังไม่มีบณ
ั ฑิต
รวมตัวบ่งชีผ
้ ลการดำเนิน จำนวน 8 ตัวบ่งชี ้
งานที่ระบุไว้ในปี นี ้
จำนวนตัวบ่งชีท
้ ี่มีการดำเนิน จำนวน 4 ตัวบ่งชี ้
งานผ่าน
ร้อยละของตัวบ่งชีท
้ ี่ดำเนิน คิดเป็ นร้อยละ 100
งานผ่านในปี นี ้
มีค่าคะแนนเท่ากับ คะแนน
ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 5.4
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : 5.00 คะแนน เกณฑ์ประเมิน
5.00 คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 5.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน
 บรรลุเป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 5.00 คะแนน

การวิเคราะห์รายวิชาที่มีผลการเรียนไม่ปกติ (นำมาจาก มคอ.5 ของแต่ละ


วิชา)
หลัก
รหัส ภาค เหตุที่
ความผิด การตรวจ มาตรกา ฐาน/
ชื่อ การ ทำให้ผิด
ปกติ สอบ รแก้ไข ตาราง
วิชา ศึกษา ปกติ
อ้างอิง
ML220 2/256 นักศึกษา อาจารย์ผู้ เป็ น เพิ่มความ มคอ.5
หลัก
รหัส ภาค เหตุที่
ความผิด การตรวจ มาตรกา ฐาน/
ชื่อ การ ทำให้ผิด
ปกติ สอบ รแก้ไข ตาราง
วิชา ศึกษา ปกติ
อ้างอิง
5-113 2 ส่วยใหญ่ สอนได้ชแ
ี ้ จง รายวิชาที่ รู้พ้น
ื ฐาน
หลัก ได้คะแนน กรรมการ ยากและ ให้มากขึน

ภาษา น้อย บริหาร ต้องใช้การ พร้อมกับ
มลายู 3 หลักสูตรได้ วิเคราะห์ ทำแบบ
รับทราบถึง ในระดับสูง ฝึ ก
รูปแบบการ จึงต้อง ทบทวนที่
สอนและการ อาศัย หลาก
ประเมินผล ความ หลาย
เข้าใจอย่าง
สูง
นักศึกษา
ยังขาด
ความรู้พ้น

ฐานใน
หลักภาษา
และยังขาด
ความ
กระตือรือร้
นในการ
ศึกษา
ค้นคว้า
ด้วยตนเอง
TM240 2/256 นักศึกษา นักศึกษา เพิ่มความ มคอ.5
7-203 2 ส่วยใหญ่ ยังขาด รู้โดยให้
การ ได้คะแนน ทักษะการ นักศึกษา
หลัก
รหัส ภาค เหตุที่
ความผิด การตรวจ มาตรกา ฐาน/
ชื่อ การ ทำให้ผิด
ปกติ สอบ รแก้ไข ตาราง
วิชา ศึกษา ปกติ
อ้างอิง
เขียน น้อย เขียนขัน
้ ค้นหางาน
ภาษา พื้นฐาน เขียนที่
มลายู และการ หลาก
เชิง พัฒนาคำ หลายและ
สร้างสร ศัพท์อยู่ใน ฝึ กเขียน
รค์ ระดับที่ อย่าง
ปานกลาง สม่ำเสมอ
จึงทำให้
ยากที่
นักศึกษา
จะเขียนชิน

งานที่
สร้างสรรค์
TM2406 1/2562 นักศึกษา การให้ อาจารย์ มคอ.5
-706
ส่วนมากได้ คะแนน ประจำ
การ คะแนนได้ ประเมิน วิชาควรมี
จัดการ คะแนนสูง จากชิน
้ งาน ความ
เรียนรู้ และการนำ รอบคอบ
ภาษา เสนอเป็ นก ในการ
มลายู 2 ลุ่มโดยส่วย ประเมิน
ใหญ่ รวม ผลงาน
ทัง้ มี นักศึกษา
คะแนน
ความคิด
สร้างสรรค์
หลัก
รหัส ภาค เหตุที่
ความผิด การตรวจ มาตรกา ฐาน/
ชื่อ การ ทำให้ผิด
ปกติ สอบ รแก้ไข ตาราง
วิชา ศึกษา ปกติ
อ้างอิง
ซึ่ง
นักศึกษา
ส่วนใหญ่
ทำได้ดีมาก
TM240 1/2562 ส่วนมากได้ รายวิชานี ้ อาจารย์ มคอ.5
6-704 คะแนนได้ ไม่มีการ ประจำ
สัมมนา คะแนนสูง สอบและ วิชาควรมี
ทางการ เกณฐ์การ ความ
จัดการ ให้คะแนน รอบคอบ
เรียนรู้ ขึน
้ อยู่กับ ในการ
ภาษา อาจารย์ ประเมิน
มลายู และ ผลงาน
นักศึกษา นักศึกษา
เอง
,
สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 5 : หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผูเ้ รียน

ตัวบ่ง เป้ าหมาย ผลการดำเนิน คะแนนการประเมิน


ชี ้ งาน
5.1 4.0 4.0 4.00
5.2 4.0 4.0 4.00
5.3 4.0 4.0 4.00
5.4 5.0 5.0 5.00
ค่าเฉลี่ยจากการประเมิน 4 ตัวบ่งชี ้ (คะแน 17 /4 = 4.25 คะแนน
นเต็ม 5 คะแนน) ระดับคุณภาพดีมาก
ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 5
จุดเด่น
1. สาขาวิชามีการวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียน
การสอนที่ชัดเจน
โอกาสในการพัฒนา
1. สามารถออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพยิ่ง
ขึน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

(มคอ.7 หมวดที่ 5 การบริหารหลักสูตร)

ตัวบ่งชี ้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้


ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ระบบการดำเนินงานของสาขาวิชา/คณะ/สถาบันโดยมี TMT6.1-1
ส่วนร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่ง ระบบและกลไก
สนับสนุนการเรียนรู้ (หลักฐาน 6.1-1) การจัดการสิ่ง
อำนวยความ
สะดวก(ทรัพยา
กรสารสนเทศ)

TMT6.1-2
รายงานการ
ประชุม เพื่อ
กำหนดวางแผน
สิ่งสนับสนุนการ
เรียนรู้

TMT 6.1-3
รายงานผลการ
ประเมินความ
พึงพอใจต่อการ
ให้บริการสิ่ง
สนับสนุนการ
หลักสูตรมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ โดยมหาวิทยาลัย เรียนรู้ของ
และคณะ จัดให้มีความพร้อมด้านกายภาพ ด้านเทคโนโลยี นักศึกษาและ
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ด้านสื่อโสตทัศนูปกรณ์ และการให้บริการในรูปแบบต่างๆ
อาจารย์
ดังนี ้
ประจำปี การ
1. ในรูปแบบตัวอาคารและวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่
ศึกษา 2562
นักศึกษาสามารถใช้ในการเรียนรู้ในคณะต่างๆที่มีอยู่ใน
TMT 6.1-4
มหาวิทยาลัยฟาฏอนีเช่น ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
คู่มือการอ่าน
คอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการสอนแบบจุลภาค ห้องศึกษา
ภาษามลายู
ค้นคว้าการเรียนรู้ด้วยตนเอง ห้องคลินิกวิจัยห้องสมุดโดย
Puisi Model
ร่วมกับสำนักวิทยบริการของมหาวิทยาลัย ห้องทรัพยากร
จากโครงการ
การเรียนรู้ทางวิชาชีพศึกษาศาสตร์ เพื่อบริการหนังสือ
สร้างสรรค์เครือ
ตำราเอกสารหลักสูตร หรือวารสารเฉพาะทาง และ
ข่าย Hybrid
ต้นแบบสื่อการเรียนการสอน เพื่อใช้ประกอบการสอนของ
PLC
อาจารย์และการศึกษาค้นคว้าของผูเ้ รียน เช่น เครื่อง
TMT 6.1-5
มัลติมีเดีย โปรเจคเตอร์ คอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย
รายละเอียด
โทรทัศน์การศึกษาผ่านดาวเทียว เป็ นต้น
หนังสือต่างๆที่
2. ในรูปแบบสภาพแวดล้อมด้านการเรียนรู้ และสิ่ง
เพิ่มจากห้อง
สนับสนุนการเรียนรู้ เช่น ห้องสื่อการเรียนรู้และมุมสืบค้น
สมุดของสาขา
ข้อมูลสารสนเทศฐานข้อมูลทรัพยากรการเรียนรู้ วารสาร
วิชา
วิชาการเพื่อสืบค้น มีบริการ wi-fi เพื่ออำนวยความสะดวก
แก่นักศึกษา เป็ นต้น
3. ในรูปแบบเครือข่าย โดยคณะมีแหล่งเรียนรู้/แหล่ง
ฝึ กงาน/ฝึ กปฏิบัติการ/สถานประกอบการศึกษาเพื่อให้
นักศึกษาสามารถไปเรียนรู้รูปแบบการสอนสภาพแวดล้อม
ที่เป็ นจริงในห้องเรียนและการเรียนรู้พัฒนาการของผู้เรียน
โดยผ่านโรงเรียนเครือข่าย จำนวน 61 โรงใน 5 จังหวัด
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ภาคใต้ ประกอบด้วย ปั ตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา
และสตูล เป็ นต้น
หลักสูตรมีระบบกลไกและกระบวนการจัดหาและดูแล
รักษาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ โดยมีกระบวนการดังนี ้
1.1 มีการประเมินความเพียงพอของสิ่งสนับสนุนการ
เรียนรู้สำหรับรายวิชา
1.2 ตัง้ กรอบงบประมาณในแต่ละภาคการศึกษา
1.3 แจ้งรายการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ต่อผู้เกี่ยวข้อง
1.4 สอบถามความคิดเห็นนักศึกษาและอาจารย์ผู้สอนใน
รายวิชา
1.5 สรุปรายการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทจำ
ี่ เป็ นต้องใช้
และสามารถจัดหาได้

ผลการดำเนินงาน
หลักสูตรมีการนำระบบและกลไกไปปฏิบัติและได้
รายงานผลการสำรวจและจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้แก่
คณะโดยคณะกรรมการหลักสูตรร่วมกันสำรวจสิ่ง
สนับสนุนการเรียนรู้ทจ
ี่ ะเอื้ออำนวยความสะดวกให้กับ
นักศึกษาสอดคล้องกับแผนผังระบบและกลไกสิ่งสนับสนุน
การเรียนรู้ (หลักฐาน 6.1-2)
นอกจากนี ้ หลักสูตรได้มีการเตรียมความพร้อมทาง
กายภาพ เช่น อาคาร ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการและเครื่อง
มืออำนวยความสะดวกต่อการจัดการเรียนการสอน และ
การเรียนรู้พ้น
ื ที่บริเวณอาคารคณะและสภาพแวดล้อม
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ด้านการเรียนรู้โดยจัดพื้นที่บริเวณหน้าอาคารคณะให้เป็ น
ลานกิจกรรมสำหรับนักศึกษาและอาจารย์ได้พบปะ แลก
เปลี่ยน สนทนา จัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือทำงาน
ร่วมกัน
หลักสูตรได้มีการเตรียมพร้อมทางด้านสภาพ
แวดล้อมด้านการเรียนรู้ เช่น หนังสือตำราเรียน และ
หนังสืออ่านเสริมเพื่อเพิ่มความรู้ในศาสตร์ที่ไม่มีใน
หลักสูตรการเรียนการสอน หรือ วีดิโอ เพื่อเพิ่มทักษะทาง
ด้านภาษา และสร้างบรรยากาศให้เกิดการเรียนรู้ โดย
อาจารย์ได้สำรวจข้อมูลหนังสือในการจัดการเรียนการ
สอนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร
แล้วนำข้อมูลแจ้งต่อคณะและสำนักวิทยบริการ ซึ่งเป็ น
ฝ่ ายดูแลห้องสมุดในการจัดกา จัดซื้อให้กับคณาจารย์
นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไปสามารถมาใช้บริการ พร้อมทำ
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เป็ นต้น
หลักสูตรได้มีการเตรียมพร้อมโรงเรียนเครือข่ายเพื่อ
เป็ นชุมชนแหล่งเรียนรู้ และให้เป็ นหน่วยในการส่งเสริม
การเรียนรู้ของนักศึกษา โดยคณะกำหนดให้นักศึกษาชัน
้ ปี
ที่ 2 ของทุกหลักสูตร ไปสัมผัสบรรยากาศของโรงเรียน
เพื่อเข้าใจถึงวิถีชีวิตของโรงเรียน วัฒนธรรมโรงเรียน
บรรยากาศและสภาพแวดล้อมของโรงเรียน และนักศึกษา
สามรถเพิ่มองค์ความรู้ สร้างมโนคติที่ดีต่อโรงเรียน ทำให้
นักศึกษาสามารถจินตนาการและต่อยอดการเรียนใน
ห้องเรียนได้ เป็ นต้น
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
หลักสูตรได้มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและ
อาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่มหาวิทยาลัยได้ดำเนิน
การประกอบกับหลักสูตรได้มีการประเมินความพึงพอใจ
ของนักศึกษาต่อการจัดสิ่งสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ (หลัก
ฐาน 6.1-3) เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาสาเหตุ
แนวทางในการปฏิบัติ ปั ญหาอุปสรรค และโอกาสใน
อนาคต แล้วนำสู่กระบวนการปรับแผนและจัดทำแผนของ
หลักสูตรต่อไป
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสม
ต่อการจัดการเรียนการสอน
ทางมหาวิทยาลัยและคณะได้จัดเตรียมสิ่งสนับสนุนการ
เรียนรู้ ให้กับหลักสูตร โดยมี ทรัพยากรการเรียนรู้
ห้องเรียนที่เพียงพอกับการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้
เรียนเป็ นสำคัญมีวัสดุอุปกรณ์และสื่อการเรียนรู้ในปริมาณ
ที่เหมาะสมกับจำนวนผู้เรียน ดังนี ้
1. ตัวอาคารและวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ ที่นักศึกษา
สามารถใช้ในการเรียนรู้ในคณะต่างๆที่มีอยู่ในมหาวิ
ทยาลัยฟาฏอนี
1. จำนวนห้องเรียนที่ใช้จัดการเรียนการสอนใน
หลักสูตร และ ขนาดความจุของห้องเรียน
1. ห้องเรียนบรรยายขนาด 50 ที่นั่ง/ห้อง
จำนวน 4 ห้อง
2. ห้องเรียนบรรยายขนาด 70 ที่นั่ง/ห้อง จำนวน
4 ห้อง
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
3. ห้องเรียนกิจกรรมกระบวนการกลุ่มและ
กิจกรรมอเนกประสงค์ (อิบนูคูตัยบะห์) ขนาด 200 ที่นั่ง
จำนวน 1 ห้อง
4. ห้องประชุมใหญ่ขนาดความจุ 250 ที่นั่ง
จำนวน...1...ห้อง
5. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ขนาด 50 ที่นั่ง/ห้อง
จำนวน 1 ห้อง
6. ห้องปฏิบัติการสอนแบบจุลภาค Micro Teaching
จำนวน 2 ห้อง
2. ชื่อวัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ในการเรียนการสอนใน
ห้องเรียน พร้อมแสดงจำนวนต่อหนึ่งห้องเรียน
(1.) ห้องเรียนบรรยายขนาด 50 ที่นั่ง/ห้อง
1.โปรเจคเตอร์ประจำห้องเรียน จำนวน 1 เครื่อง
2.โต๊ะอาจารย์ เก้าอีป
้ ระจำห้องเรียน จำนวน 1
ชุด
3.เก้าอีเ้ ลกเชอร์สำหรับนักศึกษา จำนวน 45-50 ตัว
(2.) ห้องเรียนบรรยายขนาด 70 ที่นั่ง
1. โปรเจคเตอร์ประจำห้องเรีย จำนวน 1 เครื่อง
2.โต๊ะอาจารย์ เก้าอีป
้ ระจำห้องเรียน จำนวน 1
ชุด
3. เก้าอีเ้ ลกเชอร์สำหรับนักศึกษา จำนวน 70 ตัว
(3.) ห้องสื่อและศึกษาด้วยตนเองความจุ 25 ที่นั่ง/ห้อง
1.โปรเจคเตอร์ประจำห้องเรียน จำนวน 1 เครื่อง
2.โต๊ะอาจารย์ เก้าอีป
้ ระจำห้องเรียน จำนวน 1
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ชุด
3.เก้าอีเ้ ลกเชอร์สำหรับนักศึกษา จำนวน 25 ตัว
(4.) ห้องเรียนกิจกรรมกระบวนการกลุ่มและกิจกรรม
อเนกประสงค์ (อิบนูคูตับะห์) ความจุ 200 ที่นั่ง
1.โปรเจคเตอร์ประจำห้องเรียน จำนวน 1
เครื่อง
2.โต๊ะอาจารย์ เก้าอีป
้ ระจำห้องเรียน จำนวน 1
ชุด
3.เก้าอีเ้ ลกเชอร์สำหรับนักศึกษา จำนวน 200 ตัว
(5.) ห้องประชุมใหญ่ ขนาดความจุ 250 ที่นั่ง
1.โปรเจคเตอร์ประจำห้องเรียน จำนวน 1
เครื่อง
2.โต๊ะอาจารย์ เก้าอีป
้ ระจำห้องเรียน จำนวน 1
ชุด
3.เก้าอีสำ
้ หรับนักศึกษา จำนวน 250 ตัว
4. ชุดเครื่องขยายเสียง จำนวน 1 ชุด
(6.) ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ขนาด 50 ที่นั่ง/ห้อง
1. ชุดคอมพิวเตอร์ประจำห้อง จำนวน 50 เครื่อง
2. โปรเจคเตอร์ จำนวน 1 เครื่อง
3. ชุดคอมพิวเตอร์อาจารย์ จำนวน 1 เครื่อง
(7.) ห้องปฏิบัติการสอนแบบจุลภาค Micro Teaching
(1) โปรเจคเตอร์ประจำห้องเรียน จำนวน 1
เครื่อง
(2) โต๊ะอาจารย์ จำนวน 1 ชุด
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
(3) โต๊ะนักเรียน จำนวน 30-40 ชุด
2. ในรูปแบบสภาพแวดล้อมด้านการเรียนรู้ และสิ่ง
สนับสนุนการเรียนรู้
ทางมหาวิทยาลัยและคณะได้จัดเตรียมสภาพแวดล้อมด้าน
การเรียนรู้ และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ให้กับหลักสูตร
ดังนี ้
1. หน่วยงานเพื่อสนับสนุนสภาพแวดล้อมด้านการเรียนรู้
และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ดังรายละเอียดต่อไปนี ้
1.1 สำนักวิทยบริการ เป็ นหน่วยงานที่สนับสนุนสภาพ
แวดล้อมให้นักศึกษาไปค้นคว้าข้อมูลข่าวสาร ในตำราใน
รูปแบบหนังสือและรูปแบบข้อมูลสารสนเทศ ดังราย
ละเอียดดังนี ้
- สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง จำนวน 6,948 เรื่อง
- ความรู้อยู่ในรูปแบบซีดี จำนวน 837 เรื่อง
- ความรู้อยู่ในรูปแบบเทป จำนวน 342 เรื่อง
- ความรู้อยู่ในรูปแบบวิดีโอ จำนวน 267 เรื่อง
- ความรู้อยู่ในรูปแบบดีวีดี จำนวน 115 เรื่อง
- วารสารวิชาการ จำนวน 7 เรื่อง
1.2 ศูนย์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการศึกษา เป็ นศูนย์ที่
ให้บริการให้นักศึกษาไปฝึ กทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์
และและความรู้ที่อยู่ในรูปแบบเทคโนโลยี
1.3 ศูนย์อัลกุรอาน เป็ นศูนย์ที่ให้บริการฝึ กทักษะการอ่าน
และการท่องจำ ที่เป็ นหัวใจสำคัญสำหรับนักศึกษา
มหาวิทยาลัยทุกคนที่ต้องผ่านทักษะการอ่านและการ
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
2. ระบบออนไลน์เพื่อสนับสนุนสภาพแวดล้อมด้านการ
การเรียนรู้ และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังราย
ละเอียดดังนี ้
2.1 ระบบบริการการศึกษา E-REGISTER ระบบที่ให้
บริการการลงทะเบียน การติดตามผลการเรียน การยืนยัน
จบและการขอเอกสารต่างของนักศึกษาที่ผ่านระบบ
ออนไลน์
2.2 ห้องสมุดอัตโนมัติ Library E-MAKTABAH นักศึกษา
สามารถสืบค้นหนังสือ และยืมคืนหนังสือผ่านระบบ
ออนไลน์
2.3 E-DAKWAH เป็ นเวบไซต์บรรยายเกี่ยวกับความรู้ทาง
ด้านศาสนาและด้านคุณธรรมจริยธรรมที่นักศึกษาสามารถ
ศึกษาเพิ่มเติมได้คตลอดเวลา
2.4 เวบไซต์มหาวิทยาลัย
http://www.ftu.ac.th/main/cd/ เป็ นการบริการข้อมูล
ทั่วไปที่นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยควรทราบ
และการติดตามการเคลื่อนไหวของกิจกรรมมหาวิทยาลัย
เพื่อให้นักศึกษาสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมของ
มหาวิทยาลัย
3. เครือข่ายเพื่อสนับสนุนสภาพแวดล้อมด้านการเรียนรู้
และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน
ทางสาขาได้ทำความร่วมมือไปยังโรงเรียนเครือข่าย
จำนวน 2 โรงเรียนได้แก่ บ้านต้นเซะ และโรงเรียนบ้านต้น
ทุเรียน เพื่อจัดโครงการสร้างสรรค์เครือข่าย Hybrid PLC
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
โดยจัดทำคู่มือการอ่านภาษามลายู Puisi Model ในการ
จัดโครงการครัง้ นี ้ ทางสาขาวิชาได้จัดนักศึกษาชัน
้ ปี ที่3-4
เป็ นครูพเี่ ลีย
้ ง จำนวน 20 คน ในการสอนเด็กนักเรียนชัน

ประถมศึกษาปี ที่4-6 จำนวน 8 สัปดาห์ (TMT 6.1-4)
ในการลงพื้นที่ทำโครงการ Hybrid PLC ครัง้ นี ้ ทำให้
นักศึกษาได้เพิ่มประสบการณ์และเรียนรู้ทักษะที่จำเป็ นที่
ต้องใช้ในการสอนในอนาคต จากการลงไปสัมผัสกับ
โรงเรียนครัง้ นีย
้ ังได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบกิจกรรมให้
นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริงผ่านกิจกรรมต่างๆที่นักศึกษา
ได้เข้าร่วม
ทางด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ทางสาขาวิชาได้
ทำการรวบรวมหนังสือ วารสาร ต่างๆ ที่เพิ่มขึน
้ มาในห้อง
สมุดสาขา รายละเอียดดังนี(้ TMT 6.1-5)
3.1 คณะ ได้จัดทำความร่วมมือกับโรงเรียนเครือข่าย เพื่อ
การสนับสนุนให้นักศึกษาลงพื้นที่สังเกตการณ์สอนและ
สภาพแวดล้อมของโรงเรียน เช่น ด้านหลักสูตร ด้านภาระ
หน้าที่ของครู สภาพการบริหารจัดการห้องเรียน การเรียน
ร้าภาพจริงของผู้เรียน เป็ นต้น ปั จจุบัน คณะมีโรงเรียนที่
อยู่ในเครือข่าย 61 โรงที่ครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัด
ชายแดนใต้ ประกอบด้วย ปั ตตานี ยะลา นราธิวาส
สงขลาและสตูล
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจ
ของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
(หลักฐาน 6.1-3)
หลักสูตรมีระบบและกลไกการปรับปรุงตามแผนการ
ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่ง
สนับสนุนการเรียนรู้ โดยมีกระบวนการดังนี ้
1.หลักสูตรได้ดำเนินการสำรวจประเมินความพึงพอใจของ
นักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และได้นำ
ผลการประเมินปรับปรุงและพัฒนา
1. ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดสิ่งสนับสนุน
การเรียนรู้
ตารางที่ 1.1 ตารางสรุปค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อการ
จัดสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ สาขาวิชาการสอนภาษา
มลายูและเทคโนโลยีการศึกษา

ระดับ
ที่ รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย ความพึง
พอใจ

สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
1 (1) ห้องเรียนมีอุปกรณ์
4.64 มากที่สุด
เหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้
และเพียงพอต่อนักศึกษา
2 (2) ห้องปฏิบัติการมีอุปกรณ์
4.41 มาก
เหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ระดับ
ที่ รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย
ความพึง
และเพียงพอต่อนักศึกษา
3 (3) ระบบบริการสารสนเทศ
4.35 มาก
เหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้
และเพียงพอต่อนักศึกษา
4 (4) ห้องสมุดเหมาะสม เอื้อ
4.24 มาก
ต่อการเรียนรู้ และเพียงพอ
ต่อนักศึกษา
5 (5) สนามกีฬา ที่ออกกำลัง
4.35 มาก
กาย ที่นั่งอ่านหนังสือเหมาะ
สมเอื้อต่อการเรียนรู้ และ
เพียงพอต่อนักศึกษา
6 (6) หนังสือตำรา มีความ
4.35 มาก
เพียงพอและมีคุณภาพ ทัน
สมัยส่งเสริมการเรียนรู้
7 (7) สภาพแวดล้อมภายใน
4.29 มาก
ห้องเรียนโดยรวม (เช่น
ความสะอาด แสง อากาศ
ถ่านเท เป็ นต้น)
8 (8) สภาพแวดล้อมภายนอก
4.35 มาก
ห้องเรียนโดยรวม (เช่น
ความสะอาด แสง อากาศ
ถ่านเท เป็ นต้น)
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
ระดับ
ที่ รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย
ความพึง
สรุปด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
2. ความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อการ
จัดสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ตารางที่ 2.1 ตารางสรุปค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อการ
จัดสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ สาขาวิชาการสอนภาษา
มลายูและเทคโนโลยีการศึกษา

ระดับ
ที่ รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย ความพึง
พอใจ
ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
1 มีทรัพยากร เอกสาร และ
5.00 มากที่สุด
สื่อประกอบการเรียนรู้ที่
เพียงพอเหมาะสม และเอื้อ
ต่อการเรียนรู้
2 มีอาคาร ห้องเรียนที่เพียง
4.67 มากที่สุด
พอ เหมาะสม สภาพ
แวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้
3 มีการบริการคอมพิวเตอร์
4.67 มากที่สุด
และระบบอินเตอร์เน็ตเพื่อ
การสืบค้น
4 มีสถานที่สำหรับทำกิจกรรม
5.00 มากที่สุด
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง

ที่ รายการประเมิน ระดับ


ค่าเฉลี่ย
ความพึง
ของนักศึกษา
สรุปด้านสิง่ สนับสนุนการ
4.83 มากที่สุด
เรียนรู้

ตารางเปรียบเทียบผลการประเมินความพึงพอใจต่อสิ่ง
สนับสนุนการเรียนรู้ สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและ
เทคโนโลยีการศึกษา

ความพึง 2560 2561 2562


พอใจของ
นักศึกษา 4.12 4.13 4.38
คณาอาจารย์ 4.25 4.38 4.83

2 .นำผลการประเมินมาวิเคราะห์สรุปเพื่อปรับปรุงให้
สอดคล้องกับความต้องการของนักศึกษาและอาจารย์ รวม
ทัง้ สอดคล้องกับความทันสมัยต่อเทคโนโลยี
3. ผลการประเมินความพึงพอใจในด้านสิ่งอำนวยความ
สะดวกและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษา ในภาพ
รวมอยู่ในระดับ มากที่สุด
4. ผลการประเมินความพึงพอใจในด้านสิ่งอำนวยความ
สะดวกและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของอาจารย์ ในภาพ
รวมอยู่ในระดับ มากที่สุด
ระบบกลไกและผลการดำเนินงาน หลักฐาน/ตาราง
อ้างอิง
หลักสูตรมีการนำผลการประเมินและข้อเสนอแนะ
มาปรับปรุงกระบวนการและแนวทางพัฒนาด้านสิ่ง
สนับสนุนการเรียนรู้ จากการประเมินความพึงพอใจของ
นักศึกษาที่ผ่านมา พบว่า นักศึกษาต้องการให้มีระบบ
บริการสารสนเทศที่เหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้และเพียง
พอต่อนักศึกษา หลักสูตรได้พิจารณาและหาแนวทางใน
การปรับปรุงและพัฒนาเพื่อจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู่
ให้เพียงพอต่อความต้องการ และระบบบริการสารสนเทศ
เพิ่มมากยิ่งขึน

ค่าเฉลี่ยผลการประเมินตัวบ่งชี ้ 6.1
ผลการประเมินตนเองครัง้ นี ้ : คะแนน เกณฑ์ประเมิน
5.00 คะแนน
เป้ าหมายของปี นี ้ : 5.00 คะแนน ผลการดำเนินงาน 
บรรลุเป้ าหมาย
เป้ าหมายปี ต่อไป : 5.00 คะแนน

สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 6 : สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้


ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนาองค์ประกอบที่ 6

จุดเด่น
1. มีการเพิ่มสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่หลากหลายมากขึน
้ มี
โรงเรียนเครือข่ายเพื่อเป็ นสนามฝึ กการใช้ภาษาและการจัดการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนทุกชัน
้ ปี ทัง้ ในและต่างประเทศ .

โอกาสในการพัฒนา
1. จัดทำมุมหนังสือเกี่ยวกับภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา
2. เพิ่มแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ทงั ้ ในและต่างประเทศเพื่อให้ผู้
เรียนได้พัฒนาทักษะทางภาษาและศึกษารูปแบบการสอนที่
หลากหลายเพื่อเตรียมตัวเป็ นผู้สอนยุคใหม่ในอนาคต
สรุปผลการประเมิน และทิศทางการพัฒนา
ในปี การศึกษา 2562 หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขา
วิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอ
นี มีผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ ดังนี ้
ตารางที่ 1.4 ผลการประเมินรายตัวบ่งชีต
้ ามองค์ประกอบคุณภาพ
ผลการดำเนิน
คะแนน
งาน
ประเมิน
เป้ า ตัวตัง้ ผลลัพธ์
ตัวบ่งชีค
้ ุณภาพ ของ
หมาย (%
ตัว หลักสูตร...
หรือ
หาร .....
สัดส่วน)
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับให้เป็ นไปตามมาตรฐาน
ตัวบ่งชี1
้ .1 การบริหารจัดการ
หลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐาน ผ่าน
หลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ.
ตารางที่ 1.4 ผลการประเมินรายตัวบ่งชีต
้ ามองค์ประกอบคุณภาพ
ผลการดำเนิน คะแนน
งาน ประเมิน
เป้ า
ตัวบ่งชีค
้ ุณภาพ ตัวตัง้ ผลลัพธ์ ของ
หมาย
ตัว (% หลักสูตร...
หาร หรือ .....
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต สัดส่วน)
ไม่มีการประเมิน

เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
ตัวบ่งชี ้ 3.1 การรับนักศึกษา 5 [บรรลุ] 5 คะแนน
ตัวบ่งชี ้ 3.2 การส่งเสริมและ 5 คะแนน
5 [บรรลุ]
พัฒนานักศึกษา
ตัวบ่งชี ้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 5 [บรรลุ] 5 คะแนน
เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 5.00
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
ตัวบ่งชี ้ 4.1 การบริหารและ
4 4.00
พัฒนาอาจารย์
ตัวบ่งชี ้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.37
ตัวบ่งชี ้ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ 1
ร้อยละ X 100
ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ
17 6 = 17%
ปริญญาเอก
ตัวบ่งชี ้ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ 1 X 100
ร้อยละ
ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่ง = 33.33
33.33 6
ทางวิชาการ %
ตารางที่ 1.4 ผลการประเมินรายตัวบ่งชีต
้ ามองค์ประกอบคุณภาพ
ผลการดำเนิน คะแนน
งาน ประเมิน
เป้ า
ตัวบ่งชีค
้ ุณภาพ ตัวตัง้ ผลลัพธ์ ของ
หมาย
ตัว (% หลักสูตร...
หาร หรือ .....
ตัวบ่งชี ้ 4.2.3 ผลงานวิชาการของ ร้อยละ 3.4 สัXด100=
ส่วน)
อาจารย์ประจำหลักสูตร 56.66 6 56.66%
4
ตัวบ่งชี ้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4 [บรรลุ] 4
ระดับ
เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4
องคประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
ตัวบ่งชี ้ 5.1 สาระของรายวิชาใน 4
4 [บรรลุ] 4
หลักสูตร ระดับ
ตัวบ่งชี ้ 5.2 การวางระบบผู้สอน
4
และกระบวนการจัดการเรียนการ 4 [บรรลุ] 4
ระดับ
สอน
ตัวบ่งชี ้ 5.3 การประเมินผู้เรียน 4
4 [บรรลุ] 4
ระดับ
ตัวบ่งชี ้ 5.4 ผลการดำเนินงาน
4
หลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน 5 [บรรลุ] 5
ระดับ
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5
องคประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ตัวบ่งชี ้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียน 5
5 [บรรลุ] 5
รู้ ระดับ
ตารางที่ 1.4 ผลการประเมินรายตัวบ่งชีต
้ ามองค์ประกอบคุณภาพ
ผลการดำเนิน คะแนน
งาน ประเมิน
เป้ า
ตัวบ่งชีค
้ ุณภาพ ตัวตัง้ ผลลัพธ์ ของ
หมาย
ตัว (% หลักสูตร...
หาร หรือ .....
เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 สั ดส่วน)
5.00
เฉลี่ยรวมทุกองค์ประกอบ 4.65

ตารางที่ 1.5 การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร


องค์ คะแ จำน I P O คะแน ผลการประเมิน
0.01–2.00 ระดับ
คุณภาพน้อย
2.01–3.00 ระดับ
วน
ประกอ นน คุณภาพปานกลาง
ตัว นเฉลี่ย
บที่ ผ่าน 3.01–4.00 ระดับ
บ่งชี ้
คุณภาพดี
4.01–5.00 ระดับ
คุณภาพดีมาก
1 หลักสูตร ได้
มาตรฐาน
ผ่านการประเมิน ไม่ผ่านการประเมิน
ไม่ได้
มาตรฐาน
คะแนนเฉลี่ยของทุกตัวบ่งชีใ้ นองค์ประกอบที่2 -6

2 2.1 , -
- - - -
2.2
3 3.1 , 3.2 ระดับคุณภาพดี
3 - - 5
, 3.3
4 4.1,4.2, ระดับคุณภาพดี
3 4.37
4.3 มาก
5 5.2 , ระดับคุณภาพดี
4 5.1 - 4.25
5.3 , 5.4 มาก
6 ระดับคุณภาพดี
1 - 6.1 - 5
มาก
รวม ระดับคุณภาพดี
11 7 4 2 4.65
มาก
ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน ดี ดีมาก
มาก
ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผู้ประเมิน

ข้อมูลประเมิน ณ วันที่ .............................


ข้อคิดเห็นหรือสาระ ความเห็นของผู้รับผิด การนำไปดำเนินการ
จากผู้ประเมิน ชอบหลักสูตร วางแผนหรือ
ปรับปรุงหลักสูตร

สรุปการประเมินหลักสูตร
การประเมินจากผู้ที่สำเร็จการศึกษา
ข้อวิพากษ์ที่สำคัญจากผลการ ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผล
ประเมิน การประเมิน

ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมิน

การประเมินจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (ผู้ใช้บณ
ั ฑิต)
ข้อมูลประเมิน ณ วันที่ .............................
กระบวนการประเมิน
……………………………………………………………………..
ข้อวิพากษ์ที่สำคัญจากผลการ ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผล
ประเมิน การประเมิน

ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมิน

การเปลีย
่ นแปลงที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร
การเปลี่ยนแปลงภายในสถาบัน (ถ้ามี) ที่มีผลกระทบต่อหลักสูตรใน
ช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา
.............................................................................................................
................................................
.............................................................................................................
................................................
การเปลี่ยนแปลงภายนอกสถาบัน (ถ้ามี) ที่มีผลกระทบต่อหลักสูตรใน
ช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา
.............................................................................................................
................................................
.............................................................................................................
................................................

แผนการดำเนินงานเพื่อการพัฒนาหลักสูตร
ความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามแผนที่เสนอในรายงานของปี ที่

ผ่านมา

แผนดำเนิน กำหนดเวลาที่ ผู้รับผิด ความสำเร็จของแผน/


การ แล้วเสร็จ ชอบ เหตุผลที่ไม่สามารถ
ดำเนินการได้สำเร็จ

ข้อเสนอในการพัฒนาหลักสูตร
1. ข้อเสนอในการปรับโครงสร้างหลักสูตร (จำนวนหน่วยกิต
รายวิชาแกน รายวิชาเลือกฯ)

…………………………………………………………………………………………
………………………………
…………………………………………………………………………………………
………………………………
2. ข้อเสนอในการเปลี่ยนแปลงรายวิชา (การเปลีย
่ นแปลง เพิ่ม
หรือลดเนื้อหาในรายวิชา การเปลี่ยนแปลงวิธีการสอนและการ
ประเมินสัมฤทธิผลรายวิชาฯ)
…………………………………………………………………………………………
………………………………
…………………………………………………………………………………………
………………………………
3. กิจกรรมการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
…………………………………………………………………………………………
………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………

แผนปฏิบัติการใหม่สำหรับปี 2563
แบบฟอร์มแผนปฏิบัติการ ประจำปี การศึกษา 2563

หน่วยงาน สาขาวิชาการสอนภาษามลายูและเทคโนโลยีการศึกษา งบประมาณ 21,279 บาท

รายละเอียด
ระยะ
รหัส/ งบ ตัวชีว้ ัด หน่วย
เวลา
ที่ โครงกา ชื่อโครงการ/แผนงาน วัตถุประสงค์โครงการ สถานที่ ประมา โครงการ งานรับ
ดำเนิน
ร ณ ตัวชี ้ ค่าเป้ า ผิดชอบ
การ
วัด หมาย

ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 พัฒนาสู่การเป็ นผู้นำด้านวิทยาการอิสลาม

เป้ าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 1.1 มีความโดดเด่นด้านอิสลามศึกษาและการบูรณาการศาสตร์อิสลาม

กลยุทธ์
แผน
งาน
โครงกา

กลยุทธ์ ที่ 1.1 (2) ผลักดันให้อาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการในวารสารวิชาการที่มีคุณภาพ


สูงขึน
้ อย่างต่อเนื่อง

1 โครงการอบรมจัดทำ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ตลอดปี มหาวิทยาลัย 2000ผู้เข้า ร้อย สาขา


วารสารภาษามลายูยาวี ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ การ ฟาฏอนี ร่วม ละ 80 วิชาการ
และรูมี เทคนิคการจัดทำวารสารได้ ศึกษา 6 สอน
อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ 3 ภาษา
มลายู
และ
เทคโนโ
ลยีการ
ศึกษา

กลยุทธ์ ที่ 1.1 (3) พัฒนาบุคลากรและนักศึกษาให้เป็ นผู้นำด้านวิทยาการอิสลาม

สาขา
-เพื่อส่งเสริมพัฒนานักศึกษาให้มี วิชาการ
ความรู้พ้น
ื ฐานและเตรียมความ สอน
พร้อมที่จะศึกษาในสาขาวิชา ภาษา
-เพื่อส่งเสริมนักศึกษาให้มีทักษะ มลายู
โครงการ Jalinan ทางภาษา และ
Muhibbah Masa -เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสร้างและ ก.ค เทคโนโ
Depan Guru Bahasa พัฒนาสื่อ/นวัตกรรมในการจัดการ 63-ธ.ค มหาวิทยาลัย ผู้เข้า ร้อย ลยีการ
2 MELAYu เรียนการสอน 63 ฟาฏอนี 6279 ร่วม ละ 80 ศึกษา

เป้ าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 6.2 จำนวนนักศึกษาใหม่เป็ นไปตามทีกำ


่ หนด

กลยุทธ์
ที่ 6.2
(1)
พัฒนา
ระบบ
การ
แนะแนว
การ
ศึกษาต่อ
เชิงรุก

สาขา
-เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้เป็ น วิชาการ
ที่ร้จ
ู ักมากยิ่งขึน
้ สอน
-เพื่อศึกษาข้อมูลการเรียนการสอน ภาษา
ภาษามลายูโรงเรียนต่างๆ มลายู
เพื่อคัดเลือกนักอ่านบทกวีภาษา และ
โครงการ Pendidikan มลายูดเี ด่น ระดับมัธยมศึกษา ตลอดปี เทคโนโ
Bahasa dan Sastera เพื่อสร้างการเรียนรู้วัฒธรรมการ การ ผู้เข้า ร้อย ลยีการ
3 Melayu di Sekolah อ่านบทกวีภาษามลายู ศึกษา 5 จังหวัด 13,000 ร่วม ละ 80 ศึกษา

รวมงบประมาณทัง้ สิน
้ จำนวน ......3......
21279 โครงการ

You might also like