You are on page 1of 21

Practice)

ในการควบคุมป้ องกันโรคไข้เลือด
ออก
กรณีศึกษา จังหวัดชลบุรี ระยอง
ปราจีนบุรี
รศึกษาได้ข้อสรุปในภาพรวมเป็ น ๓ ประเ

๑.แนวปฏิบัติที่ดี(Good Practice) ในการ


ควบคุมป้ องกันโรคไข้เลือดออก

๒.ปั จจัยที่ทำให้การควบคุมและป้ องกันโรคไข้


เลือดออกประสบความสำเร็จ(Key Success
Factors)
๓.ปั ญหาและอุปสรรคที่พบในการดำเนินงาน
ป้ องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
๑. แนวปฏิบัติที่ดี(Good
Practice) ในการควบคุมป้ องกันโรค
ไข้เลือดออก ได้ข้อสรุปเป็ น ๒ ระยะ
a.ระยะก่อนการเกิดโรค
คือ
b.ระยะหลังการเกิดโรค
ระยะก่อนการเกิด
โรค
๑. มีการประชุมวางแผนการควบคุมโรค
ไข้เลือดออกร่วมกับท้องถิ่น เพื่อตัง้ งบ
ประมาณจัดซื้อทรายอะเบท การพ่นหมอก
ควัน และกิจกรรมการรณรงค์ต่างๆ
๒. ให้ความรู้กับท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ชาว
บ้าน เรื่อง การควบคุมป้ องกันโรคไข้เลือด
ออก และกระตุ้นให้ตระหนักถึงอันตราย
ความรุนแรงของโรค อย่างต่อเนื่อง
๓. มีการสรุปผลการดำเนินงาน
ควบคุมป้ องกันโรคไข้เลือดออก และ
ติดตามการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ
ยุงลาย และรายงานค่า HI ,CI ในเวที
การประชุม อสม.ทุกเดือน ๆ ละ ๑ ครัง้
๔. แจ้งสถานการณ์การเกิดโรคไข้
เลือดออก และรายงานค่า HI ,CI ให้
กับผู้นำชุมชน ให้ทราบทุกเดือน เพื่อให้
๕. จัดตัง้ ทีมทำงานควบคุมป้ องกันโรคไข้
เลือดออก(SRRT) ทัง้ ระดับอำเภอ ตำบล
และควรมีทีม SRRT ระดับหมู่บ้าน ซึ่ง
ประกอบด้วย ท้องถิ่น เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
๖. จั ดเตรี ย มวั ส ดุ อ ป
ุ กรณ์ สำ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และ หรั บ ใช้ ใ นการ
รณรงค์ป้องกันและควบคุ
ผู้นำชุมชน มโรคไข้ เ ลื อ ดออกให้
พร้อมเพื่อรองรับการออกปฏิบัติงานได้ทันที
ได้แก่ ทรายอะเบท เครื่องพ่นหมอกควัน
พร้อมวัสดุและน้ำยา
๗. จัดกิจกรรมรณรงค์กำจัดลูกน้ำ ได้แก่ ใส่
ทรายอะเบท ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมไม่ให้เอื้อต่อ
การเกิดลูกน้ำยุงลาย โดยเฉพาะภาชนะที่มีน้ำ
ขัง การปล่อยปลาหางนกยูง โดยความร่วมมือ
ของท้องถิ่น อสม. ผู้นำชุมชน และนักเรียน
ปี ละ ๔ ครัง้ ทุก ๓ เดือน โดยรณรงค์ทุก
๘. มีการประกวดโรงเรี
หมู่บ้านพร้อมกัยนน บ้านสะอาด
และบ้านปลอดลูกน้ำยุงลายร่วมกับท้องถิ่น
อย่างต่อเนื่องทุกปี
๙. มีการประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุง
ลาย เพื่อให้เกิดการแข่งขันกันระหว่าง
หมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง
๑๐. มีการอบรม อสม.จิ๋ว โดยการอบรม
นักเรียนให้กลับไปสำรวจและกำจัดลูกน้ำที่
บ้านตนเอง และเพื่อนบ้าน สัปดาห์ละ ๑
ครัง้ และทำรายงานส่งครูเพื่อเป็ นคะแนนใน
การเรียนการสอนในบางวิชา
๑๑. มีการพ่นหมอกควันก่อนเปิ ดภาค
เรียนที่โรงเรียน อย่างน้อยปี ละ ๒ ครัง้
๑๒. มี Call Center ที่สถานีอนามัย เพื่อ
ให้ประชาชนและ อสม.แจ้งเหตุหากพบ
ประชาชนที่สงสัยว่าอาจจะเป็ นไข้เลือดออก
เพื่อให้ทีม SRRT ออกไปดำเนินการควบคุม
โรคได้ทันท่วงที
ะยะหลังการเกิดโรค
๑. เมื่อได้รับรายงานการเกิดโรคไข้เลือด
ออก ทีม SRRT ต้องเข้าไปควบคุมโรคภายใน
๒๔ ชั่วโมง โดยมีการสอบสวนโรค และ
ดำเนินการควบคุมโรค ได้แก่ พ่นหมอกควันที่
บ้านผู้ป่วย และบริเวณละแวกบ้านในรัศมี
๑๐๐ เมตร ติดต่อกัน ๓ วัน และพ่นซ้ำอีก
ครัง้ เมื่อครบ ๗ วัน การใส่ทรายอะเบท และ
ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมบริเวณละแวกบ้านใน
รัศมี ๑๐๐ เมตรเช่นกัน
๒. มีการติดตามเฝ้ าระวังหลังจากมีการ
ดำเนินการควบคุมโรคโดย อสม.ที่รับผิดชอบ
ในละแวกบ้านที่พบผู้ป่วย
๓. หากพบประชาชนที่สงสัยว่าอาจจะเป็ น
ไข้เลือดออก ให้แจ้งทีม SRRT ออกไปดำเนิน
การสอบสวนโรค และควบคุมโรคไว้ก่อน ไม่
ต้องรอการวินิจฉัยจากแพทย์ วิธีการนีจ ้ ะช่วย
ให้เกิดควบคุมโรคได้ทันท่วงที
๒.ปั จจัยที่ทำให้การควบคุมและ
ป้ องกันโรคไข้เลือดออกประสบความ
สำเร็จ (Key Success Factors) ได้ข้อ
สรุป ดังนี ้
๑. ผู้นำชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบล
หรือเทศบาล ให้ความสำคัญกับการป้ องกัน
และควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยให้การ
สนับสนุนทัง้ ด้านงบประมาณ กำลังคนและ
๒. มีการวิ นอิจุปฉักรณ์
วัสดุ ยของแพทย์ แ่ ละรายงาน
อย่างต่อเนื อง
ผู้ป่วยจากโรงพยาบาลให้กับทีม SRRT
อย่างรวดเร็ว
๓. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตัง้ ใจปฏิบัติงาน
อย่างจริงจัง ดูแลเอาใจใส่ติดตามผู้ป่วยอย่าง
ต่อเนื่อง
๔. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมี
ความเข้มแข็งในการป้ องกันและควบคุมโรค
ไข้เลือดออก มีการเยี่ยมบ้านอย่างสม่ำเสมอ
๕. ประชาชนมีความรู้ และมีความ
ตระหนักต่อการป้ องกันโรคไข้เลือดออก
๖. ประชาชนในแต่ละบ้านมีการปรับปรุง
สิ่งแวดล้อมและกำจัดลูกลูกน้ำยุงลายอย่าง
สม่ำเสมอ ทำให้สภาพแวดล้อมไม่เอื้ออำนวย
ต่อการเกิดโรค และมีการผสมผสาน
ภูมิปัญญาชาวบ้านในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ได้แก่ การใช้ปูนแดงกินหมากใส่ตุ่มน้ำ
๗. การจัดให้มีการประกวดโรงเรียน บ้าน
สะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย และการ
ประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ร่วมกับ
ท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องทุกปี ทำให้อัตราการเกิด
๘. มีทีมโรคไข้
SRRTเลืในระดั บอำเภอลงติดตาม
อดออกลดลง
และให้การสนับสนุนการป้ องกันและควบคุม
โรคไข้เลือดออกในระดับตำบลอย่างต่อเนื่อง
๙. มีส่ อ
ื ประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย เพื่อ
กระตุ้นให้ชาวบ้านตระหนักถึงความรุนแรง
ของโรคไข้เลือดออก
๓. ปั ญหาและอุปสรรคที่พบในการ
ดำเนินงานป้ องกันและควบคุมโรค
ไข้เลือดออก ได้ข้อสรุปดังนี ้
๑.โรงพยาบาล แจ้งผลการวินิจฉัยโรคให้กับ
ทีม SRRT ล่าช้า ทำให้การควบคุมโรคไม่ทัน
ท่วงที ส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายของโรค
๒.ชาวบ้านกลัวพิษของทรายอะเบท
เนื่องจากข้างซองเขียนว่า “สารเคมี
อันตราย” จึงไม่นำไปใส่ในตุ่มน้ำ
๓. มีขีดจำกัดเรื่องงบประมาณ
๔.คนไข้ไปรักษาที่คลินิก อาการไม่ดีขน ึ้ จึง
ไปรักษาต่อโรงพยาบาล ทำให้ทราบผล
ล่าช้าส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายของโรค
๕.ประชาชนนิยมนำภาชนะต่างๆมารองรับ
น้ำช่วงหน้าฝน และไม่มีฝาปิ ด จึงเป็ นแหล่ง
เพาะพั น ธ์ ยง
ุ ลาย
๖.บ้านที่ไม่มีคนอยู่ ไม่มีคนดูแล เป็ นแหล่ง
เพาะพันธุ์ยุงลายได้
๗.บ้านที่ประชาชนออกไปทำงานนอกบ้าน
แบบไปเช้าเย็นกลับ ภาชนะที่มีน้ำขังภายใน
บ้านอาจเป็ นแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายได้ ช่วงที่มี
การรณรงค์ อสม.เข้ า ไปดู แ ลได้ แ ต่
๘.อุปกรณ์พ่นหมอกไม่เพียงพอ และไม่พร้อม ภ ายนอก
บ้ า น
ในการใช้งาน โดยเฉพาะช่วงที่มีการระบาด
๙.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงาน
ของโรค
ควบคุมป้ องกันโรคไข้เลือดออก มีภารกิจ
หลายด้าน สถานีอนามัยบางแห่งมีบุคลากรไม่
เพียงพอทำให้ขาดการติดตามเฝ้ าระวังอย่าง

You might also like