You are on page 1of 166

เฉ จ
พา ก
ะค ฟ
ู้สอ ร
รูผ
น ี
˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ภาษาไทย
หลักภาษาและการใช้ภาษา ¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÀÒÉÒä·Â
µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª qttp

คูม
่ อ
ื ครู อจท. Á.
q
ªÑé¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»Õ·Õè q
ÀÒÉÒä·Â ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ Á.

ใช้ประกอบการสอนคู่กับหนังสือเรียน

วิธีการสอนเพื่อยกผลสัมฤทธิ์
เพิ่ม ผ่านกระบวนการเรียนรู้ 5Es

ข้อสอบวัดความสามารถ

เพิ่ม
ด้านการเรียนตามแนวสอบ
O-NET ใหม่
q

ตัวอย่างข้อสอบ O-NET
เพื่อชี้แนะเนื้อหาที่เคย
เพิ่ม ออกข้อสอบ

กิจกรรมบูรณาการทักษะชีวิต

ใหม่
และการทำงานตามแนวคิด
เศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์
พร้อม การเรียนรู้สอ
ู่ าเซียน

›|}žÙ‰‘И¤x¡²| wž“Ÿ˜™Ÿ‡¡¬w˜¢Ð
ÈÃÕÇÃó ªŒÍÂËÔÃÑÞ ÀÒÊ¡Ã à¡Ô´Í‹Í¹ ‘Ý•¢•‘‘Ø›¡Ù‰‘Œ‘ÝܞيÐ

ภาพปกนีม
้ ข
ี นาดเท่ากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน
เอกสารประกอบคูมือครู
กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย
หลักภาษาและการใชภาษา
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 สําหรับครู

ลักษณะเดน คูมือครู Version ใหม


ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน
เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate Engage Explore Explain Expand Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

สมรรถนะของผูเรียน

คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า หน า
โซน 1 หนั ง สื อ เรี ย น หนั ง สื อ เรี ย น โซน 1
กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด


แนว  NT  O-NE T แนว O-NET เกร็ดแนะครู

ขอสอบ O-NET
นักเรียนควรรู
บูรณาการเชื่อมสาระ
โซน 2 โซน 3 โซน 3 โซน 2
กิจกรรมสรางเสริม บูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมทาทาย
บูรณาการอาเซียน

มุม IT

No. คูมือครู คูมือครู No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน


เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย
การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ
การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม
เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด กิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง และ กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ
มุม IT O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด
พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด
แถบสีและสัญลักษณ ที่ใชในคูมือครู

1. แถบสี 5Es แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม


แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด
สีแดง สีเขียว สีสม สีฟา สีมวง

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล


Engage Explore Explain Expand Evaluate
เสร�ม
2 • เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช • เปนขั้นที่ผูสอน • เปนขั้นที่ผูสอน • เปนขั้นที่ผูสอน • เปนขั้นที่ผูสอน
เทคนิคกระตุน ใหผูเรียนสํารวจ ใหผูเรียนคนหา ใหผูเรียนนําความรู ประเมินมโนทัศน
ความสนใจ เพื่อโยง ปญหา และศึกษา คําตอบ จนเกิดความรู ไปคิดคนตอๆ ไป ของผูเรียน
เขาสูบทเรียน ขอมูล เชิงประจักษ

2. สัญลักษณ
สัญลักษณ วัตถุประสงค สัญลักษณ วัตถุประสงค

• แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน • ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ


ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ
ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น ขอสอบ O-NET O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ
พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ
เปาหมายการเรียนรู กับนักเรียน อยางละเอียด
(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET)
• แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน • เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน
ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ขอสอบเนน การคิด การคิดและเปนแนวขอสอบ
ตามตัวชี้วัด แนว  NT  O-NE T
หลักฐานแสดง NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา
ผลการเรียนรู ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย
(เฉพาะระดับชัน้
มัธยมศึกษาตอนตน) พรอมเฉลยอยางละเอียด
• แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ
ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด • เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน
กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ ขอสอบเนน การคิด การคิดและเปนแนวขอสอบ
เกร็ดแนะครู จัดการเรียนการสอน แนว O-NET O-NET ในระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย
(เฉพาะระดับชัน้
• ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให มัธยมศึกษาตอนปลาย)
พรอมเฉลยอยางละเอียด
ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน
ไดมีความรูมากขึ้น • แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม
นักเรียนควรรู
เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ
บูรณาการเชื่อมสาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่
• กิจกรรมเสริมสรางพฤติกรรมและปลูกฝง ทีเ่ กีย่ วของ
คานิยมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียง
• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม
• ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช กิจกรรมสรางเสริม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร
เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู
ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย
บูรณาการอาเซียน บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน
• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม
ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู
• แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให
กิจกรรมทาทาย ไดอยางรวดเร็ว และตองการ
ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ทาทายความสามารถในระดับ
ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ ทีส่ งู ขึน้
มุม IT

คูม อื ครู
5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es
ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ
วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย
ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้
ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage)
เสร�ม
เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ
และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ 3
สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง
แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore)


เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง
วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน
ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ
เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain)


เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล
ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน
เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห
อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand)


เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ
การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง
กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน
ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี
คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)


เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ
ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ
สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ
มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ
และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน


เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ
ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ
เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2
(พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ

คูม อื ครู
คําอธิบายรายวิชา
รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1-2
รหัสวิชา ท………………………………… เวลา 60 ชั่วโมง/ป

ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด การวิเคราะห และประเมินคาวรรณคดี


เสร�ม วรรณกรรม โดยศึกษาเกีย่ วกับการอานออกเสียง การอานในชีวติ ประจําวัน ฝกทักษะการคัดลายมือ การเขียน
4 บรรยายและพรรณนา การเขียนเรียงความ การเขียนยอความ การเขียนจดหมายกิจธุระ การเขียนแสดง
ความคิดเห็น วิเคราะหวิจารณ หรือโตแยงจากสื่อตางๆ เขียนรายงานการศึกษาคนควา การเขียนรายงาน
โครงงาน ฝกทักษะการพูดสรุปใจความสําคัญ การพูดวิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็นเรื่องที่ฟงและดู
อยางมีเหตุผล เพือ่ นําขอคิดมาประยุกตใชในการดําเนินชีวติ การพูดในโอกาสตางๆ การพูดรายงานการศึกษา
คนควา โดยคํานึงถึงมารยาทที่เหมาะสม และศึกษาเกี่ยวกับลักษณะการสรางคําในภาษาไทย การวิเคราะห
โครงสรางของประโยค การใชคาํ ราชาศัพท การจําแนกคําทีย่ มื มาจากภาษาตางประเทศ การแตงบทรอยกรอง
ประเภทกลอนสุภาพ
วิเคราะห วิถไี ทย ประเมินคา ความรูแ ละขอคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก ศิลาจารึกหลักที่ 1 บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน
นารายณปราบนนทก กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา นิราศเมืองแกลง ทองจําบทอาขยานที่กําหนดและ
บทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ
โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต
กระบวนการเขียนเขียนสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟง
และดู และพูดแสดงความรู ความคิด อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค เพื่อใหเขาใจธรรมชาติภาษาและ
หลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปญญาทางภาษา วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและ
วรรณกรรมอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ และมีนิสัย
รักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด

ตัวชี้วัด
ท 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8
ท 2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8
ท 3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6
ท 4.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
รวม 27 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย
หลักภาษาและการใชภาษา ม.๒
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง
นางฟองจันทร สุขยิ่ง
นางกัลยา สหชาติโกสีย
นางสาวศรีวรรณ ชอยหิรัญ
นายภาสกร เกิดออน
นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ
ผูตรวจ
นางประนอม พงษเผือก
นางจินตนา วีรเกียรติสุนทร
นางวรวรรณ คงมานุสรณ
บรรณาธิการ
นายเอกรินทร สี่มหาศาล

รหัสสินคา ๒๒๑๑๐๐๙

¾ÔÁ¾¤ÃÑ駷Õè 9 คณะผูจัดทําคูมือครู
ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 2241016 ประนอม พงษเผือก
พิมพรรณ เพ็ญศิริ
สมปอง ประทีปชวง
เกศรินทร หาญดํารงครักษ
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย
หลักภาษาและการใชภาษา ม.๒
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

หนังสือเลมนี้ไดรับการคุมครองตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ หามมิใหผูใด ทําซํ้า คัดลอก เลียนแบบ ทําสําเนา จําลองงานจากตนฉบับหรือแปลงเปนรูปแบบอื่น


ตือน

ในวิธีตางๆ ทุกวิธี ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน โดยมิไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์ถือเปนการละเมิด ผูกระทําจะตองรับผิดทั้งทางแพงและทางอาญา


คําเ

พิมพครั้งที่ ๑๑๑
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
ISBN : 978-616-203-588-3
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹
หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษาเลมนี้ เปนสื่อสําหรับใชประกอบการเรียน
การสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒
เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ
ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา
สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให
ผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ
ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹ ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº ໚¹àÃ×Íè §¹‹ÒÃÙàŒ ¾ÔÁè àµÔÁ
Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ¨Ò¡à¹×éÍËÒÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

๓.๓) หมวดอวัยวะ เช่น บอกเล่าเก้าสิบ



ค�ำรำชำศัพท์ ค�ำสำมัญ
ค�ำรำชำศัพท์ ค�ำสำมัญ
พระทนต์ ฟัน
ปำก ศาสตราจารย์ (พิเศษ) พลตรี หม่
พระโอษฐ์ หน้ำผำก อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
คิ้ว พระนลำฏ
พระขนง, พระภมู เท้ำ
ขำ, ตัก พระบำท ศาสตราจารย์ (พิเศษ) พลตรี
พระเพลำ ลิ้น หม่อมราชวงศ์
จมูก พระชิวหำ คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิดเมือ่ วันที่ ๒๐
พระนำสิก, พระนำสำ คอ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๔
หัว พระศอ เป็นโอรสสุดท้องของพลโท พระวรวง
พระเศียร มือ ศ์เธอ พระองคเ์ จ้า
หู, ใบหู พระหัตถ์ ค�ารบกับหม่อมแดง (บุนนาค)
พระกรรณ เข่ำ
ปราโมช ณ อยุธยา
รักแร้ พระชำนุ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์จบการศึก
พระกัจฉะ ษาระดับมัธยมจาก
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ก่
อนจะไปศึก
๓.๔) หมวดค�ากริยา เช่น ประเทศอังกฤษ จนจบการศึกษาระดั ษาต่อที่
ค�ำสำมัญ บปริญญาตรี
ค�ำสำมัญ ค�ำรำชำศัพท์ ในสาขาปรัชญา การเมืองและเศร
ค�ำรำชำศัพท์
ยืน
ษฐศาสตร์ ที่ควีนส์
นั่ง, อยู่ ทรงยืน คอลเลจ มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์
ประทับ ด ได้รับปริญญาตรี
เสวย กิน เกียรตินิยม
ทรงถำม, ตรัสถำม ถำม
ตรัส พูด ศาสตราจารย์ (พิเศษ) พลตรี
ทอดพระเนตร ดู
หัวเรำะ
หม่อมราชวงศ์
ทรงพระสรวล คึกฤทธิ์ ปราโมช ถือได้ว่าเป็นปู
ทรงช้ำง ขี่ช้ำง นักปราชญ์คนหนึ่งของประเทศไทย ชนียบุคคลและเป็น
ทรงพระอักษร อ่ำนหนังสือ มีผลงานหลายด้านที่มีชื่อเสียงและโดด
สั่ง

ó
รับสั่ง การเมือง เคยด�ารงต�าแหน่งนายกรั เด่น ได้แก่ ทางด้าน
ช�ำระพระหัตถ์ ล้ำงมือ ฐมนตรี ใน พ.ศ. ๒๕๑๘ - ๒๕๑๙
ทรงพระด�ำเนิน เดิน เริม่ ต้นงานเขียนอย่างจริงจัง เมือ่ ก่ ทางด้านงานเขียนท่านได้
ชอบ, รัก, เอ็นดู อตัง้ หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ใน พ.ศ.
ให้ โปรด เจ้าของ ผู้อ�านวยการ และนักเขี ๒๔๙๓ โดยท่านด�ารงต�าแหน่ง
หน่วยที่ พระรำชทำน
หนังสือพิมพ์สยามรัฐเป็นประจ�า
ยนประจ�า งานเขียนของท่านหลายเ
รื่องได้รับการตีพิมพ์ลงใน
๓.๕) หมวดเครื่องอุปโภค เช่น ผลงานเขียนซึ่งได้รับความนิยมมาจนถ

กำรแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน ค�ำรำชำศัพท์ ค�ำสำมัญ ค�ำรำชำศัพท์ ค�ำสำมัญ
เช่น สี่แผ่นดิน หลายชีวิต โครงกระ
ได้รับเลือกให้เป็นบทเรียนในวิชาภาษาไท
ดูกในตู้ กาเหว่าที่บางเพลง และมอม
ึงปัจจุบันมีหลายเรื่อง
ซึ่งเป็นเรื่องสั้นที่เคย
ตัวชี้วัด หมวก ยระดับมัธยมศึกษา
ร รองเท้ำ พระมำลำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
อยกรองประเภทกลอน เปน ฉลองพระบำท แหวน ถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบด้วยโรคชรา
ท ๔.๑ ม.๒/๓
ร อ ยกรองที่ นั บ ได ว  า แพร ห ลายที่ ส ก�ำไล พระธ�ำมรงค์ ๕ เดือน ส�าหรับเกียรติคุณที่ท่านได้ สิริอายุได้ ๘๔ ปี
แตงบทรอยกรอง ุด ทองพระกร กระโถนเล็ก รับ ใน พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้รับการยกย

และเชื่ อ กั น ว า เป น ของไทยแท  ๆ ไม กระโถนใหญ่ พระสุพรรณศรี สาขาวรรณศิลป์ ่องเป็นศิลปินแห่งชาติ


ไ ด พระสุพรรณรำช คนโทน�้ำ
ดัดแปลงจากคําประพันธของชนชาติ
อื่น พรมทำงเดิน พระตะพำบ, พระเต้ำ พ.ศ. ๒๕๔๒ องค์การยูเนสโกได้
สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง คําประพันธประเภทกลอนแตงกันมาตั ลำดพระบำท หมอนหนุน ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็
ง้ แต เก้ำอี้ พระเขนย ใน ๔ สาขา ได้แก่ การศึกษา วัฒ นบุคคลส�าคัญของโลก
สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยแพรหลายและเฟ พระเก้ำอี้ ม่ำน นธรรม สังคมศาสตร์ และสื่อสารมวล
■ แตงบทรอยกรองประเภทกลอน
ในรัชสมัยพระเจาอยูหัวบรมโกศ ดั
อ งฟู
ที่นอน พระวิสูตร ชน
งเห็นได พระรำชบรรจถรณ์ กำงเกง
จากวรรณคดีทแี่ ตงเปนกลอน เชน บทละคร เครือ่ งแต่งกำย พระสนับเพลำ
เรื่องอิเหนาและดาหลัง เพลงยาวเจา ฉลองพระองค์ (เกร็ดชีวิตคึกฤทธิ์ ปราโมช: สยามรั
ฐ)
ฟากุง
133 20
138
132

139

¹íÒàʹÍà¹×éÍËÒã¹ÃٻẺµÒÃÒ§
µÑÇÍ‹ҧẺ½ƒ¡à¾×Íè ãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ à¾×èÍãËŒ§‹Òµ‹Í¡Ò÷íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨
㹡Òþٴ Í‹Ò¹ áÅÐà¢Õ¹ ËÇÁ¡Ñ¹¨¹à¡Ô´ áÅÐà¡Ô´¤ÇÒÁ¤Ô´ÃǺÂÍ´
¤ÇÒÁªíÒ¹ÒÞã¹·Ñ¡ÉÐ ¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä
¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙàŒ ¾×Íè ¾Ñ²¹Ò¼ÙàŒ ÃÕ¹ãËŒÁ¤Õ ³
Ø ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕÇé ´Ñ
• ความรู้สึกของผู้เขียน คือ การพิจารณาอารมณ์ ความรู้ส
เช่น รู้สึกสลดใจ รู้สึกสะเทือนใจ เป็นต้น
๔) พิจารณาการเรียงล�าดับเหตุการณ์ คือ การพิจารณาวิ
ึกของผู้เขียนที่สื่อสารมาสู่ผู้อ่าน

ธีที่ผู้เขียนใช้ล�าดับเหตุการณ์
ล�าดับการเกิดก่อน - หลัง เป็นต้น
ตอนที่ ñ การพัฒนาทักษะการอาน
หรือเนื้อหาภายในเรื่อง เช่น จากเหตุไปหาผล ผลไปหาเหตุ ค�ำถำม
ยนใช้ภาษาเหมาะสมกบั ประเภท ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
๕) พิจารณาการใช้สา� นวนภาษา คือ การพิจารณาว่าผูเ้ ขี
อไม่ เป็นต้น
ของงานเขียน ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ สื่อความชัดเจนหรื
๑. การเขียนย่อความ การเขียนบรรยาย และการเขียนพรรณนา มีประโยชน์อย่างไร
๒.๔ ตัวอย่างการอ่านเพือ่ วิเคราะห์ ๒. การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน มีหลักการเขียนอย่างไร
๓. การเขียนจดหมายกิจธุระสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้อย่างไร
บทความสÓหรับการอ่านเพื่อวิเคราะห์ ๔. การเขียนวิเคราะห์มีหลักการเขียนอย่างไร
๕. การเขียนแสดงความคิดเห็นและการเขียนโต้แย้ง มีลักษณะการเขียนเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ธุรกิจฮาลาล...ตลาดใหญ่ในอาเซียน
ญญัติอนุมัติให้ชาวมุสลิมที่อยู่ใน
ฮาลาล (Halal) เป็นค�าที่มาจากภาษาอาหรับ คือ กฎบั
ัติให้ เช่น
ศาสนนิต ิ ภ าวะกระท� า ได้ อั น ได้แก่ การนึกคิด วาจา และการกระท�าที่ศาสนาได้อนุม
งถู ก ต้ อ ง การค้ า ขายโดยสุ จริตวิธี การสมรสกับสตรีตาม
การรับประทานเนื้อปศุสัตว์ที่ได้เชือดอย่า
อาหารที่ได้ผ่านกรรมวิธีในการท�า ผสม
กฎเกณฑ์ที่ได้ระบุไว้ เป็นต้น ในส่วน “อาหารฮาลาล” คือ
นการรับประกันว่าชาวมุสลิมโดยทั่วไป
ปรุง ประกอบ หรือแปรสภาพตามศาสนบัญญัตินั่นเอง เป็
ทใจ เราสามารถสังเกตผลิตภัณฑ์
สามารถบริโภคหรืออุปโภคสินค้าหรือบริการต่างๆ ได้โดยสนิ
ที่ข้างบรรจุภัณฑ์นั้นเป็นส�าคัญ
ว่าเป็น “ฮาลาล” หรือไม่นั้น ได้จากการประทับตรา “ฮาลาล” กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้
ลามให้มสุ ลิมบริโภคหรือใช้ประโยชน์ได้
นอกจากอาหาร ผลิตภัณฑ์ซงึ่ อนุมตั ติ ามบัญญัตศิ าสนาอิส
นว่า ข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจ�าวัน
ผลิตภัณฑ์ฮาลาลยังครอบคลุมถึงสินค้าหลายชนิด เป็นต้ กิจกรรมที่ ๑ ให้นักเรียนเขียนเรียงความสั้นๆ ความยาวประมาณ ๑ หน้า กระดาษ A4
เป็นต้น นอกจากนี้ ผู้บริโภค
ตลอดจนงานบริการ เช่น ธนาคาร โรงพยาบาล และการโรงแรม เกี่ยวกับข้อคิด คติธรรม และคุณธรรม เช่น ความกตัญญู ความสามัคคี
่วไปก็เป็นกลุ่มลูกค้าผลิตภัณฑ์ฮาลาล
สินค้าฮาลาลไม่ได้จ�ากัดเฉพาะชาวมุสลิมเท่านั้น ผู้บริโภคทั ความมีวินัย เป็นต้น แล้วน�าเสนอหน้าชั้นเรียน
นฮาลาลหมายความว่า นั่นคือสินค้า
เพราะปัจจุบันสินค้าหรือบริการที่ได้รับตรารับรองความเป็ กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มร่วมกันจัดท�ารายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่
ภาษาไทยไทยบูชิตสมคุณคา
ที่เชื่อถือได้ด้านสุขอนามัยและมีประโยชน์ต่อร่างกาย ภาษาไทยไทยรักสลักจิต สมาชิกในกลุ่มสนใจ เช่น ค�ายืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ภาษาไทยมรดกตกทอดมา ชนชาติไทยรักษาใหยืนยง การปลูกพืชสวนครัวในโรงเรียน โดยเรียบเรียงตามหลักการเขียน
ทัง้ ในทวีปยุโรป อเมริกา แอฟริกา
ปัจจุบนั จ�านวนชาวมุสลิมทัว่ โลกมีประมาณ ๒ พันล้านคน ภาษาไทยไดมาแตบรรพบุรุษ ภาษาไทยพิสุทธิ์ใหสูงสง และน�าเสนอเป็นรูปเล่มส่งครูผู้สอน
มทั่วโลกเพิ่มขึ้นเป็น ๒.๒ พันล้านคน ใหถูกตองยอมมั่นคงคูชาติไทย
และเอเชีย โดยคาดว่าภายในปี ๒๐๓๐ จะมีจ�านวนมุสลิ ภาษาไทยชาวไทยใฝจํานง กิจกรรมที่ ๓ ให้นักเรียนเลือกบทความ สารคดี หรือบทเพลงที่ชื่นชอบ คนละ ๑ เรื่อง

จ� นวนมหาศาลน ้ ี า
ท� ต
ให้ ลาดสิ นค้าฮาลาลทัง้ ทีเ่ ป็นอาหารและ
ซึง่ จากจ�านวนประชากรชาวมุสลิม (แดภาษาไทย : ฐะปะนีย นาครทรรพ) น�ามาเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ หรือแสดงความคิดเห็นตามหลักการ
ดครองนั่นเอง
ไม่ใช่อาหาร กลายเป็นตลาดเนื้อหอมที่หลายประเทศจ้องยึ แล้วน�าเสนอหน้าชั้นเรียน

29

28

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ 76

µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

สารบัญ
ตอนที่ ๑ การพัฒนาทักษะการอาน ๑
หนวยการเรียนรูที่ ๑ การอานออกเสียง ๒
● ความรูพื้นฐานในการอาน ๓
● การอานออกเสียงบทรอยแกว ๖
● การอานออกเสียงรอยกรอง ๑๒
หนวยการเรียนรูที่ ๒ การอานในชีวิตประจําวัน ๒๒
● การอานเพื่อจับใจความสําคัญ ๒๓
● การอานเพื่อวิเคราะห ๒๘
● การอานเพื่อประเมินคา ๓๑
ตอนที่ ๒ การพัฒนาทักษะการเขียน ๓๕
หนวยการเรียนรูที่ ๑ การคัดลายมือ ๓๖
● ความสําคัญของลายมือ ๓๗
● ประโยชนของการคัดลายมือ ๓๗
● หลักการคัดลายมือ ๓๗
● รูปแบบตัวอักษร ๓๙
หนวยการเรียนรูที่ ๒ การเขียนเพื่อการสื่อสาร ๔๓
● ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการเขียน ๔๔
● การใชคําในการเขียน ๔๖
● การเขียนบรรยาย ๔๙
● การเขียนพรรณนา ๕๑
● การเขียนเรียงความ ๕๔
● การเขียนยอความ ๕๙
● การเขียนจดหมายกิจธุระ ๖๑
● การเขียนรายงานการศึกษาคนควา ๖๔
● การเขียนรายงานโครงงาน ๖๗
● การเขียนวิเคราะหวิจารณ ๖๘
● การเขียนแสดงความรู ๗๐
● การเขียนแสดงความคิดเห็น ๗๓
● การเขียนโตแยง ๗๔
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

ตอนที่ ๓ การพัฒนาทักษะการฟง การดู และการพูด ๗๗


หนวยการเรียนรูที่ ๑ หลักการฟงและการดูสื่อ ๗๘
● ความรูพื้นฐานในการฟงและดูสื่อ ๗๙
● สื่อในชีวิตประจําวัน ๘๑
● หลักการฟงและการดูสื่ออยางมีประสิทธิภาพ ๘๓
หนวยการเรียนรูที่ ๒ การพูดสรุปความจากสื่อที่ฟงและดู ๘๘
● ความรูพื้นฐานในการพูด ๘๙
● หลักการพูดสรุปความจากสื่อ ๙๐
● การพูดวิเคราะหวิจารณจากสื่อที่ฟงและดู ๙๒
หนวยการเรียนรูที่ ๓ การพูดในโอกาสตางๆ และการพูดรายงาน ๙๕
● การพูดในโอกาสตางๆ ๙๖
● การพูดรายงานการศึกษาคนควา ๑๐๑
ตอนที่ ๔ หลักการใชภาษา ๑๐๕
หนวยการเรียนรูที่ ๑ การสรางคําและประโยค ๑๐๖
● การสรางคํา ๑๐๗
● คําภาษาตางประเทศในภาษาไทย ๑๑๕
● ประโยคในภาษาไทย ๑๒๑
หนวยการเรียนรูที่ ๒ คําราชาศัพท ๑๒๙
● ที่มาของคําราชาศัพท ๑๓๐
● ประโยชนของการเรียนคําราชาศัพท ๑๓๐
● คําราชาศัพทสําหรับบุคคลตางๆ ๑๓๑
หนวยการเรียนรูที่ ๓ การแตงบทรอยกรองประเภทกลอน ๑๓๘
● ลักษณะของกลอน ๑๓๙
● การแตงกลอนสุภาพ ๑๓๙
บรรณานุกรม ๑๔๖
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage

ตอนที่ ñ กำรพัฒนำทักษะกำรอ่ำน 1. ครูนําเขาสูกระบวนการเรียนการสอน โดย


การตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันแสดง
ความคิดเห็น
• นักเรียนคิดวาการอานมีความสําคัญตอชีวิต
ประจําวันอยางไร
(แนวตอบ การอานเปนเครื่องมือสําหรับ
การแสวงหาความรู และความบันเทิง ทําให
เปนบุคคลที่มีความรอบรู มีทักษะการคิด
ความสามารถในการแกไขปญหา มีมุมมอง
ตอโลกและชีวิต การเปดหนาหนังสือจึง
เปรียบเสมือนการเปดหนาตางของชีวิต
ใหพบเห็นและเรียนรูสิ่งตางๆ ผานตัวอักษร)
2. นักเรียนอานบทประพันธที่ปรากฏในหนาตอน
ที่ 1 รวมกันถอดความเปนรอยแกว และแสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณคาหรือขอคิดที่ไดรับ
(แนวตอบ ภาษาไทยเปนสิ่งที่มีคุณคา เปนมรดก
ทางวัฒนธรรมไทยที่ตกทอดจากรุนสูรุน
จึงสมควรที่ลูกหลานชาวไทยจะรักษาใหคงอยู
ตอไป ดวยการใชใหถูกตอง)

ภาษาไทยไทยรักสลักจิต ภาษาไทยไทยบูชิตสมคุณคา
ภาษาไทยมรดกตกทอดมา ชนชาติไทยรักษาใหยืนยง
ภาษาไทยไดมาแตบรรพบุรุษ ภาษาไทยพิสุทธิ์และสูงสง
ภาษาไทยชาวไทยใฝจํานง ใชถูกตองยอมมั่นคงคูชาติไทย
(แด่ภาษาไทย: ฐะปะนีย์ นาครทรรพ)

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในตอนที่ 1 การพัฒนาทักษะการอาน เปาหมายสําคัญคือ
นักเรียนสามารถนําความรู ความเขาใจเกี่ยวกับแนวทางการอานไปปรับใชกับ
การอานในชีวิตประจําวันของตนเองใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให
การอานในแตละครั้งเกิดประโยชนอยางแทจริง
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรเห็นความสําคัญของการอานและสราง
เจตคติที่ดีตอการอานใหแกนักเรียน ชี้แนะใหเห็นวา การอานเปนการแสวงหาความรู
กาวออกไปสูโลกกวางโดยไมเสียคาใชจายที่สิ้นเปลือง เมื่อนักเรียนเกิดความรูสึก
ในเชิงบวกกับการอาน จึงใชวิธีใหนักเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนการสอน
เปนผูสืบคนองคความรูดวยตนเอง เรียนรูแนวทางการปฏิบัติ รวมกันอธิบายความรู
ความเขาใจผานขอคําถามของครู จนสามารถนําแนวทางไปปฏิบัติไดจริง โดยอาน
งานเขียนจากสื่อที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาทักษะการอานของตนเอง

คู่มือครู 1
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. อธิบายความหมายของการอานออกเสียง
และการอานในใจไดถูกตอง
2. อานออกเสียงรอยแกวและรอยกรองไดถูกตอง
ตามอักขรวิธี มีความไพเราะเหมาะสมกับ
ทวงทํานอง
3. ระบุและปฏิบัติมารยาทในการอานไดถูกตอง
เหมาะสมกับสถานการณ

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. มีวินัย
2. ใฝเรียนรู
3. มุงมัน่ ในการทํางาน

หนวยที่ ñ
กระตุน้ ความสนใจ Engage กำรอ่ำนออกเสียง
ครูชวนนักเรียนสนทนาในประเด็นการอาน
ออกเสียง จากนั้นตั้งคําถามกับนักเรียนวา
ตัวชี้วัด ก ารอานออกเสียงเปนการอาน
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ๘ เพื่ อ ให ผู  ฟ  ง เกิ ด ความรู  ความคิ ด
• การอานออกเสียงใหถูกวิธีมีประโยชนตอชีวิต ■ อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง ความรูส กึ และจินตนาการรวมกับผูอ า น
ประจําวันของนักเรียนอยางไร ■ มีมารยาทในการอาน การอานออกเสียงเปนทักษะที่ตองไดรับ
(แนวตอบ ทําใหเปนผูที่มีบุคลิกภาพดี การฝก ฝนใหอ อกเสีย งอักขระไดชัดเจน
สาระการเรียนรูแกนกลาง ถู ก ต อ ง ใช นํ้ า เสี ย ง จั ง หวะ และลี ล าให
มีความมั่นใจในตนเอง อีกทั้งยังเปนที่ ■ การอานออกเสียง สอดคลองกับเรือ่ งทีอ่ า น การฝกอานรอยแกว
นาเชื่อถือในสายตาของผูอื่นที่มีโอกาส - บทรอยแกวที่เปนบทบรรยายและบทพรรณนา
- บทรอยกรอง เชน กลอนบทละคร กลอนเพลงยาว ทีเ่ ปนบทบรรยาย บทพรรณนา รวมทัง้ การอาน
ไดรับฟง) กลอนนิทาน และกาพยหอโคลง บทร อ ยกรองประเภทต า งๆ จะช ว ยพั ฒ นา
มารยาทในการอาน ทักษะการอานไดเปนอยางดี
• หากนักเรียนตองการเปนผูที่มีความสามารถ

ในการอานออกเสียง ควรปฏิบัติตน อยางไร


(แนวตอบ ฝกอานออกเสียงตามอักขรวิธที ถี่ กู ตอง 2
แสวงหาความรูจากแหลงการเรียนรูตางๆ
รวมทั้งเลือกอานหนังสือที่ดี มีประโยชน)

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู การอานออกเสียง เปาหมายสําคัญคือ
นักเรียนสามารถอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรองได โดยคํานึงถึงอักขรวิธี
การเวนวรรคตอน การออกเสียงใหถกู ตองตามฉันทลักษณของบทรอยกรอง ใชนาํ้ เสียง
ไดเหมาะสมกับเนื้อหาสาระที่อาน รวมถึงการวางทาทางขณะอานไดเหมาะสม
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรจัดกระบวนการเรียนการสอนภายใน
ชั้นเรียน โดยมุงเนนใหนักเรียนไดฝกฝนทักษะการอานออกเสียง จนกระทั่งเกิดความ
ชํานาญ เริ่มจากการฝกเปนกลุมแลวขยายผลไปสูการฝกเปนรายบุคคล โดยคํานึงถึง
ความแตกตางระหวางบุคคล บุคลิกภาพขณะอาน อัตราความเร็วขณะที่อาน
การแบงวรรคตอน ทวงทํานอง ลีลา และนํ้าเสียง สังเกตพฤติกรรม แลวชี้แนะให
ปรับปรุง แกไขเปนรายบุคคล จะชวยพัฒนาทักษะการอานออกเสียงใหมีประสิทธิภาพ
รวมถึงรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมินการอานออกเสียง
การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยฝกทักษะการอาน ทักษะการตั้งเกณฑ
และทักษะการประเมินใหแกนักเรียนนําไปประยุกตใชตอไปในอนาคต

2 คู่มือครู
ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expand Evaluate
ส�ารวจค้นหา Explore
แบงกลุมนักเรียนจํานวน 5-6 คน หรือตาม
๑ ความรู้พื้น°านในการอ่าน ความเหมาะสม ใหไดจํานวน 8 กลุม จากนั้น
การอ่านออกเสียงเป็นวิธีการสื่อสารประเภทหนึ่ง ที่ช่วยให้ผู้อ่านและผู้ฟังได้รับความรู้ รวมกันลงมติเลือกประธานกลุมเพื่อกําหนดทิศทาง
การคนหาความรูและเลขานุการกลุม ทําหนาที่
ประสบการณ์ และความเพลิดเพลิน เมื่อจะอ่านให้ผู้อื่นฟังผู้อ่านควรอ่านให้น่าฟัง หมายถึง ท�าให้ผู้ฟัง
จดบันทึกความรู ซึ่งแตละกลุมจะตองรวมกัน
ได้รับสารจากบทอ่านถูกต้องและครบถ้วน ผู้อ่านต้องออกเสียงให้ถูกอักขรวิธี แบ่งวรรคตอนถูกต้อง
คนหาความรูในประเด็นตอไปนี้
เหมาะสม และอ่านสอดแทรกอารมณ์ได้สอดคล้องกับบทที่อ่าน ดังนั้น ก่อนอ่านออกเสียงผู้อ่านควรฝึก • ความหมายของการอาน
ทักษะการอ่านและท�าความเข้าใจสารในบทอ่านให้ชัดเจน • ความสําคัญของการอาน
• องคประกอบพื้นฐานในการฝกอานออกเสียง
๑.๑ ความหมาย
1 • มารยาทในการอาน
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๕๔ ให้ความหมายของค�าว่า “อ่าน” หมายถึง สมาชิกทุกคนภายในกลุมตองมีสวนรวมในการ
ว่าตามตัวหนังสือ สืบคนความรูจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เขาถึงได
การอ่านเป็นทักษะที่ส�าคัญและเป็นประโยชน์ต่อชีวิตประจ�าวัน เพราะท�าให้ได้รับทราบข้อมูล และมีความนาเชื่อถือ
ข่าวสาร และความรูส้ กึ นึกคิดของผูอ้ นื่ การอ่านแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสียง
การอ่านในใจ เป็นการอ่านเพื่อท�าความเข้าใจสัญลักษณ์ที่มีผู้บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร อธิบายความรู้ Explain
รูปภาพ และเครื่องหมายต่างๆ จากการคนควารวมกันของนักเรียน ใหแตละ
การอ่านออกเสียง เป็นการเปล่งเสียงตามตัวอักษรและสัญลักษณ์ต่างๆ เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจ กลุมจับคูกลุมใหเหลือ 4 กลุมใหญ สรุปความรู
ความหมาย ซึ่งอาจมีจุดมุ่งหมายต่างกัน เช่น อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน อ่านเพื่อเร้าให้เกิดอารมณ์ รวมกันอีกครัง้ เปนเวลา 10 นาที ครูทาํ สลากจํานวน
2
ความรู้สึกสะเทือนใจ อ่านเพื่อจุดมุ่งหมายเฉพาะ เช่น อ่านประกาศ อ่านแถลงการณ์ อ่านเพื่อความรู้ 4 ใบ โดยเขียนหมายเลข 1-4 พรอมระบุขอ ความ
อ่านเพื่อถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร ในแตละหมายเลข แตละกลุม สงตัวแทนออกมา
จับสลากประเด็นสําหรับการอธิบายความรู
๑.๒ องค์ประกอบพืน้ ฐานในการฝึกอ่านออกเสียง หนาชั้นเรียน ดังนี้
ประสิทธิภาพในการอ่านออกเสียง ขึ้นอยู่กับปัจจัยพื้นฐานที่ส�าคัญหลายประการ ดังนี้ หมายเลข 1 ความหมายของการอาน
๑) ฝึกใช้สายตา โดยใช้สายตากวาดตามข้อความแต่ละช่วง จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง หมายเลข 2 ความสําคัญของการอาน
จากค�าต้นวรรคไปยังค�าท้ายวรรคเพื่อรับทราบข้อมูลที่จะอ่านอย่างมีสมาธิ หมายเลข 3 องคประกอบพื้นฐานในการฝก
๒) ฝึกใช้เสียง เสียงต้องชัดเจน แจ่มใส ไพเราะ มีน�้าหนัก ดังพอประมาณให้ได้ยินทั่วถึงกัน อานออกเสียง
หมายเลข 4 มารยาทในการอาน
ใช้เสียงหนักเบาเพื่อเน้นความส�าคัญของข้อความให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่อง
๓) ฝึกการใช้อารมณ์ ควรศึกษาบทอ่านล่วงหน้าให้เข้าใจ เพื่อฝึกอ่านสอดแทรกอารมณ์
ให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่องและเจตนาของผู้เขียน

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
“ขอแตกตางระหวางการอานออกเสียงกับการอานในใจ คือ การอานออกเสียง
1 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน คือ หนังสืออางอิงที่รวบรวมความหมาย
ผูอานจะเปลงเสียงตามตัวอักษรและสัญลักษณตางๆ เพื่อใหผูฟงเขาใจ ของคํา โดยเรียงลําดับตามตัวอักษร พรอมบอกชนิดของคํา และยกตัวอยางการนํา
ความหมาย แตการอานในใจ คือ การทีผ่ อู า นแตละคนทําความเขาใจสัญลักษณ ไปใชใหเขาใจในรูปประโยค ทั้งนี้คําศัพทที่ถูกตองตามแบบแผนใหยึดถือตามที่
ตางๆ ที่มีผูบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานระบุไว
นักเรียนจะมีหลักปฏิบัติอยางไรใหการอานในใจทุกครั้งเปนการอานในใจ
โดยสมบูรณ 2 แถลงการณ คือ ขอความที่ทางราชการแถลงเพื่อทําความเขาใจกับประชาชน
ในกิจกรรมของทางราชการ เหตุการณ หรือกรณีใดๆ ที่ทางราชการมีความประสงค
แนวตอบ การอานในใจโดยสมบูรณ ผูอานจะตองอานโดยไมมีเสียงพึมพํา จะใหทราบโดยทั่วกัน ลักษณะถอยคําที่ใชจึงเปนภาษาระดับแบบแผน สุภาพ ถูกหลัก
ในลําคอ ไมมีการเคลื่อนไหวริมฝปาก ลิ้น หลอดเสียง และลําคอ รวมถึงการ ไวยากรณ ชัดเจน และไดใจความสมบูรณ
สายศีรษะไปมา การอานในใจจะใชเพียงสายตา กลาวคือ ในขณะที่อาน
ผูอานจะไมสงเสียงออกมา แตจะใชสายตาในการกวาดขอความจากตัวอักษร
ทางดานซายมือไปยังตัวอักษรทางดานขวามือ เมื่อจบบรรทัดแลวจึงขึ้นตน มุม IT
บรรทัดใหม ทําเชนนี้เรื่อยๆ ไปจนกระทั่งจบขอความ
นักเรียนสามารถเขาไปศึกษาเกีย่ วกับลักษณะการใชถอ ยคําในการเขียนแถลงการณ
ไดจาก http://www.brh.thaigov.net/newsite/publish/show.php?id_news=2
คู่มือครู 3
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. ตัวแทนของแตละกลุมออกมาอธิบายความรู
ในประเด็นที่กลุมของตนเองไดรับมอบหมาย ๔) ฝึกอ่านให้คล่องและถูกต้องตามอักขรวิธี โดยเฉพาะ ร ล ค�าควบกล�า้ ต้องออกเสียงให้
พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล ชัดเจน เน้นเสียง และถ้อยค�าตามน�า้ หนักความส�าคัญของใจความ ใช้เสียง จังหวะให้เป็นไปตามเนือ้ เรือ่ ง
2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน ๕) ฝึกใช้อวัยวะในการออกเสียง การฝึกฝนใช้อวัยวะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกเสียง
อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ ให้ท�างานได้ถูกต้องจะท�าให้เสียงที่เปล่งออกมาชัดเจนและถูกต้องตามอักขระ
การอาน โดยใชความรู ความเขาใจที่ไดรับ ๖) ฝึกการวางบุคลิกภาพ ทั้งการยืนอ่านและการนั่งอ่าน ควรยืดตัวตรง วางสีหน้าปกติ
จากการฟงเปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ จับหนังสือให้ถูกต้องโดยห่างจากสายตาประมาณ ๑ ฟุต ไม่ยกหนังสือขึ้นบังหน้า จะช่วยให้ผู้อ่าน
ตอบคําถาม เกิดความมั่นใจ และสร้างความชื่นชมให้แก่ผู้ฟัง
• นักเรียนเคยพบเห็นปายนี้หรือไม และถาเคย 1
ไดพบเห็นในบริเวณใด ๑.๓ ความส�าคัญของการอ่าน
๑) ได้รับสาระความรู้ต่างๆ ซึ่งจะท�าให้ผู้อ่านเป็นผู้ที่ทันต่อเหตุการณ์ ปรับตัวเข้ากับ
กระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกได้
๒) ได้สร้างจินตนาการ การอ่านหนังสือท�าให้ผู้อ่านมีอิสระทางความคิด ได้ฝึกฝนทักษะ
การตีความไปตามประสบการณ์ของตน
๓) ฝึกกระบวนการคิด ท�าให้เกิดสมาธิ ดังนั้น หากมีการฝึกฝนอย่างสม�่าเสมอจะท�าให้เกิด
การพัฒนาและสัมฤทธิผล
(แนวตอบ คําตอบของนักเรียนควรเปนไป
๑.๔ มารยาทในการอ่าน
ในเชิงเคยพบเห็น และพบบริเวณหองสมุด)
• จากรูป นักเรียนคิดวากลุมบุคคลในภาพ การอ่านเป็นทักษะการรับสารที่ส�าคัญและจ�าเป็นในชีวิตประจ�าวัน เป็นเครื่องมือที่ใช้แสวงหา
กําลังทํากิจกรรมใด และเปนกิจกรรมที่มี ความรูเ้ พือ่ ให้ทนั โลก ทันเหตุการณ์ ผูอ้ า่ นควรมีมารยาทในการอ่าน ดังนี2้
ประโยชนอยางไร ๑) ไม่อา่ นจดหมาย หนังสือ หรือสมุดบันทึกส่วนตัว (อนุทนิ ) ของผูอ้ นื่ โดยไม่ได้รบั อนุญาต
เพราะเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลและเสียมารยาท
๒) ในร้านขายหนังสือ บางแห่งจัดสถานที่ส�าหรับให้บุคคลทั่วไปได้นั่งอ่าน ซึ่งผู้อ่านควร
นั่งอ่านเงียบๆ ไม่ส่งเสียงดัง ไม่คัดลอกข้อความ หรือฉีกกระดาษหุ้มปกหนังสือใหม่ออกโดยพลการ
และไม่แสดงพฤติกรรมต่างๆ ที่จะสร้างความร�าคาญให้แก่ผู้อื่น
๓) ไม่ควรชะโงกศีรษะ เข้าไปยังหนังสือขณะที่ผู้อื่นก�าลังอ่านอยู่
๔) การอ่านออกเสียง ต้องอ่านด้วยเสียงที่ดังเหมาะสม หากอ่านในใจไม่ควรให้มีเสียงหรือ
ท�าปากขมุบขมิบขณะอ่าน
(แนวตอบ เลือกซื้อหนังสือ ประโยชนที่ไดรับ ๕) เมื่ออยู่ในวงสนทนา หรือที่ประชุมไม่ควรหยิบหนังสือขึ้นมาอ่าน เพราะเป็นการเสีย
คือ ไดความรู ความบันเทิง และชวยตอยอด มารยาทแสดงถึงความไม่ใส่ใจ
จินตนาการใหแกตนเอง)
• นักเรียนมีแนวทางเลือกอานหนังสืออยางไร 4
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
ไดอยางอิสระ)
ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
การอานออกเสียงมีความแตกตางจากการอานในใจอยางไร และมีแนวทาง
1 ความสําคัญของการอาน การอานชวยยกระดับสติปญญาของมนุษยใหสูงขึ้น
การปฏิบัติเพื่อใหการอานในแตละครั้งเกิดประสิทธิภาพไดอยางไร
สามารถนําความรู ความเขาใจ และประสบการณจากการอานไปใชแกไขปญหา
ทั้งของตนเองและผูอื่นได เพราะการรูจักเลือกอานและอานอยางถูกวิธี ทําใหมีความรู แนวตอบ การอานออกเสียง คือ การที่ผูอานเปลงเสียงออกมาดังๆ ในขณะ
ความเขาใจ และประสบการณสั่งสม เมื่อพบเจอสถานการณที่เปนปญหาก็จะสามารถ ที่อาน โดยมีจุดมุงหมายที่แตกตางกันออกไป การอานในใจเปนการทําความ
แกไขไดอยางมีประสิทธิภาพ เขาใจสัญลักษณที่มีผูบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร แนวทางสําหรับการฝก
2 อนุทิน สมุดสวนตัว หรือทีน่ ยิ มเรียกวา diary เปนบันทึกรายงานสิง่ ตางๆ ทีเ่ กิด ปฏิบัติเพื่อใหการอานออกเสียงและการอานในใจมีประสิทธิภาพแตกตางกัน
ขึน้ ในแตละชวงเวลาหรือในแตละวัน โดยมีจุดประสงคหลากหลายขึ้นอยูกับความ เปนตนวา การอานออกเสียงผูอานจะตองอานใหถูกตองตามอักขรวิธี
ตองการของผูบันทึก เชน เพื่อสื่อสารความคิด เพื่อแสดงอารมณความรูสึก เพื่อแสดง การเวนวรรค ออกเสียงคําควบกลํ้า รวมถึงใชนํ้าเสียงถายทอดเนื้อหาสาระ
พัฒนาการ ความเจริญกาวหนา เพื่อใหผูฟงเกิดความรูสึกคลอยตาม สวนการอานในใจใหมีประสิทธิภาพนั้น
ผูอานตองมีสมาธิจดจออยูกับเรื่องที่อาน เพื่อจับใจความหรือสาระสําคัญ
ของเรื่อง ตั้งคําถามกับตนเองเกี่ยวกับเรื่องที่อาน เชน เรื่องที่อานมีความ
นาเชื่อถือมากนอยเพียงใด เพราะเหตุใด เพื่อใหเกิดโลกทัศนที่กวางไกล

4 คู่มือครู
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand

1 1. นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับขอความ
๑.๕ มารยาทในการใช้หอ้ งสมุด ตอไปนี้ “อาวุธสําคัญของชาติคือปญญา
ห้องสมุดเป็นสาธารณสมบัตทิ ที่ กุ คนสามารถเข้ามาใช้บริการได้ แต่ควรค�านึงถึงมารยาทในการ ปญญาเกิดจากการอาน” สรุปมติที่ไดจากการ
เข้าใช้ ดังนี้ อภิปรายลงสมุด
๑) ไม่อา่ นเสียงดังสร้างความร�าคาญให้แก่ผอู้ นื่ เพราะห้องสมุด เป็นสถานทีเ่ พือ่ การอ่าน 2. ครูมอบหมายใหนักเรียนทั้งระดับชั้นรวมกัน
และการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ของส่วนรวม จัดกิจกรรมสัปดาหรณรงคสงเสริมการอาน
๒) ไม่ฉีก พับมุมท�าให้หนังสือยับ ช�ารุด สกปรก ฉีกขาด หรือสูญหาย ถ้าต้องการ ภายในโรงเรียน โดยจัดทําปายนิเทศ แผนพับ
ข้อความหรือภาพในหนังสือ ควรใช้วิธีคัดลอก หรือถ่ายส�าเนาด้วยความระมัดระวัง หรือประชาสัมพันธผานเสียงตามสาย
๓) การใช้หนังสือพิมพ์ เมื่ออ่านจบแล้วต้องจัดเรียงหน้าตามเดิมและเก็บให้เรียบร้อย ทั้งนี้ ใหเพื่อนๆ พี่ๆ นองๆ ในโรงเรียน เห็นคุณคา
เพื่อความเป็นระเบียบและสะดวกส�าหรับผู้อื่นที่จะหยิบมาอ่านต่อ และความสําคัญของการอานซึ่งไมไดเกิดขึ้น
๔) หนังสือที่มีผู้อื่นอ่านอยู่ก่อนควรให้ผู้อื่นอ่านจนจบก่อน ไม่ควรยื่นหน้าไปอ่านด้วย ในระดับปจเจกเทานั้น แตยังมีความสําคัญ
เพราะเป็นการเสียมารยาท ในระดับกลุมสังคมหรือประเทศชาติ
๕) ไม่นา� อาหาร ขนม น�า้ เข้าไปรับประทาน เพราะจะท�าให้เกิดกลิน่ และสร้างความสกปรก เผยแพรแนวทางที่ถูกตองสําหรับการอาน
เลอะเทอะให้แก่สถานที่และหนังสือที่ค้นคว้า และรวมถึงขอควรปฏิบัติเมื่อตองอานหนังสือ
๖) เมื่ออ่านหนังสือเสร็จแล้วให้น�าไปวางไว้ในจุดที่ก�าหนด เพื่อที่บรรณารักษ์จะได้ ในที่สาธารณะรวมกับผูอื่น เพื่อใหเพื่อนๆ พี่ๆ
สะดวกในการจัดหนังสือเข้าชั้นได้ถูกต้อง นองๆ ภายในโรงเรียนนําความรู ความเขาใจ
๗) ไม่ใช้อปุ กรณ์สอื่ สารภายในห้องสมุด เพราะท�าให้เกิดเสียงรบกวนสมาธิการอ่านของผ้อู นื่ ที่ไดรับจากการเขารวมกิจกรรมสัปดาหรณรงค
สงเสริมการอาน ไปปรับใชกับการอานของ
ตนเองในชีวิตประจําวัน

▲ นิสัยรักการอ่านและมารยาทในการอ่านเปนสิ่งสําคัญที่ทุกครอบครัวจะต้องปลูกฝงให้แก่เด็กและเยาวชน

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
เมื่อนักเรียนไปคนควาขอมูลที่หองสมุดของโรงเรียนเพื่อนํามาทํารายงาน
1 หองสมุด เปนสถานที่จัดเก็บ รวบรวมองคความรูที่หลากหลาย ทั้งที่เปนวัสดุ
แตพบวาหนังสือที่ตองการมีผูยืมไปกอนหนานี้แลว จากสถานการณนี้นักเรียน
ตีพิมพ วัสดุไมตีพิมพ และวัสดุอิเล็กทรอนิกส โดยหองสมุดสามารถแบงตามลักษณะ
จะมีวิธีการแกไขปญหาอยางไร โดยคํานึงถึงความเหมาะสมและมารยาท
และวัตถุประสงคของการใหบริการ ดังนี้
ในการใชหองสมุดรวมกับผูอื่น
1. หองสมุดโรงเรียน
แนวตอบ หากไมสามารถยืมหนังสือเลมที่ตองการจากหองสมุดของ 2. หองสมุดมหาวิทยาลัย
โรงเรียนได ผูคนควาขอมูลควรเขาเว็บไซตของหองสมุดอื่นๆ เชน หองสมุด 3. หองสมุดเฉพาะ
ประชาชน หองสมุดระดับมหาวิทยาลัย หรือหอสมุดแหงชาติ เพือ่ ตรวจสอบวา 4. หองสมุดประชาชน
หนังสือที่ตองการนั้นมีอยูหรือไม ถาหนังสือเลมนั้นมีอยูในหองสมุดของ 5. หอสมุดแหงชาติ
สถานทีอ่ นื่ ๆ ก็สามารถเขาไปคนควาได และถาไมสามารถยืมหนังสือกลับบานได
เนือ่ งจากไมใชสมาชิก และหอสมุดแหงชาติไมอนุญาตใหยมื หนังสือกลับบาน
ผูคนควาจึงตองใชวิธีการอานแลวจดบันทึก หรือถายสําเนาเนื้อหาสวนที่
ตองการดวยความระมัดระวัง โดยระบุหมายเลขหนาที่ตองการแกผูใหบริการ
ถายสําเนา เพื่อความสะดวกรวดเร็ว

คู่มือครู 5
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา
• ปญหาการอานออกเสียงที่พบในปจจุบัน ๒ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
นักเรียนคิดวาจะรวมเปนสวนหนึ่งของการ
แกไขปญหาไดอยางไร ร้อยแก้ว หมายถึง ถ้อยค�าที่พูดและเขียนเพื่อสื่อสารกันอยู่เป็นปกติในชีวิตประจ�าวัน ถูกต้อง
(แนวตอบ การแกไขปญหาดังกลาวตองเริ่มตน ตามแบบแผน หรือไวยากรณ์ ท�าให้ผู้ฟัง ผู้อ่านเข้าใจได้
ที่ตนเองกอน ดวยวิธีการศึกษาคนควา ข้อความในร้อยแก้วไม่จ�ากัดถ้อยค�าและประโยค จะเขียนให้สั้นหรือยาวเท่าไรก็ได้ ไม่มีการ
เพิ่มเติม เพื่อสรางความรูที่ถูกตองเกี่ยวกับ บังคับฉันทลักษณ์ แต่ต้องเขียนให้มีความหมายตรงตามตัวอักษรโดยขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของผู้ส่งสาร
การอานออกเสียง รวมถึงกลวิธีที่จะทําให การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว หมายถึง การอ่านออกเสียงงานเขียนประเภทความเรียง โดย
การอานมีความไพเราะ จากนั้นจึงเผยแพร การเปล่งเสียงให้ถูกต้องตามอักขรวิธี น�้าเสียง จังหวะเสียงให้เป็นปกติเหมือนการพูด เหมาะสมกับ
ความรูไปสูคนรอบขาง) เรือ่ งทีอ่ า่ น เพือ่ ถ่ายทอดอารมณ์ไปสูผ่ ฟู้ งั ซึง่ จะท�าให้ผฟู้ งั เกิดอารมณ์รว่ มคล้อยตามไปกับเรือ่ ง การอ่าน
ออกเสียงร้อยแก้วจะเป็นพื้นฐานส�าคัญของการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง

๒.๑ หลักการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
การอ่านออกเสียงร้อยแก้วจะต้องค�านึงถึงหลักเกณฑ์การอ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธีหรือตาม
ความนิยม ดังนี้
๑) อ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธี คือ การออกเสียงตามหลักเกณฑ์ของภาษาไทย เช่น
1
อ่านออกเสียงควบกล�า้

กรีดกราย กลับกลอก ขวักไขว่ ไตร่ตรอง ขรุขระ


ครอบครัว พรวน ปลอก ปรับ คว�่า

■ อ่านออกเสียงอักษรน�า

สมัครสมาน อ่านว่า สะ - หฺมัก - สะ - หฺมาน


ขมีขมัน ” ขะ - หฺมี - ขะ - หฺมัน
สยมภู ” สะ - หฺยม - พู

■ อ่านแบบเรียงพยางค์

สมาคม อ่านว่า สะ - มา - คม
บุษยา ” บุด - สะ - ยา

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ขอใดตอไปนี้ปรากฏคําที่อานออกเสียงควบกลํ้าแทมากที่สุด
ครูควรชี้แนะเพิ่มเติมใหแกนักเรียนวา การอานออกเสียงคําควบกลํ้าใหชัดเจน
1. ทรวดทรงของทรามเชยสวยงามจริงๆ
ถูกตอง มีสวนทําใหการอานออกเสียงในแตละครั้งมีความไพเราะ สละสลวย และมี
2. เศรษฐีสมชายสรางศาลาริมนํ้าใตตนไทร
เสนหชวนฟง ครูอาจชวยเพิ่มพูนทักษะการอานคําควบกลํ้าใหแกนักเรียนไดดวยการ
3. รางกายของเธอดูทรุดโทรมลงกวาแตกอน
เขียนคําควบกลํ้าแทบนกระดาน “กราดเกรี้ยว” “กริ้วโกรธ” “กริ่งเกรง” “เกรียงไกร”
4. คุณแมปรุงอาหารรสชาติกลมกลอมไมเปลี่ยนแปลง
เปนตน จากนั้นใหนักเรียนอานออกเสียงพรอมๆ กัน และแตงประโยคโดยใชคําขางตน
นําสงเปนรายบุคคล วิเคราะหคําตอบ การอานออกเสียงพยัญชนะควบกลํ้าในภาษาไทย
หากคําๆ นั้น มีพยัญชนะตนเปน ก ค ต ป พ และพยัญชนะตัวที่สองเปน
ร ล ว ใหออกเสียงพยัญชนะทั้ง 2 ตัวพรอมกันโดยไมมีเสียงสระคั่น แต
นักเรียนควรรู ถาพยัญชนะตนควบกับ ร แตออกเสียงเฉพาะตัวแรกหรือออกเสียงเปน
พยัญชนะอื่น เรียกคําควบกลํา้ ทีม่ ลี กั ษณะเชนนีว้ า คําควบกลํา้ ไมแท ขอ 1.
1 เสียงควบกลํ้า ในภาษาไทย คือ เสียงพยัญชนะตนสองเสียงประสมกับสระเสียง และขอ 2. ไมปรากฏคําควบกลํ้าแท ขอ 3. ปรากฏคําควบกลํ้าแท 1 คํา
เดียวกัน โดยมี ก ค ต ป พ เปนพยัญชนะเสียงทีห่ นึง่ และ ร ล ว เปนพยัญชนะเสียง คือ “กวา” ขอ 4. ปรากฏคําควบกลํ้าแท 3 คํา คือ “ปรุง” “กลมกลอม”
ที่สองโดยไมมีสระคั่น ซึ่งเรียกคําที่มีลักษณะนี้วา “คําควบกลํ้าแท” และ “เปลี่ยนแปลง” ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

6 คู่มือครู
ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expand Evaluate
ส�ารวจค้นหา Explore
1 แบงนักเรียนเปน 3 กลุม โดยมีสมาชิก
■ อ่านออกเสียงค�าบาลี สันสกฤต จํานวนเทาๆ กัน หรือเฉลีย่ ตามความเหมาะสม
จากนัน้ ใหสมาชิกลงมติเลือกประธานและเลขานุการ
เมรุ อ่านว่า เมน
กลุม เพื่อทําหนาที่กําหนดทิศทางการสืบคนและ
เมรุมาศ ” เม - รุ - มาด
จดบันทึกสาระสําคัญ ครูทําสลากจํานวน 3 ใบ
■ อ่านออกเสียงค�าสมาส โดยเขียนหมายเลข 1, 2 และ 3 พรอมระบุขอ ความ
ในแตละหมายเลข ประธานกลุมออกมาจับสลาก
พุทธศาสนา อ่านว่า พุด - ทะ - สาด - สะ - หฺนา ดังนี้
อุตสาหกรรม ” อุด - สา - หะ - ก�า
หมายเลข 1 แนวทางการอานออกเสียง
๒) อ่านตามความนิยม คือ การอ่านทีไ่ ม่ได้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ เน้นความไพเราะ และความ รอยแกว
นิยมทั่วไป เช่น หมายเลข 2 ปญหาที่พบในการอานออกเสียง
รอยแกว
อุดมคติ อ่านว่า อุ - ดม - คะ - ติ หรือ อุ - ดม - มะ - คะ - ติ หมายเลข 3 วิธีการอานออกเสียง
โบราณคดี ” โบ - ราน - คะ - ดี หรือ โบ - ราน - นะ - คะ - ดี รอยแกวที่เปนบทบรรยาย
ดิเรก ” ดิ - เหฺรก และบทพรรณนา
ผลไม้ ” ผน - ละ - ไม้
2 อธิบายความรู้ Explain
๓) การอ่านตัวย่อ ควรอ่านค�าเต็มของค�าที่ถูกย่อไว้ เช่น
กห. ได้งบฯ จาก กค. ปรับปรุงกองทัพ ๑๐ ล้าน อ่านว่า
ประธานกลุมหรือตัวแทนกลุมที่จับสลากได
กระทรวงกลาโหมได้งบประมาณจากกระทรวงการคลัง ปรับปรุงกองทัพ ๑๐ ล้าน
หมายเลข 1 ออกมาอธิบายความรูเ กีย่ วกับแนวทาง
การอานออกเสียงรอยแกวใหเพื่อนๆ ฟง
๔) การอ่านตัวเลขและเครื่องหมายต่างๆ มีหลักการที่ต่างกัน เช่น หนาชั้นเรียน พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล
■ การอ่านจ�านวนเลขตัง้ แต่ ๒ หลักขึน้ ไป ถ้าเลขต�าแหน่งท้ายเป็น ๑ ให้ออกเสียงว่า “เอ็ด” (แนวตอบ การอานออกเสียงรอยแกว ผูอานจะ
ตองศึกษาเกี่ยวกับอักขรวิธีในการอานคําควบกลํ้า
๑๑ อ่านว่า สิบ - เอ็ด
อักษรนํา คําสมาส คําบาลี สันสกฤต รูวาคําใด
๒๕๐๑ ” สอง - พัน - ห้า - ร้อย - เอ็ด
นิยมอานอยางไร เขาใจความหมายของอักษรยอ
■ การอ่านตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ตัวเลขหน้าจุดทศนิยมอ่านแบบจ�านวนเต็ม ตัวเลขหลัง วิธีการอานตัวเลข ซึ่งความรู ความเขาใจเหลานี้
จุดทศนิยมให้อ่านแบบเรียงตัว เช่น สามารถคนควาไดจากพจนานุกรม หนังสือ
อานอยางไร เขียนอยางไร ซึ่งจัดพิมพโดย
๑.๒๓๔ อ่านว่า หฺนึ่ง - จุด - สอง - สาม - สี่ ราชบัณฑิตยสถานหรือสังเกตจากบุคคลตนแบบ
๕๙.๐๑๒ ” ห้า - สิบ - เก้า - จุด - สูน - หฺนึ่ง - สอง เชน ผูประกาศขาว ผูดําเนินรายการ เปนตน)

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
คําในขอใดอานออกเสียงไดเพียงรูปแบบเดียว
1 อานออกเสียงคําบาลี สันสกฤต การใชตัวอักษรไทยเขียนคําบาลี สันสกฤต
1. สมาชิกภาพ
จะปรากฏเครื่องหมายนิคหิต ( ํ ) และพินทุ ( ฺ ) กํากับ ซึ่งเครื่องหมายทั้งสอง
2. สมานฉันท
มีวิธีการอานที่แตกตางกัน กลาวคือ คําภาษาบาลีที่มีเครื่องหมายนิคหิตกํากับให
3. สรรเสริญ
อานเหมือนมี ง เปนตัวสะกด เชน สรณํ อานวา สะ-ระ-นัง แตถาเปนคําภาษา
4. สังคายนา
สันสกฤตใหอานเหมือนมี ม เปนตัวสะกด เชน พุทฺธํ อานวา พุด-ทัม สวนคําที่มี
วิเคราะหคําตอบ จากตัวเลือกที่กําหนดให ขอ 2. อานได 2 รูปแบบ คือ เครื่องหมายพินทุอยูขางใต ใหอานโดยใชพยัญชนะตัวนั้นเปนตัวสะกด เชน จิตฺต
สะ-มา-นะ-ฉัน และ สะ-หฺมาน-นะ-ฉัน ขอ 3. อานได 2 รูปแบบ คือ สัน-เสิน อานวา จิด-ตะ แตถามีพยัญชนะตอไปนี้ ย ร ล ว ตามหลังพยัญชนะที่มีเครื่องหมาย
และ สัน-ระ-เสิน ขอ 4. อานได 2 รูปแบบ คือ สัง-คา-ยะ-นา และ สัง-คาย- พินทุกํากับ ใหอานออกเสียงพยัญชนะที่มีเครื่องหมายพินทุกํากับเปนตัวสะกดของ
ยะ-นา สวนคําวา สมาชิกภาพ อานวา สะ-มา-ชิก-กะ-พาบ ไดเพียงรูปแบบ พยางคแรก และเปนพยัญชนะตนของพยางคที่สองโดยเติมเสียงสระ -ะ เชน จตฺวา
เดียวเทานั้น ดังนั้นจึงตอบขอ 1. อานวา จัด-ตะ-วา, ชิตฺวา อานวา ชิด-ตะ-วา
2 การอานตัวยอ โดยทั่วไปจะใชอักษรยอเมื่อเคยกลาวถึงคําเต็มของคํายอนั้นแลว
ซึ่งคํายอมักเปนคําที่คนสวนใหญคุนเคย

คู่มือครู 7
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. ประธานกลุมหรือตัวแทนกลุมที่จับสลากได 1
หมายเลข 2 และ 3 ออกมาอธิบายความรู ■ การอ่านตัวเลขบอกเวลา
เกี่ยวกับปญหาที่พบในการอานออกเสียง
๒๓.๐๐ อ่านว่า ยี่ - สิบ - สาม - นา - ลิ - กา
รอยแกว และวิธีการอานออกเสียงรอยแกว ๑๒.๓๕ ” สิบ - สอง - นา - ลิ - กา - สาม - สิบ - ห้า - นา - ที
ทีเ่ ปนบทบรรยายและบทพรรณนาใหเพือ่ นๆ ฟง ๖ : ๓๐ : ๔๕ ” หก - นา - ลิ - กา - สาม - สิบ - นา - ที - สี่ - สิบ - ห้า -
หนาชั้นเรียน พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล วิ - นา - ที
2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับ
สิ่งที่ไดรับจากการคนควา และการฟงบรรยาย ■ การอ่านบ้านเลขที่ บ้านเลขทีม่ ตี วั เลข ๒ หลัก ให้อา่ นแบบจ�านวนเต็ม ถ้ามี ๓ หลักขึน้ ไป
ของเพื่อนๆ ผานขอคําถามของครู ให้อ่านเรียงตัวหรือจ�านวนเต็มก็ได้ แต่ตัวเลขหลังเครื่องหมาย / ให้อ่านเรียงตัว
• ปญหาที่พบเปนประจําเกี่ยวกับการอาน บ้านเลขที่ ๕๖/๓๙๒ อ่านว่า บ้าน - เลก - ที่ - ห้า - สิบ - หก - ทับ - สาม -
ออกเสียงในภาษาไทย ไดแกอะไรบาง เก้า - สอง
(แนวตอบ การอานคําในภาษาไทยผิดเพี้ยน บ้านเลขที่ ๖๕๓/๒๑ ” บ้าน - เลก - ที่ - หก - ห้า - สาม - ทับ - สอง -
เนื่องมาจากผูอานไมมีความรูเกี่ยวกับอักขรวิธี หฺนึ่ง หรือ
การอาน ไมใสใจ ละเลย หรือขาดการฝกฝน บ้าน - เลก - ที่ - หก - ร้อย - ห้า - สิบ - สาม - ทับ -
ซึง่ ปญหาทีพ่ บเปนประจํา ไดแก การออกเสียง สอง - หฺนึ่ง
วรรณยุกตผิด อานตูคํา อานตกหลน
อานคําเกิน เวนวรรคตอนไมถูกตอง ทําให ■ การอ่านเครื่องหมายไปยาลน้อย ให้อ่านเต็มค�าที่ย่อไว้
เสียความ อานโดยใชเสียงในระดับเดียวกัน กรุงเทพฯ อ่านว่า กฺรุง - เทบ - มะ - หา - นะ - คอน
ตลอดทั้งเรื่อง เปนตน) โปรดเกล้าฯ ” โปฺรด - เกฺล้า - โปฺรด - กฺระ - หฺม่อม
• การอานออกเสียงรอยแกวที่เปนบทบรรยาย ทูลเกล้าฯ ” ทูน - เกฺล้า - ทูน - กฺระ - หฺม่อม
แตกตางจากการอานที่เปนบทพรรณนา ล้นเกล้าฯ ” ล้น - เกฺล้า - ล้น - กฺระ - หฺม่อม
อยางไร
(แนวตอบ การอานออกเสียงรอยแกวที่เปน ■ การอ่านเครื่องหมายไปยาลใหญ่ ข้อความที่เขียนเครื่องหมาย ฯลฯ ไว้ท้ายข้อความ
บทพรรณนา ผูอานจะตองมีความสามารถ ให้อ่านว่า ละ หรือ และอื่นๆ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ ที่อยู่ตรงกลางข้อความ ให้อ่านว่า ละถึง เช่น
ในการเลือกใชนํ้าเสียง เพื่อถายทอดอารมณ
ความรูสึกตางๆ ใหผูฟงเกิดจินตภาพ และ สิ่งของที่ซื้อขายกันในห้างสรรพสินค้ามีเสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า เครื่องส�าอาง ฯลฯ
อารมณความรูสึกคลอยตาม ในขณะที่การ อ่านว่า สิ่ง - ของ - ที่...เคฺรื่อง - ส�า - อาง - ละ
อานออกเสียงรอยแกวที่เปนบทบรรยาย สิ่ง - ของ - ที่...เคฺรื่อง - ส�า - อาง - และ - อื่น - อื่น
จะไมเนนเรื่องการถายทอดอารมณความรูสึก พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว มี ก ฯลฯ ฮ
อ่านว่า พะ - ยัน - ชะ - นะ - ไท - สี่ - สิบ - สี่ - ตัว - มี - กอ - ละ - ถึง - ฮอ
มากนัก)

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ประโยคในขอใดตอไปนี้อานออกเสียงไมยมกแตกตางจากขออื่น
1 การอานตัวเลข นอกจากที่ปรากฏในหนังสือเรียนแลว ยังมีวิธีการอานตัวเลข
1. เธอเห็นลูกแมวตัวสีดําๆ วิ่งมาทางนี้บางหรือไม
ที่ควรทราบไว คือ การอานตัวเลข ร.ศ. และ พ.ศ. ซึ่งอานไดถึง 4 แบบ ดังนี้
2. เด็กตัวเล็กๆ เมื่อตะกี้ เปนหลานชายของฉันเอง
ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436)
3. ในวันหนึ่งๆ ปาแกตองอาบเหงื่อตางนํ้าหาบของไปขายทุกวัน
อานวา รัด-ตะ-นะ-โก-สิน-สก-รอย-สิบ-สอง-ตรง-กับ-พุด-ทะ-สัก-กะ-หฺลาด-สอง-
4. ทุกๆ วัน แถวนี้จะเต็มไปดวยรถนานาชนิดที่ทําใหการจราจรคับคั่ง
พัน-สี่-รอย-สาม-สิบ-หก หรือ
อานวา รอ-สอ-รอย-สิบ-สอง-ตรง-กับ-พอ-สอ-สอง-สี่-สาม-หก หรือ วิเคราะหคําตอบ การอานเครื่องหมายไมยมก (ๆ) ที่ใชวางหลังคําหรือ
อานวา รัด-ตะ-นะ-โก-สิน-สก-รอย-สิบ-สอง-วง-เล็บ-เปด-พุด-ทะ-สัก-กะ-หฺลาด- ขอความที่ตองการใหอานออกเสียงซํ้า ซึ่งอาจซํ้าคําเดียวหรือมากกวาหนึ่งคํา
สอง-พัน-สี่-รอย-สาม-สิบ-หก-วง-เล็บ-ปด หรือ ก็ได แลวแตความหมาย การอานไมยมกจึงสามารถอานไดหลายแบบ เชน
อานวา รอ-สอ-รอย-สิบ-สอง-วง-เล็บ-เปด-พอ-สอ-สอง-สี่-สาม-หก-วง-เล็บ-ปด อานซํ้าคํา ของดีๆ อานวา ของ-ดี-ดี อานซํ้ากลุมคํา เชน วันละคนๆ อานวา
วัน-ละ-คน-วัน-ละ-คน อานซํ้าประโยค เชน โอเลี้ยงมาแลวครับๆ อานวา
โอ-เลี้ยง-มา-แลว-คฺรับ-โอ-เลี้ยง-มา-แลว-คฺรับ จากตัวเลือกที่กําหนด ขอ 1.
อานวา สี-ดํา-ดํา ขอ 2. อานวา ตัว-เล็ก-เล็ก ขอ 4. อานวา ทุก-ทุก-วัน
สวนขอ 3. อานวา ไน-วัน-หฺนึ่ง-วัน-หฺนึ่ง ดังนั้นจึงตอบขอ 3.

8 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนใชความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ
๕) อ่านนามเฉพาะ (วิสามานยนาม) เช่น สถานที่ ถนน ต�าบล ชื่อบุคคล ชื่อสกุล ต้องอ่าน เครื่องหมายที่ใชสําหรับการอานออกเสียง
ตามความต้องการของผู้เป็นเจ้าของ เช่น ทําแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.2 ตอนที่ 1 หนวยที่ 1
กิจกรรมตามตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 1.2
จตุรพักตรพิมาน อ่านว่า จะ - ตุ - ระ - พัก - พิ - มาน (อ�าเภอในจังหวัดร้อยเอ็ด)
บ้านแพรก ” บ้าน - แพฺรก (อ�าเภอในจังหวัดลพบุรี) ใบงาน ✓ แบบวัดฯ แบบฝกฯ
ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.2
กันตวจรมวล ” กัน - ตวด - ระ - มวน (อ�าเภอในจังหวัดสุรินทร์) เรื่อง เครื่องหมายที่ใช้ในการอานออกเสียง
จิตรลดารโหฐาน ” จิด - ละ - ดา - ระ - โห - ถาน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๒ ใหนักเรียนบอกหนาที่ของเครื่องหมายที่ใชเวนวรรค õ
ราชบัณฑิตยสถาน ” ราด - ชะ - บัน - ดิด - ตะ - ยะ - สะ - ถาน ในการอานบทรอยแกว (ท ๑.๑ ม.๒/๑)

/ เวนวรรคนอย คั่นระหวางคําเมื่อจบขอความหนึ่งๆ เพื่อหยุดพักหายใจ


..........................................................................................................................................................................................................................

//
การออกเสียงให้มรี ะดับเสียงถูกต้องตามส�าเนียงของเจ้าของภาษา ไม่เพีย้ นเสียงวรรณยุกต์ ___
เวนวรรคยาว คัน่ ระหวางคําเมือ่ อานจบขอความหลัก จะเวนวรรคยาวกวา / เล็กนอย
..........................................................................................................................................................................................................................

ขีดใตคํา คําที่เนนเสียงหนัก
..........................................................................................................................................................................................................................

ไม่อ่านตู่ค�า ตกหล่น หรือค�าเกิน จะช่วยให้มีความไพเราะและสื่อความหมายได้ถูกต้อง ^


เขียนบนคํา เมื่อเปนคําที่ตองทอดเสียง
..........................................................................................................................................................................................................................

เขียนบนคําที่ตองการเนนเสียงสูง
..........................................................................................................................................................................................................................
V
เขียนบนคําที่ตองการเนนเสียงตํ่า
๒.๒ การฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
..........................................................................................................................................................................................................................

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๓ ใหนักเรียนสรุปหลักการอานออกเสียงบทรอยแกว õ
งานเขียนร้อยแก้วที่จะน�ามาฝึกอ่านมีหลายประเภท ในที่นี้จะยกตัวอย่างแบบฝึกการอ่าน (ท ๑.๑ ม.๒/๑,๘) ฉบับ
เฉลย

บทบรรยายและพรรณนา ดังต่อไปนี้ การอานบทบรรยาย

ตองรูจักสังเกตการใชถอยคํา สํานวน การเวนวรรค การเวนจังหวะหายใจ พยายาม


๑) การอ่านบทบรรยาย บทบรรยายเป็นงานเขียนทีม่ ลี กั ษณะอธิบายหรือบรรยายเหตุการณ์
..................................................................................................................................................................................................................................................

ศึกษาและทําความเขาใจวาเนื้อหากลาวถึงอะไรบาง และมีใจความสําคัญอยางไร อีกทั้งควร


..................................................................................................................................................................................................................................................

ฝกใสอารมณใหถูกตองเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง
.................................................................................................................................................................................................................................................

เป็นขั้นตอนว่าใคร ท�าอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร


การฝึกอ่านบทบรรยาย ให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงวรรณกรรมร้อยแก้ว ประเภทเรื่องสั้น การอานบทพรรณนา

การอานบทพรรณนาผูอานตองใชนํ้าเสียงใหเหมาะกับบรรยากาศของเรื่อง ถาเปน
..................................................................................................................................................................................................................................................

เรือ่ งมอม งานประพันธ์ของหม่อมราชวงศ์คกึ ฤทธิ์ ปราโมช โดยสังเกตการใช้ถอ้ ยค�า ส�านวน ฝึกออกเสียง บรรยากาศสดชื่นสวยงาม ควรใชนํ้าเสียงสดชื่นเบิกบาน และถาเปนบรรยากาศเศราก็ควร
..................................................................................................................................................................................................................................................

จะใชนํ้าเสียงสั่นเครือและจะตองออกเสียงอักขระใหถูกตอง ชัดเจน
.................................................................................................................................................................................................................................................

การเว้นวรรค จังหวะการหายใจ พยายามศึกษา และท�าความเข้าใจว่าเนือ้ หากล่าวถึงใคร ท�าอะไร ทีไ่ หน



อะไร เมื่อไร จับใจความส�าคัญของเรื่องให้ได้ และฝึกใส่ลีลาอารมณ์ให้ถูกต้องเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง
โดยให้นักเรียนฝึกอ่านและเว้นวรรคตามเครื่องหมายวรรคตอนที่ก�าหนด ดังนี้
/ เว้นวรรคน้อย เมื่อจบข้อความหนึ่งๆ เพื่อหยุดพักหายใจ
// เมื่ออ่านจบข้อความหลัก ซึ่งเครื่องหมาย // จะเว้นวรรคยาวกว่า / เล็กน้อย
ขีดใต้ค�า แสดงว่าเป็นเสียงหนัก
เขียนบนค�า แสดงว่าอ่านแบบทอดจังหวะ
แสดงว่าเป็นข้อความที่เน้นเสียงสูง
แสดงว่าเป็นข้อความที่เน้นเสียงต�่า

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
บุคคลใดปฏิบัติไดถูกตองและเหมาะสมเมื่ออานออกเสียงขอความที่เปน
การอานออกเสียงที่มีประสิทธิภาพเกิดขึ้นจากปจจัยตางๆ เชน สายตา นํ้าเสียง
ชื่อ-นามสกุลของผูอื่น
และอารมณในการอาน ซึ่งการอานออกเสียงใหผูอื่นฟง หรือการประกอบอาชีพที่จะ
1. ธิดาพรอานตามที่เคยไดยินมา
ตองใชทักษะการอานออกเสียง เชน ผูประกาศขาว ผูดําเนินรายการ ปจจัยเรื่อง
2. กนกอรอานตามความเขาใจของตนเอง
สายตา เสียงและอารมณอยางเดียวอาจไมเพียงพอ แตจะตองประกอบดวยบุคลิกภาพ
3. วันดีอานตามที่บัญญัติไวในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
หรือการแสดงทาทางในขณะที่อาน
4. กรรวีอานดวยความระมัดระวัง เมื่อไมแนใจจึงสอบถามผูรู
ครูควรจัดเตรียมแบบฝกประเภทขาวในพระราชสํานัก ความยาวไมเกิน 10 บรรทัด
หรือผูเปนเจาของชื่อ-นามสกุลนั้น
มาใหนักเรียนฝกอาน และรวมถึงฝกการวางบุคลิกภาพใหเหมาะสม หรืออาจให
วิเคราะหคําตอบ การอานออกเสียงชือ่ -นามสกุลของผูอ นื่ และหมายรวมถึง นักเรียนเขียนสคริปขึ้นเองเพื่อทําหนาที่เปนผูด าํ เนินรายการโทรทัศน ฝกการใช
ชื่อสถานที่ตางๆ ซึ่งคําเหลานี้เปนคําวิสามานยนาม หรือนามที่เปนชื่อเฉพาะ นํา้ เสียง และการแสดงทาทางใหเหมาะสมในขณะที่พูด สุมเรียกนักเรียนเพื่อใหออกมา
เมื่อจะตองอานออกเสียง ผูอานจะตองอานดวยความระมัดระวัง หาก นําเสนอหนาชั้นเรียน ซึ่งการปฏิบัติกิจกรรมดังกลาวจะทําใหนักเรียนไดฝกการใช
ไมแนใจควรสอบถามผูรู หรือเจาของชื่อ ไมควรอานตามที่ไดยินมา หรือตาม สายตา นํ้าเสียง อารมณ และการวางบุคลิกภาพ สามารถนําไปปรับใชใหเกิดประโยชน
ความเขาใจของตนเอง แมจะอานถูกตองตามพจนานุกรม แตที่เหมาะสม ในชีวิตประจําวันของตนเองตอไป
ควรอานตามความตองการของผูเปนเจาของชื่อ ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

คู่มือครู 9
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่อง มอม หรือ
รวมกันยกตัวอยางเรื่องสั้นที่นักเรียนอานแลว แบบฝึกอ่านออกเสียงบทบรรยาย
ประทับใจ สลับกันเลาเรื่องยอใหเพื่อนๆ
รวมชั้นเรียนฟง มอม
2. นักเรียนรวมกันฝกปฏิบัติอานออกเสียง
มอมมันโตวันโตคืนกลายเป็นหนุม่ ใหญ่/แม่หายไปจากโลกของมัน/ซึง่ เดีย๋ วนีเ้ หลือแต่นาย//
บทบรรยายในเรื่อง มอม จากหนังสือเรียน
มอมไม่ได้รกั นายเท่าชีวติ /แต่นายเป็นชีวติ ของมอม//เช้าขึน้ นายหายไปจากบ้าน/มันก็รสู้ กึ ว่าชีวติ
ภาษาไทย หนา 10 โดยครูคอยชี้แนะและ
มันว่างเปล่า/แต่มอมรูว้ า่ ตกบ่ายก็ตอ้ งกลับ//ฉะนัน้ ตามปกติ/มันก็ไม่เดือดร้อนเท่าไรนัก//มอมใช้
สังเกตการมีสวนรวมของนักเรียนแตละคน เวลาทีน่ ายไม่อยูห่ าอะไรกินบ้าง/เล่นกับหนูบา้ ง/บางทีหนูกด็ งึ หูดงึ หางมัน/เล่นกับมันเจ็บๆ/แต่มอม
3. นักเรียนใชความรู ความเขาใจเกีย่ วกับแนวทาง มันก็ทนได้/เพราะกลิน่ ของนายติดอยูท่ ต่ี วั ของหนู/เหมือนกับคนๆ เดียวกัน/ชัว่ แต่วา่ หนูตวั เล็กกว่า//
การอานออกเสียงรอยแกว และบทรอยกรอง บางทีมอมมันก็ออกไปเทีย่ วนอกบ้าน/เดินไปก็ดมกลิน่ อะไรต่ออะไรไป/กลิน่ คนแปลกๆ ทีต่ ดิ อยูต่ าม
ทําแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.2 ตอนที่ 1 ทางเดิน/กลิน่ หนูทอี่ อกหากินตามถังขยะ/ในเวลากลางคืน/กลิน่ หมาบ้านใกล้เรือนเคียง/และหมา
หนวยที่ 1 กิจกรรมตามตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 1.3 กลางถนน/ทัง้ ตัวผูต้ วั เมีย//เมือ่ มอมตัวยังเล็กอยู/่ มันไม่คอ่ ยกล้าออกจากบ้าน/เพราะหมาอืน่ ๆ มัน
รุมกันเห่า/มันรุมกันกัด/แต่เดีย๋ วนีม้ อมตัวโตกว่าหมาอืน่ /พอออกนอกบ้านถึงหมาอืน่ จะเห่า/แต่ก็
ใบงาน ✓ แบบวัดฯ แบบฝกฯ วิง่ หนีมอมทุกตัวไป//ในบรรดาหมาตัวผูใ้ นละแวกบ้าน/มอมมันเคยแสดงฝีมอื ให้ปรากฏมาแล้ว//
ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.3
เรื่อง หลักการอานออกเสียงร้อยแก้ว ไอ้ตวั ไหนทีเ่ คยเป็นจ่าฝูง/เป็นหัวโจก/มอมมันก็เคยปราบมาแล้ว//ตามธรรมเนียมหมานัน้ //ถ้าจะ
ออกจากบ้านไปไหน/จะต้องถ่ายปัสสาวะรายทางไว้/ส�าหรับดมกลิ่นของตนเองกลับบ้านได้ถูก
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๒ ใหนักเรียนบอกหนาที่ของเครื่องหมายที่ใชเวนวรรค
ในการอานบทรอยแกว (ท ๑.๑ ม.๒/๑)
õ ที่/ที่จะถ่ายรดนั้น/ก็ต้องเป็นที่สังเกตได้ง่าย/สูงเพียงระดับจมูก/ไม่ต้องก้มลงดมให้เสียเวลา//
/ เวนวรรคนอย คั่นระหวางคําเมื่อจบขอความหนึ่งๆ เพื่อหยุดพักหายใจ
..........................................................................................................................................................................................................................
เป็นต้นว่า/เสาไฟฟ้าหรือต้นไม้ขา้ งทาง/ออกจากบ้านเดินไป/ก็ตอ้ งยกขาถ่ายรดเอาไว้เป็นส�าคัญ/
___
// เวนวรรคยาว คัน่ ระหวางคําเมือ่ อานจบขอความหลัก จะเวนวรรคยาวกวา / เล็กนอย
..........................................................................................................................................................................................................................

ขีดใตคํา คําที่เนนเสียงหนัก
แต่ถ้ามีหมาตัวอื่นมาถ่ายทับเสีย/กลิ่นนั้นก็เพี้ยนไป/อาจถึงกลับบ้านไม่ถูก/หรืออย่างน้อยก็ต้อง
..........................................................................................................................................................................................................................

เขียนบนคํา เมื่อเปนคําที่ตองทอดเสียง
.......................................................................................................................................................................................................................... ล�าบากทุลกั ทุเล//การถ่ายปัสสาวะรดทีต่ วั อืน่ ท�าไว้แล้ว/จึงเป็นอนันตริยกรรมของสุนขั /อภัยให้กนั
^
V
เขียนบนคําที่ตองการเนนเสียงสูง
..........................................................................................................................................................................................................................

เขียนบนคําที่ตองการเนนเสียงตํ่า
..........................................................................................................................................................................................................................
ไม่ได้/แล้วถ้าท�ากันต่อหน้าก็เป็นการท้าทายกันโดยตรง/เป็นการท�าลายเกียรติของหมาตัวผู้ด้วย
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กัน/แสดงว่าหมดความเกรงใจนับถือกัน/ต้องต่อสู้จนแพ้กันไปข้างหนึ่ง//มอมมันเคยถูกท้าทาย
กิจกรรมที่ ๑.๓ ใหนักเรียนสรุปหลักการอานออกเสียงบทรอยแกว õ
(ท ๑.๑ ม.๒/๑,๘) ฉบับ
เฉลย
ด้วยวิธีนี้มามาก/แต่มันก็สู้จนเอาชนะได้ทุกตัว/บางทีมันกลับบ้านเป็นแผลยับไปตามหน้าและ
การอานบทบรรยาย แข้งขา/นายผู้หญิงต้องคอยล้างแผลใส่ยาให้/หลังจากนั้นมันก็จะถูกขังไปสองสามวัน/แล้วมันก็
ตองรูจักสังเกตการใชถอยคํา สํานวน การเวนวรรค การเวนจังหวะหายใจ พยายาม
.................................................................................................................................................................................................................................................. แอบหนีไปเที่ยวนอกบ้านได้อีก// 1
ศึกษาและทําความเขาใจวาเนื้อหากลาวถึงอะไรบาง และมีใจความสําคัญอยางไร อีกทั้งควร
..................................................................................................................................................................................................................................................

ฝกใสอารมณใหถูกตองเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง
.................................................................................................................................................................................................................................................
(มอม:
(มอม: ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช)

การอานบทพรรณนา
จากแบบฝึกอ่าน เรือ่ ง มอม บทประพันธ์ของหม่อมราชวงศ์คกึ ฤทธิ์ ปราโมช เป็นบทบรรยายที่
การอานบทพรรณนาผูอานตองใชนํ้าเสียงใหเหมาะกับบรรยากาศของเรื่อง ถาเปน
ท�าให้ผู้อ่านได้รู้จักกับตัวละครเอกและตัวละครรองของเรื่อง ดังนั้น การอ่านบทบรรยายจากเรื่อง
..................................................................................................................................................................................................................................................

บรรยากาศสดชื่นสวยงาม ควรใชนํ้าเสียงสดชื่นเบิกบาน และถาเปนบรรยากาศเศราก็ควร


..................................................................................................................................................................................................................................................

จะใช น ํ้าเสียงสั่นเครือและจะตองออกเสียงอักขระใหถูกตอง ชัดเจน


มอม ผู้อ่านจึงควรออกเสียงให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจเรื่องโดยตลอด
.................................................................................................................................................................................................................................................

10

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
การใชเสียงและการสรางอารมณในการอานมีความสัมพันธกันอยางไร
ครูอาจเสริมสรางทักษะความชํานาญเกี่ยวกับการอานออกเสียงบทบรรยายใหแก
หากนักเรียนตองการใหการอานออกเสียงในแตละครั้งสามารถใชนํ้าเสียงได
นักเรียนดวยการเตรียมแบบฝก โดยอาจตัดตอนไดจากหนังสือเรื่อง ถกเขมร
ตรงกับอารมณของเรื่อง จะมีแนวทางปฏิบัติตนอยางไร จงแสดงความคิดเห็น
ของหมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช หรือจากหนังสือเรื่องอื่นๆ ที่มีบทบรรยายที่โดดเดน
มาใหนักเรียนฝกอานรวมกัน ควรสังเกตทักษะและพฤติกรรมขณะที่อาน เพื่อแนะนํา แนวตอบ การอานออกเสียงใหเกิดประสิทธิภาพ อารมณของผูอานจะตอง
ใหแกไขเปนรายบุคคล มีความสอดคลองกับเรื่อง เมื่อมีอารมณสอดคลองตองกันจะทําใหผูอาน
เปลงเสียงออกมาสัมพันธกับอารมณของเรื่อง ไมอานเนือยๆ ไรอารมณ เชน
ถาอานเรื่องเศรา ก็จะตองใชนํ้าเสียงเบาลงกวาปกติ ทําเสียงเครือให
นักเรียนควรรู เหมาะสมกับบทอาน ซึ่งผูอานแตละคนควรเตรียมตัวพิจารณาเนื้อความ
ที่จะอานมาลวงหนา จัดแบงวรรคตอน ฝกออกเสียงใหถูกตอง ออกแบบ
1 มอม เปนเรื่องสั้นที่แตงโดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เนื้อหาสาระเปนเรื่องราว นํ้าเสียงใหเหมาะสมกับอารมณของบทอาน
ของสุนัขพันธุผสมที่มีความรักและซื่อสัตยตอนายอยางที่สุด ซึ่งเรื่องมอมไดนํามาใช
เปนบทเรียนในหนังสือวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษา

10 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนรวมกันฝกปฏิบัติอานออกเสียง
๒) การอ่านบทพรรณนา บทพรรณนาเป็นงานเขียนทีส่ อดแทรกอารมณ์ ความรูส้ กึ ของผูเ้ ขียน บทพรรณนาในเรื่อง กามนิต จากหนังสือเรียน
ทีม่ ตี อ่ สิง่ ใดสิง่ หนึง่ เพือ่ ให้ผอู้ า่ นเกิดความซาบซึง้ ประทับใจ และคล้อยตาม โดยผูเ้ ขียนเลือกใช้ถอ้ ยค�าที่ ภาษาไทย หนา 11 โดยครูคอยชี้แนะและ
ไพเราะ สร้างจินตภาพ สังเกตการมีสวนรวมของนักเรียนแตละคน
2. นักเรียนรวมกันฝกอานบทพรรณนา ซึ่งครู
แบบฝึกอ่านออกเสียงบทพรรณนา ผูสอนเปนผูจัดเตรียม
ขณะพระองค์เสด็จมาใกล้เบญจคีรนี คร/คือราชคฤห์/เป็นเวลาจวนสิน้ ทิวาวาร//แดดในยามเย็น ขยายความเข้าใจ Expand
ก�าลังอ่อนลงสูส่ มัยใกล้วกิ าล /ทอแสงแผ่ซา่ นไปยังสาลีเกษตร//แลละลิว่ /เห็นเป็นทาง/สว่างไปทัว่
ประเทศ/สุดสายตา//ดูประหนึ่งมีหัตถ์ทิพย์มาปกแผ่อ�านวยสวัสดี//เบื้องบนมีกลุ่มเมฆเป็นคลื่น จากความรู ความเขาใจเกี่ยวกับเครื่องหมาย
ซ้อนซับสลับกัน/เป็นทิวแถว/ต้องแสงแดดจับเป็นสีระยับ/วะวับแวว/ประหนึ่งเอาทรายทองมา ที่ใชสําหรับการอานออกเสียง และแนวทาง
โปรยปรายเลือ่ นลอย/ลิว่ ๆ เรีย่ ๆ ราย/ลงจรดขอบฟ้า//ชาวนาและโคก็เมือ่ ยล้าด้วยตรากตร�าท�างาน// การอานออกเสียงรอยแกวและบทรอยกรอง
ต่างพากันเดินดุ่มๆ เดินกลับเคหสถาน/เห็นไรๆ//เงาหมู่ไม้อันโดดเดี่ยวอยู่กอเดียวก็ยืดยาว/ นักเรียนทําแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.2 ตอนที่ 1
ออกมาทุกทีๆ//มีขอบปริมณฑลเป็นรัศมีแห่งสีรุ้ง//อันก�าแพงเชิงเทินป้อมปราการที่ล้อมกรุง/ หนวยที่ 1 กิจกรรมตามตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 1.4
รวมทั้งทวารบถทางเข้านครเล่า/มองดูในขณะนั้น เห็นรูปเค้าได้ชัดถนัดแจ้ง/ดั่งว่านิรมิตไว้//มี
สุมทุมพุ่มไม้/ดอกออกดก/โอบอ้อมล้อมแน่นเป็นขนัด//ถัดไปเป็นทิวเขาสูงตระหง่าน/มีสีในเวลา ใบงาน ✓ แบบวัดฯ แบบฝกฯ
ตะวันยอแสง/ปานจะฉายเอาไว้/เพื่อจะแข่งกับแสงสีมณีวิเศษ/มีบุษราคบรรณฑรวรรณ/แลก่อง ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.4
แก้วโกเมน/แม้รวมกันให้พ่ายแพ้ฉะนั้น//พระตถาคตเจ้าทอดพระเนตรภูมิประเทศดั่งนี้/พลาง เรื่อง การอานออกเสียงร้อยแก้ว
รอพระบาทยุคลหยุดเสด็จพระด�าเนิน/มีพระหฤทัยเปี่ยมด้วยโสมนัสอินทรีย์/ในภูมิภาพที่ทรง คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๔ ฝกอานออกเสียงบทรอยแกว ออกเสียงใหชัดเจน ñð
จ�ามาได้แต่กาลก่อน/เช่น/ยอดเขากาฬกูฏ/ไวบูลยบรรพต/อิสิคิลิ/และคิชฌกูฏ/ซึ่งสูงตระหง่าน และเวนวรรคใหถูกตอง (ท ๑.๑ ม.๒/๑,๘)

กว่ายอดอืน่ /ยิง่ กว่านี/้ ทรงทอดทัศนาเห็นเขาเวภาระ/อันมีกระแสธารน�า้ ร้อน/ก็ทรงระลึกถึงคูหา หินกอนหนึ่ง

ใต้ต้นสัตตบรรณ/อันอยู่เชิงเขานั้นว่า/เมื่อพระองค์ยังเสด็จสัญจรร่อนเร่แต่โดยเดียว/แสวงหา มันเปนเพียงหินกอนหนึ่ง ขนาดโตกวาหัวแมมือเล็กนอย ใสแจว เกลี้ยงเกลา


สีนํ้าตาลออนจนเกือบเปนสีครีม มีเสนสีชมพูเรื่อๆ วกวนไปมาอยางมีระเบียบอยูในเนื้อของ

พระอภิสัมโพธิญาณ/ได้เคยประทับส�าราญพระอิริยาบถอยู่ในที่นั้นเป็นครั้งแรก/ก่อนที่จะเสด็จ มัน…
ฉันหยิบมันขึ้นมาพินิจ ความใสของเนื้อหินและเสนสีชมพูบางๆ นั่น ทําใหรูสึกวา

ออกจากสังสารวัฏ/เข้าสู่แดนศิวโมกษปรินิพพาน// มันละเอียดออนบอบบางเหลือเกิน ดูสวย นาถนอม แลวก็ละมุนละไม… ทั้งๆ ที่มันเปนศิลา


แข็งและกระดาง
ฉันไมไดเก็บมันขึ้นมาจากพื้นทราย ไมไดพรากมันมาจากกนทะเลลึก เพียงแตเด็ก
(กามนิต: เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป) คนหนึ่งสงให เด็กคนไหน? ฉันก็ตอบไมได เพียงแตแกผานมา หัวเราะดวยไมตรี แลวก็ยื่น
หินกอนนีม้ าใหอยางซือ่ ๆ เปดเผย แมจะอายๆ แลวก็ผา นเลยไปตามชนบท บางทีคนแปลกหนา
ฉบับ
เฉลย ก็นา รักอยางนี้ เขาตรงเขามาใหอะไรแกคณ ุ สักอยางทีด่ ูไมมคี า อะไรเลย ใหอยางไมมปี ไ มมขี ลุย
จากแบบฝึกอ่านเรือ่ ง กามนิต ผลงานของเสฐียรโกเศศและนาคะประทีป เป็นบทพรรณนาให้เห็น ไมมีเหตุผล แลวก็ผละจากไป ทิ้งคุณไวแตเดียวดายเหมือนเดิม โดยไมเรียกรองสิ่งตอบแทน
ไมไดขออะไรจากคุณเลยแมแตยิ้มหรือขอบใจสักคํา
บรรยากาศอันสดชื่น สวยงามในยามเย็นของกรุงราชคฤห์ ซึ่งผู้อ่านจะต้องออกเสียงอักขระให้ถูกต้อง ฉันกําหินกอนนั้นไวในมือจนอุน ฉันรูสึกเปนกันเองกับมันอยางเหลือเกิน พรอมๆ
กับใจก็พลอยรูสึกเปนกันเองไปกับเด็กคนนั้น ซึ่งฉันจําหนาไมไดถนัด รูแตวาตัวดําป และ
ชัดเจน และอ่านโดยใช้น�้าเสียงให้เข้ากับเนื้อเรื่อง เวลาหัวเราะก็ยิงฟนขาว…
แกผานไปแลวพอหนูคนนั้น บางทีเราอาจจะไมไดพบกันอีกเลยชั่วชีวิตนี้ แตแก
นอกจากนี้ยังมีค�าที่ต้องระมัดระวังการอ่านให้ถูกต้องและเข้าใจความหมายด้วย เช่น ก็ไดทิ้งอะไรไวอยางหนึ่งในชีวิตหงอยๆ ของคนๆ หนึ่ง อะไรอยางหนึ่งซึ่งดูไมมีความหมาย
และมันไรจุดมุงอันเจาะจง แตก็ทรงคุณคาเต็มตัวในแบบของมันเอง
เบญจคีรีนคร อ่านว่า เบน - จะ - คี - รี - นะ - คอน หมายถึง เมืองที่มีภูเขา ๕ ลูก แบบของการใหอยางอิสระ ไมมีการบีบบังคับ ไมมีการถือวาเปนความจําเปน ไมใช
เพื่อมารยาทอะไรทั้งสิ้น ใหเพราะใจอยากใหเทานั้น แลวผูรับก็รับเอาอยางอิสระ ไมมีพันธะ
ราชคฤห์ ” ราด - ชะ - คฺรึ ” แคว้นในอดีตของอินเดีย จะตองตอบแทนอันใด รับเอาเพราะมีผูใหเทานั้น
(หินกอนหนึ่ง โดย นิด นรารักษ)
ปริมณฑล ” ปะ - ริ - มน - ทน ” บริเวณโดยรอบ (การใหคะแนนขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน โดยสังเกตจากการอานตัว ร ล ควบกลํ้า
๔ และการแบงวรรคตอน)

11

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดแบงวรรคตอนในการอานออกเสียงไดถูกตอง
แบบฝกอานบทพรรณนาบทนี้เพิ่มเติมจากหนังสือเรียน เพื่อใหครูนําไปใหนักเรียน
1. ในการดูตาสําคัญ / ที่สุด / ในการฟงหูสําคัญ / ที่สุด
ฝกทักษะการอานออกเสียงรอยแกวรวมกันในกระบวนการขั้นอธิบายความรู
2. ในการดูตาสําคัญที่สุด / ในการฟงหูสําคัญที่สุด
“...เสียงรํ่าไหสะอึกสะอื้นของแมเฒา ดังผสานเสียงรินไหลของสายนํ้ามูล เชาวันนั้น
3. ในการดู / ตาสําคัญที่สุด / ในการฟง / หูสําคัญที่สุด
แมคอยๆ แผวเบาลงดวยความอิดโรย แตก็ทําใหบรรยากาศแหงความเวทนาสงสาร
4. ในการดูตา / สําคัญที่สุด / ในการฟงหู / สําคัญที่สุด
ปกคลุมไปทั่วทั้งคุงนํ้า ชวงที่ไหลผานบานตากลาง หมูบานคนเลี้ยงชางแหงอําเภอ
วิเคราะหคําตอบ การอานออกเสียง การแบงวรรคตอนในการอานใหถกู ตอง ทาตูม จังหวัดสุรินทร ไมไกลกัน ลูกชายของหลอนซึ่งอยูในสภาพที่ทรุดโทรม
มีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เพราะหากผูอานแบงวรรคตอนในการอานผิด ทั้งรางกายและจิตใจ ไมตางอะไรกับนักสูผูปราชัยในการศึกยืดเยื้อนานถึงสองวัน
จะสงผลใหผูฟงไมเขาใจเนื้อหาสาระ เพราะตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อน สองคืน กําลังลงมีดชําแหละราง “แมคําแปน” ที่ไรวิญญาณ อยูอยางอิดโรย เนิบนาบ
การแบงวรรคตอนทีถ่ กู ตอง นอกจากจะยึดจากชวงจังหวะหยุดพักหายใจของ ปลายมีดที่กดลงไปบนหนั่นเนื้อแนนและเหนียวแตละครั้ง ไมตางจากคมมีดที่กรีดลึก
ผูอ า นแลว ตองยึดเนือ้ หาเปนสําคัญ ไมควรแบงวรรคตอนแลวทําใหเสียความ ลงในจิตวิญญาณลูกชายคนเลี้ยงชาง...” (แมคําแปน โศกนาฏกรรมริมฝงมูล: ธีรภาพ
ดังนั้นจึงตอบขอ 3. โลหิตกุล)

คู่มือครู 11
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูกระตุน ความสนใจเพือ่ นําเขาสูห วั ขอการเรียน
การสอน ดวยการเปดคลิปเสียงการเหชมกระบวนเรือ จรด อ่านว่า จะ - หฺรด หมายถึง เข้าไปชิด
พระราชพิธีใหนักเรียนฟง จากนั้นตั้งคําถามวา ตถาคต ” ตะ - ถา - คด ” พระพุทธเจ้า
• เมื่อไดฟงบทเหชมกระบวนเรือจบลงแลว ทวารบถ ” ทะ - วา - ระ - บด ” ทางเข้าออก
นักเรียนมีความรูสึกอยางไร กาฬกูฏ ” กา - ละ - กูด ” ยอดสีด�า
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไวบูลยบรรพต ” ไว - บูน - ยะ - บัน - พด ” ภูเขาที่สมบูรณ์
ไดอยางอิสระ) พระเยาวกาล ” พฺระ - เยา - วะ - กาน ” เวลาที่ยังยาวอยู่
• จากบทเหชมกระบวนเรือที่ไดฟง นักเรียน อิฏฐารมณ์ ” อิด - ถา - รม ” อารมณ์ สิง่ ทีน่ า่ ปรารถนา
คิดวาผูเหมีกลวิธีพิเศษอยางไร ที่ทําใหบทเห ผงม ” ผะ - หฺงม ” ประคบประหงม
มีความไพเราะ
(แนวตอบ ผูเหจะตองมีความรู ความเขาใจ ๓ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
เกี่ยวกับฉันทลักษณของบทรอยกรองแตละ
ร้อยกรอง เป็นบทประพันธ์ที่แต่งตามลักษณะข้อบังคับของฉันทลักษณ์ เช่น บังคับจ�านวนค�า
ประเภทเปนอยางดี เพื่อแบงวรรคตอน
ในการอานไดถูกตอง นอกจากนี้ตองเปน สัมผัส เสียงหนัก เบา เป็นต้น ร้อยกรองแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ ๖ ประเภท คือ โคลง ฉันท์ กาพย์
ผูมีจิตใจละเอียดออน มีความสามารถในการ กลอน ร่าย และลิลิต
ตีความเนื้อหาสาระ เพราะหากผูเหมีความ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง 1คือ การอ่านบทร้อยกรองแต่ละประเภทให้ไพเราะตามลีลา
เขาใจในเนื้อหาสาระ รูวากลาวถึงอะไร อารมณ์ ท�านองฉันทลักษณ์ของร้อยกรองประเภทนั้นๆๆ โดยผู้อ่านต้องฝึกฝนทักษะการอ่าน ฝึกการใช้
เพื่ออะไร ก็จะสามารถออกแบบการใช น�้าเสียง เพื่อให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์ จินตนาการตามเนื้อเรื่อง
นํ้าเสียงใหเขากับเนื้อความไดโดยงาย กอให
๓.๑ หลักการฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
เกิดความไพเราะ เหมาะสม เปนทวงทํานอง
ที่นาฟง) การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองให้ถูกต้อง ไพเราะ ควรค�
2 านึงถึงหลักการอ่าน ดังนี้
• เพราะเหตุใดการอานออกเสียงบทรอยแกว ๑. ฝึกอ่านให้ถูกต้องตามท�านองและลีลาของลักษณะค�าประพันธ์
กับการอานออกเสียงบทรอยกรองจึงมี ๒. ฝึกอ่านออกเสียงอักขระ ค�าควบกล�้า ให้ถูกต้องชัดเจน
ทวงทํานองในการอานแตกตางกัน ๓. ฝึกอ่านเอื้อเสียงสัมผัส เพื่อให้เกิดความไพเราะ เช่น
(แนวตอบ เพราะบทรอยกรองมีการบังคับ ■ “ข้าขอเคารพอภิวันท์” ค�าว่า อภิวันท์ ต้องอ่านว่า อบ - พิ - วัน เพื่อเอื้อเสียงให้สัมผัส
จํานวนคํา จํานวนวรรค และเสียงวรรณยุกต กับค�าว่า เคารพ
หรือที่เรียกวาฉันทลักษณ ซึ่งฉันทลักษณ ■ “มิใช่จักลืมคุณกรุณา” ค�าว่า กรุณา ต้องอ่านว่า กะ - รุน - นา เพื่อเอื้อเสียงให้สัมผัส
เปนสิ่งกําหนดทวงทํานองในการอาน กับค�าว่า คุณ
ในขณะที่บทรอยแกวมีลักษณะเปนความเรียง ๔. ฝึกอ่านให้เต็มเสียงและต่อเนื่อง ไม่ขาดเป็นห้วงๆ ฝึกสอดแทรกอารมณ์ให้เหมาะสม
ที่สละสลวย ไมมีการกําหนดจํานวนคํา กับเนื้อเรื่อง
จํานวนวรรค จึงไมมีทวงทํานองขณะอาน
แตถึงอยางไรการอานออกเสียงบทรอยแกว
ผูอานก็จะตองแบงวรรคตอนในการอาน 12
ใหเหมาะสม เกิดเปนชวงจังหวะ และสือ่ ความ
ไดชัดเจน)
ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
เพราะเหตุใดการอานออกเสียงบทรอยกรองจึงตองมีการใสทว งทํานอง
1 ฉันทลักษณของรอยกรอง กวีที่ดีจะเลือกใชฉันทลักษณที่มีความเหมาะสม โดยมี
ในขณะอาน
ลีลาและเสียงสอดคลองกับเนื้อหาและอารมณของเรื่อง ซึ่งจะทําใหผูฟงเขาถึงอารมณ
ของเรื่อง และไดรับสุนทรียทางดานเสียงอยางลึกซึ้ง แนวตอบ ตัง้ แตสมัยโบราณคนไทยเปนคนเจาบท เจากลอน ถอยคํา สํานวน
2 ถูกตองตามทํานองและลีลา การอานออกเสียงบทรอยกรองใหถูกตองตามทํานอง ที่ใชอยูในชีวิตประจําวันจึงมักมีเสียงสัมผัสคลองจอง ภาษาไทยเปนภาษา
และลักษณะคําประพันธ เปนสวนสําคัญในการอานออกเสียงบทรอยกรอง เพราะจังหวะ ดนตรี มีเอกลักษณเฉพาะตัว เมื่อนํามารอยเรียงตอกันจึงทําใหเกิดเปน
และทวงทํานองของฉันทลักษณที่แตกตางกันจะใหอารมณความรูสึกที่แตกตางกัน บทรอยกรอง ซึ่งการอานบทรอยกรอง ถาอานในใจก็จะไดประโยชนเฉพาะ
ตัวผูอาน ไมวาจะเปนทวงทํานองที่ไพเราะ หรือความซาบซึ้งในเนื้อหาสาระ
ดังนั้น การอานออกเสียงบทรอยกรองเปนทํานองจึงไดเกิดขึ้น และหากอาน
มุม IT โดยใชกระแสเสียงเพียงเสียงเดียว ก็จะทําใหผูฟงไมไดรับอรรถรสจากการฟง
เทาที่ควร ทั้งยังไมสามารถจินตนาการเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงไดอยางเต็มที่
นักเรียนสามารถเขาไปสืบคนเพิ่มเติมเกี่ยวกับฉันทลักษณของบทรอยกรองไทย การใสทวงทํานองขณะอานออกเสียงบทรอยกรอง จึงเทากับเปนการเพิ่ม
ไดจากเว็บไซต http://kanchanapisek.or.th/kp6/Book17/chapter2/chap2.htm อรรถรสในการฟง ทําใหไมนาเบื่อ และสงเสริมจินตนาการ

12 คู่มือครู
ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expand Evaluate
ส�ารวจค้นหา Explore
แบงนักเรียนเปน 4 กลุม ในจํานวนเทาๆ กัน
๕. ฝึกอ่านเว้นวรรคตอนให้เหมาะกับเนือ้ หา บางครัง้ ต้องอ่านรวบค�า หรือผ่อนเสียงตามเนือ้ หา หรือเฉลี่ยตามความเหมาะสม ครูทําสลากจํานวน
เช่น “แขกเต้าจับเต่าร้างร้อง” ต้องอ่านว่า แขกเต้า-จับเต่าร้าง-ร้อง หมายถึง นกแขกเต้าจับต้นเต่าร้าง 4 ใบ พรอมระบุขอความในแตละหมายเลข
ส่งเสียงร้อง ถ้าหากอ่านเว้นวรรคตอนผิดความหมายจะผิดไปจากเดิม จากนั้นใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาจับสลาก
๖. ฝึกอ่านจากครูผู้สอนที่มีทักษะในการอ่านที่ถูกต้อง หรือฝึกอ่านจากอุปกรณ์บันทึกเสียง ประเด็นสําหรับการสืบคนความรูรวมกัน ดังนี้
จะช่วยให้เข้าใจศิลปะการออกเสียง เช่น การเอือ้ นเสียง การหลบเสียง การครัน่ เสียง การกระแทกเสียง
1 หมายเลข 1 การอานออกเสียงกลอนบทละคร
การทอดเสียง เพื่อน�าทักษะดังกล่าวมาปฏิบัติด้วยตนเอง หมายเลข 2 การอานออกเสียงกลอนเพลงยาว
การเอือ้ นเสียง หมายถึง การลากเสียงให้เข้าจังหวะและไว้หางเสียงเพือ่ ความไพเราะ หมายเลข 3 การอานออกเสียงกลอนนิทาน
การหลบเสียง หมายถึง การปรับระดับเสียงที่สูงเกินไปหรือต�่าเกินไปให้พอดีกับ หมายเลข 4 การอานออกเสียงกาพยหอ โคลง
ระดับเสียงของตน สมาชิกทุกคนภายในกลุม รวมกันสืบคนความรู
การครั่นเสียง หมายถึง การท�าเสียงสะเทือน ให้สะดุด ฟังแล้วรู้สึกเศร้าสร้อย จากแหลงขอมูลตางๆ ทีเ่ ขาถึงได และมีความ
การกระแทกเสียง หมายถึง การกระชากเสียงให้ดังกว่าปกติเพื่อแสดงอารมณ์ของ นาเชือ่ ถือ สรุปขอมูลทีเ่ ปนประโยชน เหมาะสม
บทอ่าน เช่น โกรธ ไม่พอใจ หรือต้องการเน้นเสียงให้เห็นถึง ทีจ่ ะนําเสนอหนาชัน้ เรียน โดยใหมคี วามครอบคลุม
เนื้อความที่เป็นการแสดงความรวดเร็ว ว่องไว รุนแรง ดังนี้
การทอดเสียง หมายถึง การผ่อนเสียงคลายจังหวะให้ช้าลง • ฉันทลักษณบทรอยกรอง (ที่จับสลากได)
๓.๒ แบบฝึกการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง • แนวทางหรือกลวิธีการฝกฝน
ร้อยกรองแต่ละประเภทมีลักษณะท่วงท�านอง ลีลา และจังหวะในการอ่านต่างกัน ผู้อ่านต้อง
ศึกษาให้เข้าใจเพื่อจะได้อ่านออกเสียงให้ถูกต้อง อธิบายความรู้ Explain
ส�าหรับในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ นี้ เลือกมาให้ศึกษาเพียง ๔ ประเภท คือ กลอนบทละคร 1. สมาชิกกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 1 รวมกัน
กลอนเพลงยาว กลอนนิทาน 2และกาพย์ห่อโคลง ซึ่งมีลักษณะการอ่าน ดังนี้ อธิบายความรูเกี่ยวกับการอานออกเสียง
๑) กลอนบทละคร มีหลักการอ่าน ดังนี้ บทรอยกรองประเภทกลอนบทละคร
๑. การอ่านค�าน้อย ให้อ่านโดยใส่เสียงเอื้อนให้ยาวกว่าปกติ เช่น “เมื่อนั้น...” 2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับ
๒. การอ่านค�ามาก ให้อ่านรวบค�าให้มีความกระชับตรงวรรคและระมัดระวังไม่ให้ผิด การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท
ไปจากความหมาย เช่น กลอนบทละคร โดยใชความรู ความเขาใจ
“มาจะกล่าวบทไป” ต้องอ่านรวมทั้งห้าพยางค์ ทีไ่ ดรบั จากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตน
“ท้าวสหัสนัย/ตรัยตรึงสา” สําหรับตอบคําถาม
ผู้อ่านต้องอ่านค�าว่า ท้าวสหัสนัย ให้ติดต่อกันโดยใช้การเอื้อนเสียง • กลอนบทละครมีฉันทลักษณอยางไร
๓. การอ่านค�าจ�านวนปกติ เช่น (แนวตอบ มีฉันทลักษณเชนเดียวกับกลอน
“รจนา/นารี/มีศักดิ์” สุภาพ วรรคหนึง่ มีจาํ นวนคํา 6-9 คํา แตนยิ ม
“เทพไท/อุปถัมภ์/น�าชัก” ใชเพียง 6-7 คํา จึงจะเขาจังหวะในการรอง
“นงลักษณ์/ดูเงาะ/เจาะจง” และรําของตัวละคร ทําใหมีความไพเราะ
13 กลอนบทละครมักขึ้นตนบทวา “เมื่อนั้น”
“บัดนั้น” “มาจะกลาวบทไป” ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
วากลอนบทนั้นๆ กลาวถึงตัวละครตัวใด)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นวาผูที่จะอานทํานองเสนาะไดดีควรมี
1 ปฏิบัติดวยตนเอง การอานออกเสียงบทรอยกรองใหมีความไพเราะ ผูอาน
คุณสมบัติที่โดดเดนอยางไร
จะตองมีความรู ความเขาใจทีถ่ กู ตองเกีย่ วกับฉันทลักษณของบทรอยกรองแตละประเภท
แนวตอบ ผูที่จะอานทํานองเสนาะไดดีจะตองมีสุขภาพที่แข็งแรง สมบูรณ เพื่อใหแบงวรรคตอนไดถูกตอง รวมถึงใชนํ้าเสียงใหเหมาะสมกับบทอาน
มีนํ้าเสียงที่ดังกังวาน แจมใส มีความรอบรู แตกฉานในฉันทลักษณของ สิ่งสําคัญที่สุดผูอานควรฝกปฏิบัติดวยตนเอง โดยเริ่มฝกจากบทรอยกรองประเภท
บทรอยกรองแตละประเภทเปนอยางดี มีความเพียรพยายาม ความอดทน กลอนแปด เนื่องจากมีจํานวนคําที่พอดีกับการแบงจังหวะและการทอดเสียง ฝกอาน
ทีจ่ ะฝกฝน เมือ่ ตองอานบทรอยกรองทีต่ นเองยังไมมคี วามชํานาญหรือมี ไปทีละวรรคๆ จนเกิดความชํานาญ จากนั้นจึงหาบทรอยกรองที่ตนเองมีความ
ความชํานาญไมเพียงพอ มีความเชื่อมั่นในตนเอง กลาแสดงออก ประทับใจฝกในลักษณะดังกลาว เมือ่ เกิดความชํานาญแลว จึงเริม่ ฝกจากบทรอยกรอง
มีสมาธิจดจออยูกับสิ่งที่กําลังกระทํา มีความรอบคอบ ปฏิภาณไหวพริบ ประเภทอื่นๆ โดยสังเกตจํานวนคํา ทํานอง แลวฝกฝนอยางสมํ่าเสมอ สํารวจ
สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนาไดดี เชน ในกรณีที่อานบทรอยกรอง ขอบกพรองของตนเองจากการฝกฝนในแตละครั้ง แกไขจนกระทั่งไมพบขอบกพรอง
แลวพบวาภายในวรรคนั้น มีคําที่เกินหรือขาดไปจากที่แผนผังกําหนดไว 2 กลอนบทละคร การอานออกเสียงกลอนบทละครจะมีความไพเราะและสราง
ผูอานจะตองแกปญหาโดยอานรวบคําหรือยืดเสียงใหไดจังหวะครบถวน อารมณความรูสึกใหแกผูฟงไดมากนอยเพียงใดนั้น ขึ้นอยูกับการใสอารมณและความ
เปนตน รูสึกขณะอาน โดยมีหลักอยูวาตองมีความเหมาะสมกับบรรยากาศของเรื่อง
ที่ผูแตงกําหนดไว

คู่มือครู 13
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการอาน อาจแบ่งจังหวะการอ่าน เช่น
ออกเสียงบทรอยกรองประเภทกลอนบทละคร อ่านแบบ ๒/๓/๒ “ประทาน/ให้ล้างเท้า/เทวา”
โดยใชความรู ความเขาใจทีไ่ ดรับจากการ อ่านแบบ ๓/๒/๓ “จนผมโกร๋น/โล้นเกลี้ยง/ถึงเพียงหู”
ฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ อ่านแบบ ๒/๒/๓ “ดูเงา/ในน�้า/แล้วร้องไห้”
ตอบคําถาม ๔. อ่านเน้นค�าที่ต้องการให้โดดเด่น เช่น
• กลอนบทละครเปนบทรอยกรองที่มีลักษณะ “เป็นชายดูดู๋มาหมิ่นชาย มิตายก็จะได้เห็นหน้า”
เฉพาะที่โดดเดนอยางไร ๕. อ่านแสดงอารมณ์ให้สมกับบทบาทของตัวละคร เช่น อารมณ์โกรธต้องกระแทกเสียง
(แนวตอบ ในขั้นตอนของการประพันธ บทเศร้าต้องทอดเสียง บทโอ้โลมต้องท�าเสียงออดอ้อน เป็นต้น
ผูประพันธจะตองเลือกสรรถอยคําใหมี
ความสัมพันธกับทารายรําและทํานองที่ใช แบบฝึกอ่านออกเสียงกลอนบทละคร
บรรเลง สวนในขั้นตอนของการขับรอง
ผูขับรองจะตองใชนํ้าเสียงใหมีความ  มาจะกล่าวบทไป ถึงนนทก/น�้าใจ/กล้าหาญ
เหมาะสมตามบทบาทของตัวละคร ตั้งแต่/พระสยม/ภูวญาณ ประทาน/ให้ล้างเท้า/เทวา
เพื่อสงเสริมการรําบทหรือตีบทของตัวละคร อยู่บันได/ไกรลาส/เป็นนิจ สุราฤทธิ์/ตบหัว/แล้วลูบหน้า
แตละตัวภายในเรื่อง ใหมีความสมจริง) บ้างให้ตัก/น�้าล้าง/บาทา บ้างถอน/เส้นเกศา/วุ่นไป
• หากจํานวนคําภายในวรรคมีคําเกินไปจาก จนผมโกร๋น/โล้นเกลี้ยง/ถึงเพียงหู ดูเงา/ในน�้า/แล้วร้องไห้
ที่กําหนดไว จะมีวิธีการแกไขปญหา ฮึดฮัด/ขัดแค้น/แน่นใจ ตาแดง/ดั่งแสง/ไฟฟ้า
ขณะอานอยางไร เป็นชาย/ดูดู๋/มาหมิ่นชาย มิตาย/ก็จะได้/เห็นหน้า
(แนวตอบ อานรวบคํา โดยออกเสียงเบาใน คิดแล้ว/ก็รีบ/เดินมา เฝ้าพระ/อิศรา/ธิบดี
พยางคที่เกินมา แลวจึงออกเสียงใหชัดเจน ฯ ๘ ค�า ฯ เสมอ
เมื่อถึงพยางคที่กําหนดตรงกับฉันทลักษณ) (รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก: พระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช)
2. นักเรียนรวมกันอานออกเสียงบทรอยกรอง
ประเภทกลอนบทละคร จากหนังสือเรียน กลอนบทละครบทนี้ แสดงอารมณ์ โ กรธแค้ น ของนนทกเมื่ อ ถู ก เทวดารั ง แก วรรคที่ ว ่ า
ภาษาไทย หนา 14 โดยครูคอยสังเกตการ “เป็นชายดูดู๋มาหมิ่นชาย มิตายก็จะได้เห็นหน้า” จะต้องอ่านกระแทกเสียงเพื่อแสดงอารมณ์โกรธ
แบงวรรคตอน ทวงทํานอง การใชนํ้าเสียง ส่วนเนื้อความตอนที่นนทกมาขอพรจากพระอิศวร ผู้อ่านต้องครั่นเสียง ท�าเสียงสะดุด และทอดเสียง
ใหคําแนะนําเมื่อการอานสิ้นสุดลง หรืออาจให ในตอนท้าย เพื่อแสดงอารมณ์ความรู้สึกเศร้าใจ เสียใจ และน้อยใจของนนทก
นักเรียนรวมกันอานกลอนบทละครเรื่องอิเหนา ๒) กลอนเพลงยาว มีหลักการอ่าน ดังนี้
ซึ่งยกตัวอยางไวในเกร็ดแนะครู ๑. ผูอ้ า่ นต้องพิจารณาจ�านวนค�าทีอ่ า่ นว่าวรรคใดควรอ่านลงจังหวะ ๒/๒/๓, ๓/๒/๓ หรือ
๓/๓/๓ และรู้จักรวบค�า เช่น

14

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว NT O-NE T

ใหนักเรียนประเมินวาจากบทรอยกรองที่กําหนดให ตัวละครกําลังอยูใน
บทรอยกรองนี้สําหรับครูใชเปนตัวอยางใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมขอ 2.
อารมณความรูสึกใด และควรใชนํ้าเสียงใหเหมาะสมกับอารมณของเรื่อง
กระบวนการขั้นอธิบายความรู
อยางไร
เมื่อนั้น โฉมยงองคระเดนจินตะหรา
เมื่อมึงพอใจทรลักษณ ไมรักสุริยวงศยักษี
คอนใหไมแลดูสารา กัลยาคั่งแคนแนนใจ
ขอใหวิบัติอัปรีย อยามีสิ่งซึ่งสถาวร
แลววาอนิจจาความรัก พึ่งประจักษดั่งสายนํ้าไหล
มาตรแมนจะออกตอยุทธ ใหตายดวยอาวุธแสงศร
ตั้งแตจะเชี่ยวเปนเกลียวไป ที่ไหนเลยจะไหลคืนมา
ขององคพระรามสี่กร พายแพฤทธิรอนทุกวันไป
สตรีใดในพิภพจบแดน ไมมีใครไดแคนเหมือนอกขา
(รามเกียรติ์: รัชกาลที่ 1)
ดวยใฝรักใหเกินพักตรา จะมีแตเวทนาเปนเนืองนิตย
โอวานาเสียดายตัวนัก เพราะเชื่อลิ้นหลงรักจึงชํ้าจิต แนวตอบ ตัวละครกําลังอยูในอารมณเกรี้ยวกราด โกรธแคน จนกระทั่ง
จะออกชื่อลือชั่วไปทั่วทิศ เมื่อพลั้งผิดแลวจะโทษใคร สาปแชงใหบุคคลผูนั้นไมมีความมั่นคงในชีวิต หากแมตองไปตอสูก็ขอให
... พบกับความพายแพ การใชนํ้าเสียงจึงตองแสดงใหเห็นอารมณของความ
โอแตนี้สืบไปภายหนา จะอายชาวดาหาเปนแมนมั่น โกรธแคน ดวยการกระแทกเสียง กระชากเสียงใหดังกวาปกติ เนนเสียง
เขาจะคอนนินทาทุกสิ่งอัน นางรําพันวาพลางทางโศกาฯ ใหรวดเร็ว เพื่อถายทอดอารมณโกรธของตัวละคร ซึ่งกวีวางไวไดอยาง
ฯ14 คําฯ โอด เหมาะสม ครบถวน
14 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. สมาชิกกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 2 รวมกัน
อ่านลงจังหวะ ๓/๓/๓ “ควรมิควร/จวนจะพราก/จากสถาน” อธิบายความรูเกี่ยวกับการอานออกเสียง
อ่านลงจังหวะ ๓/๓/๓ “ขอขอบคุณ/ทูลกระหม่อม/ถนอมรัก” บทรอยกรองประเภทกลอน เพลงยาว
อ่านลงจังหวะ ๓/๒/๓ “เสด็จมา/ปราศรัย/ถึงในกุฎี” 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
ต้องรวมค�า กุฎี โดยออกเสียง กุ เบาๆ อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ
อ่านลงจังหวะ ๓/๒/๓ “ดังวารี/รดซาบ/อาบละออง” การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท
๒. ผูอ้ า่ นต้องพิจารณาบทอ่านว่าสือ่ อารมณ์ใด ควรอ่านใส่อารมณ์ให้สอดคล้องกับเนือ้ หา กลอนเพลงยาว โดยใชความรู ความเขาใจ
เช่น บทที่คัดมาให้ฝึกอ่าน เป็นจดหมายลาต้องอ่านทอดเสียงเศร้า ทีไ่ ดรบั จากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตน
๓. ผู้อ่านควรอ่านโดยเน้นค�าส�าคัญเพื่อแสดงอารมณ์ เช่น สําหรับตอบคําถาม
“มาครั้งนี้/วิบาก/จากพระบาท ใจจะขาด/คิดหมาย/ไม่วายหวัง” • กลอนเพลงยาวมีฉันทลักษณอยางไร
ค�าว่า ใจจะขาด ต้องครั่นเสียงเหมือนก�าลังสะอื้นไห้ (แนวตอบ มีลักษณะเชนเดียวกับกลอนสุภาพ
๔. ผู้อ่านต้องทอดเสียงในวรรคสุดท้ายเพื่อให้รู้ว่าจบความ แตกตางกันที่กลอนเพลงยาวขึ้นตนบทดวย
1 วรรครับ คําสุดทายของกลอนเพลงยาว
ตัวอย่แบบฝึ กอ่านออกเสี
าง แบบฝึ ยงกลอนเพลงยาว
กอ่านออกเสี ยงกลอนเพลงยาว มักลงดวยคําวา “เอย” ผูประพันธสามารถ
เพลงยาวถวายโอวาท
ประพันธใหยาวเทาใดก็ได โดยไมจํากัด
ควรมิควร/จวนจะพราก/จากสถาน
จํานวนบท)
จึงเขียนความ/ตามใจ/อาลัยลาญ ขอประทาน/โทษา/อย่าราคี//
• นักเรียนรวมกันยกตัวอยางวรรณคดี
ด้วยขอบคุณ/ทูลกระหม่อม/ถนอมรัก เหมือนผัดพักตร์/ผิวหน้า/เป็นราศี
ที่ประพันธดวยกลอนเพลงยาว
เสด็จมา/ปราศรัย/ถึงในกุฎี ดังวารี/รดซาบ/อาบละออง//
(แนวตอบ กลอนเพลงยาวสรรเสริญพระเกียรติ
ทั้งการุญ/สุนทรา/คารวะ ถวายพระ/วรองค์/จ�านงสนอง
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว
ขอพึ่งบุญ/มุลิกา/ฝ่าละออง พระหน่อสอง/สุริย์วงศ์/ทรงศักดา//
กลอนเพลงยาวรบพมาที่ทาดินแดง
ด้วยเดี๋ยวนี้/มิได้รอง/ละอองบาท จะนิราศ/แรมไป/ไพรพฤกษา
กลอนเพลงยาวถวายโอวาท เปนตน)
ต่อถึงพระ/วสาอื่น/จักคืนมา พระยอดฟ้า/สององค์/จงเจริญ//
3. นักเรียนรวมกันอานออกเสียงบทรอยกรอง
อย่ารู้โรค/โศกเศร้า/เหมือนเขาอื่น พระยศยืน/ยอดมนุษย์/สุดสรรเสริญ
ประเภทกลอนเพลงยาว จากหนังสือเรียน
มธุรส/ชดช้อย/ให้พลอยเพลิน จะต้องเหิน/ห่างเห/ทุกเวลา//
ภาษาไทย หนา 15 โดยครูคอยสังเกต
ไหนจะคิด/พิศวง/ถึงองค์ใหญ่ ทั้งอาลัย/องค์น้อย/ละห้อยหา
การแบงวรรคตอน ทวงทํานอง การใชนํ้าเสียง
มิเจียมตัว/กลัวพระราช/อาชญา จะใส่บ่า/แบกวาง/ข้างละองค์//
ใหคําแนะนําเมื่อการอานสิ้นสุดลง
พาเที่ยวชม/ยมนา/มหาสมุทร เมืองมนุษย์/นกไม้/ไพรระหง
ต่อรอนรอน/อ่อนอับ/พยับลง จึงจะส่ง/เสด็จให้/เข้าในวัง//
2
(เพลงยาวถวายโอวาท: สุนทรภู่)
(เพลงยาวถวายโอวาท:

15

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ในการอานทํานองเสนาะบทรอยกรองเมื่อถึงวรรคจบควรปฏิบัติอยางไร
1 กลอนเพลงยาว แตเดิมนั้นคนมักจะเขาใจกันวา กลอนเพลงยาวจะตองมี
1. อานโดยใชเสียงหลบ
เนื้อความในเชิงเกี้ยวพาราสี ซึ่งที่จริงแลวกลอนเพลงยาวมีเนื้อหาที่หลากหลาย
2. อานโดยใชนํ้าเสียงสั้นและหวน
เชน กลอนเพลงยาวสรรเสริญบุคคล กลอนเพลงยาวที่เกี่ยวกับการศึกสงคราม
3. อานโดยการทอดเสียงใหยาวออกไปชาๆ
กลอนเพลงยาวที่แตงเปนทํานองจดหมายเหตุบันทึกเรื่องราว เปนตน
4. อานโดยการกระแทกเสียงเพื่อใหผูฟงทราบวาใกลจะจบแลว
กลอนเพลงยาวนิยมประพันธมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายและสืบตอเนื่อง
วิเคราะหคําตอบ การอานออกเสียงทํานองเสนาะบทรอยกรองใหมีความ มาจนถึงสมัยรัตนโกสินทรตอนตน และเฟองฟูมากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ-
ไพเราะ และถูกตองตามความนิยม เมื่ออานมาถึงวรรคที่เปนวรรคจบ ผูอาน พระนั่งเกลาเจาอยูหัว
ควรใชวิธีการอาน โดยการทอดเสียงใหยาวออกไปชาๆ ไมควรใชนํ้าเสียง 2 เพลงยาวถวายโอวาท เปนผลงานของสุนทรภู ซึ่งสันนิษฐานกันวา แตงขึ้น
ที่สั้น หวน สวนการใชเสียงหลบจะใชเพื่อปรับระดับเสียงที่สูงหรือตํ่าเกินไป ในสมัยรัชกาลที่ 3 ขณะทีส่ นุ ทรภูบ วชอยู ณ วัดราชบุรณะ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ
ใหเขากับเสียงของผูอาน ในขณะที่การกระแทกเสียงจะใชเมื่อแสดงอารมณ เจาฟากุณฑลทิพยวดี ไดทรงมอบพระราชโอรส 2 พระองคใหเปนศิษยของสุนทรภู คือ
ความรูสึกโกรธของตัวละคร ดังนั้นจึงตอบขอ 3. เจาฟากลางและเจาฟาปว ไมนานสุนทรภูไดถูกอธิกรณขับไลออกจากวัดราชบุรณะ
จึงไดแตงเพลงยาวบทนี้ทูลลาและถวายโอวาทเจาฟาซึ่งเปนศิษยทั้งสองพระองค

คู่มือครู 15
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. สมาชิกกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 3 รวมกัน
อธิบายความรูเกี่ยวกับการอานออกเสียง ๓) กลอนนิทาน มีหลักการอ่าน ดังนี้
บทรอยกรองประเภทกลอนนิทาน ๑. การอ่านท�านองเสนาะกลอนนิทานเหมือนการอ่านกลอนสุภาพทัว่ ไป แบ่งจังหวะการอ่าน
2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย เป็น ๓/๒/๓, ๒/๒/๓, ๒/๓/๓ หรือ ๓/๓/๓ ก็ได้ แต่ส่วนมากมักเป็น ๓/๒/๓ เช่น
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการอาน ฝ่ายผีเสื้อ/เหลือโกรธ/โลดทะลึ่ง เสียงโผงผึง/เผ่นโผน/ตะโกนผัว
ออกเสียงบทรอยกรองประเภทกลอนนิทาน เหตุไฉน/ไปนั่ง/ก�าบังตัว เชิญทูนหัว/เยี่ยมหน้า/มาหาน้อง
โดยใชความรู ความเขาใจที่ไดรับจากการ ๒. ท�านองในการอ่านกลอนนิทาน โดยทั่วไปนิยมอ่านเสียงสูง ๒ วรรค เสียงต�่า ๒ วรรค
ฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ จากตัวอย่างข้างต้น เสียงสูงคือค�าท้ายวรรคสดับและวรรครับ เสียงต�่าคือค�าท้ายวรรครองและวรรคส่ง
ตอบคําถาม ๓. อ่านค�าให้สัมผัสกันเพื่อความไพเราะ เช่น
• นักเรียนคิดวา เพราะเหตุใดกลอนนิทาน “ข้าขอเคารพอภิวันท์ ระลึกมั่น/พระคุณครู/ผู้อารี”
ซึ่งมีลักษณะเชนเดียวกับกลอนสุภาพ จึงมี ต้องอ่าน ข้าขอเคารพ - อบ - พิ - วัน (อภิวันท์) เพื่อให้คล้องจองกับ เคารพ
ชื่อเรียกเฉพาะวากลอนนิทาน ๔. อ่านให้ได้อารมณ์ตามเนื้อเรื่อง ปรับน�้าเสียงให้สอดคล้องกับอารมณ์ของตัวละคร เช่น
(แนวตอบ จากความหมายของนิทาน บทนางยักษ์เมื่อออดอ้อนพระอภัยมณี ควรอ่านเสียงอ่อนหวาน แต่เมื่อพระฤๅษีแห่งเกาะแก้วพิสดาร
ที่กลาววา นิทานเปนเรื่องที่เกิดขึ้นจาก มาตักเตือน นางยักษ์จึงเกิดอารมณ์โกรธ ใช้ถ้อยค�าหยาบคายตอบโต้ ควรอ่านกระแทกเสียง เป็นต้น
จินตนาการของผูแตง มีทั้งเรื่องผจญภัย กลอนนิทานที่คัดเลือกมาให้ฝึกอ่าน เป็นตอนที่พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทร
ความรัก ความโศกเศรา วีรบุรุษ ตลกขบขัน โดยอาศัยนางเงือกและพ่อแม่เงือกช่วยพาหนี นางผีเสื้อสมุทรแค้นใจเมื่อจับพ่อแม่เงือกได้จึงกินเสีย
เหนือธรรมชาติ ตัวละครมีลักษณะ นางเงือกพาพระอภัยมณีหนีมาถึงเกาะแก้วพิสดาร พระฤๅษีแห่งเกาะแก้วพิสดารช่วยเสกคาถาไม่ให้
หลากหลาย ทั้งมนุษย อมนุษย ผูวิเศษ นางผีเสื้อสมุทรเข้ามาใกล้ และสั่งสอนให้นางสงบใจกลับไปถ�้าของตน นางยักษ์ก�าลังโกรธจึงตอบโต้
สัตวตางๆ ที่มีอารมณ ความรูสึกนึกคิด พระฤ ๅษีอย่างรุนแรง ให้ผอู้ า่ นสังเกตอารมณ์ของตัวละครในเรือ่ ง ซึง่ มีทงั้ อารมณ์เสียใจ ออดอ้อน ตัดพ้อ
มีจิตใจเชนเดียวกับมนุษย จึงเรียกบทกลอน
ต่อว่า และโกรธเคือง แล้วฝึกอ่านตามท�านองและลีลาอารมณ์ ดังนี้
ที่ถายทอดเรื่องราวในลักษณะเชนนี้วา
“กลอนนิทาน”) แบบฝึกอ่านออกเสียงกลอนนิทาน
3. นักเรียนรวมกันอานออกเสียงบทรอยกรอง
ประเภทกลอนนิทาน จากหนังสือเรียนภาษาไทย สินสมุทร/สุดแสน/สงสารแม่ ช�าเลืองแล/ดูหน้า/น�้าตาไหล
หนา 16-17 โดยครูคอยสังเกตการแบงวรรคตอน จึงกราบกราน/มารดา/แล้วว่าไป จะเข้าใกล้/ทูนหัว/ลูกกลัวนัก
ทวงทํานอง การใชนํ้าเสียง ใหคําแนะนํา เมื่อวานนี้/ตีข้า/น้อยไปหรือ ระบมมือ/เหมือนกระดูก/ลูกจะหัก
เมื่อการอานสิ้นสุดลง ซึ่งรักลูก/ลูกก็รู้/อยู่ว่ารัก มิใช่จัก/ลืมคุณ/กรุณา*
ถึงตัวไป/ใจลูก/ยังผูกคิด พอปลดปลิด/เรื่องธุระ/จะมาหา
อย่ากริ้วโกรธ/โปรดปราน/เถิดมารดา ไปไสยา/อยู่ในถ�้า/ให้ส�าราญ
* อ่านว่า กะ-รุน-นา เพื่อให้สัมผัสกับ คุณ

16

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ความรูในเรื่องใดสําคัญที่สุดที่จะทําใหการอานออกเสียงทํานองเสนาะ
นอกจากกลอนนิทานเรื่องพระอภัยมณีแลว ครูควรคัดลอกกลอนนิทานจากเรื่อง
กลอนนิทานมีความนาสนใจ และผูฟงไดรับอรรถรสจากการฟง
อื่นๆ มาใหนักเรียนรวมกันฝกอาน เชน โคบุตร สิงหไกรภพ ลักษณวงศ เปนตน
1. ความรูเกี่ยวกับคําและสํานวน
หรืออาจใชตัวอยางคําประพันธตอไปนี้ ซึ่งคัดมาจากเรื่องพระอภัยมณี โดยมีความ
2. ความรูเกี่ยวกับการอานจับใจความสําคัญ
โดดเดนดานการแสดงอารมณความรูสึก
3. ความรูเกี่ยวกับการใชนํ้าเสียงใหเขากับอารมณของบทอาน
ถึงมวยดินสิ้นฟามหาสมุทร ไมสิ้นสุดความรักสมัครสมาน
4. ความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตร แหลงที่มาของกลอนนิทานเรื่องนั้นๆ
แมเกิดในใตหลาสุธาธาร ขอพบพานพิศวาสไมคลาดคลา
แมเนื้อเย็นเปนหวงมหรรณพ พี่ขอพบศรีสวัสดิ์เปนมัจฉา
แมเปนบัวตัวพี่เปนภุมรา เชยผกาโกสุมปทุมทอง วิเคราะหคําตอบ กลอนนิทาน คือ บทรอยกรองที่มีเนื้อหาสาระเปนเรื่อง
เจาเปนถํ้าอําไพขอใหพี่ เปนราชสีหสิงสูเปนคูสอง เกี่ยวกับจินตนาการของผูแตง มีตัวละครตางๆ ที่แสดงอารมณความรูสึกได
จะติดตามทรามสงวนนวลละออง เปนคูครองพิศวาสทุกชาติไป เชนเดียวกับมนุษย ดังนั้น การอานออกเสียงกลอนนิทานใหมีความนาสนใจ
ผูฟงไดรับอรรถรสจากการฟง เกิดจินตภาพที่ชัดเจน ผูอานจึงควรมีความรู
เกี่ยวกับการใชนํ้าเสียงประกอบการอาน เพื่อถายทอดอารมณความรูสึกของ
ตัวละครภายในเรื่องไดอยางสมจริง ดังนั้นจึงตอบขอ 3.

16 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. สมาชิกกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 4 รวมกัน
ฝ่ายโยคี/มียศ/พจนารถ ให้โอวาท/นางยักษ์/ไม่หักหาญ อธิบายความรูเกี่ยวกับการอานออกเสียง
จงตัดบ่วง/ห่วงใย/อาลัยลาน อย่าปองผลาญ/ลูกผัว/ของตัวเลย บทรอยกรองประเภทกาพยหอโคลง
ทั้งนี้เพราะ/เคราะห์กรรม/ท�าให้วุ่น จึงสิ้นบุญ/วาสนา/สีกาเอ๋ย 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
เห็นมิได้/ไปอยู่/เป็นคู่เชย ด้วยสองเคย/ปลูกเลี้ยง/กันเพียงนั้น อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ
อย่าครวญคิด/ติดตาม/ด้วยความโกรธ จะเป็นโทษ/กับสีกา/เมื่ออาสัญ การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท
จงยับยั้ง/ฟังค�า/รูปร�าพัน ไปสวรรค์/นฤพาน/ส�าราญใจ กาพยหอ โคลง โดยใชความรู ความเขาใจ
นางผีเสื้อ/เหลือโกรธ/พิโรธร้อง มาตั้งซ่อง/ศีลจะมี/อยู่ที่ไหน ที่ไดรับจากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตน
ช่างเฉโก/โยคี/หนีเขาใช้ ไม่อยู่ใน/ศีลสัตย์/มาตัดรอน สําหรับตอบคําถาม
เขาว่ากัน/ผัวเมีย/กับแม่ลูก ยื่นจมูก/เข้ามาบ้าง/ช่วยสั่งสอน • กาพยหอโคลงเปนบทรอยกรองที่มีความ
แม้นคบคู่/กูไว้/มิให้นอน จะราญรอน/รบเร้า/เฝ้าตอแย 1 โดดเดนอยางไร
(พระอภัยมณี: สุนทรภู่) (แนวตอบ กาพยหอโคลงเปนบทรอยกรอง
ที่ใชคําประพันธสองประเภทรวมกันในการ
กลอนนิทานเรื่องพระอภัยมณี เนื้อหาให้ความสนุกสนาน ตื่นเต้น ปรากฏอารมณ์ที่หลากหลาย
ประพันธ คือ กาพยยานีแตงรวมกับโคลง
ของตัวละคร แต่ละตอนให้ข้อคิด คติเตือนใจ การอ่านจึงต้องปรับน�้าเสียงให้สอดคล้องกับอารมณ์
สี่สุภาพ โดยมีเนื้อความประการเดียวกัน
เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง
๔) การอ่านกาพย์หอ่ โคลง มีหลักการอ่าน ดังนี้ กาพยยานีที่นํามาแตงตองมีลักษณะบังคับ
๑. การอ่านกาพย์ยานี ๑๑ วรรคหน้ามี ๕ ค�า จะแบ่งจังหวะเป็น ๒/๓ วรรคหลัง พื้นฐานหรือฉันทลักษณตามที่กําหนดไว
มี ๖ ค�า จะแบ่งจังหวะเป็น ๓/๓ 2 สวนโคลงสี่สุภาพอนุโลมใหมีขอยกเวน
๒. การอ่านโคลงสี่สุภาพ มี ๔ บาท หนึ่งบาทแบ่งเป็น ๒ วรรค วรรคหน้า ๕ ค�า จะแบ่ง บางประการ เชน อาจไมเครงครัดคําเอก
จังหวะเป็น ๒/๓ หรือ ๓/๒ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเนื้อความที่ปรากฏในวรรค วรรคหลัง ๒ ค�า ค�าท้ายบาทที่ ๒ ในทุกตําแหนง นอกจากนี้ยังกําหนดให
ถ้าเป็นเสียงโทให้อ่านเสียงต�่า ถ้าเป็นเสียงตรีให้อ่านเสียงสูง (เสียงค้าง) บาทที่ ๔ วรรคหลัง มี ๔ ค�า คําขึ้นตนแตละวรรคของกาพยกับคําขึ้นตน
แบ่งจังหวะเป็น ๒/๒ ตอนท้ายบทต้องอ่านทอดเสียง แตละบาทของโคลงเปนคําเดียวกัน)

แบบฝึกอ่านออกเสียงกาพย์ห่อโคลง*
๔๔
 งูเขียวรัดตุ๊กแก ตุ๊กแกแก่คางแข็งขยัน
กัดงูงูยิ่งพัน อ้าปากง่วงล้วงตับกิน
 งูเขียวแลเหลื้อมพ่น พิษพลัน
ตุ๊กแกคางแข็งขยัน คาบไว้
กัดงูงูเร่งพัน ขนดเครียด
ปากอ้างูจึงได้ ลากล้วงตับกิน
* อักขรวิธยี ดึ ตามการอ่านออกเสียงกาพย์หอ่ โคลงของกระทรวงศึกษาธิการ

17

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ในการอานออกเสียงบทรอยกรอง ผูอานควรออกแบบการใชนํ้าเสียง
1 พระอภัยมณี เปนนิทานคํากลอนเรื่องยิ่งใหญ โดยถือกันวาเปนผลงานชิ้นเอก
ใหสอดคลองกับสวนใดของบทอาน
ของสุนทรภู กวีเอกแหงกรุงรัตนโกสินทร และไดรับการยกยองวาเปนยอดของกลอน
1. ใหสอดคลองกับชื่อเรื่อง
นิทาน มีความยาว 96 เลมสมุดไทย ปรากฏลักษณะพิเศษซึ่งมีความแตกตางจาก
2. ใหสอดคลองกับลักษณะของคําประพันธ
กลอนนิทานเรื่องอื่นๆ ที่แตงขึ้นในชวงเวลาเดียวกัน คือ การผูกเรื่องที่เกิดขึ้นจาก
3. ใหสอดคลองกับสาระและแนวคิดสําคัญของเรื่อง
จินตนาการ มีตัวละครที่หลากหลาย ตางชาติ ตางภาษา ซึ่งแสดงใหเห็นถึงวิสัยทัศน
4. ใหสอดคลองกับความหมายและความรูสึกภายในเรื่อง
ความเปดกวาง และความเปนนักคิดของสุนทรภู
วิเคราะหคําตอบ การอานออกเสียงทํานองเสนาะ ผูอานจะตองใหความ 2 โคลงสีส่ ภุ าพ ทีแ่ ตงรวมกับกาพยยานี 11 นัน้ ตองพรรณนาความทีม่ อี ยูใ นกาพย
สําคัญกับการใชนํ้าเสียงเพื่อทําใหผูฟงไดรับอรรถรสขณะฟงไดอยางเต็มที่ ใหครบถวน ผูประพันธมุงเนนที่ใจความเปนสําคัญ การสรรคําใหมีใจความที่ตองการ
ซึ่งผูอานควรออกแบบการใชเสียงใหมีความสอดคลองกับความหมายและ และไดลักษณะตรงตามกําหนดบังคับไวในฉันทลักษณ จึงมีความยากกวาปกติ
อารมณความรูสึกของเรื่อง หรือของตัวละคร ดังนั้นจึงตอบขอ 4. ดวยเหตุนี้โคลงสี่สุภาพที่แตงรวมกับกาพยยานี 11 ในกาพยหอโคลงจึงไมเครงครัด
ตําแหนงคําเอก

คู่มือครู 17
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่อตอบคําถาม
• การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท ๕๒
 ดูหนูสู่รูงู งูสุดสู้หนูสู้งู
กาพยหอโคลงใหมีความไพเราะ นักเรียน หนูงูสู้ดูอยู่ รูปงูทู่หนูมูทู
คิดวาควรมีแนวทางการอานอยางไร  ดูงูขู่ฝูดฝู้ พรูพรู
(แนวตอบ ผูอานตองศึกษาเกี่ยวกับฉันทลักษณ หนูสู่รูงูงู สุดสู้
ของกาพยยานี 11 และโคลงสี่สุภาพ งูสู้หนูหนูสู้ งูอยู่
เพื่อใหแบงวรรคตอนในการอานไดถูกตอง หนูรู้งูงูรู้ รูปถู้มูทู
โดยกาพยยานี 11 วรรคที่มี 5 คํา จะแบง ๘๖
หัวลิงหมากลางลิง
 ต้นลางลิงแลหูลิง
จังหวะการอาน 2/3 หรือ 3/2 ขึ้นอยูกับ ลิงไต่กระไดลิง ลิงโลดคว้าประสาลิง
เนื้อความเปนสําคัญ วรรคที่มี 6 คํา จะแบง  หัวลิงหมากเรียกไม้ ลางลิง
จังหวะ 3/3 สวนการอานโคลงสี่สุภาพ ลางลิงหูลิงลิง หลอกขู้
วรรคที่มี 5 คํา แบงจังหวะ 2/3 หรือ 3/2 ลิงไต่กระไดลิง ลิงห่ม
ขึ้นอยูกับเนื้อความเปนสําคัญ วรรคที่มี 4 คํา ลิงโลดฉวยชมผู้ ฉีกคว้าประสาลิง
แบงจังหวะ 2/2 วรรคที่มี 2 คํา ไมตอง (กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง: เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร)
แบงวรรคในการอาน นอกจากนี้ผูอานยังตอง
คํานึงวา ความไพเราะของการอานออกเสียง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงมีเนื้อหาเล่าเรื่องการเดินทางไปพระพุทธบาทและชม
โคลงสี่สุภาพอยูที่เสียง โดยเฉพาะคําทายบาท ธรรมชาติที่พบเห็นระหว่างทาง การสรรค�าของกวีท�าให้ผู้อ่านได้รับความรู้และเข้าใจธรรมชาติของสัตว์
ที่จะตองควบคุมเสียงขึ้น ลง ใหถึงเสียง และพืชชนิดต่างๆ การอ่านให้ไพเราะจึงควรอ่านด้วยน�้าเสียงแจ่มใส ร่าเริง ด้วยจังหวะที่เร็วกว่าปกติ
วรรณยุกตนั้นๆ) ผู้อ่านจึงจะได้รับรสไพเราะและจินตนาการภาพตามได้โดยง่าย
2. นักเรียนรวมกันอานออกเสียงบทรอยกรอง
ประเภทกาพยหอโคลง จากหนังสือเรียน เกร็ดภาษา
ภาษาไทย หนา 17-18 โดยครูคอยสังเกตการ
แบงวรรคตอน ทวงทํานอง การใชนํ้าเสียง การเล่นคำาพ้องรูป - พ้องเสียงในคำาประพันธ์
ใหคําแนะนําเมื่อการอานสิ้นสุดลง ในภาษาไทยคำาคำาหนึ่ง อาจมีหลายความหมาย ขึ้นอยู่กับบริบทที่ประกอบคำานั้นๆ ตัวอย่างเช่น
คำาว่า “ลิง” ในกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง มีการเล่นคำาพ้องรูป - พ้องเสียงที่ไพเราะตอนหนึ่งว่า
“หัวลิงหมากลางลิง ต้นลางลิงแลหูลิง
ลิงไต่กระไดลิง ลิงโลดคว้าประสาลิง”
หัวลิง หมายถึง ไม้เถาชนิดหนึ่ง ผลขนาดเท่าส้มจีน
หมากลางลิง ” ปาล์มชนิดหนึ่ง
ลางลิง, กระไดลิง ” ไม้เถาเนื้อแข็งชนิดหนึ่ง
หูลิง ” ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง

18

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
ครูอาจคัดลอกบทรอยกรองบทอื่นๆ จากกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง นักเรียนสังเกตวิธีการอานออกเสียงของผูประกาศขาวในพระราชสํานัก
พระนิพนธในเจาฟาธรรมธิเบศรมาใหนักเรียนฝกอานรวมกัน เชน เพื่อหาแนวทางการแบงวรรคตอน อัตราความเร็วในขณะที่อาน การใช
ธารไหลใสสะอาด มัจฉาชาติดาษนานา นํ้าเสียง และการวางบุคลิกภาพ สรุปแนวทางที่ไดจากการสังเกตนํามา
หวั่นหวายกินไคลคลา ตามกันมาใหเห็นตัว อภิปรายรวมกันภายในชั้นเรียน
ธารไหลใสสอาดนํ้า รินมา
มัจฉาชาตินานา หวั่นหวาย
จอกสาหรายกินไคลคลา
ตามคูมาคลายคลาย
เชยหมู
ผุดใหเห็นตัวฯ...
กิจกรรมทาทาย
เมื่อครูใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมสรางเสริมและกิจกรรมทาทาย ควรสุมเรียกชื่อ
ออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนความรูซึ่งกันและกัน ผลที่ไดรับจากการ นักเรียนคนหาคลิปเสียงการพากยละครวิทยุ หรือการเหชมกระบวนเรือ
ปฏิบัติกิจกรรมจะทําใหนักเรียนมีความรูเกี่ยวกับการอานออกเสียงทั้งบทรอยแกว การพากยโขนตอนตางๆ ของกรมศิลปากร เพือ่ หาแนวทางการแบงวรรคตอน
และบทรอยกรอง สามารถนําไปปรับใชสําหรับการอานออกเสียงของตนตอไป การใชนํ้าเสียง สรุปแนวทางที่ไดจากการสังเกตนํามาอภิปรายรวมกัน
ภายในชั้นเรียน

18 คู่มือครู
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
1 1. จากความรู ความเขาใจเกี่ยวกับเครื่องหมาย
การศึกษาจากการอ่านเป็นการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ทักษะการอ่านมิได้เกิดขึน ้ เองตาม
ที่ใชสําหรับการอานออกเสียง และแนวทาง
ธรรมชาติ แต่เกิดจากการฝึกฝน ฝน 2ผูท้ ร่ี กั การอ่านและฝึกอ่านอยูเ่ สมอจะสามารถใช้ทกั ษะ
การอานออกเสียงบทรอยกรอง นักเรียน
การอ่านเพือ่ พัฒนาตนเองและพัฒนาอาชีพให้เจริญก้าวหน้าได้
หากกล่าวถึงเฉพาะการอ่านออกเสี ย งผู้ท่ีฝึก ฝนทั ก ษะในด้ า นนี้อย่ า งสม่ Ó เสมอ
ทําแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.2 ตอนที่ 1 หนวยที่ 1
จนเกิดความเชี่ยวชาญ จะเกิดประโยชน์ต่อตนเองอย่างมาก เพราะจะเป็นผู้ท่สี ามารถ กิจกรรมตามตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 1.1
ใช้เสียงเพื่อสื่อสารในชีวิตประจÓวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยเสริมสร้างให้เป็นผู้ที่
ใบงาน ✓ แบบวัดฯ แบบฝกฯ
มีบุคลิกภาพดี
ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.1
เรื่อง การอานออกเสียงบทร้อยกรอง
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๑ ใหนกั เรียนทําเครือ่ งหมาย / แบงจังหวะการอานบทรอยกรอง ñð
แบบอาขยาน และอานใหไพเราะถูกตองตามฉันทลักษณ
ของคําประพันธ (ท ๑.๑ ม.๒/๑)

เมื่อนั้น พระองคทรงพิภพดาหา
ทราบสารเคืองแคนแนนอุรา จึงตรัสแกกัลยาทั้งหาองค
จะรีรองอไปไยเลา อันลูกเราเขาไมมีประสงค
พระเชษฐารักศักดิ์สุริยวงศ จึงทรงอาลัยไกลเกลี่ยมา
ซึ่งจะคอยทาหลานตามสารศรี อีกรอยปก็ไมจากเมืองหมันหยา
แตจะเวียนงดงานการวิวาห จะซํ้ารายอายหนายิ่งนัก
แมนใครมาขอก็จะให ไมอาลัยที่ระคนปนศักดิ์
ฉบับ ถึงไพรประดาษชาติทรลักษณ จะแตงใหงามพักตรพงศพันธุ
เฉลย

เมื่อนั้น พระองค / ทรงพิภพ / ดาหา


......................................................................................................................................................................................................................................................

ทราบสาร / เคืองแคน / แนนอุรา จึงตรัสแก / กัลยา / ทั้งหาองค


......................................................................................................................................................................................................................................................

จะรีรอ / งอไป / ไยเลา อันลูกเรา / เขาไม / มีประสงค


......................................................................................................................................................................................................................................................

พระเชษฐา / รักศักดิ์ / สุริยวงศ จึงทรง / อาลัย / ไกลเกลี่ยมา


......................................................................................................................................................................................................................................................

ซึ่งจะคอย / ทาหลานตาม / สารศรี อีกรอยป / ก็ไมจาก / เมืองหมันหยา


......................................................................................................................................................................................................................................................

แตจะเวียน / งดงาน / การวิวาห จะซํ้าราย / อายหนา / ยิ่งนัก


......................................................................................................................................................................................................................................................

แมนใคร / มาขอ / ก็จะให ไมอาลัย / ที่ระคน / ปนศักดิ์


......................................................................................................................................................................................................................................................

ถึ ง ไพร / ประดาษชาติ / ทรลั ก ษณ จะแตงให / งามพักตร / พงศพันธุ


......................................................................................................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................................................................................

(การใหคะแนนขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน โดยสังเกตจากการอานตัว ร ล ควบกลํ้า


๒ และการแบงวรรคตอน)

2. นักเรียนคัดเลือกบทรอยแกวที่เปนบทบรรยาย
หรือบทพรรณนาที่ประทับใจ ความยาวไมเกิน
1 หนากระดาษ A4 นํามาฝกซอมอาน
ออกเสียงโดยใชแนวทางทีไ่ ดศกึ ษา บันทึกเสียง
แลวนําสงครู
3. นักเรียนคัดเลือกบทรอยกรองจากวรรณคดี
เรื่องที่ประทับใจ ความยาวไมเกิน 4 บท
19 นํามาฝกซอมอานออกเสียงทํานองเสนาะ
โดยใชแนวทางที่ไดศึกษา บันทึกเสียง แลวนํา
สงครู
บูรณาการเชื่อมสาระ
การอานออกเสียงสามารถนําไปบูรณาการไดกับเรื่องการขับรองเพลงไทย นักเรียนควรรู
ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ วิชาดนตรี-นาฏศิลป โดยใหนักเรียนวิเคราะหวา
1 การอานเปนการเรียนรูตลอดชีวิต มนุษยจะมีความฉลาดขึ้นไดนั้น ก็ดวยรูจัก
ทักษะการอานออกเสียงมีความสัมพันธกับการขับรองเพลงไทยอยางไร จัดทํา
นําความรู ความคิด หรือประสบการณที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชนตอตนเอง
เปนใบความรูเฉพาะบุคคล สงครู
ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ ซึ่งความรู ความคิด และประสบการณเหลานั้น
ผลที่ไดรับจากการปฏิบัติกิจกรรมบูรณาการ จะทําใหนักเรียนมีความรู
ลวนไดมาจากการแสวงหาความรูดวยการอาน การอานจึงเปนการเรียนรูตลอดชีวิต
ความเขาใจเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางการอานออกเสียงกับการขับรอง
เปนการแสวงหาความรูอยางไมมีขอบเขต ไมหยุดนิ่งตราบเทาที่สังคมมนุษยยังมี
เพลงไทย รวมถึงเห็นความสําคัญของการออกเสียง เพราะการขับรองเพลงไทย
การพัฒนาในดานตางๆ
ไมวา จะเปนการขับรองเดีย่ วหรือขับรองหมู มีพนื้ ฐานทีจ่ ะตองปฏิบตั เิ ชนเดียวกับ
การอานออกเสียง คือ การใชเสียง ผูขับรองจะตองฝกออกเสียงใหเต็มเสียง 2 การฝกฝน การฝกฝนตนเองใหเปนนักปราชญหรือผูรอบรูสามารถทําได
รักษาระดับเสียงใหเปนไปตามทํานองของเพลง ซึ่งทักษะเหลานี้ลวนไดมาจาก โดยยึดหลัก 4 ประการ ไดแก 1. สุตะ คือ การฟง ดู และอานเรื่องราวที่เปน
การฝกทักษะการอานออกเสียงจนเกิดความชํานาญ ประโยชนตอตนเองจากสื่อตางๆ 2. จิตตะ คือ การคิด พิจารณา ไตรตรอง
ใครครวญ โดยนําสิ่งที่ฟง ดู และอานมาคิดพิจารณา 3. ปุจฉา คือ การสอบถามผูรู
เพื่อแสวงหาคําตอบของสิ่งที่สงสัย ใครรู และ 4. ลิขิต คือ การเขียน เมื่อไดอาน ฟง
ดู หรือไดรับคําตอบที่ถูกตอง เปนประโยชนตอตนเองแลว ควรที่จะจดบันทึกความรู
เหลานั้นไวมิใหสูญหาย เพื่อนําไปใชหรือเผยแพรแกผูอื่นตอไปในอนาคต

คู่มือครู 19
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
นักเรียนรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมิน
การอานออกเสียงบทรอยแกว บทรอยกรองของ บอกเล่าเก้าสิบ
ตนเอง รวมถึงเพื่อนๆ ในชั้นเรียน และใชเปน
แนวทางปรับปรุง แกไขในครั้งตอไป ศาสตราจารย์ (พิเศษ) พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
(แนวตอบ เกณฑการอานออกเสียงบทรอยแกว
ควรครอบคลุม ดังตอไปนี้ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) พลตรี หม่อมราชวงศ์
• อานไดถูกตองตามเกณฑการอานออกเสียง คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิดเมือ่ วันที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๔
หรืออักขรวิธี เป็นโอรสสุดท้องของพลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
• ออกเสียงพยัญชนะ ร ล และคําควบกลํ้า ค�ารบกับหม่อมแดง (บุนนาค) ปราโมช ณ อยุธยา
ชัดเจน หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์จบการศึกษาระดับมัธยมจาก
• อานไมเกินคํา ไมขาดคํา และไมตูคํา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ก่อนจะไปศึกษาต่อที่
• แบงวรรคตอน จังหวะในการอาน และลง ประเทศอังกฤษ จนจบการศึกษาระดับปริญญาตรี
นํา้ หนักเสียงไปทีค่ าํ แตละคําไดอยางเหมาะสม ในสาขาปรัชญา การเมืองและเศรษฐศาสตร์ ที่ควีนส์
คอลเลจ มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด ได้รับปริญญาตรี
• วางบุคลิกภาพ ทาทางสงาผาเผย สบสายตา
เกียรตินิยม
ผูฟง และการแตงกายที่สะอาด เรียบรอย
ศาสตราจารย์ (พิเศษ) พลตรี หม่อมราชวงศ์
เกณฑการอานออกเสียงบทรอยกรอง
คึกฤทธิ์ ปราโมช ถือได้ว่าเป็นปูชนียบุคคลและเป็น
ควรครอบคลุม ดังตอไปนี้
นักปราชญ์คนหนึ่งของประเทศไทย มีผลงานหลายด้านที่มีชื่อเสียงและโดดเด่น ได้แก่ ทางด้าน
• อานไดถูกตองตามฉันทลักษณของ
การเมือง เคยด�ารงต�าแหน่งนายกรัฐมนตรี ใน พ.ศ. ๒๕๑๘ - ๒๕๑๙ ทางด้านงานเขียนท่านได้
บทรอยกรองแตละประเภท
เริม่ ต้นงานเขียนอย่างจริงจัง เมือ่ ก่อตัง้ หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ใน พ.ศ. ๒๔๙๓ โดยท่านด�ารงต�าแหน่ง
• ออกเสียงพยัญชนะ ร ล และคําควบกลํ้า เจ้าของ ผู้อ�านวยการ และนักเขียนประจ�า งานเขียนของท่านหลายเรื่องได้รับการตีพิมพ์ลงใน
ชัดเจน หนังสือพิมพ์ส1ยามรัฐเป็น2ประจ�า ผลงานเขียนซึ่งได้รับความนิยมมาจนถึงปัจจุบันมีหลายเรื่อง
• แบงวรรคตอน ใชนาํ้ เสียงไดถกู ตอง เหมาะสม เช่น สี่แผ่นดิน หลายชีวิต โครงกระดูกในตู้ กาเหว่าที่บางเพลง และมอม ซึ่งเป็นเรื่องสั้นที่เคย
สอดคลองกับอารมณของบทอาน ได้รับเลือกให้เป็นบทเรียนในวิชาภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา
• วางบุคลิกภาพ ทาทางสงาผาเผย สบสายตา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบด้วยโรคชรา สิริอายุได้ ๘๔ ปี
ผูฟง และการแตงกายที่สะอาด เรียบรอย) ๕ เดือน ส�าหรับเกียรติคุณที่ท่านได้รับ ใน พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ
สาขาวรรณศิลป์
พ.ศ. ๒๕๔๒ องค์การยูเนสโกได้ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นบุคคลส�าคัญของโลก
ใน ๔ สาขา ได้แก่ การศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ และสื่อสารมวลชน

(เกร็ดชีวิตคึกฤทธิ์ ปราโมช: สยามรัฐ)

20

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
1 สี่แผนดิน เปนนวนิยายอิงประวัติศาสตรที่แตงโดยหมอมราชวงศคึกฤทธิ์ นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับบุคคลซึ่งไดรับการยกยองใหเปนศิลปนแหงชาติ
ปราโมช ไดรับการยกยองใหเปนวรรณกรรมแหงกรุงรัตนโกสินทร ดวยความ สาขาวรรณศิลป โดยเลือกศึกษาจํานวน 1 ทาน นําเสนอเกี่ยวกับประวัติ
โดดเดนทางดานเนื้อหาและตัวละครที่หลากหลาย สี่แผนดินจึงไดถูกนํามาถายทอด ชีวิตสวนตัว ผลงาน ระบุเหตุผลที่เลือกศึกษา นําสงในรูปแบบใบงาน
ในรูปแบบละครวิทยุ โดยคณะสโมสรเสียงใส รวมถึงละครโทรทัศน และละครเวที เฉพาะบุคคล
2 หลายชีวิต เปนรวมเรื่องสั้นผลงานของหมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช เนื้อหา
สาระเปนเรือ่ งราวของบุคคลตางเพศ ตางวัย ตางชาติตระกูล ตางอาชีพ ตางชนชัน้
ทุกคนตางเดินทางลงเรือโดยสารลําเดียวกัน เพื่อไปสูปลายทางเดียวกัน ดวยจุด กิจกรรมทาทาย
มุงหมายที่แตกตางกัน แตเมื่อเรือโดยสารลําดังกลาวถูกพายุฝนพัดจนลม ทุกชีวิต
บนเรือลํานั้นก็จบชีวิตลงพรอมกัน เปนการแสดงใหเห็นแนวคิดหลักของเรื่อง คือ
“ไมวาจะยากดีมีจนอยางไร ทุกคนตางหนีความตายไมพน” ดวยเนื้อหาสาระ นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับประวัตินักเขียนของกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน
ที่เขมขนและใหแงคิดแกชีวิตจึงไดถูกนํามาถายทอดในรูปแบบละครโทรทัศนถึง โดยเลือกศึกษา 1 ทาน จากประเทศใดก็ได นําเสนอเกี่ยวกับประวัติชีวิต
สองครั้ง ซึ่งครั้งหลังสุดออกอากาศทางสถานีโทรทัศนทีวีไทย (Thai PBS) สวนตัว ผลงาน ระบุเหตุผลที่เลือกศึกษา พรอมแสดงความคิดเห็นสวนตัว
เกีย่ วกับประเด็น “นักเขียนทีด่ ี คือ นักเขียนทีถ่ า ยทอดความเปนจริงของชีวติ
ไดใกลเคียงที่สุด” นําสงในรูปแบบใบงานเฉพาะบุคคล
20 คู่มือครู
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engaae Expore Explain Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
1. ครูตรวจสอบแถบบันทึกเสียงการอานออกเสียง
บทรอยแกวและบทรอยกรองของนักเรียน
แตละคน โดยใชหลักเกณฑเดียวกับที่นักเรียน
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
รวมกันกําหนดภายใตคําแนะนําของครู
2. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู
๑. องค์ประกอบพื้นฐานในการอ่านออกเสียงมีอะไรบ้าง
๒. การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ผู้อ่านควรปฏิบัติอย่างไร
๓. การอ่านในใจและการอ่านออกเสียงมีความแตกต่างกันอย่างไร หลักฐานแสดงผลการเรียนรู
๔. การอ่านออกเสียงโดยผู้อ่านเน้นค�าที่ส�าคัญจะเกิดประโยชน์ต่อผู้ฟังอย่างไร
๕. นักเรียนควรมีมารยาทในการอ่านอย่างไรบ้าง 1. แถบบันทึกเสียงการอานออกเสียงบทรอยแกว
ที่เปนบทบรรยายหรือบทพรรณนา ซึ่งเลือกจาก
ความประทับใจ
2. แถบบันทึกเสียงการอานออกเสียงบทรอยกรอง
จากวรรณคดีเรื่องที่ประทับใจ
3. แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู

กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้

กิจกรรมที่ ๑ ใ ห้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนฝึกอ่านบทความตามความชื่นชอบหรือสนใจโดยให้
ถูกต้องสอดคล้องกับหลักการอ่านออกเสียง จากนั้นสรุปใจความส�าคัญ
จากเรื่องที่อ่าน
กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนคัดเลือกบทร้อยกรองที่ถ่ายทอดอารมณ์ของตัวละครจากเรื่อง
พระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ จ�านวนไม่ต�่ากว่า ๒ บท
น�ามาอ่านออกเสียงหน้าชั้นเรียน โดยก่อนอ่านต้องระบุว่าบทร้อยกรอง
ที่เลือกมีใจความส�าคัญอย่างไร สื่อสารอารมณ์ใด มีสาเหตุมาจากอะไร
และถ้าเป็นนักเรียนจะแก้ไขปัญหาอย่างไร

21

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. องคประกอบพื้นฐานสําหรับการอานออกเสียง ไดแก ผูอานจะตองฝกการใชสายตา ใชเสียง ฝกอานใหคลองถูกตองตามอักขรวิธี ฝกใชอวัยวะในการออกเสียง
ฝกการวางบุคลิกภาพ
2. การอานออกเสียงบทรอยแกว ผูอานควรอานใหถูกตองตามอักขรวิธีหรืออานตามความนิยม แบงวรรคตอนไดถูกตอง ใชนํ้าเสียง เพื่อถายทอดอารมณไดเหมาะสม
กับบทอาน สวนการอานบทรอยกรอง ผูอานตองมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับฉันทลักษณของบทรอยกรองแตละประเภท เพื่อใหแบงวรรคตอนการอานไดถูกตอง
ออกเสียงคําควบกลํ้าใหชัดเจน ฝกใชนํ้าเสียงใหเหมาะสมกับอารมณของบทอาน
3. การอานในใจเปนการอานทําความเขาใจสัญลักษณที่มีผูบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร โดยใชเพียงสายตากวาดขอความ สวนการอานออกเสียงเปนการเปลงเสียงตาม
ตัวอักษรและสัญลักษณตางๆ เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ
4. จะชวยใหผูฟงทราบวาขอความใดเปนขอความสําคัญ และสามารถจับใจความสําคัญของเรื่องที่ฟงได
5. มารยาทในการอานที่ควรปฏิบัติ คือ ไมสรางความรําคาญใหแกผูอื่นไมวาจะดวยการกระทําใดๆ ไมละเมิดสิทธิ์ดวยการอานบันทึกของผูอื่น ไมฉีก ลบ ขูด ฆา
ทําลายหนังสือสาธารณะ รวมถึงควรปฏิบัติตามกฎกติกา มารยาทในการใชหองสมุดของแตละสถานที่อยางเครงครัด เปนตน

คู่มือครู 21
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. สามารถสรุปใจความสําคัญของเรื่องที่อานได
2. สามารถเขียนแผนผังความคิดเพื่อแสดงความ
เขาใจในบทเรียน หรือเรื่องที่เลือกอานจาก
ความสนใจได
3. อานเรื่องที่กําหนดหรือเรื่องที่เลือกจาก
ความสนใจ เพื่อวิเคราะห จําแนกขอเท็จจริง
ขอคิดเห็น การชวนเชื่อ การโนมนาว
ความสมเหตุสมผลของเรื่อง โดยแสดง
ความคิดเห็น หรือโตแยงอยางมีเหตุผล
และนําคุณคาหรือแนวคิดที่ไดรับไปประยุกต
ใชในชีวิตประจําวัน

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. มีวินัย
2. ใฝเรียนรู
หนวยที่ ò
3. มุงมัน่ ในการทํางาน กำรอ่ำนในชีวิตประจ�ำวัน
ตัวชี้วัด ก ารอานเปนทักษะทีท ่ าํ ใหไดรบ
ั รู
ท ๑.๑ ม.๒/๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗ ข อ มู ล ข า วสารต า งๆ ข า วสารเหล า นี้
กระตุน้ ความสนใจ Engage ■ จับใจความสําคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อาน ลวนเปนประโยชนและมีบทบาทสําคัญ
■ เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเขาใจในบทเรียนตางๆ ที่อาน ตอการดําเนินชีีวิตของคนทุกเพศทุกวัย
■ อภิปรายแสดงความคิดเห็นและขอโตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ดังนัน ้ การรับขาวสารอยางมีประสิทธิภาพ
ครูนําเขาสูหนวยการเรียนรู โดยใหนักเรียน ■ วิเคราะหและจําแนกขอเท็จจริง ขอมูลสนับสนุน และขอคิดเห็น
ผู  ร ั บ สารต อ งฝ ก ทั ก ษะการอ า นในระดั บ
จากบทความที่อาน
รวมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็น “การอานชวย ■ ระบุขอสังเกตการชวนเชื่อ การโนมนาว หรือความสมเหตุสมผล ต า งๆ คื อ การอ า นเพื่ อ จั บ ใจความสํ า คั ญ
พัฒนาชีวิตไดอยางไร” ■ อานหนังสือ บทความ อยางหลากหลายและประเมินคุณคา การอานเพื่อการวิเคราะห และการอานเพื่อ
ประเมินคา เพื่อนําความรูและความคิดที่มี
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น สาระการเรียนรูแกนกลาง คุณคามาใชใหเกิดประโยชนตอ ตนเองและสังคม
ไดอยางอิสระ ครูควรกระตุนใหนักเรียนทุกคน ■ การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน วรรณคดีในบทเรียน
ไดมีสวนรวมในกิจกรรมนี้) ■ การอานตามความสนใจ เชน หนังสืออานนอกเวลา

22

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู การอานในชีวิตประจําวัน เปาหมายสําคัญ
คือ นักเรียนสามารถอานจับใจความสําคัญ สรุปความ อธิบายรายละเอียดของเรื่อง
ที่อาน เขียนผังความคิด สรุปความรูที่ไดจากการอาน รวมถึงสามารถแยกแยะ ระบุ
ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น การชวนเชื่อ โนมนาว ความสมเหตุสมผลของเรื่องที่อาน
โดยแสดงความคิดเห็น วิเคราะห วิจารณในเชิงโตแยง หรือเห็นดวยอยางมีเหตุผล
นําไปสูการตัดสินประเมินคา เพื่อนําขอคิดมาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรใหนักเรียนไดคนควาองคความรูรวมกัน
จากนั้นใชวิธีการตั้งคําถาม เพื่อใหนักเรียนไดเห็นแนวทางปฏิบัติของการอานแตละ
ประเภท โดยประมวลจากคําตอบที่ถูกตองของคําถามแตละขอ สุดทายจึงใหนําทฤษฎี
ที่ไดเรียนรูมาใชปฏิบัติจริง โดยกําหนดหรือใหเลือกอานงานเขียนจากความสนใจ โดยใช
การอานทั้ง 3 ประเภทประกอบกัน
การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยฝกทักษะที่จําเปนใหแกนักเรียน เชน ทักษะ
การเชื่อมโยง ทักษะการวิเคราะห ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ

22 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage

1 ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน โดยให
๑ การอ่านเพื่อจับใจความสÓคัญ นักเรียนชมภาพทีด่ าวนโหลดจาก http://www.
whereisthailand.info/2012/04/april-fools/
๑.๑ ความหมาย จากนัน้ ตัง้ คําถามกระตุน ทักษะการคิด
การอ่านเพื่อจับใจความส�าคัญ หมายถึง การอ่านเพื่อค้นหาสาระส�าคัญของเรื่อง ซึ่งผู้เขียน
ต้องการสื่อ โดยในย่อหน้าหนึ่งๆ จะมีใจความส�าคัญเพียงใจความเดียว นอกจากนั้นเป็นพลความหรือ
ส่วนประกอบ การอ่านเพือ่ จับใจความส�าคัญเป็นทักษะการอ่านขัน้ พืน้ ฐานก่อนทีจ่ ะพัฒนาไปสูก่ ารอ่าน
ในระดับอื่นๆ
2
๑.๒ ความส�าคัญของการอ่านจับใจความส�าคัญ
การอ่านจับใจความส�าคัญมีความส�าคัญ ดังนี้
๑) เปนพื้นฐานของการอ่าน สามารถน�าไปต่อยอดเป็นการวิเคราะห์และประเมินค่า
เรื่องที่อ่านได้ เพราะการอ่านเพื่อจับใจความส�าคัญท�าให้ทราบข้อมูลเบื้องต้นว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร • นักเรียนคิดวา ภาพดังกลาวสะทอนใหเห็น
หรือใคร ท�าอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และท�าไม
ลักษณะการอานหนังสือของคนไทยอยางไร
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
๒) เปนการรับทราบข้อมูลในระยะเวลาสัน้ การอ่านจับใจความส�าคัญเป็นการอ่านคร่าวๆ
ไดอยางอิสระ ครูควรเฉลยคําตอบที่ถูกตอง
เพื่อค้นหาใจความส�าคัญที่สุด ผู้อ่านจึงใช้เวลาในการอ่านสั้นและรับสารได้ตรงประเด็น หลังสิ้นสุดการเรียนการสอนในหนวยนี้)
๓) เปนการน�าความรูไ้ ปใช้ในชีวติ ประจ�าวัน การอ่านจับใจความส�าคัญท�าให้ทราบความคิด • นักเรียนคิดวา บุคคลที่มีความรูหรือ
และความรู้ที่ผู้เขียนถ่ายทอด เมื่อน�าสารที่ได้มาวิเคราะห์และประเมินค่า ก็สามารถเลือกสรรสิ่งที่เป็น มีแนวทางที่ถูกตองสําหรับการจับใจ
ประโยชน์มาใช้ในชีวิตประจ�าวันได้ ความสําคัญจากเรื่องที่อาน มีขอไดเปรียบ
กวาบุคคลที่ไมมีแนวทางสําหรับการจับใจ
๑.๓ หลักการอ่านเพือ่ จับใจความส�าคัญ ความสําคัญอยางไร
การอ่านเพื่อจับใจความส�าคัญมีหลักการ ดังนี้ (แนวตอบ ในชีวิตประจําวัน มนุษยรับสาร
๑) อ่าน ผู้อ่านควรท�าความเข้าใจเนื้อหาตั้งแต่ต้นจนจบ เพื่อสรุปให้ได้ว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับ จากชองทางการสื่อสารตางๆ อยาง
อะไร หรือใคร ท�าอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และท�าไม หลากหลาย เชน การอาน การฟง การดู
๒) พิจารณา ผู้อ่านควรพิจารณาข้อความในแต่ละย่อหน้า เพื่อค้นหาใจความส�าคัญหลัก หากไมมีแนวทางสําหรับจับใจความสําคัญ
ซึ่งจะมีลักษณะเป็นประโยค โดยอาจปรากฏตอนต้น ตอนกลาง หรือตอนท้ายย่อหน้า นอกจากนี้ควร สารที่ไดรับจะไมเกิดประโยชนใด เปนเพียง
พิจารณาใจความรองที่เป็นรายละเอียดสนับสนุนใจความส�าคัญให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เรื่องเรื่องหนึ่งที่ไดยิน แตไมสามารถจับ
สาระสําคัญทีอ่ าจเปนประโยชนตอ ตนเองได
๓) เรียบเรียง ผู้อ่านควรเรียบเรียงใจความส�าคัญของเรื่องที่รวบรวมได้ด้วยส�านวนภาษา
ดังนัน้ ผูท มี่ แี นวทางสําหรับจับใจความสําคัญ
ของตนเอง ให้เนื้อหาสอดคล้องกัน โดยเลือกใช้สันธานหรือค�าเชื่อมให้เหมาะสม
จากเรื่องที่ไดอาน ไดฟง หรือไดดู จึงมีขอ
ไดเปรียบประการสําคัญ คือ สามารถ
23 คัดกรองเนื้อหาสาระที่เปนประโยชนตอ
ตนเองไดภายใตขอจํากัดของเวลา
และจํานวนสารที่ไดรับ)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
การอานจับใจความสําคัญมีความสําคัญตอชีวิตประจําวันของนักเรียน
1 การอาน เปนทักษะการรับสารที่มีความสําคัญอยางยิ่งในการแสวงหาความรู
อยางไร จงแสดงความคิดเห็น
ของมนุษย โดยเฉพาะปจจุบันเปนยุคของขอมูลขาวสาร วิทยาการ เทคโนโลยี
แนวตอบ การอานจับใจความสําคัญเปนพื้นฐานเบื้องตนของการอาน และความรูตางๆ มีใหคนควาอยางหลากหลาย การอานนับเปนกุญแจสําคัญที่
สามารถนําไปตอยอดเปนการอานวิเคราะห วิจารณ และนําไปสูการตัดสิน ไขประตูนาํ มนุษยไปสูค วามรูแ จง เห็นจริง นอกจากนีก้ ารอานยังสรางความเพลิดเพลิน
ประเมินคาเรื่องที่อานได การอานจับใจความสําคัญจะทําใหผูอานทราบวา ชวยกลอมเกลาจิตใจของมนุษยใหหลุดพนจากความเศราหมองทั้งปวง ดังคํากลาว
เรื่องที่อานเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร หรือเปนเรื่องของใคร ทําอะไร กับใคร ของฟรานซีส เบคอน ที่กลาวไววา “การอานทําใหคนเปนคนโดยสมบูรณ”
ที่ไหน อยางไร เมื่อไร ดวยเหตุผลใด นอกจากนี้การอานจับใจความสําคัญ 2 ใจความสําคัญ เกิดจากการนําประโยคหลักของแตละยอหนาในเรื่องมาเขียน
ยังจะทําใหผูรับสารสามารถรับสารไดอยางมีประสิทธิภาพ ภายใตขอจํากัด เรียงรอยเขาดวยกัน ใจความสําคัญของเรื่องจึงมีมากกวา 1 ประโยค ขึ้นอยูกับ
ของเวลา และจํานวนสารที่ไดรับในแตละวัน ความยาวของเรือ่ ง ดังนัน้ การจับใจความสําคัญของเรือ่ งทีม่ หี ลายยอหนา ใหพจิ ารณา
จากประโยคสําคัญของแตละยอหนา จากนั้นใหนําประโยคสําคัญเหลานั้นมาจัด
ระเบียบใหถูกตองตามหลักไวยากรณจึงจะไดใจความที่สมบูรณ

คู่มือครู 23
ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expand Evaluate
ส�ารวจค้นหา Explore
แบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม ครูทําสลาก
จํานวน 2 ใบ เขียนหมายเลข 1 และ 2 พรอมระบุ ๔) ทบทวน ผู้อ่านควรทบทวนเนื้อหาที่เรียบเรียงขึ้นใหม่ว่ามีใจความส�าคัญครบถ้วน
ขอความในแตละหมายเลข จากนั้นใหแตละกลุม หรือไม่ รวมถึงพิจารณาความถูกต้องเหมาะสมของภาษา
สงตัวแทนออกมาจับสลากประเด็นสําหรับการ
สืบคนความรูรวมกัน ดังนี้ ๑.๔ ตัวอย่างการอ่านเพือ่ จับใจความส�าคัญ
หมายเลข 1 การอานจับใจความสําคัญ
หมายเลข 2 การเขียนผังความคิด บทความสÓหรับการอ่านเพื่อจับใจความสÓคัญ

พระอรหันต์อยู่ในบ้าน
อธิบายความรู้ Explain
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) วัดระฆังโฆษิตารามที่คนไทยให้ความเคารพเลื่อมใส
1. นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 1 อย่างยิ่ง ครั้งหนึ่งเจ้าประคุณสมเด็จฯ ได้รับนิมนต์ไปแสดงธรรม ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ใน
สงตัวแทน 2 คน ออกมาอธิบายความรูเกี่ยวกับ พระบรมมหาราชวัง เรื่อง “พระอรหันต์อยู่ในบ้าน” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
การอานจับใจความสําคัญที่ไดจากการสืบคน เหล่าขุนนาง ข้าราชการ และข้าราชบริพารต่างก็มีความสงสัย เพราะต่างก็เคยได้ยินได้ฟังมาว่า
รวมกับเพื่อน พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล พระอรหันต์จะอยูใ่ นถ�า้ ในป่า ในเขา ในทีเ่ งียบสงัด หรือทีว่ ดั วาอารามเท่านัน้ เจ้าประคุณสมเด็จฯ
2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน ได้ขยายความว่าจิตพระอรหันต์เป็นผู้บริสุทธิ์ เป็นเนื้อนาบุญอันยอดเยี่ยม หากใครได้ท�าบุญกับ
อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการ พระอรหันต์แล้วไซร้ ก็ถือได้ว่าเป็นลาภอันประเสริฐที่สุด บุญที่ได้ท�าจะให้ผลในชาติปัจจุบันทันที
อานจับใจความสําคัญ โดยใชความรู ไม่ต้องรอไปถึงชาติหน้า ทุกๆ คนมุ่งแต่เสาะแสวงหาพระอรหั
1 นต์ที่อยู่นอกบ้าน จึงไม่เคยมองเห็น
ความเขาใจที่ไดรับจากการฟงบรรยาย พระอรหันต์ที่อยู่ในบ้านเลย เหมือนใกล้เกลือกินด่าง
เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม น�้าใจของพ่อแม่ที่มีให้ลูก มีแต่ความบริสุทธิ์ ไม่คิดหวังสิ่งตอบแทน เช่นเดียวกับน�้าใจของ
• การอานจับใจความสําคัญมีลักษณะสําคัญ พระอรหันต์ที่มีให้ต่อมนุษย์ มีความบริสุทธิ์เช่นเดียวกัน พ่อแม่จึงเปรียบเหมือนพระอรหันต์ของ
ที่โดดเดนอยางไร ลูก พ่อแม่เลี้ยงดูเรามาตั้งแต่อยู่ในท้องของท่าน ไม่เคยปริปากบ่น มีแต่ความสุขใจ แม้ลูกเกิดมา
(แนวตอบ การอานจับใจความสําคัญ พิกลพิการหูหนวก ตาบอด ท่านก็ยังรัก ยังสงสาร เพราะท่านคิดเสมอว่าลูกคือสายเลือด ขณะที่
เปนการอานเพื่อคนหาสาระสําคัญของเรื่อง เราเป็นเด็กไร้เดียงสา ซุกซน เคยหยิก ข่วน ทุบตี พ่อ แม่ ต่างๆ นานา ท่านไม่เคยโกรธเคือง
ที่ไดอาน ไดฟง หรือไดดู) กลับยิ้มร่าชอบอกชอบใจ เมื่อเราเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ รู้สึกผิดชอบชั่วดีแล้วก็ตาม แต่บางครั้งด้วย
• นักเรียนมีแนวทางการอานเพื่อจับใจความ ความโกรธ ความหลง เราพลั้งเผลอกระท�าไม่ดีต่อท่าน ท่านก็ให้อภัยในการกระท�าของเราเสมอ
สําคัญอยางไร เพราะท่านกลัวว่าเราจะมีบาปติดตัว จึงยอมที่จะเจ็บ ยอมทุกข์เสียเอง น�้าใจของพ่อแม่ที่มีต่อลูก
(แนวตอบ มีแนวทางปฏิบัติ ดังตอไปนี้ เช่นนี้ เปรียบเท่ากับน�้าใจของพระอรหันต์โดยแท้ พ่อแม่จึงเป็นพระอรหันต์ในบ้านของเราจริงๆ
• พิจารณาชื่อเรื่องของบทอานกอน ท�าไมพวกท่านจึงไม่คิดที่จะท�าบุญกับพระอรหันต์ที่อยู่ในบ้านของท่านเล่า?
เพราะเนื้อหาในแตละสวน หรือแตละ
ยอหนายอมเชื่อมโยงสูชื่อเรื่องทั้งสิ้น ในยามทีพ่ อ่ แม่ยงั มีชวี ติ อยู่ เราควรทีจ่ ะเลีย้ งดู จัดหาอาหาร เสือ้ ผ้า พาท่านไปท�าบุญท�าทาน
• จับใจความสําคัญในแตละยอหนา เพือ่ ให้ทา่ นมีความสุข และทีส่ า� คัญต้องเลีย้ งดูจติ ใจท่านด้วย ไม่ปล่อยทิง้ ให้ทา่ นอยูอ่ ย่างเดียวดาย
• นําใจความสําคัญในแตละยอหนาที่สรุปได
มารอยเรียงตอกัน) 24

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
นักเรียนอานขอความที่กําหนดใหตอไปนี้ แลวระบุใจความสําคัญของเรื่อง
ครูควรชี้แนะเพิ่มเติมใหแกนักเรียนวา การพิจารณาชื่อเรื่องของงานเขียนที่
“ครอบครัวคนไทยรับประทานอาหารพรอมกัน วางสํารับกับขาวไวกลางวง
ไดอานมีความเกี่ยวของกับแนวทางการอานเพื่อจับใจความสําคัญ เพราะชื่อเรื่อง
มารยาทในการรับประทานอาหารจึงเปนเรื่องหนึ่งที่ผูใหญอบรมเด็ก เชน
เปนใจความสําคัญที่สุดของงานเขียนเรื่องหนึ่งๆ กลาวคือ เนื้อหาในทุกๆ สวนของ
ไมมูมมาม ไมเคี้ยว หรือซดเสียงดัง ไมพูดเมื่ออาหารเต็มปาก รูจักใช
เรื่องยอมเชื่อมโยงสูชื่อเรื่องทั้งสิ้น ดังนั้น การอานจับใจความสําคัญ ผูอานจึงตอง
พิจารณาชื่อเรื่องกอน ซึ่งเปนกุญแจสําคัญในการวิเคราะหประเด็นสําคัญตางๆ ชอนกลาง แมในบางทองถิ่นที่รับประทานขาวเหนียวนึ่ง ลูกหลานไดรับการ
ที่ปรากฏภายในเรื่อง สั่งสอนใหหยิบขาวพอคํา และเปบขาวอยางเรียบรอย”
(สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนฯ ฉบับเสริมการเรียนรู เลม 2, 2548 หนา 67)
แนวตอบ ใจความสําคัญของขอความขางตนปรากฏอยูในสวนตนของ
นักเรียนควรรู ขอความ คือ มารยาทในการรับประทานอาหาร เปนสิ่งที่ผูใหญจะตองอบรม
ใหแกเด็ก
1 ใกลเกลือกินดาง เปนสํานวน สุภาษิต หมายถึง สิ่งที่มีคุณคาที่อยูใกลตัวหรือ
หางาย กลับไมใสใจ แตกลับไปหาสิ่งที่ไมมีคุณคาที่อยูไกลตัวหรือหายากกวามาใช

24 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 2
ต้องคอยเอาใจใส่ปรนนิบัติดูแลท่านอย่างใกล้ชิด แต่คนส่วนมากมักจะท�าบุญให้พ่อแม่ ในยาม สงตัวแทน 2 คน ออกมาอธิบายความรู
ที่ท่านตายจากเราไปแล้ว จึงเป็นการพลาดที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในชีวิต เราควรที่จะท�าบุญให้กับพ่อแม่ เกี่ยวกับการเขียนผังความคิดที่ไดจากการ
ในขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ จึงจะได้ชื่อว่าเป็นผู้กตัญญูกตเวที การท� าบุญแบบนี้จะได้อานิสงส์ สืบคนรวมกับเพื่อน พรอมระบุแหลงที่มาของ
ทันตาเห็นในชาติปัจจุบัน บุญที่ให้ผลในชาติปัจจุบัน คือ บุญที่ท�ากับพระอรหันต์ผู้ประเสริฐ ขอมูล
2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
พระอรหันต์ที่อยู่นอกบ้าน พวกเราๆ ท่านๆ ไม่อาจจะล่วงรู้ได้ว่า องค์ใดจริง หรือไม่จริง แต่
อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ
ที่อยู่ใกล้ตัวที่สุดและเป็นของจริงแท้แน่นอน บูชาได้อย่างแน่นอน คือ พ่อแม่ของเรา ไม่มีผู้ใดที่มี
การเขียนผังความคิด โดยใชความรู
ความกตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่ แล้วต้องพบกับความวิบัติ ไม่เคยมี มีแต่จะท�ามาหากินอะไรก็เจริญ
ความเขาใจที่ไดรับจากการฟงบรรยาย
รุ่งเรือง แคล้วคลาดปลอดภัยจากอันตรายทั้งหลายทั้งปวง
เปนขอมูลเบือ้ งตนสําหรับตอบคําถาม
(ปรับจากพระอรหันต์อยู่ในบ้าน: กองบรรณาธิการวารสาร ราชรถ ฉบับเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗) • การเขียนผังความคิดมีขั้นตอนอยางไรบาง
จากบทความเรื่อง “พระอรหันต์อยู่ในบ้าน”1 สรุปใจความส�าคัญได้ ดังนี้ (แนวตอบ 1. เขียนประเด็นหลักไวตรงกลาง
๑) จับใจความส�าคัญในแต่ละย่อหน้า หนากระดาษ 2. เขียนประเด็นรองไวรอบๆ
ย่อหน้าที่ ๑ ทุกๆ คน มุ่งแต่เสาะแสวงหาที่จะท�าบุญกับพระอรหันต์ที่อยู่นอกบ้าน และโยงเสนจากประเด็นหลัก 3. เขียน
จึงไม่เคยมองเห็นพระอรหันต์ที่อยู่ในบ้าน ประเด็นยอยโยงเสนมาจากประเด็นรอง
ย่อหน้าที่ ๒ น�้าใจของพ่อ แม่ มีความบริสุทธิ์เทียบได้กับน�้าใจของพระอรหันต์ โดยอาจมีการเพิ่มเติมภาพที่มีความสัมพันธ
ย่อหน้าที่ ๓ ในฐานะที่น�้าใจของพ่อ แม่ เทียบเท่ากับน�้าใจของพระอรหันต์ เราจึงควร กับประเด็นนั้นๆ ลงไป โดยวางไวบน
ท�าบุญกับพ่อแม่ในขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ เพราะได้บุญทันตาเห็น เสนเชื่อมหรือระบายสีใหสวยงาม)
ย่อหน้าที่ ๔ ไม่มีผู้ใดที่กตัญญูต่อพ่อ แม่ แล้วจะได้พบกับความวิบัติ • หากตองเขียนผังความคิดเพื่อแสดงความ
๒) เขียนเรียบเรียงใหม่ เขาใจในบทเรียนจะตองเริ่มจากสิ่งใด
ทุกๆ คน มุ่งแต่เสาะแสวงหาที่จะท�าบุญกับพระอรหันต์ที่อยู่นอกบ้าน จนท�าให้มอง (แนวตอบ จะตองเริ่มจากการอาน ฟง หรือ
ไม่เห็นพระอรหันต์ที่สถิตย์อยู่ในบ้าน ซึ่งคือ พ่อ แม่ การเลี้ยงดูโดยไม่หวังผลตอบแทน การให้อภัยใน ดูเรื่องนั้นๆ ใหเกิดความเขาใจที่ถองแท
ความผิดพลาด เหล่านี้ คือ น�้าใจของพ่อ แม่ ซึ่งบริสุทธิ์เทียบเท่ากับน�้าใจของพระอรหันต์ ความกตัญญู เสียกอน โดยใชแนวทางการจับใจความ
กตเวทีที่บุตรพึงมีต่อพ่อ แม่ ในขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ จึงเป็นการท�าบุญที่ได้ผลเทียบเท่าการท�าบุญ สําคัญ พยายามจับใจความ หรือสาระสําคัญ
กับพระอรหันต์ ซึ่งไม่มีผู้ใดที่กตัญญูต่อพ่อ แม่ แล้วจะได้พบกับความวิบัติ ของเรือ่ งใหได เมือ่ มีขอ มูลเบือ้ งตนทีเ่ พียงพอ
ก็จะสามารถถายทอดเปนผังความคิด
๑.๕ การเขียนผังความคิด2 ที่มีความครอบคลุมเรื่องที่อาน)
ผังความคิด หรือ Mind Map คือ การสรุปความรู้ ความคิดโดยใช้ภาพ สี เส้น และการเชื่อมโยง • การอานจับใจความสําคัญมีความสัมพันธ
แทนการจดบันทึกในรูปแบบความเรียง ผูเ้ ขียนผังความคิดสามารถแตกประเด็นความคิดได้หลากหลาย กับการเขียนผังความคิดอยางไร
ไม่จ�ากัด แต่ทั้งหมดต้องสัมพันธ์กัน โดยเริ่มจากประเด็นหลัก เชื่อมโยงไปสู่ประเด็นรอง แตกแขนงไปสู่ (แนวตอบ การเขียนผังความคิดเพื่อแสดง
ประเด็นย่อย ความเขาใจในบทเรียน หรือเรื่องที่อาน
ผูเขียนจะตองทราบสาระสําคัญของเรื่อง
25 เปนอยางดี ดังนัน้ การอานจับใจความสําคัญ
จึงเปนจุดเริม่ ตนของการเขียนผังความคิดทีด่ )ี

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT O-NE T นักเรียนควรรู
การเขียนผังความคิดมีความสัมพันธอยางไรกับทักษะการคิด
1 ยอหนา หมายถึง ขอความตอนหนึ่งๆ ซึ่งมีใจความสําคัญเพียงเรื่องเดียว
และการทํางานรวมกัน จงแสดงความคิดเห็น
และมีสวนที่ขยายใจความสําคัญดังกลาวใหไดความชัดเจนและสมบูรณ ยอหนา
แนวตอบ การเขียนผังความคิดจะชวยพัฒนาทักษะการคิดของมนุษย หนึ่งๆ จะมีความยาวเทาใดก็ได แลวแตรายละเอียดของงานเขียนแตละเรื่อง
ใหเปนระบบหรือการคิดแบบเชื่อมโยง โดยเริ่มคิดจากประเด็นหลักไปสู สิ่งสําคัญที่สุด คือ แตละยอหนาตองมีใจความสําคัญเพียงเรื่องเดียว
ประเด็นรอง จากนั้นจึงคอยๆ แตกประเด็นยอยโดยมีหลักการวาจะตอง 2 Mind Map เปนวิธีการฝกกระบวนการการทํางานของสมอง 2 ทาง กลาวคือ
มีความสัมพันธเชื่อมโยงมาจากประเด็นหลักของเรื่อง นอกจากนี้การเขียน การฝกเขียน Mind Map เปนการถายทอดความรู ความคิด และขอมูลตางๆ
ผังความคิดยังมีความสัมพันธกับการทํางานรวมกันของมนุษย ในกรณีที่ใช ที่บรรจุอยูในสมองลงสูกระดาษ โดยใชเสน สี และภาพ เปนตัวชวยในการถายทอด
ผังความคิดเพื่อรวบรวมความคิดเห็นของกลุมที่มีตอประเด็นหนึ่งๆ ทําใหเกิด แทนการจดบันทึก ในขณะเดียวกัน Mind Map ยังชวยใหขอมูล ความรูตางๆ
การยอมรับฟงความคิดเห็นซึ่งกันและกัน อันเปนปจจัยพื้นฐานของการ จากตํารา หนังสือ คําบรรยายตางๆ เขาสูสมองไดโดยงาย ดวยวิธีการจดจํา
ทํางานและการอยูรวมกันในสังคมปจจุบัน เปนภาพ การทํางานของสมองจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อขอมูลที่เขาสูสมอง
มีลักษณะเปนภาพองครวม

คู่มือครู 25
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
1. นักเรียนใชความรู ความเขาใจเกีย่ วกับการอาน
จับใจความสําคัญทําแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.2 การเขียนผังความคิดมีขั้นตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 หนวยที่ 2 กิจกรรมตามตัวชี้วัด ๑. เขียนประเด็นหลักไว้ตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษที่ไม่มีเส้นบรรทัดและวางในแนวนอน
กิจกรรมที่ 2.1 ๒. เขียนประเด็นรองไว้รอบๆ ประเด็นหลัก แล้วจึงลากเส้นเชื่อมโยง
๓. เขียนประเด็นย่อยที่สัมพันธ์กับประเด็นรองแตกออกไปเรื่อยๆ แล้วจึงลากเส้นเชื่อมโยง
ใบงาน ✓ แบบวัดฯ แบบฝกฯ ๔. เขียนสัญลักษณ์สื่อความหมาย เป็นเครื่องแทนความคิดให้มากที่สุด
ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 2.1 ๕. ระบายสีเส้นประเด็นรองและประเด็นย่อยแต่ละด้านที่โยงออกไปให้เป็นสีเดียวกัน
เรื่อง การอานจับใจความส�าคัญ
การใช้ผังความคิดมีประโยชน์ ดังนี้
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
๑. ช่วยให้เข้าใจและจดจ�าเรือ่ งทีอ่ า่ นได้ดยี งิ่ ขึน้ เพราะจดจ�าผ่านภาพ ถ้อยค�า หรือข้อความสัน้ ๆ
กิจกรรมที่ ๒.๑ ใหนักเรียนอานบทประพันธที่กําหนดใหแลวตอบคําถาม
(ท ๑.๑ ม.๒/๒)
ñð ๒. ช่วยให้จัดการความคิดเป็นระบบ มองเห็นความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันของข้อเท็จจริงต่างๆ
นงคราญองคเอกแกว
มานมนัสกัตเวที
กระษัตรีย
ยิ่งลํ้า
ที่ปรากฏในเรื่องที่อ่านหรือศึกษาค้นคว้า
เกรงพระราชสามี
ขับคเชนทรเขนคํ้า
ขุนมอญรอนงาวฟาด
มลายพระ ชนมเฮย
สะอึกสูดัสกร
ฉาดฉะ
๓. ช่วยให้เกิดจินตนาการในการสร้างสรรค์ผลงาน เพราะผังความคิดสามารถอธิบายขยายความคิด
ขาดแลงตราบอุระ
โอรสรีบกันพระ
สูญชีพไปสูญสิ้น
หรุบดิ้น
ศพสู นครแฮ
พจนผูสรรเสริญ
ต่อไปได้อีกหลายประเด็น
๑. สมเด็จพระศรีสุริโยทัย
นงคราญ หมายถึงใคร .........................................................................................................................................................................

ฉบับ
๒.
๓.
พระมหาจักรพรรดิ
พระราชสามี หมายถึงใคร ...............................................................................................................................................................
พระเจาแปร
ขุนมอญ หมายถึงใคร........................................................................................................................................................................... การเขียนผังความคิดสรุปความเข้าใจจากบทเรียน
เฉลย ๔. สละชีวิตของพระองคเพื่อชวยชีวิต
สมเด็จพระศรีสุริโยทัยไดแสดงวีรกรรมอยางไร...........................................................................................................
พระมหาจักรพรรดิ
....................................................................................................................................................................................................................................
ถูกพระเจาแปรฟนดวยพระแสงของาวพระอังสา
๕. สมเด็จพระศรีสุริโยทัยสิ้นพระชนมอยางไร......................................................................................................................
ขาดสะพายแลง
....................................................................................................................................................................................................................................
เรื่องย่อ รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก
อานบทประพันธตอ ไปนีแ้ ลวตอบคําถามขอ ๖-๑๐
สรรเพชญที่แปดเจา
เสด็จประพาสทรงปลา
ลองเรือเอกไชยมา
อยุธยา
ปากนํ้า
ถึงโคก ขามพอ
นนทกท�าหน้าที่ล้างเท้าให้แก่เทวดาที่ขึ้นเฝ้าพระอิศวร ซึ่งนนทกมักจะถูกเทวดากลั่นแกล้ง
คลองคดโขนเรือคํ้า ขัดไมหักสลาย
ด้วยการเขกศีรษะ ลูบศีรษะ ถอนผมอยู่เป็นประจ�าจนศีรษะล้าน ด้วยความคั่งแค้นนนทกจึงไป
๖. สมเด็จพระเจาเสือ
บทประพันธนี้กลาวถึงกษัตริยพระองคใด .........................................................................................................................
๗.
๘.
ทรงเบ็ดตกปลา
เหตุที่เสด็จประพาสในครั้งนี้ ...........................................................................................................................................................
เรือเอกชัย
ทรงลองเรือใดในการเสด็จประพาส .........................................................................................................................................
ขอพรจากพระอิศวรให้ตนมีนิ้วเพชรที่สามารถชี้สังหารใครๆ ได้ เมื่อได้รับพร นนทกจึงระบาย
๙.
๑๐.
คลองคดเคี้ยว
เพราะเหตุใดโขนเรือพระที่นั่งจึงหัก ........................................................................................................................................
โคกขาม
เรือพายมาถึงที่ใดโขนเรือจึงหัก.................................................................................................................................................. ความคั่งแค้นไล่ชี้เทวดาสร้างความปั่นป่วนไปทั้งสวรรค์ พระอินทร์จึงไปกราบทูลให้พระอิศวร
๘ ทรงทราบ พระอิศวรจึงบัญชาให้พระนารายณ์ไปปราบนนทก
พระนารายณ์แปลงองค์เป็นนางอัปสรมายัว่ ยวนนนทก แล้วชวนออกร่ายร�าจนถึงท่าชีข้ าตนเอง
2. นักเรียนคัดสรรงานเขียนประเภทใหความรู ด้วยเดชนิ้วเพชรศักดิ์สิทธิ์ขานนทกจึงหักพับลง นางแปลงกลับกลายเป็นพระนารายณ์ นนทกจึง
นํามาอานเพื่อจับใจความสําคัญของเรื่อง ตัดพ้อว่า เพราะพระนารายณ์มีสี่กร ท�าให้ตนที่มีเพียงสองมือนั้นสู้ไม่ได้ พระนารายณ์จึงให้นนทก
นําเสนอในรูปแบบใบงานเฉพาะบุคคล ไปอุบัติในชาติใหม่ ให้มีสิบหน้า ยี่สิบมือ ส่วนพระองค์จะอวตารเป็นมนุษย์ตามไปปราบนนทก
ให้ส�าเร็จ นนทกจึงได้อุบัติเป็นทศกัณฐ์ โอรสท้าวลัสเตียนแห่งกรุงลงกา ส่วนพระนารายณ์
อวตารเป็นพระราม โอรสท้าวทศรถแห่งเมืองอโยธยา (อยุธยา)
จากการศึกษาเรื่องย่อรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก สามารถเขียนผังความคิด
สรุปความเข้าใจจากบทเรียนได้ ดังนี้

26

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
“ทองฟามีอยูแบบทองฟา กอนเมฆลอยอยูแบบกอนเมฆ พระอาทิตย
ครูควรใหความรู ความเขาใจที่ถูกตองแกนักเรียนเกี่ยวกับการอานจับใจความ
สาดแสงในแบบของพระอาทิตย นกรองแบบที่มันรอง ดอกไมสวยงามเปน
สําคัญ ซึ่งการอานจับใจความสําคัญที่มีประสิทธิภาพจะตองมีความครอบคลุมประเด็น
ธรรมชาติของดอกไม ลมพัดเพราะมันคือลม หอยทากเดินชาอยางที่หอยทาก
ตอไปนี้
เปน เหมือนธรรมชาติกําลังกระซิบบอกฉันวามันเพียงเปนของมันอยางนั้น
• จุดมุงหมายของเรื่อง
มันไมรองขอ ฉันจะมองเห็นมัน หรือไมเห็นมัน มันไมเรียกรองใหตองชื่นชม
• การลําดับเหตุการณ
ตองแลกเปลี่ยน ตองขอบคุณ เปนของมันอยางนั้น ไมไดตองการอะไร
• สิ่งสําคัญที่ผูเขียนตองการนําเสนอ
มันเพียงแตเปนไป ทุกอยางเปนธรรมชาติของมัน” ใจความสําคัญของ
ขอความนี้คืออะไร
1. ธรรมชาติไมเคยสนใจมนุษย
มุม IT 2. ธรรมชาติไมเคยเรียกรองอะไรจากมนุษย
นักเรียนสามารถสืบคนความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเขียนแผนผังความคิดไดจาก 3. ธรรมชาติไมตองการคําชื่นชมจากมนุษย
เว็บไซต http://www.1.si.mahidol.ac.th/km/sites/default/fif iles/Mind_Map- 4. ทุกอยางที่เปนธรรมชาติ ลวนมีความสวยงาม
ping30_4_55.pdf วิเคราะหคําตอบ จากขอความขางตนไดกลาวถึงความเปนไปของธรรมชาติ
ธรรมชาติทุกสิ่งลวนเปนไปตามแบบฉบับของมัน และดวยความ
26 คู่มือครู ที่เปนธรรมชาติมันจึงสวยงาม ดังนั้นจึงตอบขอ 4.
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
1. นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับขั้นตอนการ
เขียนผังความคิด จากหนังสือเรียนภาษาไทย
ึงขอนิ้วเพชรจากพระอิศวร
ถูกเทวดากลั่นแกลง

มเหสี คือ พระลักษมี


ระนารายณจึงมาปราบ
วดากอนขึ้นเฝาพระอิศวร

น พระราม
างแ ปลง

ั ณ ฐ

ราบนนทก

นพญาอนัน คราช
ถอื อาวุธ ตรี คทา จกั ร สงั ข
รู กั ษ

ะทบั บ พาหนะ คือ ครฑุ


นทศก

เทพผ
หนา 26-27 จากนั้นใชความรู ความเขาใจ

ตนา
เสียทีเพราะหลงน
อุบัติเป

อวตารเป
ปั สรมาป
ที่ไดรับจากการศึกษาดวยตนเอง ทําแบบวัดฯ
ภาษาไทย ม.2 ตอนที่ 1 หนวยที่ 2 กิจกรรม

นางอ
ไลชี้เทวดา พ

ตามตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 2.2

งเปน
 า ใ ห เ ท

็บแคนจ

ะปร
แปล
มสี กี่ ร

ทรจ
มุ
ง เท

ยี รส
ูผกใจเจ


ที่ลา

งเก
ยกู ลา ✓ แบบวัดฯ
า

เมอื่ อ ใบงาน แบบฝกฯ


าห น

ทํ
ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 2.2
เรื่อง การเขียนผังความคิด
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๒.๒ ใหนักเรียนเขียนผังความคิดจากเรื่องที่อานตอไปนี้ ñð
(ท ๑.๑ ม.๒/๓)

๑. โคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา เรื่องราชสีหกับหนู
ราชสีหตัวหนึ่งนอนหลับ มีหนูตัวหนึ่งวิ่งไปบนหนา ราชสีหนั้นตกใจตื่น ลุกขึ้นดวย
รายณ

ความโกรธ จับหนูไวไดจะฆาเสีย หนูจึงออนวอนวา ถาเพียงแตทานไวชีวิตขาพเจา ขาพเจา


นารายณปราบนนทก นนท

คงจะแทนคุณทานที่มีใจดีเปนแน ราชสีหหัวเราะแลวปลอยเขาไป อยูมาไมชากวานี้นัก ราชสีห


ิ ู
าสนาพราหมณ - ฮนิ ด

ตองพรานจับผูกไวดวยเชือกแข็งแรงหลายเสน หนูไดยินเสียงราชสีหรองจําได ก็ขึ้นมาชวย


พระนา

กัดเชือก ปลอยราชสีหออกได แลวจึ่งรองวา ทานยิ้มเยาะความคิดขาพเจาที่วาคงสามารถที่จะ



นท ชวยทาน ทานไมหมายวาจะไดรับอันใดตอบแทนนั้น เดี๋ยวนี้ทานคงทราบแลววา ถึงเปนเพียง
อ โคน หนูตัวหนึ่ง ก็อาจที่จะใหความอุปถัมภทานได

ทก
1
หรื

ใหพ ระนารายณป ราบนน



พระอุมาเทวี

อ โคอุศภุ รา
รามเกียรติ์

ใหน วิ้ เพชรแกนนทก เหตุการณ ขอคิด


อศิ ว

ราชสีหกับหนู

พระ
ตอน

ู สดุ ในศ

ราชสีหนอนหลับอยู ไมควรรังแกซึ่งกันและกัน ฉบับ


เฉลย
คอื ตรศี ลู

มีหนูวิ่งบนใบหนา
ราชสีหจับหนูไดจะฆาหนู หนูออนวอน ทุกชีวิตตองพึ่งอาศัยกัน
พาหนะ คื
เจา สง

ขอชีวิต ราชสีหจึงปลอยหนูไป
มเหสี คอื

วดา ราชสีหติดบวงของนายพราน อยาดูถูกคนที่ดอยกวาตน


เทพ

อาวธุ
เท

หนูมาชวยกัดบวงนายพราน ตัวละคร
เหลา
อนิ ทร

ราชสีห หนู

นักเรียนจะนําขอคิดจากเรื่องนี้ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวันอยางไร
พ ระ

จากเรื่องจะเห็นวา หนูเมื่อเทียบกับสิงโตเปนเพียงสัตวตัวเล็กๆ ไมมีอํานาจ แตเมื่อมีโอกาส


.............................................................................................................................................................................................................................................................
ที่จะตอบแทนบุญคุณสิงโตที่ไวชีวิต หนูก็ไมรีรอที่จะชวยและสามารถชวยสิงโตผูยิ่งใหญใหรอดพน
.............................................................................................................................................................................................................................................................
จากนายพรานได การชวยเหลือกันไมวา จะเปนผูน อ ยหรือผูใ หญ คนจนหรือคนรวยก็ชว ยเหลือกันได
.............................................................................................................................................................................................................................................................
เพราะการชวยเหลือผูที่เดือดรอนประสบกับปญหาเปนหลักคุณธรรมของคนดีที่ปฏิบัติกัน
.............................................................................................................................................................................................................................................................

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)


รง ทรา

าลโล

ทูลเรื่อ ามเดือดรอนใหพระอิศวรท
 อภิบ

เทวดา นางฟา คนธรรพ วทิ ยาธร

2. นักเรียนเลือกอานบทความที่มีเนื้อหาสาระ
ของตน
ผูปกครองสวรรคชั้นดาวดึงส

ตน

ใหความรูในดานตางๆ โดยเลือกจากความ
รังแกขมเหงผูท ดี่ อ ยกวา

ไดรบั ผลแหงการกระทาํ

ด า

ว ั

สนใจ แลวสรุปขอมูล ความรูที่ไดจากการอาน




พระวรกายสีเขียว


สุ



งน นทก


ในรูปแบบผังความคิด
ชา

รงชื่อ
คื อ

ค ว
มเหส ี

ชางท
สร  า ง

๒๗

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
นักเรียนอานบทความสุขภาพที่ปรากฏในนิตยสารหรือวารสารตางๆ เมื่อครูใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมสรางเสริมและกิจกรรมทาทาย ผลที่จะไดรับ
จากนั้นใหสรุปความรู ความเขาใจของตนเองที่มีตอเรื่องที่อาน นําเสนอ จากการปฏิบัติกิจกรรมจะทําใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการ
ในรูปแบบผังความคิด แตกประเด็นความคิด เห็นความสําคัญของการเขียนผังความคิดที่ชวยถายทอดขอมูล
ความรู ความเขาใจจากสมองลงสูกระดาษ ในขณะเดียวกันที่ขอมูล ความรู
ความเขาใจที่ไดจากการแสวงหาความรูดวยวิธีการตางๆ เขาสูสมอง
กิจกรรมทาทาย
นักเรียนควรรู
นักเรียนตั้งประเด็นที่สนใจและเปนประโยชนตอชีวิตประจําวันของมนุษย
1 พระอิศวร หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา พระศิวะ ผูซึ่งเปนเทพเจาสูงสุดในศาสนา
เชน เรา...จะลดการใชพลังงานไดอยางไร แตกประเด็นความคิดหลัก
พราหมณ-ฮินดู (พระพรหม พระวิษณุ (พระนารายณ) พระศิวะ) ซึ่งรูปลักษณของ
ความคิดรองที่มีความสัมพันธกับประเด็นที่เลือก โดยหาความรูเพิ่มเติม
พระศิวะมีปรากฏหลายลักษณะ แตจุดเดนที่ถือวาเปนเอกลักษณของพระองค คือ
เพื่อใชเปนขอมูลสําหรับการแตกประเด็นความคิด นําเสนอในรูปแบบ
รูปพระจันทรเสี้ยว ดวงตาที่ 3 บนหนาผาก สรอยประคํารูปหัวกะโหลก และงู
ผังความคิด
ที่คลองพระศอ
คู่มือครู 27
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา
Engage Explore อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explain Elaborate Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอนดวยวิธีการ
ตั้งคําถามกระตุนทักษะการคิด โดยใชพื้นฐานหรือ ๒ การอ่านเพื่อวิเคราะห์
รองรอยความรูเดิมของตนเอง เปนขอมูลเบื้องตน
สําหรับตอบคําถาม
๒.๑ ความหมาย
วิเคราะห์ หมายถึง แยกออกเป็นส่วนๆ เพื่อท�าความเข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของ
• เมื่อนักเรียนทราบสาระสําคัญของเรื่อง
ส่วนย่อยต่างๆ ดังนั้น การอ่านเพื่อวิเคราะห์ จึงหมายถึง การอ่านเพื่อแยกแยะเนื้อหาที่ผู้เขียนสื่อสาร
เพราะมีทักษะการอานจับใจความสําคัญ ให้ได้ว่าข้อความใดเป็นข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น หรือความรู้สึกของผู้เขียน
หากตองการจะทราบองคประกอบและมองเห็น นอกจากนี้ ผู้อ่านจะต้องพิจารณาเนื้อหาทั้งด้านศิลปะการเขียนและเนื้อเรื่อง วิเคราะห์จนได้
ความสัมพันธของสวนยอยๆ ภายในเรื่อง แก่นส�าคัญและน�ามาพิจารณาคุณค่าที่ปรากฏในเรื่อง
ที่อาน นักเรียนจะตองฝกทักษะการอาน
ในรูปแบบใด ๒.๒ ความส�าคัญของการอ่านเพือ่ วิเคราะห์
(แนวตอบ ฝกทักษะการอานเพื่อการวิเคราะห การอ่านเพื่อวิเคราะห์มีความส�าคัญ ดังนี้
เพราะการอานวิเคราะหจะทําใหผอู า นทราบวา ๑) ผูอ้ า่ นทราบใจความส�าคัญของเรือ่ ง การอ่านเพือ่ วิเคราะห์จะท�าให้ผอู้ า่ นทราบว่าเรือ่ ง
สารที่รับมาดวยวิธีการอาน ฟง และดู ที่อ่านกล่าวถึงอะไร อย่างไรบ้าง และน�ามาวิเคราะห์ให้ได้แก่นเรื่อง
มีองคประกอบใดบาง และองคประกอบ ๒) ผู้อ่านเห็นความสัมพันธ์ของข้อมูล เป็นการพัฒนาทักษะการคิดเชื่อมโยงอย่างเป็น
เหลานั้นมีความสัมพันธกันอยางไร) ระบบ ผู้อ่านจะทราบถึงที่มาที่ไป แรงบันดาลใจของผู้เขียน หรือสาเหตุของเรื่อง น�าไปสู่การระบุได้ว่า
เรื่องที่อ่านมีความสมเหตุสมผลหรือไม่ ข้อมูลต่างๆ สัมพันธ์กันและส่งผลต่อเรื่องอย่างไร
๓) ผู้อ่านทราบข้อมูลในระดับสูง เนื่องจากการวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลและพิจารณา
ส�ารวจค้นหา Explore ความเป็นเหตุเป็นผลของเนื้อเรื่อง จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจแก่นเรื่องและสาเหตุของเรื่อง
แบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม ครูทําสลาก ๔) ผู้อ่านเกิดความประทับใจในสิ่งที่อ่าน เมื่อวิเคราะห์จนทราบสาเหตุและความเป็นไป
โดยเขียนหมายเลข 1, 2 และ 3 พรอมระบุขอความ ของเรือ่ ง จะท�าให้ผอู้ า่ นเกิดความเข้าใจ ซาบซึง้ และมองเห็นคุณค่าของเรือ่ งทีอ่ า่ น
ในแตละหมายเลข จากนั้นใหแตละกลุมสงตัวแทน ๒.๓ หลักการอ่านเพือ่ วิเคราะห์
ออกมาจับสลากประเด็นสําหรับการสืบคนความรู การอ่านเพื่อวิเคราะห์มีหลักการ ดังนี้
รวมกัน ดังนี้ ๑) พิจารณารูปแบบ ผู้อ่านควรพิจารณาว่าผู้เขียนเลือกใช้รูปแบบงานเขียนประเภทใด
หมายเลข 1 การอานเพื่อวิเคราะห ในการน�าเสนอเนื้อหาสาระ
หมายเลข 2 การอานเพื่อวิจารณ ๒) จับใจความส�าคัญ ผูอ้ า่ นควรอ่านเรือ่ งโดยละเอียดตัง้ แต่ตน้ จนจบ เพือ่ จับใจความส�าคัญ
หมายเลข 3 การอานเพื่อประเมินคา ๓) แยกพิจารณา โดยจ�าแนกเป็นประเด็น ดังนี้
โดยสามารถสืบคนความรูไดจากแหลงขอมูล • ข้อเท็จจริง คือ การพิจารณาเนื้อหาในส่วนที่น�าเสนอสิ่งที่เป็นความจริง มีข้อพิสูจน์ หรือ
ตางๆ ที่เขาถึงได และมีความนาเชื่อถือ มีแหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้ เช่น การรายงานข่าวโดยน�าเสนอว่าเกิดเหตุการณ์อะไร ใคร ท�าอะไร เมื่อไร
ที่ไหน และอย่างไร เป็นต้น
• ข้อคิดเห็น คือ การพิจารณาเนื้อหาในส่วนที่เป็นการแสดงความคิดเห็นส่วนบุคคลของ
ผู้เขียน ข้อความที่เป็นการสื่อสารความคิดเห็นของผู้เขียน อาจสังเกตได้จากค�าหรือวลี เช่น น่าจะ
คงจะ เชื่อว่า เป็นต้น
28

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
การวิเคราะหขอเท็จจริงและขอคิดเห็นที่ปรากฏในเรื่องที่อาน
ครูควรชี้แจงใหนักเรียนเขาใจวา การอานทั้ง 3 ประเภท เปนการอานที่มีความ
มีความสําคัญอยางไรตอการรับสารของมนุษย จงแสดงความคิดเห็น
สัมพันธเกี่ยวเนื่องซึ่งกันและกัน หากนักเรียนจะตัดสินเรื่องที่อาน ดวยคําวา “ชอบ”
“ไมชอบ” “ดี” “ไมดี” นั้น เปนเหตุผลที่ไมเพียงพอ การจะตัดสินเรื่องที่ไดอานวามี แนวตอบ ขอเท็จจริงเปนขอมูลที่สามารถพิสูจนและตรวจสอบได สวนขอ
คุณคาเพียงใด และอยางไร นักเรียนจะตองมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการวิเคราะห คิดเห็นเปนทัศนคติของผูสงสารซึ่งไมสามารถตัดสินถูกผิดใหชัดเจนได
คือ สามารถแยกแยะองคประกอบตางๆ ภายในเรื่องที่อานไดครบถวน จากนั้นจึง ขึ้นอยูกับมุมมองและการใหเหตุผลสนับสนุนความคิดเห็นของแตละบุคคล
วิจารณหรือแสดงความคิดเห็นที่มีตอเรื่องทั้งในเชิงสนับสนุนและโตแยง โดยยกเหตุผล ดังนั้น หากการอานหรือการรับสารในทุกๆ ครั้ง ขาดการคิด วิเคราะห จําแนก
ที่ชัดเจนประกอบ สุดทายแลวจะมองเห็นชองทางทําใหสามารถตัดสินหรือประเมินไดวา ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น อาจทําใหผูรับสารคลอยตามเนื้อหาสาระของสิ่งที่ได
เรื่องนั้นๆ มีคุณคาอยางไร ดวยเหตุผลที่เพียงพอ และปราศจากอคติหรือความลําเอียง อาน ฟงและดู แลวกอใหเกิดการวิพากษ วิจารณหรือที่เรียกวา “เขาขาง”
อีกทั้งการแสดงเหตุผลที่เพียงพอจะทําใหการประเมินคาในแตละครั้งมีความนาเชื่อถือ โดยที่ไมรูตื้นลึกหนาบางหรือสาเหตุที่แทจริง หลงเชื่อ แลวทําใหไดรับความ
เดือดรอนทั้งแกตนเองและผูอื่นไดในภายหลัง

28 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 1
• ความรู้สึกของผู้เขียน คือ การพิจารณาอารมณ์ ความรู้สึกของผู้เขียนที่สื่อสารมาสู่ผู้อ่าน สงตัวแทนออกมาอธิบายความรูเกี่ยวกับ
เช่น รู้สึกสลดใจ รู้สึกสะเทือนใจ เป็นต้น 1 การอานเพื่อการวิเคราะหที่ไดจากการสืบคน
๔) พิจารณาการเรียงล�าดับเหตุการณ์ คือ การพิจารณาวิธีที่ผู้เขียนใช้ล�าดับเหตุการณ์ รวมกับเพื่อนในกลุม พรอมระบุแหลงที่มาของ
หรือเนื้อหาภายในเรื่อง เช่น จากเหตุไปหาผล ผลไปหาเหตุ ล�าดับการเกิดก่อน - หลัง เป็นต้น ขอมูล
๕) พิจารณาการใช้สา� นวนภาษา คือ การพิจารณาว่าผูเ้ ขียนใช้ภาษาเหมาะสมกับประเภท 2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบายความรู
ของงานเขียน ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ สื่อความชัดเจนหรือไม่ เป็นต้น เกี่ยวกับการอานเพื่อวิเคราะห โดยใช
๒.๔ ตัวอย่างการอ่านเพือ่ วิเคราะห์ ความรู ความเขาใจทีไ่ ดรบั จากการฟงบรรยาย
เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
บทความสÓหรับการอ่านเพื่อวิเคราะห์ • การอานเพื่อวิเคราะห คือ การอาน
เพื่อแยกแยะสวนประกอบหรือองคประกอบ
ธุรกิจฮาลาล...ตลาดใหญ่ในอาเซียน ภายในเรื่องวามีความสัมพันธกันอยางไร
ฮาลาล (Halal) เป็นค�าที่มาจากภาษาอาหรับ คือ กฎบัญญัติอนุมัติให้ชาวมุสลิมที่อยู่ใน จากคํานิยามขางตน นักเรียนคิดวา
ศาสนนิติภาวะกระท�าได้ อันได้แก่ การนึกคิด วาจา และการกระท�าที่ศาสนาได้อนุมัติให้ เช่น เราสามารถแยกแยะสวนประกอบใดของ
การรับประทานเนื้อปศุสัตว์ที่ได้เชือดอย่างถูกต้อง การค้าขายโดยสุจริตวิธี การสมรสกับสตรีตาม เรื่องไดบาง
(แนวตอบ ในเรื่องหนึ่งๆ ที่ไดอาน ไดฟง
กฎเกณฑ์ที่ได้ระบุไว้ เป็นต้น ในส่วน “อาหารฮาลาล” คือ อาหารที่ได้ผ่านกรรมวิธีในการท�า ผสม
หรือดู ผูรับสารจะสามารถแยกแยะ
ปรุง ประกอบ หรือแปรสภาพตามศาสนบัญญัตินั่นเอง เป็นการรับประกันว่าชาวมุสลิมโดยทั่วไป
สวนประกอบของเรื่องได ดังนี้
สามารถบริโภคหรืออุปโภคสินค้าหรือบริการต่างๆ ได้โดยสนิทใจ เราสามารถสังเกตผลิตภัณฑ์
• รูปแบบ เชน รอยแกว รอยกรอง
ว่าเป็น “ฮาลาล” หรือไม่นั้น ได้จากการประทับตรา “ฮาลาล” ที่ข้างบรรจุภัณฑ์นั้นเป็นส�าคัญ
• ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น
นอกจากอาหาร ผลิตภัณฑ์ซงึ่ อนุมตั ติ ามบัญญัตศิ าสนาอิสลามให้มสุ ลิมบริโภคหรือใช้ประโยชน์ได้ • ความสมเหตุสมผล หรือความนาเชื่อถือ
ผลิตภัณฑ์ฮาลาลยังครอบคลุมถึงสินค้าหลายชนิด เป็นต้นว่า ข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจ�าวัน ของขอมูลภายในเรื่อง
ตลอดจนงานบริการ เช่น ธนาคาร โรงพยาบาล และการโรงแรม เป็นต้น นอกจากนี้ ผู้บริโภค • กลวิธีการนําเสนอหรือการเรียงลําดับ
สินค้าฮาลาลไม่ได้จ�ากัดเฉพาะชาวมุสลิมเท่านั้น ผู้บริโภคทั่วไปก็เป็นกลุ่มลูกค้าผลิตภัณฑ์ฮาลาล เหตุการณภายในเรื่อง
เพราะปัจจุบันสินค้าหรือบริการที่ได้รับตรารับรองความเป็นฮาลาลหมายความว่า นั่นคือสินค้า • การใชสํานวนภาษา)
ที่เชื่อถือได้ด้านสุขอนามัยและมีประโยชน์ต่อร่างกาย
ปัจจุบนั จ�านวนชาวมุสลิมทัว่ โลกมีประมาณ ๒ พันล้านคน ทัง้ ในทวีปยุโรป อเมริกา แอฟริกา
และเอเชีย โดยคาดว่าภายในปี ๒๐๓๐ จะมีจ�านวนมุสลิมทั่วโลกเพิ่มขึ้นเป็น ๒.๒ พันล้านคน
ซึง่ จากจ�านวนประชากรชาวมุสลิมจ�านวนมหาศาลนี้ ท�าให้ตลาดสินค้าฮาลาลทัง้ ทีเ่ ป็นอาหารและ
ไม่ใช่อาหาร กลายเป็นตลาดเนื้อหอมที่หลายประเทศจ้องยึดครองนั่นเอง

29

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
การวิเคราะห วิจารณองคประกอบดานภาษาในงานเขียนมีแนวทางอยางไร
1 การเรียงลําดับเหตุการณ สามารถเรียงลําดับไดหลายรูปแบบ ขึ้นอยูกับกลวิธีการ
และองคประกอบดานภาษาสงผลตอการประเมินคุณคางานเขียนอยางไร
เขียนของผูเขียน ประเภทของเรื่อง ความเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง เชน
แนวตอบ ผูวิเคราะห วิจารณหรือผูรับสารควรสังเกตความกลมกลืนระหวาง - เรียงลําดับตามเวลา
ภาษากับเนื้อหาสาระที่ผูสงสารนําเสนอ การใชโวหารภาพพจนวามีความ - เรียงลําดับตามความสําคัญ
สอดประสานกับเนื้อเรื่องมากนอยเพียงใด พิจารณาความถูกตองตามหลัก - เรียงลําดับตามเหตุและผล
ไวยากรณทางภาษาวามีความเหมาะสมกับบริบทและสถานการณหรือไม - เรียงลําดับตามหมวดหมู กลุม จําพวก
อยางไร - เรียงลําดับตามกระบวนการ
หากงานเขียนเรื่องนั้นๆ ผูเขียนหรือผูสงสารสามารถใชภาษา - เรียงลําดับตามขั้นตอน
ไดสอดคลองกลมกลืนกับเนื้อหาสาระที่นําเสนอ มีการใชโวหารภาพพจน
เหมาะสมกับบริบทของเรื่อง ก็สามารถประเมินเบื้องตนไดวางานเขียน
เรื่องนั้นๆ มีคุณคาทางดานภาษา

คู่มือครู 29
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 2
สงตัวแทนออกมาอธิบายความรูเกี่ยวกับ โดยปัจจุบันผู้ส่งออกสินค้าอาหารฮาลาลรายใหญ่ที่สุดของโลก คือ ออสเตรเลีย ตามด้วย
การอานเพื่อวิจารณที่ไดจากการสืบคน บราซิล อาร์เจนตินา แคนาดา อินเดีย นิวซีแลนด์ อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ส�าหรับประเทศอื่น
รวมกับเพื่อนในกลุม พรอมระบุแหลงที่มาของ ในเอเชียที่เริ่มให้ความสนใจอย่างจริงจังในการเจาะตลาดสินค้าฮาลาลในเอเชียและตลาดโลก
ขอมูล คือ มาเลเซีย ซึ่งตั้งเป้าเป็นศูนย์กลางฮาลาลระดับนานาชาติ ส่วนประเทศสิงคโปร์ก็ประกาศ
2. ครูสมุ เรียกชือ่ นักเรียนเพือ่ อธิบายความรูเ กีย่ วกับ วิสยั ทัศน์เป็นศูนย์กลางผลิตอาหารฮาลาลเช่นกัน ในขณะทีป่ ระเทศไทยตัง้ เป้าเป็นศูนย์วทิ ยาศาสตร์
การอานเพื่อวิจารณ โดยใชความรู
และการตรวจสอบอาหารฮาลาล
ความเขาใจที่ไดรับจากการฟงบรรยาย
เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม จากทีก่ ล่าวมา จะเห็นได้วา่ ปัจจุบนั การแข่งขันเพือ่ จับตลาดฮาลาลของประเทศต่างๆ ทัว่ โลก
• “วิจารณ” มีความหมายวาอยางไร และผูที่ มีความตืน่ ตัวมากขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ดังนัน้ การเปิดเสรีทางด้านเศรษฐกิจของอาเซียนจึงเป็นโอกาส
จะทําหนาที่วิจารณไดดีควรมีคุณสมบัติ ของผู้ประกอบการในธุรกิจฮาลาลที่จะส่งออกสินค้าโดยใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีและการหา
อยางไร แหล่งวัตถุดิบใหม่ในอาเซียน นอกจากนี้ ผู้ที่สนใจและอยากจะท�าธุรกิจร้านอาหารฮาลาล ก็คง
(แนวตอบ การวิจารณ คือ การใหคําอธิบายวา เป็นทางเลือกที่น่าศึกษาและลงทุน เพราะประเทศในอาเซียนที่นับถือศาสนาอิสลามก็นับว่าเป็น
เรื่องนั้นหรือสิ่งนั้นๆ มีความงดงาม โดดเดน ตลาดที่มีขนาดใหญ่ไม่น้อยเลยทีเดียว หากผู้ประกอบการสามารถน�าพาอาหารฮาลาลไทยไปบุก
มีขอดีหรือขอบกพรองอยางไร ซึ่งผูที่จะ ตลาดอาเซียนได้แล้ว ความหวังของการเป็น “ศูนย์กลางอาหารฮาลาลของโลกก็คงอยู่ไม่ไกล”
ทําหนาที่วิจารณไดดี ควรเปนผูที่มีความรู
(ปรับจากธุรกิจฮาลาล...ตลาดใหญ่ในอาเซียน: กองบรรณาธิการจดหมายข่าว
ในเรื่องนั้นๆ เปนอยางดี มีจิตใจเปนกลาง
ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น) สมาคมอาเซียน - ประเทศไทย ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๖)
• จากที่มักจะไดยินคําวา “การอานวิเคราะห จากบทความเรื่อง “ธุรกิจฮาลาล...ตลาดใหญ่ในอาเซียน” ของกองบรรณาธิการจดหมายข่าว
วิจารณ” ควบคูกันเสมอ นักเรียนคิดวาคํา
สมาคมอาเซียน - ประเทศไทย สามารถวิเคราะห์ได้ ดังนี้
ทั้งสองนี้มีความสัมพันธกันอยางไร
(แนวตอบ การอานวิเคราะห วิจารณเปนการ ๑) รูปแบบ ผูเ้ ขียนน�าเสนอเนือ้ หาผ่านงานเขียนประเภทบทความแสดงความคิดเห็น โดยน�า
อานที่ตอยอดขึ้นมาจากการอานเอาเรื่อง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับประชาคมอาเซียนมาน�าเสนอ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้อ่านมีความตื่นตัวและ
หรือการอานจับใจความสําคัญ เพื่อใหการ มองเห็นข้อดีของการเป็นหนึ่งในประเทศสมาชิกอาเซียนของประเทศไทย
อานเกิดประโยชนสูงสุด ควรที่จะตอง ๒) ใจความส�าคัญ ผู้เขียนกล่าวถึงธุรกิจฮาลาลที่ก�าลังเติบโตอย่างเต็มที่อันเนื่องมาจาก
วิเคราะหองคประกอบของเรื่อง เพื่อใหเห็น การเพิ่มขึ้นของประชากรชาวมุสลิม หลายๆ ประเทศจึงพยายามครอบครองพื้นที่การตลาด โดยเฉพาะ
ความสัมพันธของแตละสวน และเมื่อทราบวา ตลาดในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งประเทศไทยก็มีความพยายามที่จะเป็นศูนย์กลางอาหารฮาลาลเช่นกัน
เรื่องนั้นๆ มีองคประกอบใดบางจึงแสดง ๓) แยกพิจารณา โดยจ�าแนกเป็นประเด็น ดังนี้
ความคิดเห็นของตนเองที่มีตอองคประกอบ • ข้อเท็จจริง การเพิ่มขึ้นของจ�านวนประชากรชาวมุสลิมทั่วโลก ส่งผลต่อความต้องการ
นั้นๆ ทั้งในเชิงเห็นดวยหรือโตแยง ซึ่งเรียก อาหารทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยต้องเป็นอาหารทีผ่ า่ นกระบวนการท�า ผสม ปรุง ประกอบ แปรสภาพตามศาสนบัญญัติ
ขั้นตอนนี้วา การวิจารณ ดังนั้น การอาน หรือเรียกว่าอาหารฮาลาล ความต้องการนีส้ ง่ ผลให้ธรุ กิจฮาลาลก�าลังเติบโต หลายๆ ประเทศจึงต้องการ
วิเคราะห วิจารณจึงเปนการอานที่มีความ ได้ส่วนแบ่งทางการตลาดรวมทั้งประเทศไทย
สัมพันธตอเนื่องกัน ผูอานตองวิเคราะห
องคประกอบของเรื่องใหไดเสียกอน จากนั้น 30
จึงวิจารณหรือแสดงความคิดเห็น ซึ่งการ
วิจารณที่ดีจะนําไปสูการตัดสินประเมินคา)
ขอสอบเนน การคิด
บูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียง แนว  NT  O-NE T
ขอใดใหความหมายของคําวา “วิเคราะห” ไดถูกตองที่สุด
ความพอเพียงไมไดครอบคลุมเฉพาะดานเศรษฐกิจ แตยังรวมถึงความพอเพียง 1. พิจารณาความหมายแฝงเรนของเรื่อง
ดานอื่นๆ เปนตนวา ความคิด สังคม ทรัพยากร ในฐานะที่นักเรียนยังอยูในชวงวัย 2. พิจารณาเจตนาหรือแนวคิดสําคัญของเรื่อง
ของการแสวงหาความรู และการอานก็เปนชองทางหนึง่ ทีจ่ ะใชเพือ่ ประโยชนดงั กลาว 3. พิจารณายอหนาเพื่อจับสาระสําคัญของเรื่อง
นักเรียนจะนําแนวทางการอานเพือ่ วิเคราะห วิจารณมาใชพฒ
ั นาตนเองใหมคี วาม 4. พิจารณาแยกแยะองคประกอบแตละสวนภายในเรื่อง
พอเพียงดานความคิดอยางไร จากนัน้ ใหรว มกันจัดปายนิเทศในหัวขอ “การสรางความ
พอเพียงดานความคิด” วิเคราะหคําตอบ ในการรับสาร นอกจากการทําความเขาใจสารแลว
ผูรับสารจําเปนตองวิเคราะหสารที่ไดรับมานั้น วามีความถูกตอง นาเชื่อถือ
มากนอยเพียงใด มีความเปนเหตุเปนผลหรือไม สวนใดเปนขอเท็จจริง
ขอคิดเห็น ซึ่งสิ่งเหลานี้จะมองเห็นไดก็ตอเมื่อผูรับสารสามารถวิเคราะห
หรือแยกแยะองคประกอบแตละสวนภายในเรื่องไดอยางละเอียดถี่ถวน
ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

30 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 3
• ข้อคิดเห็น ผู้เขียนได้แสดงข้อคิดเห็นสนับสนุนผู้ที่สนใจและต้องการจะประกอบธุรกิจ สงตัวแทนออกมาอธิบายความรูเกี่ยวกับ
ร้านอาหารฮาลาล โดยมองว่าเป็นทางเลือกทีน่ า่ สนใจ น่าลงทุน เพราะประเทศอาเซียนจ�านวนไม่นอ้ ยที่ การอานเพื่อประเมินคาที่ไดจากการสืบคน
มีประชากรนับถือศาสนาอิสลาม รวมกับเพือ่ นในกลุม พรอมระบุแหลงที่มาของ
• ความรู้สึกของผู้เขียน ผู้เขียนแสดงความรู้สึกดีต่อการเข้าร่วม เป็นหนึ่งในประเทศ ขอมูล
สมาชิกอาเซียนของประเทศไทย และมีความหวังว่าประเทศไทยจะได้เป็นศูนย์กลางอาหารฮาลาล 2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับ
จากการเปิดเสรีทางด้านเศรษฐกิจ การอานเพื่อประเมินคา โดยใชความรู
๔) การเรียงล�าดับเหตุการณ์ ผู้เขียนเรียงล�าดับเหตุการณ์จากเหตุไปหาผล กล่าวคือ ความเขาใจที่ไดรับจากการฟงบรรยาย
เพราะจ�านวนประชากรชาวมุสลิมทีเ่ พิม่ มากขึน้ ผลจึงท�าให้ความต้องการอาหารมีมากขึน้ ธุรกิจการผลิต เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
อาหารฮาลาลจึงเป็นธุรกิจที่มีช่องทางการเติบโต • การประเมินคางานเขียนมีลักษณะสําคัญ
๕) การใช้ส�านวนภาษา ผู้เขียนเลือกใช้ภาษาระดับกึ่งทางการสื่อสารกับผู้อ่าน สื่อความ อยางไร และมีความสัมพันธกับการอาน
ชัดเจน ตรงไปตรงมา
เพื่อวิเคราะห วิจารณอยางไร
1 (แนวตอบ การประเมินคุณคางานเขียนเปน
๓ การอ่านเพื่อประเมินค่า ขั้นตอนที่ผูรับสารตองพิจารณาสารอยาง
๓.๑ ความหมาย รอบคอบ เพื่อหาคุณคาของสาร ซึ่งจะตอง
ตรึกตรองและพิจารณาโดยปราศจากอคติ
การอ่านเพื่อประเมินค่า คือ การใช้วิจารณญาณ ความรู้ หรือประสบการณ์ของตนเอง ไมใชอารมณหรือความรูสึกสวนตนมามีสวน
ท�าความเข้าใจเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล แล้วตัดสินใจได้ว่าผู้เขียนน�าเสนอเนื้อหาถูกต้อง น่าเชื่อถือ ในการประเมินคา รวมถึงไมใหผูอื่นมาชักจูง
หรือไม่ ประเมินคุณค่าของเรือ่ งทัง้ ในด้านศิลปะการใช้ถอ้ ยค�าและด้านสังคม ระบุได้วา่ ภาพรวมของเรือ่ ง หรือโนมนาว ซึ่งการประเมินคางานเขียน
ดีหรือไม่ อย่างไร น�าสิ่งที่ได้รับจากการอ่านมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้ เปนขั้นตอนที่ตอยอดมาจากการอาน
๓.๒ ความส�าคัญของการอ่านเพือ่ ประเมินค่า วิเคราะห วิจารณ เมื่อผูรับสารไดวิเคราะห
วิจารณ สวนประกอบตางๆ ของงานเขียน
การอ่านเพื่อประเมินค่ามีความส�าคัญ ดังนี้ ที่ไดอานอยางครบถวน ลึกซึ้งแลว จะทําให
๑) ท�าให้เกิดวิจารณญาณ การอ่านเพือ่ ประเมินคุณค่า เป็นการอ่านเพือ่ ตัดสินว่าเรือ่ งทีอ่ า่ น ตัดสินไดวางานเขียนที่ไดอานนั้นมีคุณคา
ดีหรือบกพร่องอย่างไร ใช้วจิ ารณญาณใคร่ครวญเกีย่ วกับงานเขียนอย่างมีเหตุผล ท�าให้ผอู้ า่ นตัดสินได้วา่ หรือไม อยางไร ซึ่งการตัดสินวาเรื่องที่
งานเขียนนั้นน่าเชื่อถือหรือไม่ มีคุณค่าเพี
2 ยงใด สามารถน�าไปใช้กับการอ่านงานเขียนประเภทอื่นๆ ไดอาน ไดฟง และดูมีคุณคาหรือไม อยางไร
๒) พัฒนาศักยภาพการอ่าน การประเมินคุณค่างานเขียนจะท�าให้ผอู้ า่ นได้พฒั นาศักยภาพ เรียกวา การประเมินคา)
การอ่านของตน ใช้ทกั ษะการอ่านอย่างหลากหลาย เช่น การอ่านจับใจความ การอ่านวิเคราะห์ การอ่าน
ตีความ เป็นต้น
๓) ได้ข้อคิดน�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวัน เมื่อผู้อ่านสามารถประเมินคุณค่างานเขียนได้
จะท�าให้เกิดความเข้าใจและได้รับคุณค่าจากเรื่องที่อ่านน�าไปปรับใช้ในชีวิตประจ�าวันของตนเอง

31

บูรณาการเชื่อมสาระ
การวิเคราะห วิจารณ และการประเมินคาสามารถบูรณาการไดกับเรื่อง นักเรียนควรรู
การประเมินและวิจารณงานทัศนศิลป ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ วิชา
1 ประเมินคา เปนหัวใจสําคัญของการรับสาร การตัดสินประเมินคาสิ่งที่ได
ทัศนศิลป โดยครูชี้แนะใหนักเรียนเห็นวาการวิจารณและประเมินคาผลงาน
รับรูดวยวิธีการอาน การฟง หรือการดู ผูร บั สารแตละคนยอมมีสทิ ธิท์ จี่ ะประเมินคา
ตางๆ ไมวาจะเปนงานวรรณกรรม หรืองานศิลปะ ตางมีความหมายตอผูชม
ไดอยางอิสระ สิง่ สําคัญสําหรับการประเมินคาสาร คือ การใหเหตุผล ซึ่งอาจมีความ
และผูสรางสรรคผลงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งในมุมของผูสรางสรรคหากไดนํา
แตกตางกันตามความเชื่อ ทัศนคติ คานิยม หรือแมกระทั่งการอบรมเลี้ยงดู เชน
แนวคิด ขอติชมจากผูวิจารณมาปรับใชกับแนวทางการสรางผลงานของตนเอง
คนอื่นชอบละครเรื่องนี้ในขณะที่นักเรียนมองวาละครเรือ่ งนีไ้ มมปี ระโยชน ไรแกนสาร
กอใหเกิดเปนผลงานที่มีคุณคา ดังนั้น หลักการวิจารณและประเมินผลงาน
แตถา ผูร บั สารแตละคนไดมโี อกาสพิจารณาการประเมินคาหรือการใหเหตุผลของผูอื่น
โดยมาตรฐานจึงอยูที่ผูวิจารณตองมีความรู ความเขาใจในเรื่องที่จะวิจารณ
ก็จะทําใหเกิดมุมมองใหม และขยายโลกทัศนของตนเองใหกวางขึ้นดวย
เปนอยางดี เพื่อใหมีเหตุผลเพียงพอ นาเชื่อถือสําหรับการแสดงความคิดเห็น
ของตนเอง ไมมีอคติทั้งตอผลงานและผูสรางผลงาน ซึ่งผลงานแตละแขนง 2 ศักยภาพการอาน ของแตละบุคคลมีความแตกตางกัน ซึ่งปจจัยที่มีอิทธิพล
จะมีแนวทางการวิจารณลงลึกในรายละเอียดแตกตางกัน ครูมอบหมายชิ้นงาน ตอศักยภาพการอานของบุคคล ไดแก สภาพแวดลอมไมเอื้ออํานวย สภาพรางกาย
ยอยใหแกนักเรียนสืบคนแนวทางสําหรับการวิจารณและประเมินงานทัศนศิลป และจิตใจไมพรอม และรวมถึงการขาดทักษะการอาน จับใจความสําคัญ การแยกแยะ
รวมถึงกําหนดขึ้นจากความรู ความเขาใจของตนเอง คัดเลือกผลงานทัศนศิลป ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น เปนตน
แขนงใดก็ได จํานวน 1 ชิ้น นํามาเขียนวิจารณและประเมินคาตามแนวทาง
ที่ไดสืบคนและกําหนด นําเสนอเปนใบงานเฉพาะบุคคล พรอมแนบสําเนา
ผลงาน
คู่มือครู 31
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการอานวิเคราะห ๓.๓ หลักการอ่านเพือ่ ประเมินค่า
วิจารณ และประเมินคา โดยใชความรู ความเขาใจ การอ่านเพื่อประเมินค่ามีหลักการ ดังนี้
ที่ไดรับจากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตน ๑) จับใจความส�าคัญ ผู้อ่านควรอ่านเรื่องอย่างละเอียดตั้งแต่ต้นจนจบ เพื่อท�าความเข้าใจ
สําหรับตอบคําถาม เนื้อหาว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร หรือใคร ท�าอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และท�าไม
• การวิเคราะหหรือการจําแนกขอเท็จจริงและ ๒) วิเคราะห์องค์ประกอบของเรื่อง ผู้อ่านควรแยกแยะเนื้อหาว่าส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง
ขอคิดเห็นจากเรื่องที่อานมีประโยชนอยางไร
ข้อคิดเห็น และความรู้สึกของผู้เขียน
(แนวตอบ สําหรับการรับสารเรื่องหนึ่งๆ
๓) วิเคราะห์กลวิธีการน�าเสนอและการใช้ภาษา ผู้อ่านควรอธิบายได้ว่าผู้เขียนใช้วิธีใด
ในชีวิตประจําวัน มีความจําเปนอยางมาก
ภาษาเหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อหาที่น�าเสนอหรือไม่ อย่างไร
ที่ผูรับสารจะตองวิเคราะหวาเรื่องที่ไดอาน
ขอความใดเปนขอเท็จจริง ขอความใดเปน ๔) พิจารณาแนวคิ1ดหรือข้อคิด ผู้อ่านควรตี 2 ความสาร คือ ท�าความเข้าใจความหมาย
ขอคิดเห็น โดยเฉพาะอยางยิ่งการรับสาร ของค�า ทัทั้งความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย รวมถึงสัญลักษณ์ที่ผู้เขียนได้แฝงความหมายไว้
ที่ใหความรู จําเปนที่ผูอานจะตองให ๓.๔ ตัวอย่างการอ่านเพือ่ ประเมินค่า
ความสําคัญกับการวิเคราะหขอเท็จจริง
ขอคิดเห็น เพราะแมวาเรื่องที่ไดอานจะมี กวีนิพนธ์สÓหรับการอ่านเพื่อประเมินค่า
ความนาสนใจเพียงใด แตถาเนื้อหาที่นําเสนอ
ผิดจากขอเท็จจริงทําใหผูรับสารหลงเชื่อ เจ้าสาวใบตอง
อาจกอใหเกิดความเสียหายไดในภายหลัง เธอเจ้าสาวใบตองในร่องสวน เคยขอนวลมาพอห่อข้าวขาว
ในขณะที่การวิเคราะหวาขอความใดของเรื่อง จะออกทุ่งออกทางทุกครั้งคราว ต้องห่อข้าวห่อของแล้วท่องไป
เปนขอคิดเห็นหรือเปนการแสดงความคิดเห็น จึงยามหิวแกะห่อก็ข้าวหอม ถึงกลางแดดแผดดอมก็หอมได้
ของผูเขียน จะทําใหผูรับสารขยายโลกทัศน ละค�าเคยอิ่มหอมถึงหัวใจ หอมแต่น้อยคุ้มใหญ่หอมไม่จาง
ของตนเอง มีมุมมองตอสิ่งตางๆ รอบตัว รักเจ้าสาวใบตองในร่องสวน เคยหวงนวลนักหนามาจ�าห่าง
กวางขวางขึ้น) กระแสลมโหมยุคทั้งรุกบาง จนเริดทิศแรมทางอยู่ร้างโรย
• การจะระบุวาเรื่องที่อานมีความสมเหตุสมผล อยู่ร้างโรยโดยทางของยุคใหม่ อยู่เหน็บหนาวกับสมัยซึ่งไห้โหย
หรือมีความนาเชื่อถือหรือไม สามารถ อยู่รวดร้าวกับรักกระอักโอย ดั้นและด้นจ�านนโดยสถานเดียว
พิจารณาจากสิ่งใดไดบาง พบเจ้าสาวพลาสติกระริกระรี้ หว่างวิถีทางแยกปลอมแปลกเปลี่ยว
(แนวตอบ สามารถพิจารณาเบื้องตนไดจาก มากแต่ยิ้มยั่วใจให้ลดเลี้ยว หลอกให้ลืมนวลเขียวเคยเคียงครอง
ผูสงสารหรือผูเขียนวามีความรู ความชํานาญ โอ้เจ้าสาวใบตองในร่องสวน ยุคฉะนี้เขียวนวลคงด่วนหมอง
เกีย่ วกับเรือ่ งนัน้ ๆ ดีหรือไม อยางไร พิจารณา ยินแต่เพลงพลาสติกระริกร้อง หรือสิ้นเพลงใบตองเสียแล้วเอย
จากสื่อวามีความนาเชื่อถือหรือเปนกลาง (เจ้าสาวใบตอง ใน ม้าก้านกล้วย: ไพวรินทร์ ขาวงาม)
มากนอยเพียงใด การอางอิงแหลงที่มาของ
ขอมูลในงานเขียน พิจารณาจากขอเท็จจริง
ขอคิดเห็นที่ปรากฏในเรื่องและรวมถึงการใช 32
สํานวนภาษา)

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
“ผูใดเกิดเปนสตรีอันมีศักดิ์ บํารุงรักกายไวใหเปนผล
ครูควรเฉลยเกี่ยวกับภาพที่ใชกระตุนความสนใจเพื่อนําเขาสูหัวขอการเรียน
สงวนงามตามระบอบไมชอบกล จึงจะพนภัยพาลการนินทา”
การสอน คําวา ถั่วงา เปนคําที่นักรองมือสมัครเลนใชสําหรับการลิปซิงกเพลง
ขอใดคือขอคิดที่ไดรับจากบทรอยกรองขางตน
เมื่อผูฟงที่อยูไกลๆ เห็นปากขมุบขมิบวา ถั่วงาๆ ก็เขาใจวานักรองกําลังรองเพลง
นั้นๆ อยู ผูทําภาพประกอบจึงไดนําแนวคิดนี้มาใชทํา infographic เพื่ออธิบาย 1. เปนผูหญิงตองรูจักรักนวลสงวนตัว
ลักษณะการอานของคนไทย คือ ไมใสใจกับการอาน เปนการอานผานๆ จับใจความ 2. เปนผูหญิงตองรูจักเจียมเนื้อเจียมตัว
สําคัญของเรื่องไมได หลงเชื่อโดยปราศจากการวิเคราะห ไตรตรอง และเกิดผลเสีย 3. เปนผูหญิงตองงดเวนการนินทาวาราย
4. เปนผูหญิงตองแตงกายใหเหมาะสมกับกาลเทศะ

นักเรียนควรรู วิเคราะหคําตอบ พิจารณาจากขอความที่ปรากฏในบทประพันธ ในวรรค


ที่สามหรือวรรครอง ปรากฏคําวา สงวนงาม โดยมีความหมายวา ใหระวัง
1 ความหมายโดยตรง เปนความหมายตรงตัวของคําคําหนึ่ง สามารถคนหา รักษาตนทั้งกาย วาจา ใจใหมีความเหมาะสม งดงาม ซึ่งการประพฤติผิด
ความหมายไดจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หรือไมถูกตองตามคานิยมและมักไดรับการนินทาวารายมากที่สุด คือ
2 ความหมายโดยนัย เปนความหมายแอบแฝงหรือเปรียบเทียบของคําคําหนึ่ง การไมรักนวลสงวนตัว ซึ่งนักเรียนตองวิเคราะหตอไปวา ตัวเลือกในขอใด
ซึ่งจะตองใชการวิเคราะห ตีความ เพื่อแปลความหมายของคําออกมา มีความสอดคลองกับคําขางตนมากที่สุด ซึ่งคําตอบในขอ 2., 3. และ 4.
ไมมีความสัมพันธกับคําวา สงวนงาม ดังนั้นจึงตอบขอ 1.
32 คู่มือครู
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
1. นักเรียนคัดสรรงานเขียนที่มีเนื้อหาในเชิง
จากกวีนิพนธ์ “เจ้าสาวใบตอง” ของไพวรินทร์ ขาวงาม ก่อนที่จะประเมินค่าของผลงานได้นั้น ใหความรู งานเขียนที่มีเนื้อหาในเชิงใหความ
ผู้อ่านจะต้องตีความสัญลักษณ์ที่ปรากฏคือ ใบตองและพลาสติก โดยตีความได้ว่า “ใบตอง” หมายถึง บันเทิง งานเขียนทีม่ เี นือ้ หาในเชิงจรรโลงจิตใจ
หญิงสาวในยุคทีค่ วามเจริญยังไม่ได้เข้ามาแปรเปลีย่ นความคิด และวิถชี วี ติ แบบดัง้ เดิม กระทัง่ วันหนึง่ ที่ หรืองานเขียนที่มีเนื้อหาในเชิงโนมนาวใหเชื่อ
ความเจริญเข้ามา สังคมเปลีย่ นแปลงไป ซึง่ ผูเ้ ขียนเลือกใช้ “พลาสติก” เป็นสัญลักษณ์แทนพฤติกรรม อยางใดอยางหนึ่ง นํามาอานเชิงวิเคราะห
ของหญิงสาวจากที่เคยเรียบร้อยเป็นกุลสตรีไทยก็กลับกลายเป็นผู้หญิงที่ยั่วยวนผู้ชายดังที่กวีใช้ค�าว่า วิจารณ และประเมินคุณคาของเรือ่ ง พรอมระบุ
ระริกระรีแ้ ละยิม้ ยัว่ ใจ นอกจากนีย้ งั ตีความได้อกี ว่าใบตอง หมายถึง ระบบเศรษฐกิจแบบดัง้ เดิมของไทย แนวทางการนําสาระสําคัญหรือแนวคิดที่ไดรับ
การพึ่งพาธรรมชาติ ส่วนพลาสติก หมายถึง เศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่เข้ามาสร้างความต่างทางชนชั้น จากเรื่องไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
หรือท�าให้ระบบพึ่งพา การถ้อยทีถ้อยอาศัยในสังคมเหือดหายไป เมื่อตีความจนเข้าใจเจตนาที่แท้จริง นําเสนอในรูปแบบใบงานเฉพาะบุคคลและ
ของผู้เขียนแล้ว จะสามารถประเมินคุณค่าได้ ดังนี้ เตรียมความพรอม เพื่อนําเสนอหนาชั้นเรียน
๑) จับใจความส�าคัญ ผู้เขียนเล่าถึงความแปรเปลี่ยนของวิถีชีวิตของคนในสังคมไทย 2. นักเรียนอานบทรอยกรองเรื่อง “วารีดุริยางค”
รวมถึงพฤติกรรมของหญิงสาวในยุคปัจจุบัน จากนัน้ ใหวเิ คราะห วิจารณ และประเมินคุณคา
๒) วิเคราะห์องค์ประกอบของกวีนิพนธ์ ผู้เขียนใช้ชื่อเรื่องเป็นสัญลักษณ์แฝงความหมาย
ของเรือ่ ง พรอมระบุแนวทางการนําสาระสําคัญ
หรือแนวคิดที่ไดรับจากเรื่องไปประยุกตใช
ด้านฉันทลักษณ์ไม่เคร่งครัดจ�านวนค�าภายในวรรค แต่ผู้เขียนเลือกค�ามาบรรจุได้เหมาะสม เกิดสัมผัส
ในชีวิตประจําวัน นําเสนอในรูปแบบใบงาน
คล้องจองทั้งภายในวรรคและระหว่างวรรค ในด้านเนื้อหาแสดงความแปรเปลี่ยนตามยุคสมัย โดย
เฉพาะบุคคล และเตรียมความพรอม
ผู้เขียนแสดงความคิดเห็นด้วยความรู้สึกประหวั่นว่าสิ่งเดิมที่เป็นอยู่ก�าลังจะสูญหาย
เพื่อนําเสนอหนาชั้นเรียน
๓) วิเคราะห์กลวิธกี ารน�าเสนอและการใช้ภาษา ผูเ้ ขียนเสนอเนือ้ หาตามล�าดับเหตุการณ์
ก่อน - หลัง ท�าให้ผู้อ่านเห็นภาพของความเปลี่ยนแปลงที่เป็นจริงจากการตีความ ด้านการใช้ภาษา
กล่าวได้ว่า ผู้เขียนใช้ถ้อยค�าง่าย แต่สื่อความและให้เสียงไพเราะ หรือเรียกว่า ได้ทั้งรสค�าและรสความ
๔) แนวคิดหรือข้อคิด ผู้เขียนน�าเสนอแนวคิดที่เป็นข้อเท็จจริงในสังคม ซึ่งจะท�าให้ผู้อ่าน
เกิดความรูส้ กึ ร่วมได้งา่ ย ถ้อยค�าทีผ่ อู้ า่ นจะต้องตีความเพือ่ ค้นหาแนวคิด คือ “เจ้าสาวใบตอง” โดยผูเ้ ขียน
เปรียบหญิงสาวทีม่ คี วามเป็นกุลสตรีไทยว่าเป็น “เจ้าสาวใบตอง” ซึง่ มีนยั ประหวัดถึงความเป็นธรรมชาติ
ความบริสุทธิ์ และความเป็นไทย ดังนั้น สิ่งที่ได้รับจากกวีนิพนธ์บทนี้ คือ อารมณ์ ความรู้สึกสะเทือนใจ
ในความเปลี่ยนแปลงทั้งๆ ที่สิ่งเดิมนั้นอาจดีอยู่แล้ว

การอ่านเป็นทักษะการรับสารทีม่ คี วามจÓเป็นต่อชีวติ ประจÓวัน ผูท้ ปี่ ระสบความสÓเร็จ


ในชีวติ ส่วนมากเป็นผูท้ รี่ กั การอ่าน สามารถวิเคราะห์สงิ่ ทีไ่ ด้รบั จากการอ่านและประเมินค่า
เพือ่ นÓไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจÓวัน ดังนัน ้ เยาวชนจึงควรใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ด้วยการอ่านหนังสือทีม่ คี ณ ุ ค่าอย่างสม่Óเสมอ เพือ่ พัฒนาสติปญ ั ญาและจรรโลงจิตใจของ
ตนเอง
33

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
นักเรียนอานบทรอยกรอง “ไหมแททแ่ี มทอ” วิเคราะห วิจารณองคประกอบ กิจกรรมที่ใหนักเรียนปฏิบัติไมวาจะดวยการสอดแทรกไวในเกร็ดแนะครู หรือ
ของงานเขียน โดยมุงเนนไปที่วิธีการเขียน การใชภาษาและเนื้อหาสาระ ปรากฏในรูปแบบกิจกรรมสรางเสริมและกิจกรรมทาทาย ลวนเปนการสรางทักษะ
หรือแนวคิดที่นําเสนอ พรอมระบุแนวทางการนําขอคิดที่ไดรับไปประยุกต ที่จําเปนใหแกนักเรียน หากครูใหนักเรียนไดปฏิบัติกิจกรรมอยางครบถวน สุดทาย
ใชในชีวิตประจําวัน นําขอมูลมาแลกเปลี่ยนเรียนรูกันภายในชั้นเรียน นักเรียนจะมีทักษะเพียงพอที่จะนํามาใชปฏิบัติกิจกรรมในกระบวนการขยายความ
เขาใจไดเปนอยางดี ซึ่งกิจกรรมในกระบวนการขยายความเขาใจนักเรียนจะตอง
ใชทักษะการวิเคราะห ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการใหเหตุผล ทักษะ
กิจกรรมทาทาย กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ ทักษะการประเมิน และทักษะการนําความรู
ไปประยุกตใชประกอบกันในการปฏิบัติกิจกรรม
เมื่อครูใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมสรางเสริมและกิจกรรมทาทายทางดานซายมือ
นักเรียนอานบทรอยกรอง “มากานกลวย 1” วิเคราะห วิจารณ องคประกอบ ควรใหนักเรียนทุกคนนําความรูมาแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน รวมกันจัดปาย
ของงานเขียน โดยมุงเนนไปที่วิธีการเขียน การใชภาษาและเนื้อหาสาระ นิเทศประจําชั้นเรียน ในหัวขอ “เรียนรูชีวิต แนวคิด ผานวรรณกรรม” ซึ่งการปฏิบัติ
หรือแนวคิดที่นําเสนอ พรอมระบุแนวทางการนําขอคิดที่ไดรับไปประยุกตใช กิจกรรมดังกลาว จะทําใหนักเรียนสามารถนําความรู ขอคิดที่ไดรับจากการอานไป
ในชีวิตประจําวัน นําขอมูลมาแลกเปลี่ยนเรียนรูกันภายในชั้นเรียน ประยุกตใชใหเกิดประโยชน และแกปญหาในชีวิตประจําวันได

คู่มือครู 33
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engaae Expore Explain Elaborate
ตรวจสอบผล Evaluate
1. ครูตรวจสอบใบงานการอานจับใจความสําคัญ
โดยพิจารณาความถูกตองของใจความสําคัญ
2. ครูใชวธิ กี ารสมุ เรียกชือ่ นักเรียนนําเสนอผลงาน
ของตนเองหนาชั้นเรียน หากมีเวลาควรให
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
นักเรียนทุกคนไดมีโอกาสนําเสนอ
๑. การอ่านเพื่อจับใจความส�าคัญ การอ่านเพื่อวิเคราะห์ และการอ่านเพื่อประเมินค่า
3. ครูตรวจสอบใบงาน โดยพิจารณาวานักเรียน
มีความส�าคัญต่อชีวิตประจ�าวันอย่างไร
วิเคราะห วิจารณสวนประกอบของเรื่องได ๒. การอ่านหนังสือเรียนจะต้องใช้ทักษะการอ่านแบบใดจึงจะเหมาะสมที่สุด เพราะเหตุใด
ครอบคลุมในประเด็น ตอไปนี้หรือไม ๓. การอ่านเพื่อจับใจความส�าคัญ การอ่านเพื่อวิเคราะห์ และการอ่านเพื่อประเมินค่า
• รูปแบบ มีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร
• ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น ๔. การอ่านเพื่อจับใจความส�าคัญ การอ่านเพื่อวิเคราะห์ และการอ่านเพื่อประเมินค่า
• ความนาเชื่อถือหรือความสมเหตุสมผล มีความแตกต่างกันอย่างไร
ของเรื่อง นักเรียนตองระบุไดวาพิจารณา ๕. นักเรียนคิดว่าการอ่านเพื่อประเมินค่าเป็นการอ่านในระดับสูงหรือไม่ เพราะเหตุใด
หรือสังเกตจากสิ่งใด
• กลวิธีการนําเสนอหรือการลําดับเรื่อง
• การใชสํานวนภาษา
นักเรียนจะตองแสดงความคิดเห็นเชิงสนับสนุน
หรือโตแยงเรื่องที่เลือกอาน และกําหนดใหอาน
อยางมีเหตุผลโดยอาศัยขอมูลรอบดาน จากนั้น กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้
จะตองประเมินวาเรื่องที่เลือกอานและบท
รอยกรองที่กําหนดใหอานมีคุณคาอยางไร กิจกรรมที่ ๑ ให้นักเรียนเลือกอ่านบทความ บันทึกเหตุการณ์ หรือเรื่องสั้น ๑ เรื่อง
แลวจะนําแนวคิดที่ไดรับไปปรับใชใหเกิด แล้วจับใจความส�าคัญ วิเคราะห์เนื้อหา ประเมินค่าจากเรื่องที่อ่านลงใน
ประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางไร กระดาษ A4 พร้อมเขียนผังความคิดแสดงความเข้าใจในเรื่องที่อ่าน
4. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู น�ามาอภิปรายหน้าชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนเลือกอ่านบทร้อยกรองที่ตนชื่นชอบ สรุปความ แล้วประเมินค่า
เรื่องที่อ่านทั้งในด้านวรรณศิลป์และด้านสังคมให้เพื่อนๆ ฟังหน้าชั้นเรียน
หลักฐานแสดงผลการเรียนรู
1. ใบงานการอานจับใจความสําคัญ
2. ผังความคิดแสดงความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ
บทความประเภทที่เลือกอานจากความสนใจ
3. ใบงานเฉพาะบุคคล การอานวิเคราะห วิจารณ
และประเมินคุณคางานเขียน
4. แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู
34

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. ในชีวิตประจําวันมนุษยรับสารอยางหลากหลาย การมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการอานในลักษณะดังกลาวจะทําใหการอานในแตละครั้งเกิดประสิทธิภาพ
และประโยชนสูงสุด สามารถนําความรู ความเขาใจ ขอคิดตางๆ ที่ไดรับไปปรับใชตอยอดได อีกทั้งไมหลงเชื่อขอความตางๆ โดยปราศจากการคิดวิเคราะหใหถี่ถวน
2. การอานหนังสือเรียน ผูอานจะตองใชทักษะการอานเพื่อจับใจความสําคัญมากที่สุด เพื่อใหไดสาระสําคัญที่ครบถวน
3. เปนการอานที่พัฒนาสืบเนื่องจากขั้นตอนหนึ่งสูขั้นตอนหนึ่ง กลาวคือ ผูอานจะตองจับใจความสําคัญเรื่องที่อานใหไดเสียกอนวาเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร หรือใคร ทําอะไร
กับใคร อยางไร ที่ไหน เมื่อไร และทําไม แลวจึงจะวิเคราะหไดวาเรื่องที่อานมีองคประกอบใดบาง แสดงความคิดเห็นหรือวิจารณแตละองคประกอบ จากนั้นจึงจะ
สามารถตัดสินหรือประเมินคาเรื่องที่อานได
4. การอานเพือ่ จับใจความสําคัญ เปนการอานเพือ่ ใหทราบสาระสําคัญของเรือ่ งทัง้ หมด การอานเพือ่ วิเคราะหเปนการแยกแยะสวนประกอบของเรือ่ ง การอานเพือ่ ประเมินคา
เปนการตัดสินวาเรื่องที่อานนั้นมีคุณคาหรือไม อยางไร โดยใชขอมูลจากการวิเคราะห
5. เปน เพราะจะตองใชทักษะการอานที่หลากหลายกอนที่จะประเมินคาได ทั้งทักษะการอานเพื่อจับใจความสําคัญ ทักษะการอานเพื่อวิเคราะห แลวจึงจะประเมินคาโดยใช
วิจารณญาณอยางละเอียด รอบคอบ ปราศจากอคติ มีความสมเหตุสมผล จึงจะทําใหการอานเพื่อประเมินคามีประสิทธิภาพ

34 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage

ตอนที่ ò กำรพัฒนำทักษะกำรเขียน 1. ครูกระตุนความสนใจดวยการเลาเรื่องเกี่ยวกับ


วิวัฒนาการการเขียนของมนุษยใหนักเรียนฟง
หากหาภาพประกอบ เชน การเขียนบนผนังถํ้า
ที่ผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี มาประกอบ
การเลาเรื่องได จะชวยกระตุนความรูและ
ความสนใจของนักเรียนไดมากขึ้น
2. นักเรียนรวมกันอานออกเสียงทํานองเสนาะ
บทรอยกรองที่ปรากฏหนาตอน จากนั้นครู
ตั้งคําถามวา
• นักเรียนคิดวา ผูแตงบทรอยกรองดังกลาว
มีจุดประสงคในการเขียนอยางไร
(แนวตอบ ครูควรกระตุนใหทุกคนไดมีโอกาส
แสดงความคิดเห็น จากนั้นจึงชี้แนะแก
นักเรียนวา ผูเขียนมีเจตนาใหผูรับสาร
ทั้งผูอานและผูฟงเห็นความสําคัญของ
วัฒนธรรมทางภาษา โดยเฉพาะตัวอักษรไทย
ซึ่งเปนสัญลักษณที่ใชบันทึกและถายทอด
ความรู)
• ในความคิดเห็นของนักเรียน คําวา
“การพัฒนาทักษะการเขียน” มีความหมาย
และความสําคัญอยางไร
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
ไดอยางอิสระ ครูควรชวยกระตุนใหทุกคน
มีสว นรวมกับกระบวนการแสดงความคิดเห็น)
วัฒนธรรมทางภาษานี้นาคิด ภาษาไทยไพจิตรเจริญศรี • นักเรียนมีแนวทางสําหรับพัฒนาทักษะ
เทิดพระคุณพอขุนรามฯ งามทวี ดวยภูมีทรงสรางลักษณอักษรไทย การเขียนของตนเองอยางไร
จึงเกิดมีวัฒนธรรมทางภาษา เจริญเปนศรีสงาสมสมัย (แนวตอบ เมื่อจะเขียนสื่อสารในรูปแบบใด
ใชสื่อสารการกิจสัมฤทธิ์ไว อีกสั่งสอนเด็กใหมีวิชา ก็ตาม ควรจะศึกษากลวิธีการเขียนใหเขาใจ
(วัฒนธรรมทางภาษา: ฐะปะนีย์ นาครทรรพ) แลวจึงลงมือฝกฝน ปฏิบัติ นอกจากนี้
ควรศึกษางานเขียนของผูอื่น เพื่อใหมองเห็น
แนวทางการเขียน แลวนํามาปรับใชให
เหมาะสมกับงานเขียนของตนเอง)

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในตอนที่ 2 การพัฒนาทักษะการเขียน เปาหมายสําคัญ คือ
นักเรียนเห็นความสําคัญ ตระหนักในคุณคาของลายมือ เกิดทัศนคติที่ดี มีความเพียร
พยายามในการฝกฝนคัดลายมือของตนเอง มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับกลวิธี
การเขียนสื่อสารรูปแบบตางๆ โดยองคความรูทั้งหมดเกิดจากการรวมกันสืบคน
ภายใตคําชี้แนะของครู นําไปใชพัฒนาทักษะการเขียนของตนเอง สรางสรรค
งานเขียน รวมถึงประเมินผลงานของตนเองและผูอื่นอยางมีเหตุผล นาเชื่อถือ
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรเริ่มตนสอนใหนักเรียนเห็นความสําคัญ
ของทฤษฎี ออกแบบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนของนักเรียน โดยให
ศึกษากลวิธีการเขียนรูปแบบตางๆ ฝกฝนการเขียนในหัวขอ และรูปแบบที่หลากหลาย
อยางสมํ่าเสมอ รวมถึงการศึกษางานเขียนของผูอื่นเพื่อนํามาพัฒนางานเขียน
ของตนเองตอไป

คู่มือครู 35
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ดวยรูปแบบ
ตัวอักษรที่กําหนดใหหรือเลือกจากความสนใจ

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. มีวินัย
2. มุง มั่นในการทํางาน
3. รักความเปนไทย

กระตุน้ ความสนใจ Engage


ครูหาภาพประกอบเกี่ยวกับวิวัฒนาการดาน
รูปแบบของอักษรไทย มาใหนกั เรียนรวมกันศึกษา
จากนั้นตั้งคําถามวา
• จากภาพประกอบที่ไดชม นักเรียนมองเห็น
หน่วยที่ ñ
สิ่งใด และมีทิศทางอยางไร กำรคัดลำยมือ
(แนวตอบ มองเห็นความเปลี่ยนแปลง โดยที่
ความเปลี่ยนแปลงนั้น เกิดขึ้นกับรูปแบบ
ตัวชี้วัด ก ารฝ ก ฝนคั ด ลายมื อ ให ถู ก วิ ธี
ท ๒.๑ ม.๒/๑ อยางสมํา่ เสมอ มีความจําเปนตอการเขียน
ของพยัญชนะ การวางตําแหนงของสระ ■ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด สื่อสารในชีวิตประจําวัน ผูที่มีลายมือ
และวรรณยุกต) สวยงาม อานงาย เปนระเบียบเรียบรอย
• หากเกิดการเปลี่ยนแปลงกับอักษรไทย จะทํ า ให ก ารเขี ย นสื่ อ สารเป น ไปอย า งมี
สาระการเรียนรู้แกนกลาง ประสิทธิภาพ ผูร บ ั สารสามารถเขาใจสารที่
นักเรียนคิดวาจะเกิดขึ้นกับสวนใด ■ การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบ สงมาตรงตามเจตนา นอกจากนี้การฝกฝน
ยกตัวอยางประกอบคําอธิบาย การเขียนตัวอักษรไทย คั ด ลายมื อ ด ว ยตั ว อั ก ษรไทยรู ป แบบต า งๆ
(แนวตอบ การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นกับ ยังเปนการชวยอนุรักษวัฒนธรรมทางภาษา
อีกประการหนึ่ง
รูปแบบพยัญชนะ เชน พยัญชนะบางตัว
อาจมีวิธีการเขียนที่แตกตางไปจากเดิม
บางตัวที่เคยมีหัว อาจมีหัวเล็กลง บางตัวอาจ 36
มีความกวางลีบลง เชน บ อาจมีลักษณะ
ไมแตกตางจาก ข เปนตน)

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู การคัดลายมือ เปาหมายสําคัญคือ
นักเรียนสามารถคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบอักษรไทย โดยคํานึงถึง
ความถูกตองดานรูปแบบ ความสวยงาม และความสะอาดเรียบรอย
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรออกแบบการเรียนการสอนโดยใหนักเรียน
รวมกันสรางองคความรูดวยตนเอง ศึกษาลักษณะของพยัญชนะ สระ วรรณยุกต
และตัวเลขของตัวอักษรไทยแตละรูปแบบ หลักการหรือแนวทางการคัดลายมือ เพื่อนํา
ความรู ความเขาใจไปประยุกตใชกบั การฝกปฏิบตั ดิ ว ยตนเอง และรวมถึงรวมกัน
กําหนดเกณฑเพือ่ ใชประเมินคุณภาพการคัดลายมือของตนเองและเพื่อนในชั้นเรียน
การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยฝกทักษะที่จําเปนใหแกนักเรียน ไดแก
ทักษะการสังเกต ทักษะการตั้งเกณฑ และทักษะการประเมิน นําไปปรับใชกับชีวิต
ประจําวันของตนเองตอไป

36 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูกระตุนความสนใจ โดยใหนักเรียนรวมกัน
๑ ความสÓคัญของลายมือ ตัง้ ขอสังเกตจากสถานการณปจ จุบนั หากอักษรไทย
มีการเปลี่ยนแปลงไปอยางตอเนื่อง สถานการณใด
ตัวอักษรเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ จากผู้เขียนไปสู่ผู้อ่าน ถ้าผู้เขียนเขียน จะเกิดขึ้น
ตัวอักษรได้ถกู ต้องและเป็นระเบียบ หรือเรียกว่า ลายมือดี จะช่วยให้ผอู้ า่ นรับสารได้ถกู ต้อง แต่ถา้ ลายมือ (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
อ่านยาก ย่อมเป็นอุปสรรคในการสือ่ สาร เพราะผูอ้ า่ นไม่สามารถรับสารทีผ่ เู้ ขียนต้องการสือ่ ได้ตรงตาม ไดอยางอิสระ)
วัตถุประสงค์
ส�ารวจค้นหา Explore
๒ ประโยชน์ของการคัดลายมือ นักเรียนจับกลุมยอย กลุมละ 3 คน รวมกัน
ปัจจุบันเทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น ประดิษฐ์ตัวอักษรใช้เพื่อความสะดวก รวดเร็ว สืบคนความรูแบบองครวมในประเด็น “การคัด
แต่อย่างไรก็ตาม การฝึกคัดลายมือก็ยังคงมีความส�าคัญและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ฝึก ดังนี้ ลายมือ” จากแหลงขอมูลตางๆ ที่เขาถึงได และมี
๑) ท�าให้เกิดสมาธิ การคัดลายมือเป็นทักษะที่ต้องใช้สมาธิในการฝึกฝน การฝึกคัดลายมือ ความนาเชื่อถือ บันทึกสาระสําคัญ ขอมูลลงสมุด
ที่ถูกต้อง สวยงาม ไม่ผิดพลาด จึงเป็นการฝึกให้มีสมาธิจดจ่ออยู่กับปัจจุบันขณะ
๒) ท�าให้เกิดความเพียรพยายาม การฝึกฝนคัดลายมือจ�าเป็นต้องฝึกอย่างสม�่าเสมอ อธิบายความรู้ Explain
จนเกิดความเชีย่ วชาญซึง่ เป็นผลของความเพียรพยายาม น�าไปสูค่ วามเพียรพยายามในการท�างานอืน่ ๆ ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่อตอบคําถาม โดยใช
ให้ส�าเร็จตามเป้าหมาย ความรู ความเขาใจที่ไดรับจากการสืบคนรวมกับ
เพื่อน เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
๓ หลักการคัดลายมือ • ลายมือมีความสําคัญตอกระบวนการสื่อสาร
การคัดลายมือให้ถูกต้องสวยงามมีหลักการ ดังนี้ ของมนุษยอยางไร
(แนวตอบ ลายมือ คือ การเขียนสัญลักษณ
๑) จับดินสอหรือปากกาให้ถกู ต้อง โดยดินสอหรือปากกาจะอยูร่ ะหว่างนิว้ หัวแม่มอื กับนิว้ ชี้
ที่ยอมรับกันในแตละสังคมเพื่อสื่อสาร
นิ้วกลางช่วยประคอง ส่วนนิ้วก้อยและนิ้วนางงอไว้ในฝ่ามือ
ถายทอดเรื่องราวตางๆ จากผูสงสารไปยัง
๒) วางสมุดให้ตรง ไม่เอียงไปทางใดทางหนึ
1 ่ง ผูรับสาร ถาผูสงสารมีลายมือที่เปนระเบียบ
๓) จัดท่าทางในการเขียนให้ถกู ต้องง โดยต้องนัง่ ตัวตรง ค้อมศีรษะเล็กน้อย สายตาห่างจาก เขียนสัญลักษณนั้นๆ ไดถูกตองตรงรูปแบบ
กระดาษประมาณ ๑ ฟุต มือที่ไม่ได้จับอุปกรณ์การเขียนให้วางไว้บนสมุด หรือกระดาษเพื่อไม่ให้เลื่อน ที่ยอมรับกันในแตละสังคม ผูรับสารยอม
ไปมาขณะคัดลายมือ เขาใจเนื้อหาสาระได แตถาผูสงสารเขียน
๔) เขียนตัวอักษรให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยมีหลักในการพิจารณาขนาด ดังนี้ สัญลักษณนั้นๆ ผิดเพี้ยนไปจากรูปแบบ
๑. ตัวอักษรที่มีความกว้างน้อย คือ มีความกว้างน้อยกว่าตัวอักษรธรรมดา ได้แก่ ข ฃ ง จ ยอมทําใหผูรับสารเขาใจเนื้อหาสาระ
ช ซ ฐ ธ ร
ผิดพลาด คลาดเคลือ่ นได ทําใหกระบวนการ
สื่อสารไมสัมฤทธิผล)

37

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
บุคคลใดตอไปนี้มองเห็นประโยชนของการคัดลายมือแตกตางจากผูอื่น
เพือ่ ใหนกั เรียนเห็นความสําคัญของการคัดลายมือ ครูควรหาตัวอยางบทรอยกรอง
1. สมปองฝกฝนคัดลายมือเพื่อฝกสมาธิของตนเอง
จากวรรณคดีไทยเรื่องตางๆ ที่กลาวถึงความสําคัญของลายมือ เชน ผลงานของ
2. สมทรงฝกฝนคัดลายมือเพื่อใหตนเองมีระเบียบวินัย
สุนทรภู นํามาอานใหนักเรียนฟงหรือสุมเรียกชื่อนักเรียนที่มีความสามารถในการอาน
3. สมยศฝกฝนคัดลายมือเพื่อตองการใหเพื่อนยอมรับเขากลุม
ออกเสียงออกมาอานใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียน จากนั้นใหรวมกันถอดความเปน
4. สมเกียรติฝกฝนคัดลายมือเพื่อใหเขียนสื่อสารไดสัมฤทธิผล
รอยแกว แลวแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระสําคัญของบทรอยกรองดังกลาว
วิเคราะหคําตอบ แมวาในปจจุบันเทคโนโลยีดานการพิมพจะเขามา ครูควรสรางบรรยากาศภายในชั้นเรียนใหเกิดการแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็น
มีบทบาทสําคัญแทนการคัดลายมือ เนื่องจากความไดเปรียบดานความ รวมกัน
สะดวกรวดเร็ว แตการคัดลายมือก็ยังกอใหเกิดประโยชนตอผูฝกฝนในดาน
นามธรรม เชน ทําใหมีสมาธิ ฝกระเบียบวินัยใหแกตนเอง ทําใหสามารถ
เขียนสื่อสารกับผูอื่นไดตรงวัตถุประสงค ไมผิดพลาด คลาดเคลื่อนไปจาก นักเรียนควรรู
เจตนา เพียงเพราะผูรับสารอานลายมือนั้นไมได ทําใหตีความผิด ซึ่งการ
ฝกฝนคัดลายมือ ไมไดเปนการฝกเพื่อใหเปนที่ยอมรับของสังคม ดังนั้น 1 จัดทาทางในการเขียนใหถูกตอง เปนหลักการคัดลายมือ ที่สงผลตอลักษณะ
จึงตอบขอ 3. ของตัวอักษร เพราะบางคนอาจวางกระดาษเอียงไปทางใดทางหนึ่ง สงผลใหตัวอักษร
เอียงไปดวยเชนกัน ดังนั้น การวางกระดาษจึงควรวางใหมีลักษณะตรง ไมเอียงไป
ทางใดทางหนึ่ง
คู่มือครู 37
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย 1
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการคัดลายมือ ๒. ตัวอักษรที่มีขนาดกลาง คือ มีขนาดเท่าตัวอักษรธรรมดา ได้แก่ ก ค ฅ ฆ ฉ ฎ ฏ ฑ ด
ฎฏ
โดยใชความรู ความเขาใจที่ไดรับจากการสืบคน ต ถ ท น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ
รวมกับเพือ่ น เปนขอมูลเบือ้ งตนสําหรับตอบคําถาม ๓. ตัวอักษรทีม่ คี วามกว้างมากทีส่ ดุ คือ กว้างเป็นสองเท่าของตัวอักษรขนาดกลาง ได้แก่ ฌ
• ผูที่จะไดรับการยอมรับวามีลายมือสวยงาม ญ ฒ ณ
ลายมือของบุคคลนั้นควรมีลักษณะอยางไร 2
๕) ไม่เขียนหัวอักษรบอดษรบอด ลักษณะส�าคัญของอักษรไทย คือ จุดเริ่มต้นหรือหัว ซึ่งผู้เขียน
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
ไดอยางอิสระ เชน มีรูปแบบที่ถูกตอง) จะต้องเขียนให้ครบวง ไม่เขียนเป็นจุดทึบหรือเรียกว่าหัวบอด
• นักเรียนมีหลักปฏิบัติอยางไร เพื่อฝกฝน ๖) เขียนหางตัวอักษรยาวพองาม ตัวอักษรที่มีหาง คือ ช ซ ป ฝ ฟ ศ ส ฬ ฮ หางจะยาว
ทักษะการคัดลายมือของตนเอง เหนือเส้นบรรทัดขึน้ ไปพองาม ส่วนตัวอักษรทีม่ เี ชิงหรือมีหางยาวลงมาใต้บรรทัด คือ ญ ฎ ฏ ฐ ฤ ฤๅ
(แนวตอบ มีหลักปฏิบัติ ดังนี้ ฦ ฦๅ เชิงหรือส่วนหางจะห้อยต�า่ ลงมาใต้บรรทัด
• อานขอความที่จะคัดใหจบ ครบถวน ๗) เว้นช่องไฟสม�า่ เสมอ เพือ่ ให้แยกตัวอักษรออกจากกันได้ โดยต้องเว้นระยะให้เท่าๆ กัน
• จับดินสอหรือปากกา รวมถึงวางทาทาง ๘) วางพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ให้สมั พันธ์กนั สระทุกตัวต้องมีตา� แหน่งทีส่ มั พันธ์
การเขียนใหถูกตอง เหมาะสม
กับพยัญชนะ ดังนี้
• ศึกษาลักษณะสําคัญของพยัญชนะ สระ
วรรณยุกต ตัวเลขของอักษรแตละรูปแบบ ๑. สระที่อยู่หน้าพยัญชนะ คือ เ- แ- เขียนให้มีขนาดสูงเท่ากับพยัญชนะ
ใหเขาใจ และจดจําได ๒. สระที่อยู่หลังพยัญชนะ คือ -ะ -า -อ -ว เขียนให้มีขนาดสูงเท่ากับพยัญชนะ
• เริ่มเขียนจากสวนหัวกอน โดยไมยกดินสอ ิ ี ึ ื วนท้ายต้องตรงกับเส้นหลังของพยัญชนะ และ
๓. สระที่อยู่บนพยัญชนะ คือ - - - - ส่
ขณะที่เขียนตัวอักษรนั้นๆ มีความกว้างเท่ากับพยัญชนะขนาดกลาง หรือแคบกว่าเล็กน้อย
• การเขียนตัวอักษรครั้งหนึ่งๆ หากใช ๔. สระทีอ่ ยู่ใต้พยัญชนะ -ุ -ู ส่วนหางของสระต้องตรงกับเส้นหลังของพยัญชนะ ถ้าพยัญชนะ
รูปแบบใดก็ควรใชรูปแบบนั้น จนกระทั่ง มีเชิงให้ตัดเชิงออกก่อนจึงใส่สระ เช่น กตัญญู เป็นต้น
จบขอความ 3
๕. -ั ไม้
ไม้หันอากาศ -็
อากาศ ไม้ไต่คู้ -� นิคหิต จะวางเหนือพยัญชนะในต�าแหน่งกลางพยัญชนะ
• ขนาดของตัวอักษรตองมีความเหมาะสม 4
๖. เครือ่ งหมายทัณฑฆาต ต้
ฑฆาต องเขียนให้ตรงกับพยัญชนะทีไ่ ม่ออกเสียง เช่น รถยนต์ เป็นต้น
ไมใหญ เล็ก หรือลีบ ตองตั้งตรง ไมเอียง
โยไปดานใดดานหนึ่ง ๗. วรรณยุกต์ต้องเขียนบนพยัญชนะให้ตรงกับเส้นหลัง ถ้าพยัญชนะต้นมี ๒ ตัว ต้องวาง
• เวนชองไฟหรือระยะหางของตัวอักษร บนตัวที่สอง ถ้ามีรูปสระบนให้วางบนรูปสระอีกชั้นหนึ่ง
ใหสมํ่าเสมอ ไมเขียนเบียดชิด เกยกัน ๘. ค�าที่มีพยัญชนะต้น ๒ ตัว สระที่อยู่บนและใต้พยัญชนะจะวางที่ตัวที่สอง
และรวมถึงไมเขียนแบบนั่งเสน การฝึกฝนคัดลายมือนอกจากผูฝ้ กึ จะต้องจดจ�าขนาดของตัวอักษรเพือ่ เขียนให้สวยงามแล้ว
โดยเสนลางของตัวอักษรทับเสนบรรทัด ยังต้องจดจ�าลักษณะของตัวอักษรรูปแบบต่างๆ เพื่อเขียนให้ถูกต้องที่ส�าคัญควรฝึกฝนอย่างสม�่าเสมอ
• การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ก็จะท�าให้เป็นผู้มีลายมือสวยงาม เขียนสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความสูงของตัวอักษรจะตองสูงเสมอกัน
• การวางตําแหนงของพยัญชนะ สระ
วรรณยุกตมีความถูกตองตาม
หลักไวยากรณ 38
• รักษาความสะอาดในการคัดลายมือ)

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
นักเรียนมีวิธีการเขียนพยัญชนะ ศ ส อยางไร ใหถูกตองตามแบบอักษรไทย
1 ฎ ฏ เปนตัวอักษรที่ตองเขียนหยักใหเห็นชัดเจนเพื่อปองกันการออกสียง
หรือสะกดคําผิดพลาด แนวตอบ ศ ส เปนพยัญชนะขนาดกลาง ดังนั้นจึงตองเขียนขนาดของ
2 หัวอักษรบอด หรือตัวหนังสือหัวบอด หมายถึง หัวของตัวอักษรมีลักษณะ พยัญชนะทั้งสองใหเปนมาตรฐานเดียวกัน พยัญชนะทั้งสองตัวเปนพยัญชนะ
เปนวงทึบ ไมโปรง หรือเขียนหัวไมครบวง เขียนหัวเปนเสนงอๆ จัดเปนการเขียน ที่มีหัว เมื่อเริ่มตนเขียนจึงตองเขียนที่สวนหัวกอน โดยไมยกดินสอขณะเขียน
ที่ไมถูกตอง เมื่อเขียนมาถึงบริเวณสวนที่เปนหางของพยัญชนะ ตองไมเขียนแบบเลนหาง
และความยาวของหางตองเปนมาตรฐานเดียวกัน
3 ไมหันอากาศ หากสังเกตใหดีจะพบวา สวนหางของไมหันอากาศ จะยื่นออกไป
เหนือพยัญชนะตัวที่ตามมาเล็กนอย
4 เครื่องหมายทัณฑฆาต ( )์ เปนเครื่องหมายซึ่งใชเขียนบนพยัญชนะที่ไม
ตองการออกเสียง เชน คัมภีร ปรางค เปนตน นอกจากนี้คําที่ยืมมาจากภาษา
สันสกฤตบางคํา พยัญชนะที่ไมตองการออกเสียงมีหลายตัว เมื่อใสเครื่องหมาย
ทัณฑฆาตบนพยัญชนะตัวสุดทายแลว ไมตองใสเครื่องหมายทัณฑฆาตบนพยัญชนะ
ตัวอื่นอีก เชน พักตร ราษฎร เปนตน

38 คู่มือครู
ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expand Evaluate
ส�ารวจค้นหา Explore
ครูทําสลากเทากับจํานวนนักเรียนในชั้นเรียน
๔ รูปแบบตัวอักษร โดยเขียนหมายเลข 1, 2 และ 3 พรอมระบุ
ขอความในแตละหมายเลข ในจํานวนเทาๆ กัน
ตัวอักษรไทยที่มีรูปแบบถูกต้องสวยงามเป็นตัวอย่างของการฝึกคัดลายมือ มีหลายแบบ หรือเฉลี่ยตามความเหมาะสม จากนั้นใหนักเรียน
แต่อาจจัดรูปแบบกว้างๆ ได้ คือ ตัวอักษรประเภทหัวเหลี่ยมและตัวอักษรประเภทหัวกลม แตละคนออกมาจับสลาก ใครที่จับไดหมายเลข
๑) ตัวอักษรประเภทหัวเหลี่ยม หัวของตัวอักษรจะมีลักษณะเหลี่ยม เรียกว่า อักษรแบบ เหมือนกันใหอยูกลุม เดียวกัน ดังนี้
หัวบัวหรืออาลักษณ์ ล�าตัวก็จะเป็นเหลี่ยมเช่นกัน ตัวอาลักษณ์เป็นแบบอักษรของแผนกอาลักษณ์ หมายเลข 1 ตัวอักษรแบบอาลักษณ
ส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี จะใช้ในเอกสารที่เกี่ยวข้องกับราชการหรือในเอกสารพิเศษอื่นๆ เช่น หมายเลข 2 ตัวอักษรแบบกระทรวง
ปริญญาบัตร ประกาศนียบัตร เป็นต้น ศึกษาธิการ
หมายเลข 3 ตัวอักษรแบบภาควิชา
ตัวอักษรแบบหัวเหลี่ยม ประถมศึกษา คณะครุศาสตร
1 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
พยัญชนะ
นักเรียนสามารถสืบคนความรูไดจากแหลง
ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ขอมูลตางๆ ที่เขาถึงได และมีความนาเชื่อถือ
ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ซึ่งสมาชิกทุกคนภายในกลุมควรมีสวนรวมในการ
สืบคนความรูใหครอบคลุมประเด็นลักษณะสําคัญ
ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ของพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และตัวเลขของ
ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล อักษรรูปแบบที่กลุมของตนเองไดรับมอบหมาย
ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ
อธิบายความรู้ Explain
สระและเครื่องหมาย
นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 1
ะ ั า ำ ิ ี ึ สงตัวแทน 2 คน ออกมาอธิบายลักษณะสําคัญของ
ื ุ ู เ แ ็ โ ใ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต และตัวเลขของอักษร
ไ ฯ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ์ รูปแบบที่กลุมของตนเองไดรับมอบหมาย
โดยแสดงตัวอยางประกอบคําอธิบายใหชัดเจน
วรรณยุกต์ พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล
เมื่อตัวแทนของกลุมที่ 1 อธิบายความรู
่ ้ ๊ ๋

เสร็จแลว ครูควรสุมเรียกชื่อนักเรียนในชั้นเรียน
ตัวเลข
อธิบายความรู ความเขาใจของตนเองที่ไดรับจาก
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ การฟงบรรยาย และมอบหมายใหนักเรียนทุกคน
คัดคําขวัญประจําจังหวัดที่ตนเองชื่นชอบ
39 ดวยตัวอักษรรูปแบบอาลักษณ เพื่อเตรียม
ความพรอมคัดขอความที่มีขนาดยาวขึ้นตอไป

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ในการเขียนประกาศนียบัตร นักเรียนจะเลือกเขียนดวยอักษรรูปแบบใด
1 พยัญชนะ พยัญชนะไทยมีลักษณะสําคัญที่ควรสังเกต คือ ตัวตั้งตรง
จึงจะถูกตองเหมาะสมกับงาน
มีความกวางนอยกวาความสูง แตละตัวมีความกวางไมเทากัน ลักษณะสําคัญ
1. ตัวอักษรแบบตัวกลม หัวกลม
ของพยัญชนะไทยมีสวนหัวที่แตกตางกันถึง 4 แบบ ดังนี้
2. ตัวอักษรแบบตัวเหลี่ยม หัวกลม
1. หัวมีแวว หรือพยัญชนะที่มีหัวเปนวงกลม มี 2 แบบ คือ แบบหัวเขากับแบบ
3. ตัวอักษรแบบตัวกลม หัวเหลี่ยม
หัวออก ซึง่ พยัญชนะหัวเขา สวนหัวจะอยูภ ายในตัวพยัญชนะ มี 16 ตัว ไดแก
4. ตัวอักษรแบบตัวเหลี่ยม หัวเหลี่ยม
ง ฌ ญ ฒ ณ ด ต ถ ผ ฝ ย ล ว ส อ ฮ สวนพยัญชนะหัวออก สวนหัว
วิเคราะหคําตอบ การเขียนประกาศนียบัตร ซึ่งเปนเอกสารสําคัญที่ใหไว จะอยูนอกตัวพยัญชนะ มี 20 ตัว ไดแก ค ฅ จ ฉ ฎ ฏ ฐ ท น บ ป พ ฟ ภ
แกบุคคลผูนั้น ที่ไดประกอบคุณงามความดี สมควรประกาศไว จึงตองใช มรศษหฬ
อักษรที่มีลักษณะของเสนที่ใหอารมณความรูสึกแบบไทย ออนชอย แตมี 2. หัวสองชั้น มีลักษณะการเขียนหัวขมวด 2 ชั้น คลายพยัญชนะหัวเขา แตเมื่อ
ความสงางาม อักษรที่เหมาะสมจะใชเขียนประกาศนียบัตร จึงตองเปน เขียนเปนวงแลว จะเขียนเสนตอวนอีกรอบหนึ่ง ไดแก ข ช
อักษรที่มีลักษณะเสนลําตัว และสวนหัวเปนเหลี่ยม หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา 3. หัวหยักหรือหัวแตก มีลักษณะการเขียนคลายหัวสองชั้น แตมีรอยหยักกอนที่
“ตัวอาลักษณ” ดังนั้นจึงตอบขอ 4. จะลากเสนใหจบสวนหัว ไดแก ฃ ซ ฆ ฑ
4. พยัญชนะที่ไมมีหัว ไดแก ก ธ

คู่มือครู 39
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุม ทีจ่ บั สลากไดหมายเลข 2 และ 3
สงตัวแทนกลุมละ 2 คน ออกมาอธิบายลักษณะ ๒) ตวั อักษรประเภทหัวกลม คือ อักษรทีม่ ลี กั ษณะกลมมน เรียกตามโครงสร้างของตัวอักษร
สําคัญของพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และ ว่าหัวกลมตัวมน ได้แก่ ตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ หรือบางแบบมีหัวกลม แต่ตัวเหลี่ยม ได้แก่
ตัวเลขของอักษรรูปแบบที่กลุมของตนเองไดรับ รูปแบบตัวอักษรของภาควิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มอบหมาย พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล
2. หลังการอธิบายความรูของตัวแทนแตละกลุม ตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ
ใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหความแตกตางดาน
รูปแบบของอักษรแบบอาลักษณ แบบกระทรวง
ศึกษาธิการ และแบบภาควิชาประถมศึกษา
คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
โดยเปรียบเทียบกันตัวตอตัว บันทึกความ
แตกตางลงสมุด
3. นักเรียนรวมกันตอบคําถามและแสดงความ
คิดเห็นผานขอคําถามตอไปนี้
• นักเรียนมองเห็นความเปลี่ยนแปลงที่กําลัง
เกิดขึ้นกับรูปแบบอักษรไทยในปจจุบันหรือไม
อยางไร สาเหตุเกิดจากอะไร
(แนวตอบ ความเปลี่ยนแปลงดานรูปแบบ
พยัญชนะบางตัวมีรูปแบบผิดเพี้ยน เชน หัวโต
แตมีขนาดความกวางของพยัญชนะลีบเล็กลง
หรือที่เรียกกันวา “ตัวถั่วงอก” พยัญชนะ
บางตัวที่มีหัว กลายเปนไมมีหัว ซึ่งสาเหตุ 1
ของความเปลี่ยนแปลงอาจเกิดจากการละเลย
ตองการความสะดวกรวดเร็ว หรือการดัดแปลง 2
จนทําใหสูญเสียเอกลักษณของอักษรไทย)
• นักเรียนคิดวาตนเองจะมีสวนรวมในการ
แกไขความเปลี่ยนแปลงนั้นไดอยางไร
(แนวตอบ การมีสวนรวมแกไขควรเริ่มตน 3
ที่ตนเอง แมวาในชีวิตประจําวันจะไมไดใช
ตัวอักษรแบบอาลักษณ ตัวอักษรแบบหัวกลม
ตัวเหลี่ยมในการสื่อสาร เปนการเรียนเพื่อรู
และตระหนักในคุณคา แตอยางนอยการเขียน
สื่อสารในชีวิตประจําวัน ควรเขียนตัวอักษร 40
ใหมีหัว ลําตัวตั้งตรง เปนระเบียบ)

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
การระบุวา ขอความหนึง่ ๆ คัดดวยอักษรรูปแบบใด ขอใดคือจุดสังเกตสําคัญ
1 ไ ใ โ เมื่อจะเขียนรูปสระทั้ง 3 ตัว ปรากฏอยูหนาพยัญชนะ จะตองเขียนใหมี
1. การเวนชองไฟ
ขนาดสูงกวาพยัญชนะและมีชองไฟหางจากพยัญชนะเทากับชองไฟระหวางพยัญชนะ
2. โครงสรางของตัวอักษร
ดวยกัน
3. การลงนํ้าหนักมือบนตัวอักษร
2 วรรณยุกต เครื่องหมายวรรณยุกตในภาษาไทย มี 4 รูป ไดแก ่ ้ ๊ ๋ 4. ความเสมอตนเสมอปลายของตัวอักษร
เขียนบนพยัญชนะ โดยใหตรงกับเสนหลังหรือคอนไปทางซายของพยัญชนะ หากมี
พยัญชนะตน 2 ตัว รูปวรรณยุกตจะวางอยูบนพยัญชนะตัวที่สอง หากพยัญชนะ วิเคราะหคําตอบ การจะระบุวาขอความหนึ่งๆ คัดดวยอักษรรูปแบบใด
มีรูปสระอยูขางบนแลว รูปวรรณยุกตจะวางบนรูปสระอีกชั้นหนึ่ง เชน “ที่” “ปลิว” คือ การสังเกตโครงสรางของตัวอักษรวามีลักษณะอยางไร เชน การเขียน
“ครั้น” สวนหัว การโคง การหยัก แนวเสน เปนตน สวนการเวนชองไฟ การลง
นํ้าหนักมือ และความเสมอตนเสมอปลายของตัวอักษรที่คัด เปนเกณฑที่ใช
3 ตัวเลข มีทั้งสิ้น 10 ตัว คือ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ใชสําหรับเขียนบอก สําหรับวัดคุณภาพของลายมือ เพื่อการตัดสินประกวดคัดลายมือ หรือใชเปน
จํานวน ตัวเลข 2 ตัว เขียนติดกันใชบอกจํานวนสิบ ตัวเลข 3 ตัว เขียนติดกันใชบอก แนวทางเพื่อฝกฝนคัดลายมือ ดังนั้นจึงตอบขอ 2.
จํานวนรอย ตัวเลข 4 ตัว เขียนติดกันใชบอกจํานวนพัน เปนตน

40 คู่มือครู
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
1. จากความรู ความเขาใจเกี่ยวกับรูปแบบอักษร
ตัวอักษรแบบคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และหลักการคัดลายมือ ใหนักเรียนรวมกัน
กําหนดเกณฑเพื่อใชประเมินการคัดลายมือ
ของตนเอง รวมถึงเพื่อนๆ ในชั้นเรียน และใช
เปนแนวทางปรับปรุง แกไขในครั้งตอไป
โดยเกณฑที่รวมกันกําหนดขึ้นนั้นไดจาก
การศึกษาเปรียบเทียบผลงานการคัดลายมือ
ทั้งที่ไดรับรางวัลและไมไดรับรางวัล เพื่อให
เกิดการตั้งขอสังเกต จนสามารถกําหนดเปน
มาตรฐานการคัดลายมือที่มีประสิทธิภาพได
ครูควรมีสวนรวมในกระบวนการนี้ โดยหา
ตัวอยางผลงานมาใหนักเรียนไดศึกษา
เปรียบเทียบ
(แนวตอบ เกณฑควรครอบคลุม ดังตอไปนี้
• ความถูกตองดานรูปแบบอักษร
• ความถูกตองของการวางตําแหนงสระ
วรรณยุกตบนพยัญชนะ
• การลงนํ้าหนักมือลงบนเสนของพยัญชนะ
สระ วรรณยุกต หรือตัวเลขที่คัด
• ความสวยงามดานขนาดของพยัญชนะ
ในกรณีคัดตัวบรรจงครึ่งบรรทัดความสูง
ของพยัญชนะตองเทากัน แนวเสนตอง
ตั้งตรง ไมเอียงโยไปดานหนา หรือดานหลัง
• ความสะอาด เปนระเบียบเรียบรอย
• ในกรณีประกวดตองเสร็จตามกําหนดเวลา)
2. นักเรียนบันทึกเกณฑทรี่ ว มกันกําหนดลงสมุด
1 2 จากนั้นใหคัดสรรพระบรมราโชวาทที่ตนเอง
ลายมือทีส่ วยงามเป็นระเบียบจะทÓให้งานเขียนน่าอ่าน น นอกจากนี ้ ลายมือยังบ่งบอก ประทับใจ จากหนังสือคําพอสอน หรือจาก
อุปนิสยั ของผูเ้ ขียนได้ ถ้าหากลายมือเรียบร้อยสวยงาม ย่อมแสดงว่าผูเ้ ขียนเป็นผูม้ รี ะเบียบ สื่ออื่นๆ ความยาวไมตํ่ากวา 20 บรรทัด
3
การฝึกฝนคัดลายมือจึงนับเป็นปัจจัยสÓคัญอย่างหนึง่ ทีจ่ ะทÓให้เขียนสือ่ สารในชีวติ ประจÓวัน นํามาคัดดวยลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใชรูปแบบอักษร 2 ใน 3 ของรูปแบบ
ที่ไดศึกษา
41

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับระเบียบวิธีการคัดลายมือ
1 ลายมือที่สวยงามเปนระเบียบ ลายมือที่เรียบรอย สวยงามแสดงถึงความ
1. สระทีเ่ ขียนอยูใ ตพยัญชนะ -ุ -ู จะมีสว นหัวตรงกับเสนหลังของพยัญชนะ
มีระเบียบ เรียบรอยของผูเขียนหรือเจาของลายมือนั้นๆ และยังแสดงถึงความตั้งใจ
2. หางของไมหันอากาศจะตรงกับเสนหลังของพยัญชนะตัวที่มีไมหันอากาศ
และใหเกียรติผูรับสารอีกดวย
วางอยูขางบน
3. เครื่องหมายไปยาลนอย ตองเขียนใหมีขนาดความสูงเพียงครึ่งหนึ่งของ 2 งานเขียนนาอาน การเขียนภาษาไทยจะเขียนตัวอักษรที่ประสมกันแทนคํา
พยัญชนะตัวที่นํามาขางหนา แลวเรียงตอกันจากซายไปขวา มีชองวางระหวางตัวอักษรตัวหนึ่งๆ พอใหแยก
4. เครื่องหมายไมยมกเขียนหลังพยัญชนะ ใหมีขนาดความสูงอยูในระดับ ตัวอักษรออกจากกันหรือเรียกวา “ชองไฟ” งานเขียนทีม่ คี วามเรียบรอย สวยงาม นาอาน
เดียวกับพยัญชนะ ผูเขียนตองจัดชองไฟระหวางตัวอักษรใหเทากัน
วิเคราะหคําตอบ การเขียนสระ -ุ -ู สวนหางของสระตองตรงกับเสนหลัง 3 การฝกฝนคัดลายมือ ควรฝกฝนคัดลายมือเปนประจําสมํ่าเสมอ โดยในชวงแรก
ของพยัญชนะ หางของไมหันอากาศจะยื่นออกไปหาพยัญชนะตัวที่สอง ควรฝกเขียนบนกระดาษสีขาวที่มีเสนบรรทัดหรือกระดาษสมุด โดยใชดินสอดํา 2B
เล็กนอย การเขียนเครื่องหมายไปยาลนอย ตองเขียนใหมีขนาดเทากับ ฝกฝนจนกระทั่งเกิดความชํานาญ จากนั้นจึงเริ่มฝกโดยใชปากกาหมึกซึม
พยัญชนะตัวที่นํามาขางหนา เชนเดียวกับการเขียนเครื่องหมายไปยาลใหญ หรือปากกาหัวสักหลาด สีดําหรือสีนํ้าเงิน ขนาดหัว 0.5 มิลลิเมตร
และไมยมก ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

คู่มือครู 41
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engaae Expore Explain Elaborate
ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนนําผลงานการคัดลายมือของตนเอง
และเพื่อนๆ มาวางกลางหอง รวมกันลงคะแนน
คัดเลือกผลงานที่เขาหลักเกณฑ รูปแบบละ
3 ผลงาน ใหหัวหนาชั้นเรียนบันทึกรายชื่อไว
คําถาม ประจําหนวยการเรียนรู
2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่อระบุวาตนเองได
๑. นักเรียนคิดวาการฝกคัดลายมือมีความจําเปนหรือไม อยางไร
ลงคะแนนคัดเลือกผลงานของเพื่อนคนใด
๒. หากนักเรียนไดรับคัดเลือกใหเปนตัวแทนของหองไปประกวดคัดลายมือในระดับชั้น นักเรียน
เพราะเหตุใด จากเหตุผลที่นักเรียนชี้แจงนั้น จะมีวิธีการเตรียมตัวอยางไร
จะทําใหครูสามารถประเมินไดวา นักเรียนผูนั้น ๓. การฝกฝนคัดลายมือเปนประโยชนตอตนเองและประเทศชาติอยางไร
มีทักษะการประเมินผลงานของผูอื่นเปนอยางไร
มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะสําคัญ
ของลายมือที่ดีหรือไม อยางไร
3. ครูตรวจสอบผลงานการคัดลายมือของนักเรียน
ทุกคน โดยใชหลักเกณฑเดียวกับที่นักเรียน
รวมกันกําหนดภายใตคาํ แนะนําของครู
เขียนคําแนะนําสําหรับการปรับปรุง แกไข
ในครั้งตอไป สงผลงานคืน รวมถึงแจงผล
การตัดสินของครูวา ตรงกับนักเรียนหรือไม
เพื่อเปนการตรวจสอบทักษะการประเมินของ กิจกรรม สรางสรรคพัฒนาการเรียนรู
นักเรียนอีกชั้นหนึ่ง
4. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู กิจกรรมที่ ๑ ใหนักเรียนเลือกบทประพันธจากวรรณคดีเรื่องที่ชื่นชอบจํานวน ๖ บท
เพื่อฝกคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด โดยใชตัวอักษรแบบคณะครุศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นําสงครูผูสอน
หลักฐานแสดงผลการเรียนรู กิจกรรมที่ ๒ ใหนักเรียนเลือกบทความที่ใหแงคิด มีความยาวไมนอยกวา ๕ บรรทัด แลว
ฝกคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดโดยใชตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ
ผลงานการคัดลายมือเฉพาะบุคคล “บทความที่ พรอมจัดปายนิเทศเพื่อแสดงผลงาน
ใหแงคิด” โดยใชรูปแบบอักษร 2 ใน 3 ของรูปแบบ กิจกรรมที่ ๓ ครูจัดกิจกรรมประกวดคัดลายมือในชั้นเรียน เพื่อคัดเลือกตัวแทนของหอง
ที่ไดศึกษา ไปประกวดคัดลายมือในระดับชั้นตอไป

๔๒

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. การฝกคัดลายมือมีความจําเปนอยางยิ่งตอการเขียนสื่อสารในชีวิตประจําวัน เพราะในบางครั้งหากผูสงสารตองการจะถายทอดเนื้อหาสาระตางๆ ไปยังผูรับสาร
โดยใชสัญลักษณหรืออักษรที่ยอมรับกันในแตละสังคม แตถาผูสงสารเขียนสัญลักษณเหลานั้นผิดเพี้ยนไปจากรูปแบบที่กําหนดและยอมรับกัน ยอมทําใหผูรับสาร
แปลสัญลักษณนั้นไมได สงผลใหเขาใจสารผิดพลาดคลาดเคลื่อน การสื่อสารจะไมสัมฤทธิผล
2. ตองศึกษาวารูปแบบอักษรที่กําหนดใหคัดคือรูปแบบใด หากมีความถนัดในรูปแบบนั้นๆ อยูแลว ก็ควรฝกฝนคัดอยางสมํ่าเสมอ ดวยการหาขอความมาฝกคัด
แตถาไมมีความชํานาญก็ควรที่จะศึกษาลักษณะสําคัญของพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และตัวเลขของอักษรรูปแบบนัน้ จดจําลักษณะสําคัญไว แลวจึงหาขอความ
มาฝกคัดจนกระทัง่ เกิดความชํานาญ หลังฝกเสร็จควรตรวจสอบตนเองวา รูปแบบอักษรที่คัดมีความถูกตอง สมํ่าเสมอเปนรูปแบบเดียวกันทั้งขอความหรือไม
ขนาด ความสูง แนวเสนของอักษรทั้งหนาและหลังตั้งตรงหรือไม การเวนชองไฟ การลงนํ้าหนักมือ ความสะอาด เรียบรอย การสํารวจตนเองในแตละครั้ง
ผูฝกควรจดบันทึกผลการสํารวจแลวฝกคัดใหม แกไขขอบกพรอง จนกระทั่งไมพบขอบกพรองในการฝก
3. ชวยใหตระหนักในความสําคัญของลายมือ เพราะลายมือเปนเครื่องมือที่ใชในการสื่อสาร และยังเปนสิ่งสะทอนใหเห็นลักษณะนิสัยของบุคคล ผูที่มีลายมือสวยงามเปน
ระเบียบยอมแสดงใหเห็นวาเปนผูที่ผานการฝกฝนโดยใชความเพียรพยายาม และที่สําคัญการฝกคัดลายมือใหมีความสวยงามยังแสดงใหเห็นถึงวัฒนธรรมทางดานภาษา
ของชาติ

42 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
เขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆ ไดแก
เขียนบรรยาย พรรณนา เรียงความ ยอความ
รายงานการศึกษาคนควา จดหมายกิจธุระ
วิเคราะห วิจารณ แสดงความรู ความคิดเห็น
โตแยงเรือ่ งทีอ่ า นไดถกู ตองตามรูปแบบ โดยเลือก
ใชถอ ยคํา สํานวนโวหาร ถูกตองตามหลักไวยากรณ
มีความไพเราะ เหมาะสม และคํานึงถึงมารยาท
ในการเขียน

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปญหา
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

หน่วยที่ ò คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. มีวินัย
2. ใฝเรียนรู
กำรเขียนเพื่อกำรสื่อสำร 3. มุงมัน่ ในการทํางาน
ตัวชี้วัด ก ารเขียนเปนทักษะการสื่อสาร
ท ๒.๑ ม.๒/๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘ เพือ่ ใชถา ยทอดเรือ่ งราวจากผูเ ขียนไปสู
■ เขียนบรรยายและพรรณนา
เขียนเรียงความ
ผูอาน การเขียนในชีวิตประจําวัน เชน กระตุน้ ความสนใจ Engage

■ เขียนยอความ
เรียงความ ยอความ จดหมายกิจธุระตางๆ
■ เขียนรายงานการศึกษาคนควา การเขียนรายงานการศึกษาคนควา เขียน ครูนาํ เขาสูห นวยการเรียนการสอน ตัง้ ประเด็น
■ เขียนจดหมายกิจธุระ วิ เ คราะห วิ จ ารณ แสดงความคิ ด เห็ น สนทนาเกี่ยวกับการใชทักษะการเขียนในชีวิต
■ เขียนวิเคราะห วิจารณ แสดงความรู ความคิดเห็น โตแยง และเขียนโตแยง ผูเขียนควรศึกษา เรียนรู
■ มีมารยาทในการเขียน
ทําความเขาใจรูปแบบ หลักการเขียน การใช ประจําวันของนักเรียนแตละคน จากนัน้ ตัง้ คําถามวา
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สํานวนภาษาใหถูกตองเหมาะสมเพื่อใหเขียน • การเขียนสื่อสารมีความจําเปนตอชีวิต
■ การเขียนบรรยายและพรรณนา สื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ ประจําวันของมนุษยอยางไร โดยยกตัวอยาง
■ การเขียนเรียงความเกี่ยวกับประสบการณ
■ การเขียนยอความจากสื่อตางๆ ประกอบใหชัดเจน
การเขียนรายงาน เขียนรายงานจากการศึกษา ฯลฯ
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น

43
ไดอยางอิสระ ทําใหไดคําตอบที่หลากหลาย
พิจารณาตามดุลยพินิจของครู)

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู การเขียนเพื่อการสื่อสาร เปาหมายสําคัญ
คือ นักเรียนสามารถใชความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการใชถอยคําเปนเครื่องมือสําหรับ
ถายทอดความรู ความคิด และจินตนาการของตนเองไปสูผูอื่นโดยผาน
งานเขียนในรูปแบบที่กําหนด โดยคํานึงถึงความถูกตองดานรูปแบบ การใชถอยคํา
ที่ถูกตองตามหลักไวยากรณ การสื่อความ ความไพเราะ เหมาะสม และมารยาทใน
การเขียน
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรออกแบบการเรียนการสอนโดยใชวิธีการ
จับคู จับกลุมยอย หรือจับกลุม ใหญตามความยากงายของหัวขอการเรียนการสอน
รวมกันสืบคนองคความรู อธิบายความรูผานขอคําถามของครูเพื่อทดสอบวามีความรู
ความเขาใจในทฤษฎีเพียงพอตอการลงมือปฏิบัติจริง และรวมถึงรวมกันกําหนดเกณฑ
เพื่อใชประเมินงานเขียนของตนเองและเพื่อนในชั้นเรียน
การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยฝกทักษะที่จําเปนใหแกนักเรียน ไดแก
ทักษะการคิดสรางสรรค ทักษะการสังเคราะห และทักษะการประเมิน เพื่อนําไป
ปรับใชในชีวิตประจําวัน
คู่มือครู 43
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
1. ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอนดวยวิธีการ
ตั้งคําถามกระตุนทักษะการเปรียบเทียบ ๑ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียน
และทักษะการวิเคราะห
• ทักษะการพูดและทักษะการเขียน คือ การเขียนเป็นทักษะการสือ่ สารด้วยตัวอักษร ใช้ถา่ ยทอดความรู ้ ความคิด ประสบการณ์ อารมณ์
กระบวนการที่มนุษยใชสําหรับถายทอด ความรูส้ กึ ของผูเ้ ขียนไปสูผ่ อู้ า่ น การเขียนเป็นทัง้ ศาสตร์และศิลป์ เพราะการเขียนทุกชนิดต้องมีรปู แบบ
ความรู ความคิด จินตนาการ นักเรียนลอง หลักการที่ผู้เขียนต้องเรียนรู้ ท�าความเข้าใจ เพื่อปฏิบัติได้ถูกต้อง และมีศิลปะในการเลือกใช้ค�าถูกต้อง
วิเคราะหวาทักษะการพูดและทักษะการเขียน ตามหลักภาษา ไพเราะ เหมาะสม
มีลักษณะสําคัญที่แตกตางกันอยางไร ๑.๑ ความส�าคัญของการเขียน
(แนวตอบ ทักษะการพูดและทักษะการเขียน การเขียนมีความส�าคัญส�าหรับมนุษย์ ดังนี้
เปนกระบวนการสื่อสารของมนุษย แตมี ๑. การเขียนเป็นทักษะการสื่อสารที่ท�าให้มนุษย์รับรู้ความต้องการของอีกฝ่ายหนึ่ง
ความแตกตางกันในเรื่องความคงทนของสาร ๒. การเขียนเป็นการแสดงออกซึ่งภูมิปัญญาของมนุษย์
กลาวคือ กระบวนการเขียนมีหลักฐานปรากฏ ๓. การเขียนเป็นเครื่องถ่ายทอดมรดกทางภูมิปัญญา
เปนลายลักษณอักษร ทําใหสามารถตรวจสอบ ๔. การเขียนเป็นเครื่องสร้างความสามัคคีและความเจริญรุ่งเรือง
หรือกลับมาทบทวนตอยอดไดในภายหลัง) 1
2. ครูชวนนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการเขียนสื่อสาร ๑.๒ จุดม่งุ หมายของการเขียน
ในยุคปจจุบัน โดยเฉพาะอยางยิ่งการเขียน จุดมุ่งหมายส�าคัญของการเขียน คือ เขียนให้ผู้อ่านเข้าใจและรับรู้ได้ตรงกับเจตนาของผู้เขียน
สื่อสารผานสื่ออิเล็กทรอนิกส ครูควรมีบทบาท การตั้งจุดมุ่งหมายไว้ล่วงหน้าช่วยให้ผู้เขียนเลือกสรรเนื้อหา รูปแบบ และภาษาได้สะดวก จุดมุ่งหมาย
ในการกระตุนนักเรียนใหรวมกันตั้งขอสังเกต ในการเขียนแบ่งได้ ดังนี้
เกี่ยวกับลักษณะของขอความที่ใชสื่อสารผานสื่อ ๑) การเขียนเพือ่ เล่าเรือ่ ง เป็นการเขียนเล่าเรือ่ งราวตามล�าดับเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ โดยเรือ่ ง
ประเภทนี้ ที่เล่าผู้เขียนอาจประสบด้วยตนเองหรือเป็นเรื่องที่ได้อ่าน ได้ฟังมา เช่น นิทาน ข่าว สารคดี เป็นต้น
(แนวตอบ ลักษณะของขอความที่ใชสื่อสาร ๒) การเขียนเพื่ออธิบาย เป็นการเขียนเพื่อชี้แจงหรือแจกแจงเพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจ
ระหวางกันบนสื่ออิเล็กทรอนิกส สวนใหญเปน และปฏิบัติตามได้ เช่น อธิบายวิธีใช้เครื่องมือต่างๆ เป็นต้น
ขอความที่มีขนาดสั้น สะกดไมถูกตองตาม ๓) การเขียนเพือ่ แสดงความคิดเห็น เป็นการเขียนเพือ่ วิเคราะห์ วิจารณ์ แนะน�า หรือแสดง
หลักไวยากรณ เนื่องดวยสมัยนิยม และรวมถึง ความคิดเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยจะต้องค�านึงถึงหลักฐาน ข้อเท็จจริง และเหตุผล
ความสะดวก รวดเร็วในการสื่อสาร เชน คําวา ๔) การเขียนเพือ่ สร้างจินตนาการ เป็นการเขียนทีผ่ เู้ ขียนมีจดุ ม่งุ หมายให้ผอู้ า่ นเกิดอารมณ์
“พิมพ” จะสะกดเปน “พิม”) ความรู้สึก จินตนาการภาพตามได้
หลังคําตอบ ครูควรใหนักเรียนรวมกันแสดง ๕) การเขียนเพื่อโน้มน้าวใจ เป็นการเขียนที่ผู้เขียนมีจุดมุ่งหมายเพื่อชักจูง โน้มน้าวใจ
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใชภาษา เพื่อการ ให้ผู้อ่านเชื่อและยอมรับในสิ่งที่ผู้เขียนน�าเสนอ เช่น ค�าขวัญ โฆษณา เป็นต้น
สื่อสารในลักษณะขางตน จะกอใหเกิดความ ๖) การเขียนเพื่อกิจธุระ เป็นการเขียนที่ผู้เขียนมีจุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง มีรูปแบบ
เปลี่ยนแปลงตอภาษาเขียนหรือไม อยางไร การเขียนและลักษณะการใช้ภาษาแตกต่างกันไปตามประเภทของงานเขียน

44

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ชื่อเรื่องในขอใดมีจุดมุงหมายในการเขียนแตกตางจากขออื่น
1 จุดมุงหมายของการเขียน หรือวัตถุประสงคในการเขียน หากจําแนกเปน
1. การรีไซเคิลขยะ
จุดมุงหมายหลักๆ จะแบงได 3 กรณี ดังนี้
2. วงการโทรทัศนไทย
1. การเขียนเพื่อใหขอมูลขาวสาร เปนการเขียนเพื่อใหขอมูล ขอเท็จจริง
3. ผิวสวย หนาใสดวยออโรรา
หรือความรูแกผูอาน รวมถึงการอธิบายหรือเลาเรื่องราวเหตุการณตางๆ
4. ชีวประวัติพระยาอนุมานราชธน
ที่เกิดขึ้น โดยจะพบการเขียนที่มีจุดมุงหมายลักษณะนี้ในตําราเรียน ขาว
บทวิเคราะหขาว วิเคราะหคําตอบ ชื่อเรื่องที่ปรากฏในแตละขอสามารถอนุมานไดวา ผูเขียน
2. การเขียนเพื่อจูงใจหรือโนมนาวใจ เปนการเขียนเพื่อใหผูอานเกิดความเขาใจ มีจุดประสงคในการเขียนสื่อสารอยางไร จากตัวเลือกในขอ 1., 2. และ 4.
และรูสึกตามที่ผูเขียนตองการ ซึ่งการโนมนาวใจนั้นมีเปาหมาย 3 ประการ ผูเ ขียนมีจดุ มุง หมายเพือ่ สรางความรู ความเขาใจหรืออธิบายเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่
ไดแก ใหคลอยตาม ใหเปลี่ยนทัศนคติ และใหเกิดการกระทํา แกผอู า น แตตวั เลือกในขอ 3. มีการใชภาษาชวนเชือ่ โนมนาวใจ โดยสวนใหญ
3. การเขียนเพือ่ ใหความบันเทิง เปนการเขียนทีม่ งุ ใหความสนุกสนาน เพลิดเพลิน จะพบในงานเขียนประเภทโฆษณา ซึ่งเปนงานเขียนที่มีจุดมุงหมายหรือ
ผอนคลายอารมณ มุง สรางจินตนาการและความรูส กึ เปนหลัก เชน การเขียน วัตถุประสงคเพื่อโนมนาวใจ จูงใจใหผูรับสารตัดสินใจซื้อสินคาและบริการ
นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย เปนตน ดวยถอยคําชวนเชื่อตางๆ ดังนั้นจึงตอบขอ 3.

44 คู่มือครู
ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expand Evaluate
ส�ารวจค้นหา Explore
นักเรียนจับกลุมกับเพื่อน กลุมละ 3 คน
๑๑.๓ ความสัมพันธ์ของการเขียนและการอ่าน ครูทําสลากเทากับจํานวนกลุมทั้งหมด โดยเขียน
การเขียนเป็นการใช้ภาษาที่ต้องแสดงออกทั้งความรู้ ความคิด และความรู้สึก ผู้เขียนจ�าเป็น หมายเลข 1-4 ในจํานวนเทาๆ กัน หรือเฉลี่ย
ต้องมีประสบการณ์ในด้านต่างๆ พอสมควร การหาประสบการณ์จึงเป็นสิ่งส�าคัญที่เปิดโอกาสให้ ตามความเหมาะสม พรอมระบุขอความในแตละ
ผู้เขียนได้สัมผัสประสบการณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เขียนสามารถเขียนได้ หมายเลข จากนั้นใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมา
อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง “การอ่าน” เป็นช่องทางในการสะสมประสบการณ์เช่นเดียวกับ “การฟัง” จับสลากประเด็นสําหรับสืบคนความรูรวมกัน ดังนี้
ผู้เขียน ผู้อ่าน หมายเลข 1 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการเขียน
มีจุดมุ่งหมายในการถ่ายทอด มีจุดมุ่งหมายในการอ่านเพื่อ
เช่น เพื่ออธิบาย เพื่อชี้แจง ให้เลือกอ่านงานเขียนได้ตรง หมายเลข 2 การใชคําในการเขียน
สร้างจินตนาการ กับจุดมุ่งหมาย หมายเลข 3 การเขียนบรรยาย
มีความรู้ ความคิด และ
มีความรู้ด้านภาษา เพื่อให้
หมายเลข 4 การเขียนพรรณนา
ประสบการณ์ที่จะถ่ายทอด เกิดเป็น
เกิดขึ้น แปลความ ตีความงานเขียน ประสบการณ์
มีความรู้ด้านภาษา การใช้
จากการอ่าน
และฟังให้มาก ถ้อยค�า ส�านวนโวหาร
ที่อ่านได้อย่างลึกซึ้ง น�าไปถ่ายทอด
อธิบายความรู้ Explain
มีความรู้ด้านงานเขียน เช่น มีความรู้ด้านงานเขียน
องค์ประกอบ ลักษณะเฉพาะ เพื่อให้วิเคราะห์งานที่อ่านได้ 1. นักเรียนกลุมยอยที่ศึกษาในประเด็นเดียวกัน
ของงานเขียน เขากลุมใหญเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูล สราง
ความรู ความเขาใจที่ถูกตองตรงกัน จากนั้น
จากแผนภาพผู้เขียนที่ดีย่อมเป็นผู้อ่านที่ดีมาก่อน ความรู้ความเข้าใจที่ผู้เขียนต้องมีเพื่อ ลงมติเลือกตัวแทน 2 คน ที่มีความรู
การสร้างสรรค์งานเขียนสะสมมาจากการอ่านและเมื่ออ่านมากแล้วย่อมเกิดความรู้ ความเข้าใจ และ
ความเขาใจแมนยําในขอมูลและมีทักษะ
ประสบการณ์นา� ไปถ่ายทอดเป็นงานเขียนทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ผูอ้ า่ นคนอืน่ ๆ ตามจุดมุง่ หมายทีก่ า� หนดไว้
การถายทอดที่ดีเปนตัวแทนออกมาอธิบาย
๑.๔ มารยาทในการเขียน ความรูใหเพื่อนๆ กลุมอื่นฟงหนาชั้นเรียน
1
๑) เขียนให้ถูกต้องตามอักขรวิธี เรียบเรียงประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ใช้ถ้อยค�า 2. นักเรียนที่เปนตัวแทนของกลุมที่ศึกษา
ที่เหมาะสมกับเนื้อหา กาลเทศะ และสถานะของบุคคล ในประเด็น “ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการเขียน”
๒) เขียนสิ่งที่เป็นจริง ศึกษา ค้นคว้า และตรวจสอบว่าสิ่งที่เขียนถูกต้องแล้ว ถ้าเขียน ออกมาอธิบายความรู พรอมระบุแหลงที่มา
เรื่องส่วนตัวของผู้อื่นต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของเรื่องเสียก่อน ของขอมูล
๓) เขียนด้วยความรับผิดชอบ ถูกศีลธรรม จรรยา จารีต ประเพณี ไม่เขียนเรื่องที่จะ 3. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่อแสดงพื้นฐาน
ท�าให้สังคมส่วนรวมได้รับความเดือดร้อน เสียหาย หรือน�าไปสู่การแตกความสามัคคี ความรูเ ดิมเกีย่ วกับลักษณะสําคัญของการเขียน
๔) ใช้ถ้อยค�าสุภาพไพเราะ หลีกเลี่ยงค�าหยาบ ไม่ใช้อารมณ์ ความรู้สึกส่วนตนหรืออคติ (แนวตอบ การเขียนเปนศาสตรเพราะผูเขียน
วิจารณ์ผู้อื่น จะตองมีความรู ความเขาใจเปนอยางดี
๕) เขียนสิ่งที่มีคุณค่าก่อให้เกิดความสงบสุขแก่ประเทศชาติ เขียนสิ่งที่จะก่อให้เกิด เกี่ยวกับหลักการใชถอยคําใหถูกตองตาม
องค์ความรู้ใหม่ที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศชาติ หลักไวยากรณ และเขียนใหถูกตองตาม
๖) ไม่คัดลอกงานเขียนของผู้อื่น แต่เมื่อน�าข้อความหรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบ รูปแบบ ในขณะเดียวกันการเขียนก็เปนศิลป
จะต้องให้เกียรติเจ้าของผลงานด้วยการเขียนอ้างอิงทีม่ าของเรือ่ งและชือ่ ผูเ้ ขียนทุกครัง้ เพราะผูเขียนตองมีศิลปะ รสนิยมในการเลือก
45 ใชถอยคําเพื่อสรางภาพในจินตนาการของ
ผูอานที่ชัดเจน)

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
บุคคลใดมีมารยาทในการเขียนที่ไมเหมาะสม
ครูจัดกิจกรรมยอยภายในชั้นเรียน โดยใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา
1. สุมิตราใชถอยคําที่สุภาพ ไพเราะในการเขียนสื่อสาร
“หากขาดมารยาทในการเขียนจะกอใหเกิดผลเสียตอผูเขียน และงานเขียนอยางไร”
2. แกวตาเขียนสื่อสารโดยใชถอยคําสุภาพ เหมาะสมกับระดับของผูอาน
รวมทั้งชวยกันอธิบายวา “ลักษณะอยางไรที่ระบุไดวาบุคคลผูนั้นมีมารยาทใน
3. สมปรารถนาคนควาขอมูลอยางรอบดานและหลากหลายกอนลงมือเขียน
การเขียน” โดยใชพื้นฐานหรือรองรอยความรูเดิมของแตละคน และมีครูคอยชี้แนะ
4. ลีลาศึกษางานเขียนของผูอื่น แลวลงมือเขียนโดยคัดลอกขอความนั้นๆ มา
เพิ่มเติมเพื่อสรางความเขาใจที่ถูกตองตรงกัน จากนั้นใหนักเรียนบันทึกสาระสําคัญ
เพื่อแสดงหลักฐานการคนควา
ที่ไดจากการแสดงความคิดเห็นรวมกันลงสมุด
วิเคราะหคําตอบ จากตัวเลือกขอ 1., 2. และ 3. เปนมารยาทที่ควรกระทํา
ในการสรางงานเขียนดวยตนเอง สวนขอ 4. การคัดลอกงานเขียนของผูอ นื่
มาเปนผลงานของตนเองเปนสิง่ ทีไ่ มควรปฏิบัติ เพราะนอกจากจะเปนการ นักเรียนควรรู
ไมใหเกียรติเจาของผลงานนั้นแลวยังผิดกฎหมายในขอหาละเมิดลิขสิทธิ์
ทางปญญา สงผลใหผูเขียนไดรับความเดือดรอน เสียหาย และงานเขียน 1 เขียนใหถูกตองตามอักขรวิธี นักเรียนสามารถศึกษาวิธีการเขียนสะกดคํา
ชิ้นนั้นๆ ไมไดรับการเชื่อถือ ดังนั้นจึงตอบขอ 4. ใหถูกตองตามอักขรวิธีไดจาก พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช
2554

คู่มือครู 45
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนทีเ่ ปนตัวแทนของกลุม ทีศ่ กึ ษาในประเด็น
“การใชคําในการเขียน” ออกมาอธิบายความรู ๒ การใช้คÓในการเขียน
พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล
2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบายความรู การใช้ค�าในการเขียน คือ การน�าค�าชนิดต่างๆ มาร้อยเรียงกันให้ถูกต้องเหมาะสม โดยค�านึงถึง
เกี่ยวกับการเขียนผานขอคําถามของครู โดยใช หลักไวยากรณ์และการสื่อความ การเรียบเรียงอาจมีลักษณะเป็นค�า กลุ่มค�า ประโยค กลุ่มประโยค
ความรู ความเขาใจที่ไดรับจากการฟงบรรยาย ย่อหน้าเดียว หรือหลายย่อหน้า
ลักษณะการใช้ค�าผูกประโยค มีข้อควรพิจารณา ดังนี้
และพื้นฐานหรือรองรอยความรูเดิมของตนเอง
๑) ใช้ค�าให้ตรงความหมาย ในภาษาไทยมีค�าจ�านวนมากที่มีความหมายคล้ายกัน หากไม่
เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
ทราบความหมายที่แท้จริง ก็จะน�ามาใช้ไม่ถูกต้อง ประโยคที่เรียบเรียงจากถ้อยค�าที่ตรงความหมายจะ
• หากสังเกตสื่อตางๆ ที่อานในชีวิตประจําวัน สื่อความได้ชัดเจน ตรงตามเจตนาของผู้เขียน เช่น
นักเรียนคิดวาสื่อที่ไดอานนั้น ผูเขียนมี ■ พ่อฝานมะม่วงรับประทานกับน�้าปลาหวาน
วัตถุประสงคในการถายทอดอยางไรบาง ■ แม่แล่ปลากะพงที่ซื้อมาเมื่อวาน
(แนวตอบ การเขียนเพื่อสื่อสารมีวัตถุประสงค คุณตาเฉือนเนื้อหมูในตู้เย็นที่คุณยายซื้อมาเมื่อวาน

1
หลายประการ เชน เขียนเพื่อเลาเรื่อง แต่จะใช้ในบริบทที่แตกต่างกัน
จากตัวอย่างข้างต้น ค�าทั้ง ๓ ค�า มีความหมายใกล้เคียงกัน แต่
เขียนเพื่ออธิบาย เขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น ตามความหมายที่แท้จริง ดังนี้
เขียนเพื่อสรางแรงบันดาลใจ จินตนาการ ฝาน มีความหมายว่า ตัดบางๆ (มักใช้กับผลไม้)
เขียนเพื่อชักจูงโนมนาว และเขียนเพื่อกิจธุระ) แล่ มีความหมายว่า ท�าให้แผ่ออก และตัดออกเป็นชิ้น
• วัตถุประสงคการเขียนที่แตกตางกันสงผลตอ เฉือน มีความหมายว่า ตัดออกมาเล็กน้อย
รูปแบบและแนวทางการเขียนอยางไร ๒) ใช้ค�าที่แสดงความหมายชัดเจน ไม่คลุมเครือ ซับซ้อน เช่น
(แนวตอบ การเขียนที่มีวัตถุประสงค ■ ฉันพร้อมน้องก�าลังจะออกไปออกก�าลังกาย
แตกตางกันยอมมีรูปแบบ ขั้นตอน หรือขนบ ประโยคที่ถูกต้อง คือ ฉันกับน้องก�าลังไปออกก�าลังกาย
ในการเขียน การเริ่มเรื่อง การดําเนินเรื่อง ■ ชายชราใจดีผู้นี้ให้เงินคนจนหมดตัว
การสรุปจบ การใหเหตุผล หรือกลวิธีในการ ประโยคที่ถูกต้อง คือ ชายชราใจดีผู้นี้ให้เงินคนจนที่หมดตัว หรือชายชราใจดีผู้นี้ให้เงิน
ทําใหผูอานเกิดอารมณความรูสึกแตกตางกัน) คนจนจนเขาหมดตัว 2
• การเขียนและการอานมีความสัมพันธกัน ๓) ใช้คา� ให้ถกู ต้องตามชนิดของค�า ค�าในภาษาไทยมีหลายชนิด แต่ละชนิดมีลกั ษณะและ
อยางไร หน้าที่แตกต่างกัน การใช้ค�าให้ถูกต้องตามชนิดของค�า ถูกหลักไวยากรณ์ จะท�าให้ประโยคชัดเจน เช่น
ค�าลักษณนาม คือ ค�านามที่บอกลักษณะว่าค�านามนี้จะใช้ลักษณะอย่างไร โดยจะอยู่ท้ายค�าคุณศัพท์
(แนวตอบ การอาน คือ การแสวงหาและ
บอกจ�านวนนับหรือบอกปริมาณเพือ่ ขยายค�านามข้างหน้า โดยบอกรูปลักษณะชนิดของค�าทีอ่ ยูข่ า้ งหน้า
สรางเสริมประสบการณ ความรู ความคิด
ค�าบอกจ�านวนนับและยังช่วยให้ค�าที่มีหลายความหมายมีความหมายที่ชัดเจนขึ้น แต่ที่ใช้อยู่ใน
และจินตนาการ ซึ่งสิ่งเหลานี้ลวนเปนวัตถุดิบ ปัจจุบันบางครั้งน�าค�าบอกจ�านวนมาไว้หน้าค�านาม โดยละค�าลักษณนาม
สําหรับการสรางสรรคงานเขียน เทียบเทากับ ตัวอย่าง
ความรู ความเขาใจในเรื่องการใชถอยคํา ■ สองดาราสาวร่วมกันบ�าเพ็ญประโยชน์เนื่องในวันวิสาขบูชา
ซึ่งผูเขียนที่ดีควรมี) ควรใช้ค�าว่า ดาราสาวสองคน แทน สองดาราสาว

46

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ประโยคสื่อสารในขอใดใชถอยคําไดถูกตอง
1 บริบท คําหรือขอความแวดลอม เพื่อชวยใหผูอานเขาใจความหมายของคํานั้นๆ
1. เธอติดตามขาวของเขาอยางไมลดราวาศอก
โดยสังเกตจากคําใกลเคียง เรียกไดอีกอยางหนึ่งวา “ปริบท”
2. ในหองนอนของนองชายคละคลุงไปดวยกลิ่นหอม
2 ชนิดของคํา คําในภาษาไทยมีหลายชนิด แตละชนิดมีลักษณะและหนาที่ 3. ใกลจะสอบแลวเธอยังจะมาปลอยตัว ปลอยใจอยูได
แตกตางกัน การใชคําใหถูกตองตรงตามหนาที่จะทําใหงานเขียนมีความถูกตอง 4. เขาไมเคารพพอแม ลูกของเขาก็เหมือนกงเกวียนกําเกวียน
เหมาะสมกับกาลเทศะ บุคคล และทําใหการสื่อสารสัมฤทธิผล เกิดผลตามที่ผูเขียน
ตั้งใจไว วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ลดราวาศอก มีความหมายวา ยอมให ผอนปรน
ไมเหมาะทีจ่ ะใชในประโยคนี้ ควรใชในรูปประโยค เชน คนเปนพีต่ อ งลดรา
วาศอกใหนองบาง ขอ 2. คละคลุง เปนคําขยาย ใชกับกลิ่นเหม็น เชน หองนี้
คละคลุงไปดวยกลิ่นขยะ ขอ 3. ปลอยตัว ปลอยใจ หมายถึง ใจแตก
ไมเหมาะที่จะใชในรูปประโยคนี้ ควรใชในรูปประโยค เชน ลูกสาวบานนี้
ปลอยตัวปลอยใจไมยอมเรียนหนังสือเลย สวนขอ 4. เปนคําอุปมา หมายถึง
เวรสนองเวร กรรมสนองกรรม ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

46 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain

1 นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
๔) ใช้คาให้
๔) ใ า� ให้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
คล ภาษาไทยเป็นภาษาทีม่ วี ฒั นธรรม การใช้คา� อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการใช
บางค�าเหมาะส�าหรับใช้กับเด็ก บางค�าเหมาะส�าหรับผู้ใหญ่ ผู้ชาย ผู้หญิง ผู้ที่มีสถานภาพทางสังคม คําในการเขียน โดยใชความรู ความเขาใจ
แตกต่างกัน ผู้เขียนควรพิจารณาว่าจะใช้อย่างไร เช่น ทีไ่ ดรบั จากการฟงบรรยาย และพืน้ ฐานหรือรองรอย
■ แม่ ให้มาถามครูว่าบ่ายวันพรุ่งนี้จะมาหาได้ไหม (ผิดกาลเทศะและสถานภาพของ ความรูเดิมของตนเอง เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ
บุคคล) ตอบคําถาม
ประโยคที่ควรใช้ คือ คุณแม่ ให้มาเรียนคุณครูว่าบ่ายวันพรุ่งนี้จะขอพบได้หรือไม่ • การใชคําในการเขียนประเภทหนึ่งๆ
■ เจ้าอาวาสก�าลังนอนหลับ (ผิดสถานภาพของบุคคล) ผูเขียนควรใชใหมีลักษณะอยางไร
ประโยคที่ควรใช้ คือ เจ้าอาวาสก�าลังจ�าวัด 2 (แนวตอบ ผูเขียนควรคํานึงถึงหลักสําคัญ
๕) ใช้ค�าให้กระชับ การใช้ค�ามากแต่สื่อความเท่าเดิม เรียกว่า ใช้ ใช้ค�าฟุ่มเฟือย ผู
ย ้เขียนควรใช้
2 ประการ คือ ใชคําใหถูกตองตามหลัก
ถ้อยค�าเท่าที่จ�าเป็น หรือใช้ค�าให้กระชับ ชัดเจน เช่น
ไวยากรณ และใชคําเพื่อสรางความรูสึก
■ เขาถูกจับฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา ใช้คา� ฟุม่ เฟือย เพราะ ฆ่า หมายถึง ท�าให้ตาย ประโยคนี้
จินตนาการ ซึ่งการใชคําใหถูกตองตามหลัก
ปรากฏค�าทีม่ คี วามหมายคล้ายกัน คือ “ฆ่า” และ “ตาย” ประโยคทีค่ วรใช้ คือ เขาถูกจับ
ฐานฆ่าคนโดยเจตนา ไวยากรณ ผูเขียนยังตองคํานึงถึงลักษณะ
■ ขายของวันนีพ้ อ่ ได้กา� ไรไม่ขาดทุน ใช้คา� ไม่กระชับ เพราะ “ไม่ขาดทุน” เป็นความหมาย การใชยอยๆ ไดแก ใชคําไดตรงกับ
ของ “ก�าไร” ประโยคที่ควรใช้ คือ ขายของวันนี้พ่อได้ก�าไร ความหมายที่แทจริง ใชคําไดตรงตามชนิด
3
๖) ใช้ค�าให้หลากหลาย ผู้เขียนควรใช้ถ้อยค�าไม่ซ�้า และรู้จักหลากค�า โดยเลือกค�าที่มี และหนาที่ของคํา ใชคําไดถูกตอง
ความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาใช้ เช่น ตามโอกาส กาลเทศะ และบุคคล
เรียบเรียงถอยคําเขาประโยคไดถูกตอง
ข้อความที่ไม่มีการหลากคÓ วางสวนขยายถูกตําแหนง สวนการใช
ฉันชอบทีจ่ ะมีชี ว่ งเวลาการได้ใช้ชวี ติ อยูค่ นเดียว เพราะการได้ใช้ชวี ติ อยูค่ นเดียว ท�าให้ฉันได้ ถอยคํา เพื่อสรางความรูสึก จินตนาการนั้น
คิดทบทวนถึงเรื่องราวทั้งสุขและทุกข์ที่ผ่านเข้ามา ฉันชอบที่ได้คิดทบทวนถึงคนดีๆ ที่ผ่านเข้ามา เปนศิลปะ ขึ้นอยูกับความสามารถ
ให้รู้จักและมีมิตรภาพยั่งยืนจนทุกวันนี้ ขณะเดียวกันฉันชอบที่ได้คิดทบทวนถึงความผิดพลาด และรสนิยมในการเลือกสรรถอยคําของ
ไม่ใช่จมอยู่กับอดีต แต่เป็นเพราะการคิดทบทวนท�าให้ฉันได้ค�าตอบว่าควรใช้ชีวิตต่อไปอย่างไร ผูเขียนแตละคน ซึ่งแสดงออกไดหลายวิธี
เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดขึ้นอีก เชน ใชถอยคําที่สื่อความหมายชัดเจน
มีความไพเราะทั้งดานเสียง ความหมาย
ข้อความที่ใช้วิธีหลากคÓ สามารถสรางภาพที่แจมชัดในจินตนาการ
ฉันชอบที่จะมีช่วงเวลาการได้ใช้ชีวิตอยู่คนเดียว เพราะการได้อยู่ตามล�าพัง ท�าให้ได้ ของผูอาน สงผลใหเกิดอารมณความรูสึก
คิดทบทวนถึงเรื่องราวทั้งสุขและทุกข์ที่ผ่านเข้ามา ฉันพอใจที่ได้ระลึกถึงคนดีๆ ที่มีโอกาสได้รู้จัก คลอยตามไปกับเนื้อหาสาระของงานเขียน)
และมีมิตรภาพยั่งยืนจนทุกวันนี้ ขณะเดียวกันฉันรู้สึกดีที่ได้พิจารณาถึงความผิดพลาด ไม่ใช่ • การเรียบเรียงคําเขาประโยคมีความสําคัญ
จมอยู่กับอดีต แต่เป็นเพราะการไตร่ตรองท�าให้ได้ค�าตอบว่าควรใช้ชีวิตต่อไปอย่างไร เพื่อไม่ให้ อยางไรตอการเขียนเพื่อการสื่อสาร
เดินซ�้ารอยเดิม (แนวตอบ หากผูเขียนปราศจากความรู
ความเขาใจเกี่ยวกับการเรียบเรียงคํา
47 เขาประโยค จะทําใหการเขียนสื่อสาร
ครั้งหนึ่งๆ ไมเปนไปตามวัตถุประสงค)

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดเปนความหมายของคําที่ขีดเสนใตในรูปประโยค “สุภาภรณชอบพูด
1 ใชคําใหเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล เปนสิ่งสะทอนใหเห็นวัฒนธรรมการใช
ใหเพื่อนๆ จี้เสนเปนประจํา”
ภาษาของคนไทยที่แสดงถึงความออนนอม การเคารพระบบอาวุโส และการใหเกียรติ
1. ทําใหขบขัน
ผูที่มีวัยวุฒิ คุณวุฒิ ชาติวุฒิสูงกวา
2. ทําใหหายเหนื่อย
3. ทําใหเครงเครียด 2 คําฟุมเฟอย เปนการใชคําที่ยืดยาว หรือมากเกินความจําเปน ซึ่งบางครั้งอาจเกิด
4. ทําใหกระวนกระวาย จากการใชคําเชื่อม หรือคําขยายมากจนเกินไป
วิเคราะหคําตอบ คําวา “จี้เสน” เปนคําที่มีความหมายโดยนัย หมายถึง 3 หลากคํา ในภาษาไทยมีการหลากคํา เพื่อใหไมใชคําคําเดียวกันสื่อสารซํ้าไปซํ้า
พูดหรือแสดงทาทางใหเกิดอารมณขัน ดังนั้นจึงตอบขอ 1. มาจนเกิดความเบื่อหนาย ซึ่งถือเปนศิลปะการใชภาษาอยางหนึ่ง

คู่มือครู 47
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
จากความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการใชถอยคํา
ในการเขียน นักเรียนรวมกันแสดงความรู ความเขาใจ ๗) ใช้ถ้อยค�าสุภาพ ผู้เขียนควรใช้ภาษาสุภาพ ประณีตในการใช้ให้เหมาะสมกั1 บบุคคลและ
และความคิดเห็นของตนเองผานขอคําถามตอไปนี้ โอกาส ค�าที่ใช้ต้องไม่หยาบ ไม่เป็นค�าด่า ค�าผวนที่มีความหมายหยาบคาย ค�ค�าสแลง
สแลง ค�าคะนอง หรือใช้
• ทักษะการเลือกใชถอ ยคําเพือ่ การเขียนสือ่ สาร ค�าภาษาต่างประเทศในการเขียนสื่อสาร เช่น “การกินอาหารให้ครบ ๕ หมู่ เป็นเรื่องที่ถูกต้อง” ผู้เขียน
เปนสิ่งที่สามารถเกิดขึ้นไดกับทุกคนหรือไม ควรเปลีย่ นค�าว่า “กิน” เป็น “รับประทาน” เพราะเป็นค�าสุภาพ ใช้ได้กบั บุคคลทุกระดับ ในรูปประโยค
แลวมีวิธีการอยางไร “การรับประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ เป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติ” 2
(แนวตอบ เปนสิ่งที่ทุกคนสามารถแสวงหา ๘) ไม่ใช้ภาษาพูดในการเขียน ภาษาพูด หรือภาษาปากมีความแตกต่างจากภาษาเขียน น
หรือสรางใหเกิดขึ้นกับตนเองได หากบุคคล ผูเ้ ขียนไม่ควรใช้ภาษาพูดในการสือ่ สารผ่านงานเขียน ยกเว้นงานเขียนบางประเภททีต่ อ้ งการความสมจริง
ของบทสนทนา เช่น ถ้าพูดว่า “จังหวัดลพบุรีบ้านของฉันเกิดน�้าท่วม ปี ๕๔” เมื่อจะเขียนสื่อสารควร
ผูน นั้ มีความเพียรพยายาม ขวนขวายหาความรู
ใช้ว่า “จังหวัดลพบุรีบ้านของข้าพเจ้าเกิดอุทกภัยในปี พ.ศ. ๒๕๕๔” หรือถ้าพูดว่า “ที่ กทม. มีคนจรจัด
นํามาฝกปฏิบัติ นอกจากนี้แลวจะตองมี
เยอะแยะ” เมื่อจะเขียนสื่อสารควรใช้ว่า “ที่กรุงเทพมหานครฯ พบคนไร้บ้านจ�านวนมาก”
โลกทัศนที่กวางไกล ดวยวิธีการศึกษา
๙) ใช้ค�าให้เกิดจินตภาพ ผู้เขียนควรใช้ถ้อยค�าที่ท�าให้ผู้รับสารเห็นภาพชัดเจน หรือเกิด
งานเขียนของผูอื่น เพื่อวิเคราะห สังเคราะห
อารมณ์ความรู้สึกคล้อยตามผู้เขียน เช่น
แนวทางการใชถอยคํา แลวนํามาปรับใช
กับงานเขียนของตน) ข้อความที่เลือกใช้คÓทÓให้เกิดจินตภาพ
• นักเรียนมีแนวทางสําหรับการฝกฝนใหตนเอง
เปนผูมีทักษะในการใชถอยคําเพื่อการเขียน ไม่ไกลกัน ลูกชายของหล่อน ซึ่งอยู่ในสภาพที่ทรุดโทรมทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่ต่างอะไร
กับนักสู้ผู้ปราชัยในการศึกยืดเยื้อนานถึงสองวันสองคืน ก�าลังลงมีดช�าแหละร่าง “แม่ค�าแป้น”
สื่อสารอยางไร ที่ไร้วิญญาณอยู่อย่างอิดโรย เนิบนาบ ปลายมีดที่กดลงไปบนหนั่นเนื้อแน่นและเหนียวแต่ละครั้ง
(แนวตอบ ตองมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ ไม่ต่างจากคมมีดที่กรีดลึกลงในจิตวิญญาณลูกผู้ชายคนเลี้ยงช้าง
ไวยากรณทางภาษา ไดแก ชนิดและหนาที่ (แม่คำ�แป้น โศกน�ฏกรรมริมฝั่งมูล: ธีรภ�พ โลหิตกุล)
ของคํา วิธีการเรียบเรียงคําเขาประโยค
ความสัมพันธทางไวยากรณระหวางคํา จากตัวอย่างผู้เขียนใช้ถ้อยค�าที่ให้ภาพชัดเจน เพื่อพรรณนาให้ผู้รับสารเห็นเหตุการณ์
ในประโยค ความหมายของคํา ศักดิห์ รือระดับ ที่เกิดขึ้นและรับรู้ถึงบรรยากาศที่โอบรอบตัวละคร
ของคํา เพื่อใหใชคํานั้นๆ ไดถูกตองกับระดับ ข้อความที่เลือกใช้คÓทÓให้เกิดจินตภาพ
ของบุคคล กาลเทศะ แตยังเปนความรูที่
ไมเพียงพอ หากผูเขียนตองการใหผูอานเกิด เฒ่าเราะบูร์อายุน้อยกว่ายาย ทว่าร่างกายแกดูไม่ได้เอาเสียเลย โครงร่างใหญ่เหมือนผู้ชาย
อารมณความรูสึกไปกับเนื้อหาสาระ หรือเกิด แต่ผอมซูบเหลือเพียงหนังหุ้มกระดูก ดวงตาลึกลงไปเหนือแก้มตอบ กลายเป็นหลุมด�าใหญ่แลดู
น่ากลัว ผมขาวโพลนปล่อยยาวเป็นกระเซิง ห่อร่างด้วยผ้าด�ามากกว่าสี่ผืน ว่ากันว่าแกเป็นแม่มด
ผลอื่นใดภายหลังการอาน ผูเขียนจะตองมี ชอบบ่นพึมพ�าด้วยภาษาประหลาดๆ บางครั้งในยามดึก หลังขังตัวเองไว้ในบ้านอันมิดชิด ไม่มี
ความรูเกี่ยวกับการเลือกใชถอยคําหรือศิลปะ หน้าต่างสักบาน มีคนได้ยินแกร้องภาษาประหลาดๆ นั้นด้วยน�้าเสียงโหยหวน
การเลือกใชคําที่มีพลัง กระทบอารมณความ (ถนนโคลีเซียม: กนกพงศ์ สงสมพันธุ์)
รูสึกของผูอาน ที่สําคัญตองมีความเพียร
จากตัวอย่างผูเ้ ขียนใช้ถอ้ ยค�าเพือ่ พรรณนาถึงเฒ่าเราะบูร ์ โดยกล่าวถึงสภาพร่างกาย การแต่งกาย
พยายามในการฝกฝนอยางแทจริง)
ลักษณะเฉพาะด้วยการเปรียบเทียบให้เห็นภาพ คือ เปรียบดวงตาที่ลึกลงไปว่าเหมือนหลุุมขนาดใหญ่
48

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ประโยคในขอใดมีวิธีการเรียงคําเขาประโยคแตกตางจากขออื่น
1 คําสแลง เปนถอยคําหรือสํานวนที่ใชกันเฉพาะกลุม และใชในระยะเวลาไมนาน
1. เนื้อหมู เนื้อปลา เนื้อไก และถั่ว ลวนใหโปรตีนแกรางกาย
เมื่อหมดความนิยมก็จะเลิกใชไป เชน ชิมิ งุงิ จาบ แอบแบว
2. สุภาษิตโบราณกลาวไววา คบคนเชนใด ยอมเปนคนเชนนั้น
2 ภาษาปาก เปนภาษาที่ใชสนทนากันระหวางบุคคลที่มีความสนิทสนม คุนเคยกัน 3. นํ้าตะไคร มะตูม กระเจี๊ยบ ตางเปนนํ้าสมุนไพรไทยพื้นบาน
เปนอยางดี โดยมีลักษณะ ดังนี้ 4. นายสมภพ นายสมเกียรติ นายสมโชค ทั้งสามคนนี้มีอาชีพเปนชาวนา
• ใชคําสแลง
• ใชคํายอ วิเคราะหคําตอบ จากตัวเลือกขอ 1., 3. และ 4. มีวธิ กี ารเรียงคําเขาประโยค
• ใชคําไมสุภาพ หรือมีวิธีผูกประโยคโดยคํานึงถึงกระชับของประโยค โดยใชคําหรือวลีมา
• ใชคําผวน ประกอบในประโยคที่มีประธานหลายประธาน ใหมีความกระชับขึ้น
• ใชคําเฉพาะกลุม สวนขอ 2. มีวิธีการผูกประโยคในลักษณะที่เรียกวา ขนานความ โดยใช
คําเชื่อมเพื่อใหประโยคมีความตอเนื่องเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ดังนั้น
จึงตอบขอ 2.

48 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนที่เปนตัวแทนของกลุมที่ศึกษา
๓ การเขียนบรรยาย ในประเด็น “การเขียนบรรยาย” ออกมา
อธิบายความรู พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล
การเขียนบรรยาย หมายถึง การเขียนเพือ่ เล่าเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ หรือให้ขอ้ มูลทีเ่ กิดขึน้ ตามล�าดับ 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
เหตุการณ์ ท�าให้ผอู้ า่ นทราบว่ามีเหตุการณ์ใดเกิดขึน้ บ้างและมีลกั ษณะอย่างไร ผ่านการใช้ภาษาทีก่ ระชับ อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ
ชัดเจน เข้าใจง่าย มักพบในงานเขียน เช่น การเขียนเล่าเหตุการณ์ การเขียนรายงานทางวิชาการ
การเขียนบรรยาย โดยใชความรู ความเขาใจ
ผู้เขียนจะต้องมีความรู้ในเรื่องที่จะเขียนบรรยายเป็นอย่างดี รู้จักน�าจุดส�าคัญมาเขียนให้มี
ที่ไดรับจากการฟงบรรยาย และพื้นฐานหรือ
ความเหมาะสมกับกาลเทศะ โดยใช้ภาษาที่กะทัดรัด ไม่ควรมีศัพท์ยาก การเรียบเรียงเรื่องควรเป็น
รองรอยความรูเดิมของตนเอง เปนขอมูล
ไปตามล�าดับไม่วกวน อาจมีตัวอย่าง ข้อเปรียบเทียบเพื่อให้เรื่องเด่นชัดขึ้นท�าให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจ
เบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
ติดตามอ่านต่อไปจนจบ
• ลักษณะสําคัญของการเขียนบรรยายที่ทําให
๓.๑ ประเภทของเรือ่ งทีใ่ ช้วธิ กี ารเขียนบรรยาย แตกตางจากการเขียนประเภทอืน่ ๆ คืออะไร
งานเขียนที่ใช้วิธีการเขียนบรรยาย แบ่งออกเป็นประเภทต่ (แนวตอบ การเขียนบรรยายเปนการเขียนเลา
1 างๆ ดังนี้
๑. ประวัติชีวิตบุคคลต่างๆ หรือเรียกว่า ชีชีวประวัติ เหตุการณหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้น
๒. ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ เพื่อใหผูอานเห็นภาพเหตุการณ ลําดับเวลา
๓. เรื่องที่แต่งขึ้น สถานที่ บุคคล การเขียนบรรยายผูเขียน
๔. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จะไมสอดแทรกความคิดเห็นสวนตัวลงไป
แตอาจมีพบบางในงานเขียนบรรยาย
๓.๒ หลักการเขียนบรรยาย ประสบการณ)
๑. เขียนเฉพาะสาระส�าคัญ โดยผู้เขียนต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จะเขียนเป็นอย่างดี หาก • นักเรียนสามารถนําแนวทางการเขียน
ไม่มีความรู้แต่จ�าเป็นต้องเขียน ควรศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือมากกว่าหนึ่งแหล่ง บรรยายไปใชในงานเขียนประเภทเรื่องเลา
เพื่อเปรียบเทียบข้อมูล จากประสบการณไดหรือไม เพราะเหตุใด
๒. ใช้ภาษาที่กระชับ ชัดเจน (แนวตอบ สามารถทําได เพราะการเขียน
๓. เรียบเรียงข้อมูล หรือความคิดที่ต้องการสื่อสารให้สอดคล้อง สัมพันธ์ และต่อเนื่องกัน เรื่องเลาจากประสบการณ คือการเขียน
บรรยายหรือเลาเรื่องที่เกิดขึ้นตามจริง
การเขียนบรรยายข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
โดยเปนประสบการณตรงของผูเขียน
‘ริ้วขบวนพระอิสริยยศ’ เชิญ ‘พระโกศพระศพ’ อาจมีการสอดแทรกความคิดเห็นไวบาง)
ในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา 3. นักเรียนศึกษาตัวอยางการเขียนบรรยาย
*
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โปรดเกล้ าฯ ให้ถือปฏิบัติตาม ขอเท็จจริงหรือเหตุการณทางประวัติศาสตร
โบราณราชประเพณีโดยก�าหนดริว้ ขบวนพระอิสริยยศเชิญพระโกศพระศพ รวม ๖ ริว้ ขบวน ดังนี้ จากหนังสือเรียนภาษาไทย หนา 49-50
ริ้วขบวนที่ ๑ เชิญพระโกศ โดยพระยานมาศสามล�าคาน จากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พิจารณาขอมูลและลักษณะของงานเขียน
ไปยังพระมหาพิชัยราชรถหน้าวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ บันทึกสิ่งที่สังเกตได เพื่อใชในกิจกรรมตอไป
* “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ” ในทีน่ หี้ มายถึง พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช โดยใชเวลาสําหรับการศึกษา 15 นาที
บรมนาถบพิตร 49

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดเปนลักษณะสําคัญของการเขียนบรรยาย
1 ชีวประวัติ หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา สารคดีชีวประวัติ เปนงานเขียนประเภท
1. การใชถอยคําเพื่อทําใหผูอานเกิดจินตภาพ
รอยแกวที่กลาวถึงเรื่องราวและพฤติกรรมของบุคคลที่มีความนาสนใจ โดยใชทักษะ
2. การใชถอยคําเพื่อทําใหผูอานเกิดอารมณสะเทือนใจ
ความสามารถทางภาษาของผูเ ขียน ผูเ รียบเรียงเพือ่ ใชเปนบทเรียนหรือสรางแรงบันดาลใจ
3. การใชถอยคําเพื่อทําใหผูอานเกิดความรู ความเขาใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ในการดําเนินชีวิตใหแกผูอาน ซึ่งการเขียนสารคดีชีวประวัติ ผูเขียนตองใชวิธี
4. การใชถอยคําเพื่อทําใหผูอานเกิดอารมณความรูสึกคลอยตามไปกับเนื้อหา
การบรรยาย อธิบาย โดยมีกลวิธีการเขียน ดังนี้
สาระ
• ผูเขียนไมควรมุงที่จะบอกวาเจาของประวัติเปนใคร แตควรชี้ใหเห็นวาเขา
วิเคราะหคําตอบ การเขียนบรรยาย หรือการเขียนอธิบายมีลักษณะสําคัญ เปนคนอยางไร ทําไมจึงเปนเชนนั้น
เชนเดียวกัน การเขียนบรรยาย คือ การเขียนเลาเหตุการณอยางตรงไปตรงมา • เขียนดวยความบริสุทธิ์ใจ ปราศจากอคติ และไมควรเขียนในลักษณะที่
การใชถอ ยคํามีลกั ษณะเฉพาะ คือ เลือกใชถอ ยคําทีก่ ระชับ ชัดเจน สือ่ ความ ยกยองเกินไป ควรแสดงใหเห็นแงมุมของชีวิตทั้งดานที่ประสบความสําเร็จ
ถูกตอง ครอบคลุม ทําใหผูอานเกิดความกระจางแจง มีความรู ความเขาใจ และลมเหลว เพื่อใหผูอานเกิดความเขาใจในโลกและชีวิต สรางแรงบันดาลใจ
ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณใดเหตุการณหนึ่ง ดังนั้นจึงตอบขอ 3. ในการดําเนินชีวิต ที่ในบางครั้งอาจจะมีปญหาหรืออุปสรรคใหตองแกไข
หากใชความเพียรพยายามในการฝาฟน ใชสติปญญาพิจารณาไตรตรอง
แกไขก็จะประสบความสําเร็จได ซึ่งเปนจุดมุงหมายสําคัญของการเขียน
สารคดีชีวประวัติ
คู่มือครู 49
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการเขียนบรรยาย หลังจากทรงประกอบพระราชพิธีภายในแล้ว นายทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์เชิญ
ขอเท็จจริงหรือเหตุการณทางประวัติศาสตร โดยใช พระโกศออกทางมุขตะวันตกลงจากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทไปประดิษฐานที่พระยานมาศ
ความรู ความเขาใจที่ไดรับจากการตั้งขอสังเกต สามล�าคานหน้าประตูก�าแพงแก้วด้านตะวันตก
เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม พระยานมาศสามล�าคานจะเคลื่อนออกทางประตูศรีสุนทร ประตูเทวาภิรมย์ เข้าประจ�า
• นักเรียนคิดวางานเขียนที่นํามาเปนตัวอยาง ริ้วขบวนพระอิสริยยศ เจ้าหน้าที่ยกสัปตปฎลเศวตฉัตรคันดาลถวายกางกั้นพระโกศ ซึ่งรูปแบบ
การจัดริ้วขบวนที่ ๑ นั้นเป็นขบวนพยุหยาตรา ๘ สาย ซ้าย ๔ สาย ขวา ๔ สาย สายกลางเป็น
มีลักษณะเปนการเขียนบรรยายอยางไร ขบวนเสลีย่ งกลีบบัวสมเด็จพระพุฒาจารย์ ประธานคณะผูป้ ฏิบตั หิ น้าทีส่ มเด็จพระสังฆราชนั * ง่ อ่าน
(แนวตอบ งานเขียนที่นํามาเปนตัวอยาง พระอภิธรรมน�า
มีลักษณะเปนการเขียนบรรยาย เพราะ ตามด้วยขบวนพระยานมาศสามล�าคาน เรียงล�าดับได้ดังนี้ นายต�ารวจขี่ม้าน�า-ผู้น�าริ้ว-ธง
เปนเหตุการณที่เกิดขึ้นจริง อีกทั้งผูเขียน ๓ ชาย-ประตูหน้า (คน)-คูแ่ ห่นายทหาร-กลองชนะ แดง เงิน ทอง-จ่าปี ่ จ่ากลอง-แตรฝรัง่ แตรงอน
ไมไดแสดงความคิดเห็นสวนตนลงไปใน สังข์-สารวัตรกลอง-สารวัตรแตร-ฉัตรเครือ่ งสูงทองแผ่ลวด ฉัตร ๕ ชัน้ ฉัตร ๗ ชัน้ -บังแทรก-พัดยศ
งานเขียน) สมณศักดิ์-เสลี่ยงกลีบบัวพระน�า-บังสูรย์-สัปทนตาด-พัดโบก-มหาดเล็กหลวงเชิญพระแสงราย
ตีน-ตอง-อินทร์ พรหมเชิญจามร-คู่เสลี่ยงกลีบบัว-ฉัตรเครื่องสูงทองแผ่ลวด ฉัตร ๗ ชั้น ฉัตร
• นักเรียนวิเคราะหวา ผูเขียนตองมีความรู
๕ ชั้น-บังแทรก หลังพระน�า
ความเขาใจในเรื่องใด จึงจะสามารถ ฉัตรเครื่องสูงปักหักทองขวางฉัตร ๗ ชั้น ฉัตร ๕ ชั้น-บังแทรกหน้า-มหาดเล็กหลวงเชิญ
ถายทอดงานออกมาไดในลักษณะขางตน พระแสงหว่างเครื่องหน้า-นายกรัฐมนตรี-เลขาธิการส�านักพระราชวัง-ผอ.กองพระราชพิธี-ผู้บอก
(แนวตอบ ผูเขียนตองมีความรู ความเขาใจ ขบวน (กรับสัญญาณ)-พระยานมาศสามล�าคาน-คูเ่ คียงพระยานมาศ-ข้าราชการพลเรือนชัน้ ผูใ้ หญ่-
ในเรื่องตอไปนี้ ทหารนายพลราชองครักษ์-ต�ารวจหลวงคูแ่ ห่-มหาดเล็กหลวงคูแ่ ห่-อินทร์เชิญต้นไม้เงิน-พรหมเชิญ
• ความรูเกี่ยวกับการใชถอยคํา โดยเฉพาะ ต้นไม้ทอง-ภูษามาลาประคองพระโกศ-พระกลด-บังสูรย์ปกั หักทองขวาง-พัดโบก-มหาดเล็กหลวง
อยางยิ่งคําราชาศัพท เชิญพระแสงรายตีนทอง-ฉัตรเครื่องสูงปักหักทองขวาง
ฉัตร ๗ ชั้น ฉัตร ๕ ชั้น-บังแทรก-ชุมสาย-มหาดเล็กหลวงเชิญพระแสงหว่างเครื่อง-พระ
• ความรูเกี่ยวกับหลักเกณฑ กลวิธีการ ประยูรญาติเชิญเครือ่ งพระอิสริยยศ-นาลิวนั -ประตูหลัง-สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎ
เรียบเรียงคําเขาประโยค เพื่อใหสื่อความ **
ราชกุมาร และสมเด็
***
จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ตามกระบวน ต่อด้วย
ไดครบถวน ชัดเจน แตไมเยิ่นเยอ พระบรมวงศานุวงศ์ ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม และครอบครัว ข้าหลวง มหาดเล็ก
• ความรูเ กีย่ วกับการพระราชพิธพี ระราชทาน และข้าราชบริพาร 1
เพลิงพระศพ เพื่อนําเสนอขอมูลไดถูกตอง) จากนั้น พระยานมาศสามล�าคานเทียบที่เกรินบันไดนาคพระมหาพิชัยราชรถ ราชรถ เชิญพระโกศ
• งานเขียนบรรยายที่นักเรียนไดศึกษาจัดเปน ประดิษฐานที่พระมหาพิชัยราชรถ สมเด็จพระพุฒาจารย์ ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จ
พระสังฆราช ขึ้นไปนั่งในบุษบกราชรถพระน�า ที่หน้าวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ
งานเขียนที่ดีหรือไม อยางไร เข้ า สู ่ ริ้ ว ขบวนที่ ๒ เชิ ญ พระโกศโดยพระมหาพิ ชั ย ราชรถจากหน้ า วั ด พระเชตุ พ น
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น วิมลมังคลารามฯ ไปยังพระเมรุ ณ มณฑลพิธที อ้ งสนามหลวง โดยแบ่งรูปแบบกระบวนออกเป็น
ไดอยางอิสระ คําตอบใหอยูในดุลยพินิจ ๓ ส่วน ได้แก่ ๑. ขบวนทหารน�า ประกอบด้วย วงโยธวาทิต ผู้บัญชาการกระบวนทหารเกียรติยศ
ของครู โดยพิจารณาจากเหตุผลที่นักเรียน ๒. ขบวนพระอิสริยยศ จะคล้ายกับริ้วขบวนที่ ๑ แต่จะใหญ่กว่าด้วยจ�านวนคน จากพระยานมาศ
ยกประกอบหรือกลาวอาง) * “สมเด็จพระสังฆราช” ในที่นี้หมายถึง สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร
** “สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร” ในที่นี้หมายถึง พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
*** “สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ในที่นี้หมายถึง สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตน
ราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
50

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
นักเรียนอานขอความตอไปนี้ แลวระบุวาเปนการเขียนที่มีวัตถุประสงค
1 พระมหาพิชัยราชรถ เปนราชรถที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
อยางไร
มหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหสรางขึ้นในพุทธศักราช 2338
“มะรุมจอมพลัง คนเรารูจักใชมะรุมเปนยารักษาโรคผิวหนัง โรคทางเดิน
เพื่อใชเชิญพระโกศพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาราชชนกออกถวายพระเพลิง
หายใจ โรคระบบทางเดินอาหาร และโรคภัยไขเจ็บอืน่ ๆ มานานหลายรอยปแลว
ณ พระเมรุมาศทองสนามหลวง ในพุทธศักราช 2339 เปนครั้งแรก จากนั้นจึงถือเปน
อีกทั้งปจจุบันยังไดรับการกลาวขวัญถึงวา อาจเปนทางออกหนึ่งในการรับมือ
ราชประเพณีที่จะนําราชรถองคนี้เปนราชรถเชิญพระโกศพระบรมศพพระมหากษัตริย
กับความอดอยากและภาวะทุพโภชนาการ พืชทนแลงที่เติบโตเร็วในอัตราสูงถึง
พระศพสมเด็จพระอัครมเหสี หรือโปรดใหเชิญพระโกศพระศพพระบรมวงศผูทรงศักดิ์
3.6 เมตรตอป ชนิดนี้มีใบอุดมไปดวยวิตามินและเกลือแร”
ชั้นสมเด็จเจาฟาบางพระองคในสมัยตอๆ มา
1. การเขียนโนมนาวใหเชื่อ 2. การเขียนเพื่อใหความบันเทิง
3. การเขียนเพื่อใหความรู 4. การเขียนเพื่อชี้แจง
วิเคราะหคําตอบ ขอความขางตนปรากฏลักษณะสําคัญ คือ ใชถอยคํา
เรียบเรียงเพื่อใหความรูเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งในที่นี้ คือ มะรุม ดังนั้น
จึงตอบขอ 3.

50 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนที่เปนตัวแทนของกลุมที่ศึกษา
เป็นพระมหาพิชัยราชรถ พระน�าจากเสลี่ยงเป็นราชรถน้อย และมีพระประยูรญาติ ราชสกุล ในประเด็น “การเขียนพรรณนา” ออกมา
ข้าราชบริพาร ปิดท้าย โดยมีส่วนที่ ๓ ขบวนทหารตาม ปิดท้ายกระบวนใหญ่ ยาตราไปตามถนน อธิบายความรู พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล
สนามไชย ถนนราชด�าเนิน เลี้ยวเข้าถนนตัดกลางท้1องสนามหลวง ราชรถเทียบเกรินบันไดนาค 2. นักเรียนรวมกันพิจารณาขอความตอไปนี้
เชิญพระโกศประดิษฐานที่พระยานมาศสามล�าคาน เพื่อเวียนพระเมรุ เพื่อวิเคราะหวาแสดงใหเห็นลักษณะสําคัญ
ริ้วขบวนที่ ๓ ขบวนเชิญพระโกศเวียนรอบพระเมรุ โดยอุตราวัฏ (เวียนซ้าย) ครบ ๓ รอบ ของการเขียนพรรณนาหรือไม อยางไร
แล้วเชิญพระโกศประดิษฐานบนพระเมรุ ริ้วขบวนนี้จะมีขนาดเล็กลง เปลี่ยนจากพระมหาพิชัย
ราชรถมาใช้ พ ระยานมาศสามล� า คานเหมื อ นริ้ ว ขบวนแรก สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ ลําคลองนั้นสะดุงคดไปตามอารมณของ
**
สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร* และสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารีี เสด็ จ ฯ กระแสนํ้าเซาะตลิ่ง...และไมนานเกินกวาเศรา
เวียนพระเมรุ ตามด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ พระประยูรญาติ ราชสกุล ข้าหลวง มหาดเล็ก และ ระทมของเปลวไฟบนดุนฟนชื้น...แดดจาน
ข้าราชบริพาร สาดทอความกราดเกรี้ยวปนลงมากับเสนแสง
ริว้ ขบวนที่ ๔ (วันอาทิตย์ที่ ๑๖ พฤศจิกายน) เชิญพระโกศพระอัฐิ โดยพระทีน่ งั่ ราเชนทรยาน พุงประสาน เปนผืนอันโปรงประณีตคลุมเวลา
และเชิญพระสรีรางคารโดยพระวอสีวิกากาญจน์ เข้าสู่พระบรมมหาราชวัง จะจัดริ้วขบวนใหญ่
กอนเที่ยงของกลางวันอําไพ กรีดโรยคมบน
คล้ายกับริ้วขบวนที่ ๒ แต่จะตัดขบวนพระน�า ทหารน�าและตามออกไป
ริว้ ขบวนที่ ๕2 (วันอังคารที่ ๑๘ พฤศจิกายน) เชิญพระอัฐปิ ระดิษฐาน ณ พระวิมาน พระทีน่ งั่ พลิ้วนํ้าที่บิดเบียด วิวาทลมคะนอง...สีนํ้าเงิน
จักรีมหาปราสาท ซึ่งจะเป็นขบวนที่เล็กลงกว่าขบวนอื่นๆ มาก แต่ยังคงใช้พระที่นั่งราเชนทรยาน ผากของฟา...เขียวขรึมของแมกไม...พงขนัด
เหมือนเดิม กอบนดินเปยกลูโอน แลเรียวกานของมัน
ริ้วขบวนที่ ๖ (วันพุธที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๑) เชิญพระสรีรางคารจากพระศรีรัตนเจดีย์ ประคองพุมปุยสยายของดอก...ตะเพียนผวา
ภายในวัดพระศรีรตั นศาสดารามฯ โดยรถยนต์พระทีน่ งั่ ไปยังอนุสรณ์สถานรังษีวฒ ั นา วัดราชบพิธ- โจนอวดเกล็ดเงิน...กุมพลิกใบ...มะเดื่อ...
สถิตมหาสีมาราม หมาก...มะกอกนํ้าและชอใบหนาของมะดัน...
(คมชัดลึก ฉบับที่ ๒๕๖๗ วันพฤหัสบดีที่ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑) มวงออนและกลีบดอกบางของผักตบ...นั้นจะ
จากตัวอย่างผู้เขียนบรรยายภาพของริ้วขบวนพระอิสริยยศเชิญพระโกศพระศพในสมเด็จ พามาถึงสะบัดไหวรื่นเริงผกผันทํานองของ
พระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยใช้ภาษาที่ให้ภาพชัดเจน แมนํ้าเจาพระยา งามเกินกวาเอกกวีผูไหนเคย
สื่อสารรายละเอียดเกี่ยวกับจ�านวนและลักษณะของแต่ละริ้วขบวน โดยล�าดับเนื้อหาตามความส�าคัญ รําพันไว
และต่อเนื่องกัน (รงค วงษสวรรค: หอมดอกประดวน)

๔ การเขียนพรรณนา (แนวตอบ ขอความขางตนแสดงใหเห็น ลักษณะ


สําคัญของการเขียนพรรณนา เพราะเปนการ
การพรรณนา หมายถึง การให้รายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ด้วยถ้อยค�า ใหรายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเรื่องใด
ที่ไพเราะ เกิดจินตภาพ เห็นความเคลื่อนไหว จ�านวน สี ขนาด และได้ยินเสียง มีจุดมุ่งหมายโน้มน้าว เรื่องหนึ่ง เชน บุคคล วัตถุ สถานที่ หรือ
อารมณ์ของผู้อ่านให้คล้อยตามและเกิดความประทับใจ เหตุการณดวยถอยคําที่มีความไพเราะ
*“สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร” ในทีน่ หี้ มายถึง พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว สรางภาพที่แจมชัดในมโนนึกหรือจินตนาการ
** “สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ในที่นี้หมายถึง สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตน ของผูอาน ทําใหเห็นความเคลื่อนไหว จํานวน

ราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
51 สี ขนาด และอาจรูสึกเหมือนกับไดสัมผัส
สิ่งนั้นๆ ดวยตนเอง)

ขอสอบ O-NET
ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับคุณสมบัติของผูเขียน นักเรียนควรรู
ผูที่จะเขียนเลาเรื่องจากจินตนาการไดอยางมีคุณคานั้น จําเปนตองมี
1 พระยานมาศสามลําคาน คานหามขนาดใหญ ทําดวยไมปดทอง ฐานประดับ
คุณลักษณะใด
รูปเทพนมและครุฑเปน 2 ชั้น มีพนัก คานหามสามคาน ใชคนหามทั้งสิ้น 60 คน
1. ยึดมั่นในกรอบปฏิบัติที่สืบตอกันมา
2. เชื่อมั่นในตนเองไมรับฟงความคิดใคร 2 พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เปนหนึ่งในหมูพระที่นั่ง ซึ่งสรางขึ้นในพระบรม
3. คิดสรางสรรค มองโลกอยางหลากหลาย มหาราชวัง ไดแก พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระที่นั่งอาภรณภิโมกขปราสาท
4. หลีกหนีสังคม ชอบอยูในโลกแหงความฝน พระทีน่ งั่ จักรีมหาปราสาท พระทีน่ งั่ มหิศรปราสาท และพระทีน่ งั่ สุทไธสวรรยปราสาท
โดยพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เปนอาคารสถาปตยกรรมแบบยุโรป หลังคาเปน
วิเคราะหคําตอบ ผูที่จะเขียนเลาเรื่องจากจินตนาการไดดี และมีคุณคานั้น
สถาปตยกรรมไทย ทรงปราสาท มี 3 ยอด
จําเปนตองมีคุณสมบัติที่โดดเดนในเรื่องความคิดสรางสรรค มีมุมมองในการ
มองโลกและชีวิตอยางหลากหลาย ไมยึดมั่นอยูกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือกับตนเอง
มากเกินไป จนกลายเปนการหลีกหนีสังคม ดังนั้นจึงตอบขอ 3.

คู่มือครู 51
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
ความรูแ บบโตตอบรอบวงเกีย่ วกับการเขียนพรรณนา ๔.๑ ประเภทของเรือ่ งทีใ่ ช้วธิ กี ารเขียนพรรณนา
โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟง งานที่ใช้วิธีการเขียนพรรณนา แบ่งออกได้ ดังนี้
บรรยาย และพื้นฐานหรือรองรอยความรูเดิมของ ๑. การพรรณนาบุคคล ผู้เขียนควรสังเกตรูปร่าง หน้าตา ลักษณะท่าทาง เพื่อค้นหาบุคลิก
ตนเอง เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม ลักษณะเฉพาะของบุคคลมาเป็นข้อมูลในการพรรณนา
• ทักษะการเขียนพรรณนามีประโยชนตอการ ๒. การพรรณนาสถานที ่ ผูเ้ ขียนควรสังเกตลักษณะของสถานที ่ ต�าแหน่งทีต่ งั้ เหตุการณ์ทที่ า� ให้
สรางสรรคงานเขียนอยางไร ประทับใจ เพื่อน�ามาเป็นข้อมูลในการพรรณนาแล้วล�าดับความให้เหมาะสม
(แนวตอบ ทักษะการเขียนพรรณนามีประโยชน ๓. การพรรณนาธรรมชาติ ผูเ้ ขียนควรสังเกตทิวทัศน์ บรรยากาศ สิง่ มีชวี ติ และไม่มชี วี ติ โดยรอบ
ตอการสรางสรรคงานเขียนประเภทอื่นๆ น�ามาเป็นข้อมูลในการเขียน ใช้ถ้อยค�าที่เร้าความรู้สึก ประสาทสัมผัสของผู้รับสาร
โดยเฉพาะอยางยิ่งงานเขียนประเภท ๔. การพรรณนาเหตุการณ์ ผู้เขียนควรสังเกตลักษณะเด่นของเหตุการณ์ เช่น ความส�าคัญ
บันเทิงคดี เชน นิทาน เรื่องสั้น นิยาย ความประทับใจ ผลกระทบ และควรใช้การบรรยายประกอบให้เนื้อเรื่องชัดเจน
เพราะการเขียนพรรณนาเปนการให ๔.๒ หลักการเขียนพรรณนา
รายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เรื่องใด ๑. วิเคราะห์สิ่งที่จะพรรณนาทั้งภาพรวมและรายละเอียด
เรื่องหนึ่ง ซึ่งงานเขียนประเภทดังกลาว ๒. กล่าวถึงลักษณะเด่นตามล�าดับความส�าคัญ เช่น กล่าวพรรณนาสถานที่ ควรเริ่มจากที่ตั้ง
ขางตน ผูเขียนตองใหรายละเอียดที่แจมชัด ทิวทัศน์ บรรยากาศโดยรอบ
เพื่อสรางจินตภาพใหเกิดขึ้นแกผูอาน
หากงานเขียนขาดกระบวนความพรรณนา การเขียนพรรณนาสถานที่
อาจทําใหงานเขียนนั้นๆ ขาดความแจมชัด เครื่องตกแต่งในห้องเป็นไม้สลักสีน�้าตาลเข้ม ขัดขึ้นเงาเกือบทุกชิ้น สลับโลหะทองเหลือง
ในรายละเอียด) สุกสว่าง แจกันทองเหลืองปักดอกไม้สดดอกใหญ่จัดเป็นพุ่มกระจาย พื้นไม้มันวับสะอาด ปูด้วย
• การเขียนพรรณนาเปนศิลปะการใชถอยคํา หนังเสือดาวผืนใหญ่ กางเรียงต่อกันหลายผืน 1
ที่มีลักษณะอยางไร (ดอกแก้วก�ระบุ
ระบุหนิง: แก้วเก้��))
(แนวตอบ การเขียนพรรณนานับเปนศิลปะ จากตัวอย่าง ผู้เขียนพรรณนาถึงห้องๆ หนึ่ง ภายในประกอบด้วยของตกแต่ง โดยเริ่มพรรณนา
เพราะผูเขียนหรือผูถายทอดจะตองเลือกใช จากเครื่องเรือนที่ท�าด้วยไม้ ไล่เรียงไปที่พื้น พรม เป็นการพรรณนาไปตามล�าดับการมองเห็น
ถอยคําใหมีลักษณะ ดังตอไปนี้ ๓. กล่าวถึงลักษณะประกอบของสิง่ ทีพ่ รรณนาให้สอดคล้องกับลักษณะเด่น เช่น พรรณนาบุคคล
• ผูเขียนตองเลือกใชถอยคําใหมีความ หากกล่าวถึงลักษณะเด่น คือ ใบหน้า ควรพรรณนาให้เห็นส่วนประกอบอืน่ เพือ่ แสดงให้เห็นว่าเด่นอย่างไร
เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ และองคประกอบ
การเขียนพรรณนาบุคคล
อื่นๆ ของงานเขียน
• ผูเขียนตองเลือกใชถอยคําเพื่อสรางภาพ ฟักมีโอกาสเพ่งพิศหล่อนอย่างเต็มตาคราวนีเ้ อง ดวงหน้าอิม่ กลมเหมือนตอนเด็กๆ นัน้ บัดนี้
ใหผูอานหรือผูรับสารสามารถจินตนาการ เมื่อเข้าสู่วัยสาวค่อยเรียวลงบ้างจนเป็นรูปไข่ แต่ก็ยังอิ่มเปล่งปลั่งเหมือนเดือนเต็มดวงอยู่นั่นเอง
ถึงสิ่งที่ผูเขียนถายทอดไดโดยงาย ล้อมด้วยกรอบผมหนาดกด�าเป็นมันขลับยาวสยายถึงบ่า ผิดไปจากสาวๆ ชาวเมืองทั้งปวงที่ไว้
• ผูเขียนตองเลือกใชถอยคําอยางประณีต ผมสั้นแค่ท้ายทอยคล้ายผมผู้ชาย
บรรจง จัดวางถอยคําใหเกิดเสียงไพเราะ
ชวงจังหวะที่เหมาะสมลงตัว เกิดเปน 52
ทวงทํานองของงานเขียนเรื่องนั้นๆ)

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
1 แกวเกา เปนนามปากกาของ รองศาสตราจารย ดร.คุณหญิงวินิตา ดิถียนต นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับกลวิธีการใชภาษาเพื่อสรางภาพพจน จากนั้นให
นักประพันธนวนิยายไทยผูมีชื่อเสียงและผลงานมากมาย เชน นํ้าใสใจจริง เบญจรงค ฟงบทเพลงเทพธิดาดอย หรืออาจเปนบทเพลงอืน่ ทีป่ ระทับใจ เพือ่ วิเคราะห
หาสี รัตนโกสินทร เรือนไมสีเบจ เสนไหมสีเงิน เปนตน ไดรับการยกยองใหเปนศิลปน วาผูเขียนมีวิธีการใชถอยคําอยางไร ในการสรางภาพพจนใหเกิดขึ้นแก
แหงชาติ สาขาวรรณศิลป ประจําป 2547 โดยนามปากกาของทานมีหลากหลาย ดังนี้ ผูอาน นําขอมูลมาแลกเปลี่ยนเพื่อจัดปายนิเทศรวมกันภายในชั้นเรียน
• ว.วินิจฉัยกุล
• รักรอย
• ปารมิตา
• วัสสิกา
กิจกรรมทาทาย
• อักษรานีย
นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับกลวิธีการใชภาษาเพื่อสรางภาพพจน จากนั้นให
เลือกอานงานบันเทิงคดีประเภทใดก็ได แลวคัดลอกขอความที่มีลักษณะ
การใชภาษาเพื่อสรางภาพพจน จํานวน 10 ขอความ โดยมีแหลงที่มา
ไมซํ้ากัน เขียนอธิบายลักษณะการใช นําขอมูลมาแลกเปลี่ยนเพื่อจัดปาย
นิเทศรวมกันภายในชั้นเรียน
52 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนใชความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการ
แม่เพ็งห่มสไบสีครามอ่อนรับกับผิวเนื้อเหลืองนวลละอองตลอดตั้งแต่ช่วงบ่าลงมาจนถึง เขียนบรรยายและการเขียนพรรณนา ทําแบบวัดฯ
ล�าแขนที่กลมเรียวราวกับกลึง หล่อนไม่ได้ประดับเครื่องถนิมพิมพาภรณ์เพราะว่าอยู่บ้าน แต่ว่า ภาษาไทย ม.2 ตอนที่ 2 หนวยที่ 2 กิจกรรม
รูปโฉมของหล่อนนั้นใสกระจ่างยิ่งกว่าอัญมณีเนื้อใสใดๆ ทั้งสิ้น ตามตัวชีว้ ดั กิจกรรมที่ 2.1
(รัตนโกสินทร์: ว. วินิจฉัยกุล)
ใบงาน ✓ แบบวัดฯ แบบฝกฯ
จากตัวอย่าง ผู้เขียนพรรณนาถึงหญิงสาวโดยเรียงล�าดับจากใบหน้า เส้นผม การแต่งกาย สีผิว ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 2.1
และกล่าวถึงลักษณะประกอบที่สัมพันธ์ส่งเสริมลักษณะเด่น เช่น ลักษณะเด่นคือ เส้นผมหนา ลักษณะ เรื่อง โวหารในการเขียน
ประกอบ คือ ดกด�า เป็นมัน และยาวสยาย
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
๔. เลือกใช้ถอ้ ยค�าทีใ่ ห้ภาพชัดเจน โดดเด่นทัง้ ความหมายและเสียง เช่น การใช้คา� นาม ค�ากริยา กิจกรรมที่ ๒.๑ ใหนักเรียนพิจารณาขอความที่กําหนดให แลวระบุโวหาร
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
õ
และค�าวิเศษณ์ เป็นต้น ซึ่งควรใช้ให้สอดคล้องกับเนื้อความ ที่ใชในขอความใหถูกตอง (ท ๒.๑ ม.๒/๒)

๑. ตัวเวตาลมีลกั ษณะดังนี้ ศพนัน้ ลืมตาโพลน ลูกตาสีเขียวเรืองเรือง ผมสีนาํ้ ตาล หนาสีนาํ้ ตาล


ตัวผอม เห็นซี่โครงเปนซี่ๆ หอยหัวลงมาทํานองคางคาว แตเปนคางคาวตัวใหญที่สุด
การเขียนพรรณนาเหตุการณ์ บรรยายโวหาร
............................................................................................................................................................

๒. ผมสังเกตเห็น แสงทอดเงาจันทรเต็มดวง ทีเ่ คลือ่ นขึน้ สูงเหนือหนาผาสูงชัน ริมแสงนวลอาบ


เดือนตกไปแล้ว ดาวแข่งแสงขาว ยิบๆ ยับๆ เหมือนเกล็ดแก้วอันสอดสอยร้อยปักอยูเ่ ต็มผ้าด�า ขุนเขาเปนสีเงินยวง ระลอกคลื่นสงประกายวิบวับบนผืนนํ้า
พรรณนาโวหาร
ผืนใหญ่ วูบวาบวิบวับส่องแสง ใหญ่แลน้อย ใกล้แลไกล บางดวงแสงหนาวดูเย็นนิง่ บางดวงกะพริบ ............................................................................................................................................................

๓. องคพระที่นั่งไมสักงดงามตระหงานรอเราอยูทามกลางหมูแมกไมรมรื่น ไดยินเสียงนกรอง
พร่างพร้อย ดั่งดาวใหญ่น้อยแย้มยิ้มหยอกเอินกัน แววมาจากยอดจามจุรีตนใหญ ที่แผกิ่งกานสาขารมครึ้ม สายลมเย็นพัดพลิ้ว ระลอกนํ้า ฉบับ
สีเขียวประหลาดลอเปลวแดดเลนอยูระยิบระยับ
เฉลย

(เจ้�จันท์ผมหอม นิร�ศพระธ�ตุอินทร์แขวน: ม�ล� คำ�จันทร์) พรรณนาโวหาร


............................................................................................................................................................

๔. ปราสาทเขาพระวิหารตั้งอยูบนทิวเขาพนมดงรัก ซึ่งกั้นแบงเขตระหวางประเทศกัมพูชากับ
จากตัวอย่าง ผู้เขียนพรรณนาถึงท้องฟ้ายามค�่าคืน เมื่อดวงเดือนตกไปแล้ว ดาวดวงเล็กๆ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ปราสาทเขาพระวิหารเปนศาสนสถานขอม ซึ่ง
สรางขึ้นระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๘ มีประตูซุม (โคปุระ) และบันไดศิลาเดินขึ้นไปยัง
ก็เปล่งแสงแข่งกัน โดยเลือกใช้ค�าซ�้าและการหลากค�า เพื่อเน้นความหมาย สร้างอาการเคลื่อนไหวของ ศาสนสถานหลังกลาง ซึ่งเปนเทวาลัยสรางถวายพระอิศวร
บรรยายโวหาร
............................................................................................................................................................

ดวงดาว ท�าให้ผู้รับสารเกิดจินตภาพชัดเจน รู้สึกว่าได้เห็นด้1วยตาของตนเอง ๕. เดือนตกไปแลว ดาวแขงแสงขาวยิบๆ ยับๆ เหมือนเกล็ดแกวอันสอดสอยรอยปกอยูเ ต็มผาดํา


ผืนใหญ วูบวาบวิบวับสองแสง ใหญแลนอย ใกลแลไกล บางดวงแสงหนาวดูเย็นนิ่ง บางดวง
๕. เลือกใช้คา� หรือกลุม่ ค�าทีเ่ รียกว่า ภาษาภาพพจน์
ภาษาภาพพจน์ ท�าให้ผรู้ บั สารมองเห็นภาพและเร้าอารมณ์ กะพริบพรางพรอย ดั่งดาวใหญนอย แยมยิ้มหยอกเอินกัน

ความรูส้ กึ ให้คล้อยตามไปกับเรือ่ งราว เช่น ใช้การเปรียบเทียบ การสมมติให้สงิ่ ไม่มชี วี ติ แสดงกิรยิ าอาการ พรรณนาโวหาร
............................................................................................................................................................

ได้เหมือนมนุษย์ การใช้ค�าเลียนเสียงธรรมชาติ ๒๕

การเขียนพรรณนาธรรมชาติและความรู้สึก
ลมระรวยรืน่ หอมนานาบุหงาลดาวัลย์ เป็นกลิน่ ของดอยดงพงชัฏประหลาดลีล้ บั ชวนละเมอ ขยายความเข้าใจ Expand
เพ้อฝัน ป่าโปร่งประกอบด้วยไม้เบญจพรรณ มีกอไผ่ปา่ มากมาย กาบยังเป็นสีนา�้ ตาลเข้ม ชูลา� สลับ
นักเรียนใชความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการ
สล้าง ละม้ายปรายหอกปลายทวนของทแกล้วทหาญดึกด�าบรรพ์ ซุ่มอยู่รอโห่ร้องตะลุยเศอก
เขียนบรรยายและการเขียนพรรณนาสรางสรรค
เอาฤกษ์เอาชัย แต่เราผู้ปราชัยยังเหม่อมองไปทุกค่าคบไม้สูง ยูงยางกร่างไกร มะค่าจ�าปาป่าและ
งานเขียนจํานวน 2 ชิ้น ดังนี้
ที่ไม่รู้จักก็มากมาย มีกล้วยไม้ประหลาด ผลิดอกประดับไว้ประดุจถนิมพิมพาภรณ์ของป่าชัฏ
ตรงกันข้ามกับป่าช้าแห่งหัวใจเราอันประดับด้วยความว่างเปล่า วิเวกและวังเวง • การเขียนบรรยายประวัติสวนตัวของตนเอง
(บันทึกของจิตรกร: อังค�ร กัลย�ณพงศ์) • การเขียนพรรณนาความงดงาม
ของธรรมชาติ
53 โดยงานเขียนทั้งสองประเภทมีความยาว
ไมเกิน 1 หนากระดาษ A4

ขอสอบเนน การคิด
แนว NT O-NE T นักเรียนควรรู
รูปประโยคในขอใดใชถอยคําเพื่อสรางภาพพจนไดชัดเจนที่สุด
1 ภาพพจน หรือ “การใชภาษาภาพพจน” คือ กลวิธีการใชภาษาเพื่อใหเกิด
1. ผมไมใชพระอิฐพระปูน
ภาพขึ้นภายในใจของผูอาน ใหความหมายที่ชัดเจน มีพลัง มีนํ้าหนัก มีความเขมขน
2. เขามีเพชรอยูในมือแทๆ
เขมขลัง สามารถโนมนาวจิตใจของผูอาน หรือทําใหเกิดสภาวะสะเทือนอารมณ
3. ถํ้าแหงนี้เต็มไปดวยหินงอกหินยอย
หรือสะเทือนใจ เปนการใชถอยคําใหตางไปจากการเขียนสื่อสารธรรมดา
4. ธรรมชาติรอบขางโศกสลดหมดความคะนองทุกสิ่ง
กลวิธีที่จะทําใหเกิดภาพขึ้นภายในใจของผูอานสามารถกระทําไดหลายวิธี เชน
วิเคราะหคําตอบ การใชภาษาภาพพจน คือ กลวิธีการใชถอยคําเพื่อ • อุปมา เปนการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งวาเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง
สรางภาพใหเกิดขึ้นภายในใจของผูอาน เกิดอารมณ ความรูสึกซาบซึ้งไปกับ • อุปลักษณ เปนการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเปนอีกสิ่งหนึ่ง
เนื้อหาสาระของงานเขียน จากตัวเลือกรูปประโยคที่สามารถใชถอยคํา • บุคลาธิษฐาน เปนการสมมติสิ่งที่ไมมีชีวิตใหมีกิริยา อาการมีชีวิตเหมือน
เพือ่ สรางภาพใหเกิดขึน้ ภายในใจของผูอ า นไดชดั เจนทีส่ ดุ คือ ขอ 4. โดยเปน มนุษย
การใชภาพพจนแบบบุคลาธิษฐาน หรือการใชถอยคําเพื่อใหสิ่งที่ไมใชมนุษย • อติพจน เปนการกลาวเกินความเปนจริง
สิ่งที่ไมมีชีวิต เชน วัตถุ สิ่งของ สามารถแสดงอากัปกิริยาไดเชนเดียว • สัทพจน เปนการเลียนเสียงธรรมชาติ เชน เสียงรองของสัตว เสียงดนตรี
กับมนุษย ดังนั้นจึงตอบขอ 4. เสียงลม เสียงนํ้า

คู่มือครู 53
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Elaborate Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอนดวยวิธีการ
ตั้งคําถาม จากตัวอย่าง ผู้เขียนพรรณนาถึงความต่างระหว่างป่ากับจิตใจของผู้เขียนที่มีแต่ความเงียบ
• เรียงความเปนงานเขียนที่มีลักษณะสําคัญ และวังเวง ในข้อความปรากฏภาพพจน์เปรียบเทียบ เช่น เปรียบกอไผ่เหมือนดาบของทหาร เปรียบ
อยางไร ดอกกล้วยไม้ซึ่งมีสีสันสดใสว่าเหมือนเครื่องประดับของป่า
(แนวตอบ เรียงความเปนงานเขียนที่แสดง ๕ การเขียนเรียงความ
ความคิด ความรู และจินตนาการของผูเขียน 1
สูผูอาน โดยเลือกใชภาษาที่ถูกตองตาม เรียงความ เป็ เป็นงานเขียนร้อยแก้วทีผ่ เู้ ขียนมุง่ ถ่ายทอดเรือ่ งราว
งราว ความรู ้ ความคิด ทัศนคติทมี่ ตี อ่
หลักไวยากรณ ในขณะเดียวกันก็คํานึงถึง เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผ่านโครงเรื่องที่ก�าหนดไว้และส�านวนภาษาที่เรียบเรียงขึ้นอย่างมีแบบแผน
ความไพเราะ สละสลวย มีศิลปะในการ ในการเขียนเรียงความผู้เขียนจะต้องวางโครงเรื่อง ค้นคว้าข้อมูล จัดเรียงล�าดับความคิด
เรียบเรียง เนื้อหามีความสมบูรณนาอาน ให้สัมพันธ์กับหัวเรื่อง เพื่อให้สื่อสารได้ตรงตามจุดประสงค์ เรียงความหนึ่งๆ ประกอบด้วยข้อความ
หลายย่อหน้า ข้อความหลายๆ ย่อหน้านั้นมีจุดมุ่งหมายเดียวกันเพื่อให้ข้อเท็จจริง ความรู้ ข้อคิด
มีองคประกอบครบถวน ไดแก คํานํา
หรือท�าให้ผู้อ่านรู้สึกคล้อยตาม
เนื้อเรื่อง และสรุป โดยเรียงความเรื่องหนึ่งๆ
จะตองมีความเปนเอกภาพ สัมพันธภาพ ๕.๑ องค์ประกอบของเรียงความ
และสารัตถภาพ) เรียงความมี2 องค์ประกอบที่ส�าคัญ คือ ค�าน�า เนื้อเรื่อง และสรุป
๑) ค�าน�า อยู่ส่วนต้นของเรียงความ เป็นส่วนแรกที่เกริ่นน�าให้ผู้อ่านทราบว่าเรียงความ
ส�ารวจค้นหา Explore เรื่องนี้จะกล่าวถึงอะไร จึงต้องเขียนค�าน�าให้กระชับ กระตุ้นความสนใจของผู้อ่านด้วยวิธีการต่างๆ
เช่น ยกค�าคม สุภาษิต บทร้อยกรองที่สอดคล้องกับเนื้อหา
ครูทําสลากเทากับจํานวนนักเรียนภายใน
๒) เนือ้ เรือ่ ง เป็นองค์ประกอบทีส่ า� คัญทีส่ ดุ เพราะบรรจุเนือ้ หาสาระทีผ่ เู้ ขียนต้องการสือ่ สาร
ชัน้ เรียน โดยเขียนหมายเลข 1, 2 และ 3 ในจํานวน จะมีกี่ย่อหน้าก็ได้ขึ้นอยู่กับขนาดของเรื่อง เรียงความที่ดีจะต้องมีเอกภาพ คือ เนื้อหาไปในทิศทาง
เทาๆ กัน หรือเฉลี่ยตามความเหมาะสม พรอมระบุ เดียวกันและไม่กล่าวนอกเรือ่ ง มีสมั พันธภาพ คือ เนือ้ หาเชือ่ มโยงสัมพันธ์กนั ตลอดทัง้ เรือ่ ง วางโครงเรือ่ ง
ขอความในแตละหมายเลข จากนั้นใหแตละคน และจัดย่อหน้าไปตามล�าดับ และมีสารัตถภาพ คือ เนื้อหาสาระสมบู รณ์ตลอดทั้งเรื่อง แต่ละย่อหน้า
ออกมาจับสลาก ดังนี้ 3
มีประโยคใจความส�าคัญที่ชัดเจนและมีประโยคขยายความที่มีน�้าหนัก ช่วยให้ประโยคใจความส�าคัญ
หมายเลข 1 องคประกอบของเรียงความ มีความสมบูรณ์ ผู้อ่านเข้าใจวัตถุประสงค์ของผู้เขียนได้เป็นอย่างดี
หมายเลข 2 วิธีการเขียนองคประกอบ ๓) สรุป ใช้เพือ่ ปิดเรือ่ ง เป็นการฝากข้อคิด ความรู ้ ความประทับใจไว้แก่ผู้อ่าน การเขียนสรุป
ของเรียงความ ท�าได้หลายวิธี โดยผู้เขียนต้องเลือกให้เหมาะสมและเกี่ยวข้องกับเนื้อเรื่อง เช่น สรุปด้วยค�าถาม ข้อคิด
หมายเลข 3 ขั้นตอนการเขียนเรียงความ สุภาษิต บทร้อยกรอง อย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้เขียนไม่ควรให้รายละเอียดเพิ่มเติม แต่ต้องเขียนเพื่อเน้น
นักเรียนที่จับสลากไดหมายเลขเหมือนกันให สาระส�าคัญของเรียงความ
อยูกลุมเดียวกัน เพื่อรวมกันสืบคนความรูจากแหลง
ขอมูลตางๆ ที่เขาถึงได และมีความนาเชื่อถือ ๕.๒ การเขียนเรียงความจากประสบการณ์โดยใช้ผงั ความคิด
การเขียนเรียงความจากประสบการณ์โดยใช้ผังความคิด หมายถึง การที่ผู้เขียนน�าความรู้
อธิบายความรู้ Explain และประสบการณ์ที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งมาจัดล�าดับเค้าโครงความคิด เพื่อเป็นแนวทางในการเขียน ท�าให้
งานเขียนเกิดเอกภาพ สัมพันธภาพ และสารัตถภาพ โดยสร้างแผนภาพให้เห็นเป็นรูปธรรม
นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 1, 2
และ 3 สงตัวแทนออกมาอธิบายความรูในประเด็น 54
ที่กลุมของตนเองไดรับมอบหมาย พรอมระบุแหลง
ที่มาของขอมูล
ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดกลาวถึงองคประกอบของเรียงความไดถูกตอง
1 งานเขียน โดยทั่วไปจะมีองคประกอบสําคัญ 3 สวน ไดแก เนื้อหา ภาษา
1. เนื้อหา ภาษา รูปแบบ
และรูปแบบ โดยเนื้อหาหรือเนื้อเรื่อง คือ สิ่งที่ผูเขียนตองการใหผูอานรับทราบ
2. สวนตน สวนกลาง สวนทาย
ภาษา คือ ถอยคํา สํานวนโวหารที่ผูเขียนไดปรุงแตงขึ้นใหมีความแตกตางไปจาก
3. สวนคํานํา สวนเนื้อเรื่อง สวนสรุป
ถอยคําที่ใชสื่อสารกันในชีวิตประจําวัน เพื่อใชถายทอดเนื้อหาสาระ และรูปแบบของ
4. สวนคํานํา สวนเนื้อเรื่อง สวนทาย
งานเขียน เชน รอยแกว รอยกรอง โดยผูเขียนจะเลือกใชรูปแบบและภาษาที่เหมาะสม
ในการถายทอดเนื้อหาสาระไปสูผูอาน เรียงความจึงจัดเปนงานเขียนรูปแบบหนึ่ง วิเคราะหคําตอบ เนื้อหาสาระของเรียงความเรื่องหนึ่งๆ ประกอบดวย
โดยมีเนื้อหาสาระแบงออกเปน 3 สวน ไดแก คํานํา เนื้อเรื่อง และสรุป สวนสําคัญ 3 สวน ไดแก สวนคํานํา สวนเนือ้ เรือ่ ง และสวนสรุป ซึง่ ไมได
2 คํานํา คือ สวนเปดเรื่องที่ดึงดูดความสนใจของผูอาน การเขียนคํานําที่ดี หมายความวา เรียงความจะตองมีเพียง 3 ยอหนาใหญ เรียงความเรือ่ งหนึง่ ๆ
และมีความนาสนใจจะจูงใจใหผูอานอานเรียงความเรื่องนั้นๆ ตั้งแตตนจนจบ จะมีกยี่ อ หนาก็ได แตยอ หนาเล็กๆ เหลานัน้ ตองมีความสัมพันธกบั ยอหนาใหญ
เชน เรียงความเรือ่ งนี้ อาจจะมีสว นคํานํา 2 ยอหนา แตสองยอหนานีต้ อ งมี
3 ประโยคขยายความ งานเขียนเรือ่ งหนึง่ ๆ ผูเ ขียนตองใหความสําคัญกับการลําดับ ลักษณะเนือ้ ความอยูในสวนของยอหนาคํานํา ดังนั้นจึงตอบขอ 3.
ประโยค ตองพิจารณาวาควรใชประโยคใดนํา ประโยคใดขยายความ และเรียงลําดับ
ใหมีความสัมพันธกันตลอดจนจบทั้งเรื่อง จะทําใหไดงานเขียนที่มีคุณภาพ

54 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
การสรางแผนภาพความคิด ผูเขียนตองกําหนดวาจะเขียนเรื่องอะไร ควรมีเนื้อหาอะไรบาง อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ
แลวจดประเด็นความคิดเปนขอๆ โดยมีแนวทางวาประเด็นที่คลายกันใหอยูกลุมเดียวกัน จากนั้นจึง กระบวนการสรางสรรคงานเขียนประเภท
จัดลําดับความคิดเพื่อใหเรื่องสอดคลองกันตั้งแตตนจนจบ พิจารณาทบทวนเคาโครงเรื่องที่เขียนวา เรียงความ โดยใชความรู ความเขาใจที่ไดรับจาก
ครอบคลุมและมีประเด็นความคิดครบถวนหรือไม จากนั้นจึงนําเคาโครงความคิดที่วางไวมาสรางเปน การฟงบรรยาย และพืน้ ฐานหรือรองรอยความรูเ ดิม
ผังความคิด การใชผังความคิดนี้สามารถนํ
1 าไปใชเปนแนวทางในการเขียนเรียงความไดดี ของตนเอง เปนขอมูลเบือ้ งตนสําหรับตอบคําถาม
ตัวอยาง การเขียนเรียงความเรือ่ ง “ครูดที ฉี่ นั ประทับใจ” ตองจัดลําดับความคิดเพือ่ ทําเคาโครง • คํานํามีความสําคัญอยางไรตอเรียงความ
และเขียนเรื่องตามเคาโครง ดังนี้ เรื่องหนึ่งๆ และมีวิธีการเขียนอยางไร
๑) ระดมความคิด อาจคิดคนเดียวหรือชวยกันคิด เพื่อรวบรวมความรู ความคิดเกี่ยวกับ (แนวตอบ มีความสําคัญในการเปดประเด็น
หัวขอที่จะเขียนใหไดมากที่สุดกอน เชน กระตุนใหผูอานเกิดความกระหายใครรู
ที่จะติดตามอานตอไป การมีความรู
ความเขาใจเกี่ยวกับกลวิธีการเขียนคํานํา
ขอมูลของครู เชน ชื่อ วิชาที่สอน จึงเทากับเปนใบเบิกทางความสนใจของ
ผูอาน ซึ่งการเขียนสวนคํานําของเรียงความ
สามารถทําไดหลายวิธี เชน นําดวยการ
ความสําเร็จของลูกศิษย ความหมายคําวา “ครู” ตั้งคําถาม ยกสํานวน สุภาษิต คําพังเพย
คําคม บทกวี ขาว เหตุการณ เปนตน)
• สวนเนื้อเรื่องมีความสําคัญอยางไร
ตอเรียงความ
(แนวตอบ เปนสวนบรรจุเนื้อหาสาระ ความรู
ความคิด จินตนาการของผูเขียนไปสูผูอาน)
ความสําคัญของครู ครูดีที่ วิธกี ารสอน • เรียงความเรื่องหนึ่งๆ สามารถนําเสนอ
ฉันประทับใจ เนื้อหาในลักษณะใดไดบาง
(แนวตอบ เนื้อหาสาระของเรียงความ
เรื่องหนึ่งๆ ไมจําเปนตองมีขอมูลที่เปนจริง
ทั้งหมด ผูเขียนอาจเขียนจากจินตนาการ
หรือความรูสึก เชน เรียงความเรื่องบาน
ความรูสึกประทับใจที่มีตอครู ความกตัญูตอครู ในฝนของขาพเจา แตถาเปนเรียงความที่มี
ขอมูลที่เปนจริง ผูเขียนจะตองแสดงความรู
ความคิดเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ อยางแจมแจง
ดังนั้น ลักษณะเนื้อหาของเรียงความจึงอาจ
เปนการถายทอดความรูส กึ นึกคิด จินตนาการ
๕๕ โลกทัศนของผูเขียนหรือความรู)

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
หัวขอใดมีความจําเปนนอยที่สุดตอการวางโครงเรื่องเรียงความ “ครูดีที่ฉัน
1 การเขียนเรียงความ การสรางสรรคงานเขียนประเภทเรียงความใหผูอาน
ประทับใจ”
ประทับใจหรือเกิดอารมณ ความรูสึกซาบซึ้ง คลอยตาม ผูเขียนจะตองมีความรู
1. วิธีการสอนในชั้นเรียนของครู
ความเขาใจ และทักษะความสามารถในการใชโวหารเรียบเรียงเนื้อหาสาระ
2. ประวัติชีวิตในชวงวัยเด็กของครู
ซึ่งโวหารที่ใชสําหรับการสรางสรรคงานเขียน ไดแก บรรยายโวหาร เปนโวหาร
3. ความเมตตากรุณาของครูที่มีตอศิษย
ที่เหมาะสําหรับการเลาเรื่อง อธิบายเรื่องราวตามลําดับเหตุการณ พรรณนาโวหาร
4. ผลงานทางวิชาการที่ไดรับการยอมรับ
เปนโวหารทีเ่ หมาะสําหรับการใหรายละเอียด ทําใหผอู า นเกิดอารมณ ความรูส กึ ซาบซึง้
วิเคราะหคําตอบ การระดมความคิดเพื่อกําหนดหัวขอแลวนํามาวาง เพลิดเพลิน เทศนาโวหาร เปนโวหารที่มีจุดมุงหมายเพื่อแสดงความแจมแจง มุงชักจูง
โครงเรื่องมีความจําเปนตอการเขียนเรียงความ เพราะทําใหสามารถเรียบเรียง ใหผูอานคลอยตามอารมณ ความรูสึกของผูเขียน อุปมาโวหาร เปนโวหารเปรียบเทียบ
เนื้อหาไดตรงกับจุดมุงหมายของเรื่อง มีความสอดคลองกับชื่อเรื่อง แตละ เพื่อใหเกิดความชัดเจนดานความหมาย ภาพ สาธกโวหาร เปนโวหารที่มุงใหความ
หัวขอมีสัมพันธภาพระหวางกัน จากตัวเลือกที่กําหนดให หัวขอที่มีความ ชัดเจน ดวยวิธีการยกตัวอยางเพื่ออธิบายหรือสนับสนุนความคิดเห็นของผูเขียนใหมี
สัมพันธกับหัวขออื่นๆ และชื่อเรื่องนอยที่สุด คือ ประวัติชีวิตในชวงวัยเด็ก ความหนักแนนยิ่งขึ้น โดยเรียงความหรืองานเขียนรูปแบบหนึ่งๆ ผูเขียนจะใชโวหาร
ของครู ดังนั้นจึงตอบขอ 2. ขางตนประกอบกันเพื่อสรางสรรคผลงาน แตอาจมีความโดดเดนแตกตางกัน

คู่มือครู 55
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู Explain
1. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย 1
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับกระบวนการ ๒) น�ำข้อควำมที
มที่ระดมควำมคิดมำจัดหมวดหมู่ โดยจัดล�ำดับหมวดหมู่ตำมรูปแบบของ
สรางสรรคงานเขียนประเภทเรียงความ โดยใช กำรเขียนเรียงควำม ดังนี้
ความรู ความเขาใจที่ไดรับจากการฟงบรรยาย ค�ำน�ำ ➔ ควำมหมำยหรือค�ำประพันธ์เกี่ยวกับครู
และพื้นฐานหรือรองรอยความรูเดิมของตนเอง เนื้อหำ ➔ ครูทดี่ ี ทีฉ่ นั ประทับใจ ชือ่ ....................... นำมสกุล ....................... สอนวิชำ .......................
เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม ➔ วิธีสอนของครู
➔ ควำมส�ำเร็จของลูกศิษย์
• การเขียนสวนสรุปในเรียงความสามารถใช
วิธีการใดไดบาง สรุป ➔ ควำมรู้สึกประทับใจที่มีต่อครู
➔ ควำมรู้สึกถึงพระคุณของครูและควำมกตัญญูต่อครู
(แนวตอบ สรุปดวยการสั่งสอน บอกใหทํา
หรือใหเลิกทํา สรุปดวยขอคิด หรือคํา ๓) น�ำข้อมูลที่ได้มำเขียนขยำยควำมในรูปแบบเรียงควำม
ประพันธ เปนตน)
• การเขียนเรียงความใหประสบความสําเร็จ เรียงความ
ตามจุดมุงหมายในทัศนคติของนักเรียน ครูดี ที่ฉันประทับใจ
ผูเขียนตองมีความรู ความเขาใจใน “ใครคือครูครูคือใครในวันนี้ ใช่อยู่ที่ปริญญำมหำศำล
เรื่องใดบาง ใช่อยู่ที่เรียกว่ำครูอำจำรย์ ใช่อยู่นำนสอนนำนในโรงเรียน
(แนวตอบ มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ ครูคือผู้ชี้น�ำทำงควำมคิด ให้รู้ถูกรู้ผิดคิดอ่ำนเขียน
องคประกอบของเรียงความ กลวิธีการเขียน ให้รู้ทุกข์รู้ยำกรู้พำกเพียร ให้รู้เปลี่ยนแปลงสู้รู้สู้งำน
แตละสวนของเรียงความ และการใชถอยคํา ครูคือผู้ยกระดับวิญญำณมนุษย์ ให้สูงสุดกว่ำสัตว์เดียรัจฉำน
สํานวนโวหาร) ปลุกส�ำนึกสั่งสมอุดมกำรณ์ มีดวงมำนเพื่อมวลชนใช่ตนเอง
• หากไดรับมอบหมายใหปฏิบัติชิ้นงานเขียน ครูจึงเป็นนักสร้ำงผู้ใหญ่ยิ่ง สร้ำงคนจริงสร้ำงคนกล้ำสร้ำงคนเก่ง
เรียงความ นักเรียนจะมีขั้นตอนการเขียน สร้ำงคนให้เป็นตัวของตัวเอง ขอมอบเพลงนี้มำบูชำครู”
ของตนเองอยางไร
(แนวตอบ มีขั้นตอนการเขียน ดังตอไปนี้ บทกลอนข้ำงต้นของท่ำนอำจำรย์เนำวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชำติ กล่ำวถึง
• เลือกหัวขอเรื่อง กําหนดจุดมุงหมาย ครูที่มีจิตวิญญำณของควำมเป็นครูอย่ำงแท้จริง สังคมไทยก�ำลังต้องกำรครูที่เป็นแบบอย่ำงที่ดี
• รวบรวม จัดกลุมขอมูล เพื่อนํามาวาง เช่นนี้ เพรำะในปัจจุบันโลกมีวิทยำกำรและเทคโนโลยีที่ก้ำวล�้ำและทันสมัยมำกยิ่งขึ้น เรียกว่ำ
โครงเรื่อง “ยุ ค โลกำภิ วั ต น์ ” ครู จึ ง มี บ ทบำทส� ำ คั ญ ไม่ ต ่ ำ งไปจำกพ่ อ แม่ ยิ่ ง สั ง คมยุ ค ใหม่ ต ้ อ งดิ้ น รน
• เลือกใชสํานวนภาษาใหเหมาะสม ท�ำมำหำกินส่งผลให้พ่อแม่ไม่มีเวลำดูแลลูกๆ เท่ำที่ควร ภำระหน้ำที่ของครูจึงเป็นภำระที่หนัก
สอดคลองกับจุดมุงหมายและเนื้อหา เพรำะกำรสร้ำงคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์นั้น มิใช่เพียงกำรสอนหนังสือให้อ่ำนออก เขียนได้ หรือ
• ลงมือเขียน ทบทวน แกไข) ให้ควำมรู้ในบทเรียนเท่ำนั้น แต่เป็นภำระควำมรับผิดชอบที่ผูกพันด้วยจิตวิญญำณอย่ำงต่อเนื่อง
2. นักเรียนอานเรียงความตัวอยางครูดีที่ฉัน ที่ต้องอำศัยควำมเพียรพยำยำม วิริยะ อุตสำหะอย่ำงเสมอต้นเสมอปลำย ครูที่ดีจึงต้องทุ่มเท
ประทับใจ จากหนังสือเรียนภาษาไทย อุทิศกำยและใจให้กับกำรสร้ำงคนเพื่อให้ได้คนที่มีคุณภำพ
หนา 56-58 และศึกษาการเขียนเรียงความ
โดยใชแผนผังความคิด ใชเวลา 10 นาที 56
บันทึกขอสังเกตของตนเอง

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดมีความเกี่ยวของกับศิลปะการเขียนเรียงความนอยที่สุด
1 ระดมความคิดมาจัดหมวดหมู กระบวนการสรางสรรคงานเขียนประเภท
1. การเลือกใชถอยคําเพื่อสรางลีลาการเขียนของตนเอง
เรียงความ การกําหนดจุดมุงหมายในการเขียนจะทําใหทราบวาตนเองจะตองรวบรวม
2. การเขียนขอความในแตละสวนใหมีความสัมพันธสอดคลองกัน
คัดเลือก จัดหมวดหมูขอมูลในลักษณะใดเพื่อใหครอบคลุมจุดมุงหมายที่วางไว เมื่อได
3. การเลือกใชถอยคําที่มีความกระชับ ชัดเจน สื่อความตรงไปตรงมา
ขอมูลที่มีคุณภาพ ครบถวน จึงนํามาจัดลําดับความสําคัญในการนําเสนอ เขียนขยาย
4. การวางโครงเรื่องเพื่อใหการจัดลําดับความคิดในการนําเสนอเปนไป
แนวคิด เรียบเรียงเปนถอยคําเพื่อนํามาวางโครงเรื่อง จากขั้นตอนนี้จะทําใหผูเขียน
โดยสมบูรณ
มองเห็นแนวทางในการใชภาษาเพื่อสรางสรรคเรียงความ ผูเขียนจะตองตั้งคําถาม
กับตนเองวา ตองการใหผูอานรูสึกอยางไร หลังจากอานเรียงความเรื่องนี้จบลง เชน วิเคราะหคําตอบ การสรางสรรคงานเขียนประเภทเรียงความ หลังจาก
ตองการใหมีความรู ความเขาใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือตองการใหเกิดความรูสึก กําหนดจุดมุงหมายในการเขียนไดแลว ผูเขียนจะตองรวบรวม คัดเลือก
ประทับใจ เปนแรงบันดาลใจ โดยมีหลักการอยูวา ผูเขียนจะตองมีความรู ความเขาใจ จัดหมวดหมูขอมูลเปนสวนๆ วางโครงเรื่อง เพื่อจัดลําดับความคิด เรียบเรียง
ในสํานวนโวหารทั้ง 5 ประเภท แลวเลือกใชใหเหมาะสมกับเนื้อหาสาระ จุดมุงหมาย สวนตางๆ ใหมีความสัมพันธสอดคลองกัน โดยใชสํานวนภาษาที่มีความ
หรือใชทุกโวหารประกอบกันในการสรางสรรค ไพเราะ เหมาะสม และมีลีลาเปนของตนเอง ดังนั้นจึงตอบขอ 3.

56 คูมือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
บางคนอาจมีค�าถามในใจว่า ในสภาพสังคมปัจจุบันจะยังมีครูดีที่น่าประทับใจอย่างที่ อธิบายความรู แสดงความคิดเห็นและขอสังเกต
บทกลอนกล่าวไว้จริงหรือ...แต่ส�าหรับผมมีค�าตอบ ผมได้รู้จักคุณครูท่านหนึ่ง และประทับใจมาก ของตนเอง ซึง่ เกิดจากการศึกษาตัวอยางเรียงความ
ตัง้ แต่วนั ทีผ่ มมาสมัครสอบเข้าเรียนต่อชัน้ มัธยมศึกษาปีท ี่ ๑ ทีโ่ รงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา ครูดที ฉี่ นั ประทับใจผานขอคําถามของครู
วันนั้นครูท�าหน้าที่คอยดูแลความเรียบร้อยอ�านวยความสะดวกให้กับผู้ปกครองและนักเรียน • นักเรียนคิดวาเรียงความเรื่องครูดีที่ฉัน
ทีม่ าสมัครสอบด้วยใบหน้าทีย่ มิ้ แย้มแจ่มใส ผมยืนถือใบสมัครเพือ่ เข้าแถวเตรียมให้ตรวจใบสมัคร ประทับใจ แสดงลักษณะสําคัญของ
ครูเดินเข้ามาโอบบ่าผมแล้วพูดว่า “สอบให้ได้นะ ครูอยากสอนเธอ” ครูคงไม่ทราบว่า ครูได้ เรียงความที่ดีหรือไม อยางไร
สร้างก�าลังใจให้ผมอย่างมาก เพราะตอนอยู่ชั้นประถม ใครๆ ก็มองว่าผมเป็นเด็กสมาธิสั้น และ (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
เรียนหนังสือก็ไม่เก่ง คงสอบเข้าเรียนต่อทีไ่ หนไม่ได้ ตัง้ แต่วนั นัน้ วันทีผ่ มพบครู ผมตัง้ ใจอ่านหนังสือ ไดอยางอิสระ คําตอบใหอยูในดุลยพินิจ
และสามารถสอบเข้าเรียนต่อได้จริงๆ ผมสอบติด ๑ ใน ๑๒๐ คน และสอบจัดห้องได้อยู่ห้อง ๑ ของครู โดยพิจารณาจากการใหเหตุผล
ผมดีใจมากและไม่เคยลืมค�าพูดของคุณครูอีกเลย ครูท่านนั้นคือ ครูสุพัตรา นัครา ของนักเรียน)
จนมาถึงวันนี้ผมอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ผมดีใจมากผมได้มีโอกาสได้เป็นลูกศิษย์ของ • จากเรียงความตัวอยางที่ไดศึกษา นักเรียน
ครูสุพัตรา นัครา อย่างเต็มตัว ครูเป็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และเป็นครูที่สอน คิดวาเนื้อหาสาระของเรียงความเขียนได
วิชาภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และในตอนเช้าทุกวันผมเห็นครูสุพัตรา นัครา จัดกิจกรรม ครอบคลุม ครบถวนตามผังความคิดที่
ให้นักเรียนอ่านหนังสือในตอนเช้าข้างสนามหน้าโรงเรียน มีนักเรียนนั่งห้อมล้อมครู ผมมองดูครู วางไวหรือไม อยางไร
แล้วผมยิ่งสัมผัสได้ถึงครูที่มีจิตวิญญาณของความเป็นครูอย่างแท้จริง อาจเป็นเพราะตลอดชีวิต (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
การเรียนที่ผ่านมาของผมไม่ค่อยได้รับการยอมรับจากคุณครูหลายๆ ท่าน เพราะผมเป็นคนชอบ ไดอยางอิสระ คําตอบใหอยูในดุลยพินิจ
สนุกสนาน ครูหลายคนจึงมองว่าผมเอาแต่ไร้สาระไปวันๆ ท่าทางไม่น่าจะเอาดีได้ แต่ครูสุพัตรา ของครู โดยพิจารณาจากการใหเหตุผล
ไม่เคยท�าให้รู้สึกเช่นนั้นเลย เวลาสอนครูเอาใจใส่นักเรียนทุกคน ครูพยายามเข้าใจในเรื่องความ ของนักเรียน)
แตกต่างของนักเรียนแต่ละคนในห้องและหาทางพัฒนานักเรียนทุกคนได้อย่างเหมาะสม • จากขั้นตอนการเขียนเรียงความที่ไดศึกษา
ไม่เพียงเท่านี้ ในการปฐมนิเทศและกิจกรรมทักษะชีวิต ครูท�าหน้าที่ดูแลนักเรียนให้มี นักเรียนคิดวากลวิธีการเขียนเรียงความ
ระเบียบ วินัย รู้จักท�างานร่วมกันอย่างสนุกสนานและมีความสุข ครูท�าหน้าที่เสมือนเป็นพ่อแม่ โดยใชผังความคิด นาจะนําไปใชใน
คนที่สองของลูกที่ทั้งสอนและเป็นแบบอย่างที่ดีในการปลูกฝังค่านิยมในการด�ารงชีวิต ให้ศรัทธา ขั้นตอนใดของการเขียนเรียงความ
ในการท�าความดีว่าเป็นรากฐานของความส�าเร็จทุกอย่าง สอนให้รู้จักประหยัด ซื่อสัตย์ อดทน (แนวตอบ การเขียนเรียงความ หลังจาก
มีวินัย รู้จักรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม สอนให้รู้จักมีชีวิตอยู่อย่างพอดีและพอเพียง ที่เลือกเรื่อง หรือกําหนดจุดมุงหมายที่
ครูสอนให้พวกเรามีความสามัคคี มีน�้าใจให้แก่กัน ครูจุดประกายพลังความดี พลังความเป็นคน จะเขียนไดแลว ขั้นตอนตอมา คือ การเก็บ
พลังของความกระตือรือร้น พลังของความใฝ่ฝัน จุดประกายให้ผมและเพื่อนๆ รู้จักตนเอง รวบรวมขอมูล นําขอมูลเหลานั้นมาจัด
รูว้ า่ ตนเองอยากท�าอะไร รูว้ า่ เกิดมาเพือ่ อะไร ครูสอนให้ผมรูจ้ กั ความเป็นคนทีส่ มบูรณ์ทงั้ ร่างกาย หมวดหมูเพื่อวางโครงเรื่อง ดังนั้น การใช
และจิตใจ ผังความคิดเพื่อการเขียนเรียงความจึงควร
เป็นที่รู้กันว่าวิชาภาษาไทยเปรียบเสมือนยาขมส�าหรับนักเรียนหลายคน รวมทั้งผมด้วย
นําไปใชในขั้นตอนของการรวบรวมขอมูล
แต่ครูก็มีวิธีสอนที่สนุก ไม่น่าเบื่อ บางครั้งครูให้เล่นเกมเกี่ยวกับภาษาไทย ท�าให้เราสนุกและ
หรือการระดมความคิด เพื่อนําขอมูลมาจัด
หมวดหมูวางโครงเรื่อง)
57

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
นักเรียนอานเรียงความเรื่อง “ตัวเลือกที่มากขึ้น ชีวิตที่สดใส นี่คือ ครูควรชี้แนะเพิ่มเติมใหแกนักเรียนเกี่ยวกับความแตกตางระหวางความเรียง
ผลประโยชนของผูบริโภคในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)” หรือเรื่อง กับเรียงความ ดังตารางตอไปนี้
อื่นๆ ที่ไดรับการยกยอง ยอมรับ แลววิเคราะหวาเรียงความเรื่องดังกลาว ลักษณะเฉพาะ ความเรียง เรียงความ
มีลักษณะการใชถอยคําและสํานวนโวหารอยางไร
รูปแบบ มีรูปแบบไมตายตัว โดยแบง มีรูปแบบที่ชัดเจน แบงเปน
เปนสวนๆ 3 สวน ไดแก 3 สวน คือ คํานํา เนื้อเรื่อง
สวนตน สวนกลาง และ และสรุป
กิจกรรมทาทาย สวนทาย
ภาษา ใชภาษาไดหลายระดับ นิยมใชภาษาแบบทางการ
หรือกึ่งทางการ
นักเรียนอานเรียงความเรื่องเดียวกับกิจกรรมสรางเสริม แลววิเคราะห
วาผูเขียนใชกลวิธีใดในการเขียนสวนคํานํา การดําเนินเรื่อง และการเขียน เนื้อหา มุงเสนอแนวคิดและอารมณ มุงเสนอแงคิด จินตนาการ
สวนสรุป พรอมทั้งแสดงความคิดเห็นวา กลวิธีดังกลาวมีความเหมาะสม ความรูสึกของผูเขียน และความรู
หรือไม อยางไร

คู่มือครู 57
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
1. นักเรียนอานเรียงความตัวอยางครูดีที่ฉัน
ประทับใจอีกครั้งหนึ่ง แลววิเคราะหในประเด็น เรียนรู้ภาษาไทยไปด้วย และผมชอบฟังครูเล่าเรื่องวรรณคดีไทย ท�าให้ผมเห็นคุณค่าของการมี
ตอไปนี้ ภาษาไทยเป็นภาษาประจ�าชาติ รู้สึกภูมิใจที่เกิดมาบนแผ่นดินไทย มีวัฒนธรรมและประเพณี
• กลวิธีการเขียนสวนคํานํา ที่ดีงาม มีภาษาไทยอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ ซึ่งแสดงถึงรากเหง้าแห่งความเป็นไทย
• กลวิธีการเขียนสวนเนื้อเรื่อง นอกจากนี้ครูยังปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้ผมและเพื่อนๆ ในห้อง และคงจะไม่ใช่
• กลวิธีการเขียนสวนสรุป แต่เฉพาะห้องที่ครูสอนเท่านั้น เพราะผมเห็นครูให้นักเรียนอ่านหนังสือแล้วบันทึกการอ่านมาให้
• เอกภาพ สัมพันธภาพ และสารัตถภาพ ครูทุกวันตอนเช้าก่อนเข้าแถว ครูชี้ให้เห็นถึงความส�าคัญของการอ่านว่า จะท�าให้เราเกิดปัญญา
ของเรียงความเปนอยางไร นําเสนอในรูปแบบ รู้จักคิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความได้ การถ่ายทอดความรู้ของครูเต็มไปด้วยความเมตตา
ใบงานเฉพาะบุคคล โอบอ้อมอารีตอ่ ผมและเพือ่ นๆ โดยไม่หวังผลตอบแทน ครูให้ความรูโ้ ดยไม่ปดิ บัง ทุม่ เทก�าลังกาย
2. นักเรียนใชองคความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ และใจในการสอนลูกศิษย์อย่างเต็มที่ ครูมีความยุติธรรม ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง
กระบวนการสรางสรรคงานเขียนประเภท ในคาบสอนครูไม่เคยยึดถืออารมณ์และความต้องการของครูเป็นใหญ่ ครูจะถามนักเรียน
เรียงความ สรางผลงานเรียงความดวยฝมือ ในห้อง ถ้าเห็นใครมีพฤติกรรมที่น่าเป็นห่วง บางครั้งครูก็ดุและปลอบนักเรียนไปพร้อมๆ กัน
ของตนเองคนละ 1 เรื่อง ความยาวไมเกิน 1 แต่ ผ มเข้ า ใจดี ว ่ า ครู มี ค วามปรารถนาดี ต ่ อ นั ก เรี ย นทุ ก คน ต้ อ งการให้ ลู ก ศิ ษ ย์ ป ระพฤติ ดี
หนา กระดาษ A4 ในประเด็น “เพื่อนดีที่ฉันรัก” มีคุณธรรม เป็นคนดีของครอบครัว ของสังคม ของประเทศชาติและด�ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่าง
โดยใชผังความคิดเปนหนึ่งในกระบวนการ มีความสุข
รวบรวมและจัดหมวดหมูขอมูล พรอมแนบ ผมขอเป็นตัวแทนของเพื่อนๆ อยากบอกครูว่า ครูคือ “ครูดี ที่น่าประทับใจ” ส�าหรับ
ผังความคิดนั้นสงมาพรอมกับเรียงความ พวกเราทุกคน ผมและเพื่อนๆ มีความรู้สึกซาบซึ้งในพระคุณของครูเป็นที่สุด และขอสัญญาว่า
3. นักเรียนรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมิน จะพยายามประพฤติตนเป็นคนดีตามที่ครูพร�่าสอนจะตั้งใจศึกษาหาความรู้เพื่ออนาคตข้างหน้า
ผลงานการเขียนเรียงความ จะน�าความรู้ความสามารถสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ต่อสังคม ประเทศชาติต่อไป
(แนวตอบ เกณฑควรครอบคลุม ดังตอไปนี้ ผมจะศรัทธามั่นคงในการท�าความดีตามที่ครูสอน เพื่อเป็นก�าลังส�าคัญน�าพาประเทศชาติอันเป็น
• มีรูปแบบและองคประกอบครบถวน ถูกตอง ที่รักของเราก้าวไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองและความผาสุกมั่นคงตลอดไป
และในสัดสวนที่เหมาะสม มีคนเปรียบครูเป็นเช่นเรือจ้าง
• เนื้อหาสาระมีเหตุผล ความเปนไปได ชัดเจน เปรียบเป็นเทียนส่องทางสว่างไสว
สอดคลองกับประเด็นที่กําหนด เปรียบเป็นสายธารน�้าฉ�่าชื่นใจ
• มีกลวิธีการเขียนหรือการใชภาษาถูกตองตาม เปรียบธงชัยสรรค์สร้างทางชีวิต
หลักไวยากรณ ใชถอยคําในการเขียน แต่ฉันขอเปรียบครูเป็นเช่นพ่อแม่
เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ มีความไพเราะ คอยดูแลแนะน�าลูกชี้ถูกผิด
สละสลวย ลีลา ทวงทํานองในการเขียน เป็นพ่อแม่อุปถัมภ์น�าชีวิต
เหมาะสม นาติดตาม และเปนลักษณะเฉพาะ ให้ลูกศิษย์อยู่รอดปลอดภัยพาล
(เรียงคว�มหัวข้อ ครูดีที่ฉันประทับใจ: เด็กช�ยมนวัสน์ มนตรี)
ของตนเอง
• ความถูกตองของการเขียนสะกดคํา การแบง
วรรคตอน ความสะอาดเรียบรอยของลายมือ
• แสดงมารยาทในการเขียน) 58

ขอสอบเนน การคิด
บูรณาการอาเซียน แนว  NT  O-NE T
ยอหนา คืออะไร และมีความสําคัญอยางไรตอการสรางสรรคงานเขียน
คุณคาของงานเขียน ไมไดอยูที่การใหความบันเทิง งานเขียนที่สรางสรรคมีพลัง
ที่มีขนาดยาว เชน เรียงความ บทความ
ตอความคิด ความเชื่อของบุคคล และบางเลมยังสามารถพลิกประวัติศาสตรของ
ชนชาติไดอีกดวย การเรียนการสอนเกี่ยวกับการสรางสรรคงานเขียน ครูควรให แนวตอบ ยอหนา คือ ขอความตอนหนึ่งๆ ซึ่งประกอบดวยประโยคหลายๆ
นักเรียนไดศึกษาผลงานของนักเขียนเพื่อนบานอาเซียนผานวรรณกรรมแปล เพื่อเปด ประโยคที่มีความสัมพันธกัน โดยมีความคิดหลักหรือใจความสําคัญเพียง
โลกทัศน สรางแรงบันดาลใจ เปนแนวทางการสรางสรรคผลงาน ที่สําคัญยังทําให ประการเดียว และมีประโยคขยายความเพื่อใหความคิดหลักหรือใจความ
ไดเรียนรูประวัติศาสตร ความคิด ความเชื่อ และคานิยมของประเทศเพื่อนบาน สําคัญนั้นมีความชัดเจนสมบูรณขึ้น การจัดและเขียนยอหนาใหมีความ
เพื่อความเขาใจอันดีระหวางกัน ครูควรมอบหมายใหนักเรียนชมรายการ “เปดโลก เหมาะสมมีความสําคัญ ดังนี้
เปดเลม” ยอนหลังผานทางเว็บไซตของสถานีโทรทัศนไทยพีบีเอส ซึ่งออกอากาศ • ชวยใหผูอานจับประเด็นหรือจับใจความสําคัญของเรื่องไดงาย
ในวันที่ 28 ตุลาคม 2555 เพื่อใหเห็นพลังสรางสรรคของงานเขียน อีกทั้งเห็นความ • ชวยใหผูอานติดตามเรื่องไดสะดวก
สําคัญของการเรียนรูประเทศเพื่อนบานผานงานวรรณกรรม เพราะงานวรรณกรรม • ชวยจํากัดขอบเขตเนื้อหาของเรื่อง
ไมจาํ กัดชนชาติ หาความรูเ พิม่ เติมเกีย่ วกับวรรณกรรมอาเซียน นําขอมูลมาจัดการ • ชวยใหผูอานไดมีโอกาสพักสายตา และความคิด
ความรูรวมกันในลักษณะปายนิเทศประจําชั้นเรียนภายใตหัวขอ “วรรณกรรมอาเซียน • ชวยทําใหงานเขียนนาอาน
เรียนรูประวัติศาสตร ความคิด ชีวิต วัฒนธรรม ผานปลายปากกา”

58 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอนดวยวิธีการ
เรียงความเรื่องนี้เขียนตามผังความคิดที่น�าเสนอไว้ หากผู้อื่นน�ามาเขียนใหม่ก็อาจได้เรียงความ ตัง้ คําถามกระตุน ทักษะการสังเกตและการวิเคราะห
ที่มีการน�าเสนอแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับผู้เขียนต้องการน�าเสนอสิ่งใด ซึ่งผังความคิดนี้น�าไปใช้ • ถานักเรียนตองการเลานิทานใหเพื่อนฟง
เป็นแนวทางเขียนเรียงความเรื่องอื่นๆ ได้ โดยใชเวลาสั้นๆ จะตองใชวิธีการใด
(แนวตอบ จะตองใชวิธีการอานเพื่อจับใจ
๖ การเขียนย่อความ ความสําคัญ หรือจับประเด็นแลวนํามา
เรียบเรียงดวยสํานวนภาษาของผูเลา
ย่อความ หมายถึง การจับใจความส�าคัญ จับประเด็นส�าคัญของเรื่องที่ได้อ่าน ได้ฟัง หรือ ซึ่งเรียกวิธีการนี้วา “การยอความ”)
ได้ดูมา ให้ได้ความว่าใคร ท�าอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อใด เพราะเหตุใดหรือมีแนวคิดอย่างไร แล้วน�ามา
เรียบเรียงใหม่ให้ได้ใจความครบถ้วน สั้น กระชับ ด้วยส�านวนภาษาของตนเอง ส�ารวจค้นหา Explore
๖.๑ หลักการเขียนย่อความ นักเรียนจับคูกับเพื่อนตามความสมัครใจ
การเขียนย่อความมีหลักการเขียน ดังนี้ รวมกันศึกษาในประเด็น “กระบวนการยอความ”
๑. อ่านหรือฟังเรือ่ งทีจ่ ะย่อตัง้ แต่ตน้ 1จนจบอย่างน้อย ๒ ครัง้ ครัง้ แรกเป็นการอ่านหรือ2ฟังคร่าวๆ
ให้ได้ความว่าใคร
ใคร ท�าอะไร
อะไร ที่ไหน
หน อย่างไรงไร ครั้งที่สองเป็นการจับใจความส�าคัญของเรื่องอย่างย่อๆ อธิบายความรู้ Explain
แล้วจดบันทึกสาระส�าคัญไว้
๒. เปลี่ยนการใช้ค�าสรรพนามบุรุษที่ ๑ หรือสรรพนามบุรุษที่ ๒ เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓ นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
๓. ย่อค�าพูดหรือค�าสนทนาของบุคคลรวมกันไปโดยไม่ใช้เครื่องหมาย “ ” หรือขึ้นบรรทัดใหม่ อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการเขียน
๔. ใช้ส�านวนภาษาของผู้ย่อในการเขียนเรียบเรียงโดยไม่ให้สาระส�าคัญเปลี่ยนไป ยอความ โดยใชความรู ความเขาใจที่ไดรับจาก
๕. ถ้าเรื่องเดิมมีการใช้ค�าราชาศัพท์เมื่อย่อแล้วก็ต้องใช้ให้ถูกต้อง การสืบคนรวมกับเพื่อน เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ
๖. ถ้าเรื่องเดิมมีหลายย่อหน้า ใจความที่ย่อแล้วให้เขียนรวมเป็นย่อหน้าเดียว ตอบคําถาม
๗. ถ้าเป็นบทร้อยกรองต้องถอดความเป็นร้อยแก้วก่อน แล้วจึงจับใจความส�าคัญ • การเขียนคํานํายอความมีความสําคัญ
๘. เรียบเรียงถ้อยค�าให้สั้น กระชับ มีความยาว ๑ ใน ๓ ของเนื้อความเดิม อยางไร
(แนวตอบ การเขียนคํานํายอความ เปนวิธีการ
๖.๒ รูปแบบการเขียนย่อความ ระบุแหลงที่มาของเรื่องที่ไดอาน หรือฟง
รูปแบบของย่อความไม่ได้ก�าหนดชัดเจน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเรื่องที่จะย่อ ซึ่งอาจใช้รูปแบบ ดังนี้ แลวนํามายอความเพื่อใชเปนหลักฐานอางอิง
๑) การย่อนิทาน นิยาย พงศาวดาร ให้บอกประเภท ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง ที่มาของเรื่องเท่าที่ และสามารถคนควาไดอีกในอนาคต)
ทราบ เช่น • นักเรียนมีวิธีการอยางไรสําหรับการอาน
เรื่องหนึ่งๆ เพื่อนํามายอความ
ย่อนิทาน เรื่อง ....................................... ของ ....................................... จาก ........................................ หน้า ..................... (แนวตอบ ตองอานเรื่องอยางละเอียด จนจบ
ความว่า ตลอดทั้งเรื่อง เพื่อคนหาใจความสําคัญหลัก
.............................................................................................................................................................................................................................
และใจความสําคัญรองของแตละยอหนา)

59

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดตอไปนี้คือองคประกอบของยอความ
1 ใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร การยอความที่ถูกตอง คือ การจับใจความ
1. รูปแบบและสรุป
สําคัญของเรื่องที่อานใหไดวาเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร หรือใคร ทําอะไร กับใคร ที่ไหน
2. หลักการและรูปแบบ
อยางไร เมื่อไร และทําไม ดังนั้น การยอความแมวาผูยอความจะเปนคนละคนกัน
3. สวนนําและเนื้อความ
แตถา ยอความเรือ่ งเดียวกัน ใจความสําคัญทีไ่ ดจะเปนไปในทิศทางเดียวกัน การฝกฝน
4. เนื้อความและสวนสรุป
ตนเองใหยอความจากเรื่องที่อานหรือฟงอยางหลากหลายจะชวยฝกทักษะการสรุปยอ
วิเคราะหคําตอบ การยอความเปนทักษะการเขียนซึ่งมีรูปแบบเฉพาะ และทักษะการสังเคราะห สามารถนําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวัน
โดยยอความครั้งหนึ่งๆ จะประกอบดวยสวนสําคัญสองสวน ไดแก สวนนํา ตอไปได
เปนสวนที่ระบุแหลงที่มาของเนื้อเรื่องที่นํามายอความ โดยระบุรายละเอียดที่ 2 การจับใจความสําคัญของเรื่อง เมื่ออานเรื่องที่มีขนาดยาว การยอความจําเปน
แตกตางกันออกไปขึน้ อยูก บั ประเภทของเรือ่ ง สวนที่ 2 คือ สวนทีเ่ ปนเนือ้ ความ ตองอาศัยความรูเกี่ยวกับยอหนาเปนพื้นฐาน เพื่อใหสามารถจับใจความสําคัญ
บอกใหรูวาเปนเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร หรือสาระสําคัญของเรื่องเปนอยางไร ในแตละยอหนาไดถูกตอง
ซึ่งผูยอไดเรียบเรียงเปนสํานวนภาษาของตนเองหลังจากอานเรื่องจนเขาใจ
เปนอยางดีแลว ดังนั้นจึงตอบขอ 3.

คู่มือครู 59
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบายความรู
เกี่ยวกับแนวทางการเขียนยอความผานขอคําถาม ๒) การย่อค�าสอน ค�ากล่าวปาฐกถา ให้บอกประเภท ชื่อเรื่อง เจ้าของเรื่อง โอกาส วัน
ของครู เดือน ปี ที่ฟัง และสถานที่ เช่น
• นักเรียนมีหลักปฏิบัติในการยอความอยางไร 1
(แนวตอบ ตองอานหรือฟงเรื่องที่ยอตั้งแตตน ย่อสุนทรพจน์ เรื่อง ............................................ ของ .............................................. โอกาส .............................................
จนจบ พิจารณาวาขอความใดเปนใจความหลัก วันที่ .......................................... เดือน ............................................. ปี ............................................ ณ ............................................. ความว่า
.............................................................................................................................................................................................................................
ใจความรอง เรียบเรียงเปนสํานวนของตนเอง
โดยเนื้อความที่ปรากฏตองทําใหทราบวาเปน
ย่อค�าสอน เรื่อง ............................................ ของ ........................................... จากหนังสือ ............................................
เรื่องเกี่ยวกับอะไร ใคร ทําอะไร กับใคร
หน้า ................................................................................................. ความว่า
ทีไ่ หน อยางไร เมือ่ ไร และทําไม หากเนือ้ เรือ่ ง ............................................................................................................................................................................................................................
เดิมใชสรรพนามบุรุษที่ 1 และ 2 ใหเปลี่ยน
เปนบุรุษที่ 3 แตถาปรากฏคําราชาศัพทใหคง ๓) การย่อบทความทางวิชาการ ให้บอกประเภท ชื่อเรื่อง เจ้าของเรื่อง ที่มาของเรื่อง เช่น
ไวเชนเดิม ถาเรื่องที่นํามายอเปนรอยกรอง
ตองถอดความเปนรอยแกวกอน แลวจึง ย่อบทความ เรื่อง ................................................ ของ ............................................... จาก ...................................................
ฉบับที่ ............................................................................................. หน้า ..................................................... ความว่า
ยอความ เขียนสวนที่ระบุแหลงที่มาของเรื่อง
.............................................................................................................................................................................................................................
ใหถูกตอง แลวจึงลงมือเขียนยอความ)
2
ขยายความเข้าใจ Expand การเขียนย่อความประเภทคÓสอน
1. นักเรียนคัดเลือกงานเขียนเกี่ยวกับประชาคม เรื่อง คิดก่อนพูด
อาเซียน นํามาอานแลวใชทักษะการยอความ
เก็บสาระสําคัญของเรื่อง โดยใชรูปแบบ ลูกรัก...
การเขียนสวนนําใหถูกตอง ปากคนนัน้ น�าสุขมาให้กไ็ ด้ น�าทุกข์มาให้กไ็ ด้ มีคา� เตือนมากมายเกีย่ วกับปาก เช่นว่า “พูดไป
2. นักเรียนรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมิน สองไพเบีย้ นิง่ เสียต�าลึงทอง” เมือ่ ลูกคบหากับใคร ท�างานทีไ่ หนก็ตาม สิง่ ทีต่ อ้ งระวังให้มากคือปาก
การยอความ ท่านกล่าวว่า “จงเก็บปากไว้ที่ใจ อย่าเก็บใจไว้ที่ปาก” คืออยากพูดอะไรก็เก็บไว้ในใจ อย่าพูด
(แนวตอบ เกณฑควรครอบคลุม ดังตอไปนี้ ทุกอย่างตามทีใ่ จคิด พูดมากโอกาสพลาดก็มมี าก พูดน้อยก็พลาดน้อย เมือ่ จ�าเป็นต้องพูดก็ควรพูด
• ใชรูปแบบการขึ้นตนสวนนําไดถูกตองกับ อย่างมีสติ พูดพอประมาณ พูดอย่างสร้างสรรค์ ถูกธรรม และประกอบด้วยประโยชน์ ท่านบอกไว้
ประเภทของเรื่องที่นํามายอ ว่า “ค�าพูดที่ดังเกินไป ค�าพูดที่แรงเกินไป ค�าพูดที่เกินความจริง ล้วนฆ่าคนพูดผู้โง่เขลาได้ทั้งสิ้น”
• สรุปสาระสําคัญของเรื่องไดครบถวนและ คนสมัยนีพ้ ดู เก่งและพูดได้มาก แต่ลกู พิจารณาดูให้ดี คนทีพ่ ดู เก่งอย่างนัน้ มีสกั กีค่ นทีพ่ ดู แบบ
เปนสํานวนของผูยอ สร้างสรรค์ ท�าให้เกิดความสมานสามัคคี ท�าให้ทกุ ฝ่ายเกิดความสบายใจ แต่เราจะไปห้ามเขาไม่ให้
• มีขนาดความยาวของเนื้อความที่ยอแลว พูดก็ไม่ได้ เขาจะพูดดีไม่ดีอย่างไร พูดก้าวร้าวเสียดสีใครเป็นสิทธิส่วนตัวของเขา เขาพูดเขาก็ต้อง
เหมาะสมกับความยาวทั้งหมดของเรื่อง
กอนนํามายอ 60
• การเขียนสะกดคํา การเวนวรรคตอน ลายมือ
• มารยาทในการเขียน)
ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
บุคคลใดตอไปนี้ใชวิธีการอานเพื่อยอความไดถูกตอง
1 สุนทรพจน เปนถอยคํา คําพูดที่มีความไพเราะ คมคาย ลึกซึ้ง กินใจ สามารถ
1. บุปผาใชวิธีการอานไปยอไปเพื่อความรวดเร็ว
กระตุนหรือโนมนาวใหผูฟงคลอยตาม ซาบซึ้ง และมีอารมณรวมไปกับผูพูดได
2. มาลีอานเฉพาะยอหนาสุดทายเพื่อใหจับใจความสําคัญได
2 การเขียนยอความ มีประโยชนตอนักเรียน เพราะทุกครั้งที่เกิดการแสวงหา 3. นารีอานเนื้อเรื่องใหเขาใจโดยตลอดจนจบกอนลงมือยอความ
ความรู หากไมละเลยที่จะจดบันทึกสาระสําคัญไวโดยใชหลักการยอความที่ไดเรียนรูไป 4. ชอผกาอานเฉพาะหัวขอใหญแลวนํามาเรียบเรียงเปนใจความสําคัญ
มีการจัดเก็บไวอยางเปนระบบจะทําใหมีคลังความรูที่สามารถกลับมาทบทวนไดเสมอ
วิเคราะหคําตอบ การยอความ คือ การจับสาระสําคัญของเรื่องที่อานวา
เปนเรือ่ งเกีย่ วกับอะไร ใคร ทําอะไร กับใคร ทีไ่ หน อยางไร เมือ่ ไร และทําไม
โดยใชสาํ นวนภาษาของผูย อ เอง ซึง่ วิธกี ารอานทีเ่ หมาะสมสําหรับการยอความ
มุม IT คือ ผูยอจะตองอานเนื้อหาสาระใหจบตลอดทั้งเรื่อง กอนลงมือยอความ
ดังนั้นจึงตอบขอ 3.
นักเรียนสามารถเขาไปทบทวนหรือตรวจสอบความรู ความเขาใจของตนเองดวย
การทําแบบฝกหัดเกี่ยวกับการยอความไดจากเว็บไซต http://school.obec.go.th/
wachirathamsopit/wachira/thai/pretestool.html

60 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา
Engage Explore อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูชวนนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับประสบการณ
รับผิดชอบเอง ส�าคัญลูกอย่าไปพูดอย่างเขาก็แล้วกัน คิดให้ดกี อ่ นพูดเสมอ ยิง่ พูดถึงบุคคลอืน่ ด้วย การไปทัศนศึกษายังสถานที่ตางๆ ซึ่งโรงเรียน
แล้วยิ่งต้องระวัง เพราะเราไม่รู้จักเขาดีพอ ไม่รู้ถึงความรู้สึกนึกคิดของเขาดีเท่ากับตัวเขาหรอก เคยจัดไป จากนั้นตั้งคําถามวา
เราจะไปคาดเดาเองว่าเขาเป็นอย่างนัน้ เป็นอย่างนีแ้ ล้วไปพูดท�าให้เขาเสียหาย ดูจะไม่ยตุ ธิ รรมนัก • นักเรียนคิดวาการติดตอเพือ่ ขอเขาชมสถานที่
ดีที่สุดคือไม่พูดถึงคนอื่นโดยไม่รู้ข้อเท็จจริงดีพอ แม้จะรู้จริงก็ไม่ควรพูด ถ้าจ�าเป็นต้องพูดก็ควร หนึ่งๆ เปนหมูคณะ มีวิธีการหรือ
พูดอย่างมีสติ พูดด้วยความระมัดระวัง เพราะการพูดถึงคนอื่นนั้นเสี่ยงต่อความเป็นศัตรูกัน หลักปฏิบัติอยางไร
และจะเป็นบาปกรรมด้วย ระวังไว้เป็นดีที่สุด (แนวตอบ หลักการที่มีความเหมาะสมที่สุด
(คำ�พ่อคำ�แม่: พระธรรมกิตติวงศ์ ร�ชบัณฑิต) สําหรับการติดตอเพื่อขอเขาชมสถานที่หนึง่ ๆ
เปนหมูคณะนั้น โรงเรียน หัวหนาคณะ
ย่อค�าสอน เรื่องคิดก่อนพูด ของพระธรรมกิตติวงศ์ ราชบัณฑิต จากหนังสือ ค�าพ่อค�าแม่ การเดินทาง หัวหนาโครงการ หรือผูรับผิด
หน้า ๙๔ - ๙๕ ความว่า ชอบโครงการ จะตองเขียนจดหมายเพื่อขอ
ปากสามารถน�าความสุขหรือความทุกข์มาให้เจ้าของก็ได้ หากพูดมากโอกาสที่จะพลาด อนุญาตเขาชมสถานที่)
ก็มีมาก คนสมัยนี้พูดเก่งและพูดได้มาก แต่มีเป็นจ�านวนน้อยที่จะพูดได้สร้างสรรค์ ท�าให้ผู้อื่นเกิด
ความสบายใจ หรือสร้างความสมัครสมานสามัคคีให้แก่หมูค่ ณะ แต่ทา่ นไม่สามารถห้ามผูอ้ นื่ ไม่ให้พดู ได้
สิ่งส�าคัญคือ ท่านอย่าไปพูดไม่ดีตามเขา เมื่อจะพูดต้องพูดอย่างมีสติ ระมัดระวังค�าพูด ไม่พูดพาดพิงถึง
ส�ารวจค้นหา Explore
ผู้อื่น เพราะอาจสร้างศัตรูให้เกิดขึ้นได้ นักเรียนจับคูกับเพื่อนตามความสมัครใจ
เพื่อพิจารณาจดหมายกิจธุระที่นํามาเปนตัวอยาง
๗ การเขียนจดหมายกิจธุระ ในหนังสือเรียนภาษาไทย หนา 62-63 บันทึก
จดหมาย หมายถึง ข้อความที่เขียนติดต่อระหว่างผู้เขียนกับผู้รับโดยตรง มีรูปแบบเฉพาะ ขอสังเกตเกี่ยวกับประเด็น ตอไปนี้
การเขียนจดหมายมีขอ้ ควรระมัดระวังในเรือ่ งการใช้คา� ควรใช้คา� ให้ถกู ต้องตามแบบแผน กาลเทศะ และ • โครงสรางของจดหมาย
สถานภาพของบุคคล จึงจะส่งผลให้การติดต่อกิจธุระประสบผลส�าเร็จ • ลักษณะสําคัญของจดหมายกิจธุระประเภท
จดหมายกิจธุระ เป็นจดหมายที่เกี่ยวข้องกับธุระการงานที่เป็นส่วนหนึ่งของการด�าเนินชีวิต ตางๆ
โดยอาจเป็นจดหมายระหว่างบุคคลถึงบุคคล บุคคลถึงบริษัทห้างร้าน หรือเป็นจดหมายของบุคคล • ลักษณะถอยคํา ภาษาที่ใชในการเขียน
ถึงส่วนราชการ ใจความในจดหมายต้องระบุวตั ถุประสงค์ให้ชดั เจน โดยใช้ภาษาทีถ่ กู ต้องเหมาะสม
1 จดหมาย
๗.๑ หลักการเขียนจดหมายกิจธุระ
การเขียนจดหมายกิจธุระมีหลักการเขียน ดังนี้
๑. เขียนให้ถูกต้องตามรูปแบบของจดหมายแต่ละประเภท
๒. ใช้ค�าน�า (ค�าขึ้นต้น) ค�าสรรพนาม ค�าลงท้ายที่เหมาะสมกับสถานภาพของบุคคลและ
สัมพันธภาพระหว่างผู้เขียนและผู้รับ 2
๓. ใช้ถ้อยค�าส�านวนภาษาที่ชัดเจน กระชั
เจน กระชับ รัรัดกุม สุภาพ
๔. สะกดค�าให้ถูกต้องตามหลักภาษา ถูกต้องตามระดับภาษา กาลเทศะ และบุคคล
๕. พิมพ์หรือเขียนด้วยลายมือที่อ่านง่าย เรียบร้อย สะอาดตา
61

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
จดหมายสวนตัวมีลักษณะสําคัญซึ่งแตกตางจากจดหมายกิจธุระอยางไร
1 การเขียนจดหมาย มีประโยชนตอการสื่อสารของมนุษย เพราะจดหมายทําให
แนวตอบ จดหมายสวนตัว คือ จดหมายที่เขียนถึงกันอยางไมเปนทางการ มนุษยสามารถสง “สาร” ถึงกันได โดยที่บุคคลทั้งสองฝายไมจําเปนตองพบหนากัน
กับบุคคลที่มีความสนิทสนมคุนเคย เพื่อสงขาวคราว แจงธุระเล็กๆ นอยๆ ทําใหการติดตอสื่อสารดําเนินไปไดโดยสะดวก รวดเร็ว ประหยัด การเขียนจดหมาย
หรือไตถามทุกขสุขกันดวยความคุนเคย ดังนั้น จึงไมเครงครัดเรื่องรูปแบบ ผูสงหรือผูเขียนจะตองคํานึงถึงจุดประสงคที่จะสื่อสาร และผูที่จะติดตอสื่อสารดวย
ภาษาและถอยคําในการเขียน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความสนิทสนมระหวางผูสง หากตองติดตอกับบุคคลที่ไมรูจักดวยกิจธุระการงานตางๆ ควรใชถอยคําที่มีความ
และผูรับ หากเปนบุคคลที่สนิทสนมมากๆ อาจใชภาษาไมเปนทางการ เปนทางการ คงความสุภาพไวจะเหมาะสมมากที่สุด ดังนั้น สิ่งที่ผูเขียนจดหมาย
หรือภาษาปากในการเขียน แตถาเปนบุคคลที่มีอาวุโสสูงกวาควรใชภาษากึ่ง จะตองคํานึงถึงทุกครั้ง ไดแก จุดประสงคที่ตองการสื่อสาร และบุคคลที่สื่อสารดวย
ทางการ แตแสดงออกซึ่งความออนนอม ใหความเคารพนับถือ สวนจดหมาย ซึ่งทั้งสองประการนี้จะสงผลตอการเลือกใชรูปแบบและถอยคําในการเขียนจดหมาย
กิจธุระเปนจดหมายที่เขียนขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเฉพาะในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 2 ใชถอ ยคําสํานวนภาษาทีช่ ดั เจน กระชับ รัดกุม ในการเขียนจดหมายฉบับหนึง่ ๆ
กับบุคคลหรือหนวยงาน จึงมีความเครงครัดในเรื่องรูปแบบ และการใชถอยคํา นอกจากจะใหความสําคัญกับรูปแบบที่ถูกตองแลว ผูเขียนตองใหความสําคัญกับ
ในการสื่อสาร โดยทั่วไปจะใชภาษาที่เปนทางการ ใชถอยคําตรงไปตรงมา สํานวนภาษาในการเขียน ตองใชถอ ยคําทีส่ อื่ ความไดชดั เจน ครบถวน ควรคํานึงวาผูรับ
สื่อถึงจุดประสงคครบถวน ชัดเจน ไมมีโอกาสสอบถามผูเขียน หากเกิดความไมกระจางในเนื้อหาสาระ จะตีความเอง
จากขอความทีป่ รากฏ ซึง่ อาจทําใหการสือ่ สารไมสมั ฤทธิผลตามจุดประสงค

คู่มือครู 61
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
ความรูแ บบโตตอบรอบวงเกีย่ วกับการเขียนจดหมาย ๗.๒ ตัวอย่างการเขียนจดหมายกิจธุระ
กิจธุระ โดยใชความรู ความเขาใจที่ไดรับจาก ตัวอย่างที่ ๑ จดหมายเชิญวิทยากร
การสืบคนรวมกับเพื่อน เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ
ตอบคําถาม การเขียนจดหมายเชิญวิทยากร
• จากจดหมายกิจธุระที่ศึกษาวิเคราะห
ที่ ๓/๒๕๕๘ ชมรมสร้างสรรค์ศิลปะจากวัสดุเหลือใช้
แสดงใหเห็นโครงสรางของจดหมายอยางไร
ชุมชนตรอกครุฑ แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ
(แนวตอบ จดหมายกิจธุระ ประกอบดวย
เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐
โครงสรางสําคัญ 3 สวน ไดแก สวนหัว 1
ประกอบดวย เลขที่ของจดหมาย ที่อยู ๒๗ เมษายน ๒๕๕๘
๒๗ เมษายน
ของหนวยงานที่เปนเจาของจดหมาย 2
เรื่อง
ง ขอเชิญเป็นวิทยากร
วัน เดือน ปที่เขียนจดหมาย เรื่อง เรียน 3
เรียน
น คุคุณนิภ4า ทั
า ศนาวิไล
สิ่งที่สงมาดวย (ถามี) สวนเนื้อเรื่อง สิ่งที่ส่งมาด้วย
ย ก�าหนดการอบรม
ประกอบดวย ยอหนาแรกเปนที่มาของเรื่อง 5
ด้วยกระผม ยกระผม นายวรพจน์ พากเพียร เป็นประธานชมรมสร้างสรรค์ศลิ ปะจากวัสดุเหลือใช้
หรือที่มาของการเขียนจดหมายฉบับนี้ ซึ่งก่อตั้งขึ้นเพื่อให้คนในชุมชนตรอกครุฑรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และร่วมกันอนุรักษ์
ยอหนาทีส่ องเปนวัตถุประสงคและรายละเอียด สิ่งแวดล้อม ด้วยการสนับสนุนของผู้อ�านวยการเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ภายในชุมชน
ของจดหมาย และยอหนาที่สามเปนยอหนา มีวสั ดุเหลือใช้จา� นวนมากและหลากหลายน่าจะน�ามาสร้างสรรค์เป็นชิน้ งานศิลปะได้ สมาชิกชมรม
สรุป โดยที่ยอหนาแรกและยอหนาที่สอง มีความประสงค์จะขอรับค�าแนะน�าจากผูท้ รงคุณวุฒ ิ ซึง่ ทางชมรมเห็นว่าท่านเป็นผูม้ คี วามเชีย่ วชาญ
สามารถรวมอยูในยอหนาเดียวกันได เกีย่ วกับการสร้างสรรค์ศลิ ปะจากวัสดุเหลือใช้ สามารถจะให้ความรูแ้ ก่สมาชิกชมรมได้เป็นอย่างดี
สวนทาย ประกอบดวย คําลงทาย ลายมือชื่อ จึงเรียนมาเพื่อขอเชิญท่านเป็นวิทยากร เรื่องการสร้างสรรค์ศิลปะจากวัสดุเหลือใช้
เจาของจดหมาย ชื่อและตําแหนงของเจาของ ในวันจันทร์ที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ ศาลาอเนกประสงค์ของชุมชนตามก�าหนดการ
จดหมาย ที่อยูและหมายเลขโทรศั
วรพจน์ พากเพีพทของยร ดังแนบ ทางชมรมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะได้รับความอนุเคราะห์จากท่านและขอขอบพระคุณ
หนวยงานที่เปนเจาของเรื่อง) เป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้
• จากจดหมายที่ศึกษาวิเคราะห นักเรียน
มองเห็นแนวทางการใชภวรพจน์ าษาเพื่อพากเพี
การเขียยรน ขอแสดงความนับถือ
สื่อสารในรูปแบบจดหมายกิจธุระอยางไร วรพจน์ พากเพียร
(แนวตอบ ผูเขียนควรใชภาษาในระดับทางการ (นายวรพจน์ พากเพียร)
หรือกึ่งทางการ แตคงความสุภาพ ออนนอม ประธานชมรมสร้างสรรค์ศิลปะจากวัสดุเหลือใช้
ถอมตน เลือกใชถอยคําที่สื่อความไดกระชับ
ชัดเจน ตรงไปตรงมา สอดคลองกับ ชมรมสร้างสรรค์ศิลปะจากวัสดุเหลือใช้
จุดประสงค) โทร. ๐๘-๑๘๑๑-๘๑๑๘

62

ขอสอบ O-NET
นักเรียนควรรู ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับการเขียนวันที่และคําขึ้นตนในจดหมายราชการ
จงเลือก “(1) การเขียนวันที”่ “(2) คําขึน้ ตนจดหมาย” ของจดหมายราชการ
1 ๒๗ เมษายน ๒๕๕๘ หมายถึง วัน เดือน ปที่เขียนหรือออกจดหมาย โดยวิธีการ
ทีห่ นวยงานราชการเขียนถึงหนวยงานราชการ เรือ่ ง ขอใหประชาสัมพันธ
เขียนที่ถูกตองใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปพุทธศักราช
ใหนกั เรียนตรวจสอบสนามสอบ
2 เรื่อง ใหระบุขอความที่เปนใจความสําคัญที่สุดของจดหมาย
(1) การเขียนวันที่ (2) คําขึ้นตนจดหมาย
3 เรียน คําขึ้นตนจดหมายซึ่งจะตองใชใหเหมาะสมกับระดับของบุคคล สําหรับ วันที่ 4 กุมภาพันธ 2553 เรียน
การเขียนจดหมายกิจธุระ คําขึ้นตนที่เหมาะสมที่สุด คือ คําวา “เรียน” 4 กุมภาพันธ 2553 สวัสดี
4 สิ่งที่สงมาดวย หมายถึง เอกสาร บรรณสาร หรือสิ่งของที่สงไปพรอมกับ วันอังคารที่ 4 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 กราบเทา
จดหมายฉบับนั้น โดยผูสงตองระบุชื่อสิ่งของหรือเอกสาร ในกรณีที่ไมสามารถสงไป วันที่ 4 กุมภาพันธ พ.ศ. 2553 นมัสการ
ในซองเดียวกันได ตองแจงดวยวาสงไปทางใด วันอังคารแรม 5 คํ่า ปฉลู จ.ศ. 1371 เจริญพร
5 ดวยกระผม คําขึ้นตนเนื้อความ ถาเปนจดหมายฉบับแรกที่ติดตอระหวางกัน วิเคราะหคําตอบ การเขียนวันที่ในจดหมายกิจธุระและจดหมายราชการ
มักใชคําขึ้นตนวา “เนื่องดวย...” “เนื่องจาก...” “ดวย...” และตามดวยขอความที่เปน ใหลงเฉพาะตัวเลข ชื่อเต็มของเดือน ตัวเลขปพุทธศักราช สวนคําขึ้นตนใหใช
จุดประสงค แตถาเปนจดหมายตอบรับ มักใชคําขึ้นตนวา “ตามที่...” “ตาม...” คําวา “เรียน” จะมีความเหมาะสมมากทีส่ ดุ ดังนัน้ จึงตอบ “4 กุมภาพันธ 2553”
และ “เรียน”
62 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
จดหมายเชิญวิทยากรฉบับนี้ เป็นจดหมายจากประธานชมรมฯ ที่เขียนถึงวิทยากรเพื่อขอ อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการเขียน
ความอนุเคราะห์ การใช้ค�าจึงต้องใช้ให้ถูกตามศักดิ์ ฐานะ และแสดงการร้องขออย่างสุภาพ จดหมายกิจธุระผานขอคําถามของครู
ตัวอย่างที่ ๒ จดหมายขอความอนุเคราะห์ • นักเรียนคิดวาการเขียนจดหมายกิจธุระ
1 ควรคํานึงถึงสิ่งใด
การเขียนจดหมายขอความอนุเคราะห์ (แนวตอบ ควรเขียนใหมีความชัดเจน
ที่ ๕/๒๕๕๔ ชุมชนหมูบ่ า้ นป้าแดง ถนนพระราม ๒ สอดคลองกับวัตถุประสงค ใชรูปแบบ
ซอย ๒๔ เขตจอมทอง โครงสรางใหถูกตอง สมบูรณ แสดงมารยาท
กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๕๐ ที่ดีของผูเขียน ผานการใชถอยคํา การเลือก
ใชกระดาษ สีของหมึก การจาหนาซอง
๘ เมษายน ๒๕๕๘
และความสะอาด)
เรื่อง ขออนุเคราะห์เจ้าหน้าที่พ่นยาปราบยุง
เรียน ประธานสภาเขตจอมทอง ขยายความเข้าใจ Expand
ดิฉัน นางแดง รวยรื่น ประธานชุมชนหมู่บ้านป้าแดง ถนนพระราม ๒ ซอย ๒๔
มีความประสงค์จะเรียนให้ทราบว่า ขณะนีป้ ระชาชนในชุมชนก�าลังได้รบั ความเดือดร้อน เนือ่ งจาก 1. นักเรียนใชความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ
มียุงลายชุกชุมจนเป็นเหตุให้สมาชิกในชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กๆ ถูกยุงลายกัดและป่วย โครงสรางและลักษณะการใชถอยคํา
เป็นไข้เลือดออกจ�านวนมาก ดิฉันเกรงว่าจะเป็นสาเหตุท�าให้โรคไข้เลือดออกระบาดมากขึ้น เพื่อการเขียนสื่อสารในรูปแบบจดหมาย
จึงขอความอนุเคราะห์จากท่านประธานสภาเขตจอมทอง กรุณาช่วยประสานงาน เขียนจดหมายกิจธุระขอความอนุเคราะห
เจ้าหน้าที่ให้มาด�าเนินการพ่นยาปราบยุงและก�าจัดแหล่งน�้าขัง พร้อมทั้งให้ค�าแนะน�าวิธีป้องกัน เขาชมพิพิธภัณฑสถานแหงชาติประจําจังหวัด
และแก้ไขปัญหาแก่สมาชิกในชุมชนอย่างเร่งด่วน จึงเรียนมาเพื่อขอความอนุเคราะห์และ หรือศูนยการเรียนรูชุมชน โดยเขียนในนาม
ขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ของประธานชมรมอนุรกั ษมรดกวัฒนธรรมไทย
2 พรอมแนบซองจดหมายที่จาหนาซอง
ขอแสดงความนับถือ
เรียบรอยแลว แตไมตองผนึกซอง
แดง รวยรื่น 2. นักเรียนรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมิน
(นางแดง รวยรื่น) การเขียนจดหมายกิจธุระ
ประธานชุมชนหมู่บ้านป้าแดง (แนวตอบ เกณฑควรครอบคลุม ดังตอไปนี้
ชุมชนหมู่บ้านป้าแดง • มีโครงสรางครบถวนทั้ง 3 สวน ไดแก
โทร. ๐-๒๘๒๑-๒๑๘๑ สวนหัว สวนเนื้อหา และสวนทาย
• ใชถอยคํา สอดคลองกับเนื้อหาสาระ
จดหมายฉบับนี ้ เป็นจดหมายจากประธานชุมชนฯ ถึงประธานสภาเขต เพือ่ ขอความอนุเคราะห์
ระบุจุดประสงคและขอความสําคัญครบถวน
ให้ช่วยประสานงานติดต่อเจ้าหน้าที่มาด�าเนินการพ่นยาปราบยุงลายและก�าจัดแหล่งน�้าขัง จึงต้องใช้
• ลายมือสะอาด เรียบรอย การเขียนสะกดคํา
ภาษาให้กระชับ เพื่อบอกวัตถุประสงค์ของจดหมายให้ชัดเจน
การเวนวรรคตอน
63 • การเลือกใชกระดาษ ซอง สีของหมึก
การจาหนาซอง และมารยาทในการเขียน)

ขอสอบ O-NET
ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับการใชคําขึ้นตนเนื้อความ คําลงทายเนื้อความ นักเรียนควรรู
และคําลงทายในจดหมายราชการ
1 การเขียนจดหมายขอความอนุเคราะห ใหบรรลุจุดประสงค นอกจากผูเขียน
จงเลือก “(3) คําขึ้นตนเนื้อความ” “(4) คําลงทายเนื้อความ”
“(5) คําลงทาย” ของจดหมายราชการที่หนวยงานราชการเขียนถึงหนวยงาน จะแสดงความชื่นชมในหนวยงานแลว ควรแจงใหทราบวา ผูเขียนทํากิจกรรมอะไร
ราชการ เรื่อง ขอใหประชาสัมพันธใหนักเรียนตรวจสอบสนามสอบ มีประโยชนอยางไร เพื่อทําใหผูใหการสนับสนุนเกิดความรูสึกตองการที่จะใหความ
รวมมือ ในกรณีที่ขอความอนุเคราะหดานสิ่งของ ผูเขียนควรใหขอมูลของสิ่งที่ตองการ
(3) คําขึ้นตนเนื้อความ (4) คําลงทายเนื้อความ (5) คําลงทาย จํานวน การรับ-สง สิ่งของที่ไดรับจะนําไปใชประโยชนอยางไร สวนในกรณีที่ขอ
สวัสดี จึงเรียนมาเพื่อทราบ ดวยความเคารพอยางสูง ความอนุเคราะหเรื่องงบประมาณ ผูเขียนควรระบุจํานวนงบประมาณที่ตองการ
ตามที่ จึงเรียนมาเพือ่ โปรดพิจารณา ดวยรักและเคารพ การจัดสรรนําไปใชในสวนใด อยางไร หากผูเขียนตองการที่จะตอบแทนผูสนับสนุน
อนุสนธิ จึงเรียนมาเพื่อขอ ขอแสดงความนับถือ ดวยการประชาสัมพันธหนวยงานหรือองคกร ผูเ ขียนควรแจงใหผสู นับสนุนทราบวา
เนื่องจาก จึงนมัสการมาเพื่อ ขอใหเจริญในธรรม จะประชาสัมพันธในลักษณะใด
ไมตองใชคําขึ้นตน ไมตองใชคําลงทาย สวัสดี 2 ขอแสดงความนับถือ เปนคําลงทายจดหมาย ซึ่งตองใชใหถูกตองตามฐานะ
วิเคราะหคําตอบ จดหมายฉบับนี้เปนจดหมายที่ติดตอถึงกันฉบับแรก ของผูรับหนังสือ หากเปนบุคคลธรรมดาติดตอกัน ใหใช “ขอแสดงความนับถือ”
จึงควรใชคําขึ้นตนเนื้อความวา “เนื่องจาก” วัตถุประสงคของจดหมาย แตถาผูรับเปนประธานองคมนตรี นายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา ประธานสภาผูแทน
ตองการใหโรงเรียนดําเนินการตอ จึงควรใชคําลงทายเนื้อความวา “จึงเรียน ราษฎร ประธานวุฒิสภา และประธานศาลฎีกา ใหใช “ขอแสดงความนับถืออยางยิ่ง”
มาเพื่อโปรดพิจารณา” และคําลงทายจดหมายคือ “ขอแสดงความนับถือ”
คู่มือครู 63
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Elaborate Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน โดยเริ่มจาก
การแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 5 คน ๘ การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า
จากนั้นใหแตละกลุมจัดโตะหันหนาเขาหากัน 1
รายงานการศึกษาค้นคว้า หมายถึง การน�าเสนอผลงานที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า รวบรวม
เปนวงกลม นําตัวอยางรูปเลมรายงานการศึกษา
ส�ารวจหรือปฏิบตั เิ กีย่ วกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างละเอียด เรียบเรียงเนื้อหาโดยใช้วิธกี ารเขียนเชิงวิชาการ
คนควาใหนักเรียนศึกษาพิจารณากลุมละ 1-3 เลม
น�าเสนอเพื่อให้ผู้อื่นพิจารณาหรือรับทราบ
การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่ผู้เขียนจะต้องใช้ความสามารถ
ส�ารวจค้นหา Explore ในการเรียบเรียงเนื้อหาจากข้อมูลให้สัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจถูกต้องชัดเจน
นักเรียนแตละกลุมศึกษาพิจารณารูปเลม ผู้เขียนจึงต้องมีความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนในการเขียนรายงานเป็นอย่างดี
รายงาน รวมกันตั้งขอคําถามและหาคําตอบดวย ๘.๑ ความส�าคัญของการเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า
ตนเอง เพื่อเปนการเตรียมขอมูลสําหรับกิจกรรม การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้ามีความส�าคัญ ดังนี้
ตอไป ซึ่งคําถามที่นักเรียนรวมกันคิดและหาคําตอบ ๑) สามารถค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง เป็นการฝึกให้รู้หลักการสืบค้นข้อมูลจาก
ไวในเบื้องตน อาจมีลักษณะ ดังนี้ แหล่งข้อมูลต่างๆ แล้วน�ามาวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือก่อนจะน�าข้อมูลไปใช้
• รายงานการศึกษาคนความีความสําคัญอยางไร ๒) สามารถรวบรวมความรู้ได้อย่างเป็นระบบ ตามหัวข้อเรื่องที่ตนเองสนใจศึกษา
• รายงานการศึกษาคนควาเลมนี้ ๓) สามารถแสดงความรู้ด้วยการใช้ภาษาที่เป็นแบบแผน การเขียนรายงานการศึกษา
มีองคประกอบใดบาง ค้นคว้า จะต้องใช้ภาษาที่เป็นทางการเพื่อความน่าเชื่อถือและน�าไปอ้างอิงได้
• กวาจะไดรายงานการศึกษาคนควาเลมนี้มา ๔) ใช้กระบวนการคิดอย่างมีระบบ เรียงล�าดับอย่างเหมาะสม
ผูจัดทําตองเริ่มจากขั้นตอนใด ๕) เรียบเรียงเนือ้ หาโดยใช้วธิ กี ารเขียนเชิงวิชาการ การล�าดับเนือ้ หา การอ้างอิงแหล่งทีม่ า
ขอคําถามของนักเรียนอาจมีประเด็นมากกวา อย่างเป็นระบบ
ที่ยกตัวอยาง

อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการเขียนรายงาน
การศึกษาคนควา โดยใชความรู ความเขาใจทีไ่ ดรบั
จากการรวมกันคนหาคําตอบในกระบวนการสํารวจ
คนหา เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
• การทํารายงานการศึกษาคนควาเกิดประโยชน
ตอชีวิตประจําวันของนักเรียนอยางไร
(แนวตอบ ชวยทําใหผูทํารายงานไดฝกทักษะ
ที่จําเปนตอการดําเนินชีวิตประจําวัน เชน ▲ การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ นับเป็นขั้นตอนที่มีความส�าคัญต่อการเขียนรายงานเชิงวิชาการ
ทักษะการสรางสรรค การวิเคราะห การเก็บ
รวบรวม แยกแยะ จัดหมวดหมูขอมูล 64
ฝกวิจารณญาณในการเลือกใชขอมูล)

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดเปนสิ่งสําคัญที่สุดสําหรับการเขียนรายงานการศึกษาคนควา
1 รายงานการศึกษาคนควา มีความแตกตางจากการปฏิบัติโครงงานในดานตางๆ
1. ผูเขียนตองเขาใจวัตถุประสงคของรายงาน
ดังตาราง
2. ผูเขียนตองสอบถามอาจารยใหแนใจกอนลงมือเรียบเรียง
หัวขอ ผูจัดทําสนใจหรือครูเปนผูกําหนดให 3. ผูเขียนตองคนควาขอมูลกอนกําหนดจุดประสงคในการทํา
เกิดจากปญหา ความสงสัย การตั้งคําถามของผูจัดทํา 4. ผูเขียนควรลงมือเขียนดวยความเขาใจ แลวจึงแบงเนื้อหาเปนบทๆ
ทักษะที่ เนนกระบวนการรวบรวม วิเคราะห สังเคราะหขอมูล แลวนํามา วิเคราะหคําตอบ การเขียนรายงานการศึกษาคนควาผูเขียนจะตองเลือก
ใชปฏิบัติ เรียบเรียงตามความเขาใจ โดยใชสํานวนภาษาของผูจัดทํา เรื่อง กําหนดวัตถุประสงคและขอบเขตของการทํารายงาน วางโครงเรื่อง
ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดําเนินงานตั้งแตตนจนจบ รวบรวม วิเคราะห จัดหมวดหมูขอมูล สังเคราะห แลวนํามาเรียบเรียง
เปาหมาย ไดขอสรุปเปนรูปเลมรายงาน ผูจัดทํามีความเขาใจในหัวขอนั้น ตามความเขาใจ โดยใชสํานวนภาษาของตนเอง จากตัวเลือกที่กําหนดให
มีแนวทางที่ถูกตองเพียงประการเดียวและนับเปนสิ่งสําคัญที่สุดสําหรับ
ไดคําตอบสําหรับคําถามที่ตั้งไว หรือมีชิ้นงานที่นําไปตอยอดได
การเขียนรายงานการศึกษาคนควา คือ ผูเขียนตองเขาใจวัตถุประสงคของ
หมายเหตุ: บรรทัดบนเปนลักษณะของรายงาน สวนบรรทัดลางเปนโครงงาน รายงานที่ตนเองจะจัดทํากอน ดังนั้นจึงตอบขอ 1.

64 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
๘.๒ ขัน้ ตอนการเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการเขียน
รายงานการศึกษาคนควาผานขอคําถามของครู
การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้ามีขั้นตอนการเขียน ดังนี้
• โครงงานแตกตางจากรายงานการศึกษา
๑) ก�าหนดเรือ่ งและขอบเขตของเนือ้ หา โดยอาจเป็นเรือ่ งทีถ่ กู ก�าหนดหัวข้อหรือก�าหนด คนควาอยางไร
หัวข้อเอง ซึ่งการก�าหนดหัวข้อเอง ควรค�านึงถึงสิ่งต่อไปนี้ (แนวตอบ รายงานการศึกษาคนควา คือ
๑. เป็นเรื่องที่น่าสนใจ มีแหล่งข้อมูลเพียงพอที่จะศึกษาค้นคว้า การศึกษาเรื่องหรือประเด็นที่เลือกจาก
๒. เป็นเรื่องที่ผู้เขียนสนใจและมีความถนัด เหมาะสมกับเวลาและความสามารถ ความสนใจหรือไดรับมอบหมาย โดยใช
๒) ก�าหนดจุดมุ่งหมาย เมื่อได้หัวข้อผู้เขียนควรก�าหนดจุดมุ่งหมายของการท�ารายงานว่า วิธีการเก็บรวบรวม สังเคราะหขอมูล แลวนํา
จะศึกษาค้นคว้าหัวข้อนั้นในด้านใด อย่างไร เพื่อตอบค�าถามใด คาดหวังจะได้รับความรู้ใด มาเรียบเรียงดวยความเขาใจและสํานวน
๓) เขียนโครงเรือ่ ง โดยใช้เป็นกรอบเพือ่ เป็นแนวทางในการเขียนรายงาน ก�าหนดหัวข้อหลัก ภาษาของตนเอง สวนโครงงานเปนกิจกรรม
หัวข้อย่อย ตามล�าดับ โดยเขียนให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของรายงาน ซึ่งเปดโอกาสใหผูจัดทําไดศึกษาคนควา
๔) ส�ารวจแหล่งข้อมูล โดยแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ลงมือปฏิบัติดวยตนเอง โดยใชกระบวนการ
๑. ข้อมูลที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ เอกสารหรือหลักฐานต่างๆ เช่น หนังสือ วารสาร ทางวิทยาศาสตร)
นิตยสาร จดหมายเหตุ วิทยานิพนธ์ บทความ เป็นต้น • หากกลุมของนักเรียนไดรับมอบหมายใหทํา
๒. ข้อมูลภาคสนาม ได้แก่ ข้อมูลที่รวบรวมขึ้นจากการส�ารวจ การใช้แบบสอบถาม รายงานการศึกษาคนควาจะมีลําดับขั้น
การสัมภาษณ์ การสังเกต เป็นต้น ในการทํารายงานครั้งนี้อยางไร
๕) รวบรวมข้ อ มู ล โดยเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล อย่ า งเป็ น ระเบี ย บและแยกเป็ น กลุ ่ ม เพื่ อ (แนวตอบ ควรปฏิบัติเปนลําดับขั้น ดังตอไปนี้
ความสะดวกในการวิเคราะห์ ควรจัดท�าบัตรบันทึกข้อมูลที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับหัวข้อเรื่องที่บันทึก • ปรึกษาและลงมติเพื่อเลือกเรื่อง
1 • กําหนดวัตถุประสงคของรายงาน
แหล่งที่มาของข้อมูล แหล่งค้นคว้า และการสรุปใจความส�าคัญของเรื่อง การท�าบัตรบันทึกข้อมูลควร
บันทึกข้อมูล ๑ หัวข้อต่อบัตรบันทึกข้อมูล ๑ แผ่น • สํารวจแหลงขอมูลเบื้องตน
• เขียนโครงเรือ่ งเพือ่ กําหนดเนือ้ หา ขอบเขต
๖) วิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล โดยควรท� า ความเข้ า ใจ ตี ค วามข้ อ มู ล ที่ ศึ ก ษา หากข้ อ มู ล เป็ น
ของรายงาน
การแสดงความคิดเห็น ผู้เขียนรายงานต้องอภิปรายว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย ถ้าเป็นข้อมูลภาคสนาม
• รวบรวม วิเคราะห จัดหมวดหมูขอมูล
อาจใช้วิธีการทางสถิติร่วมด้วย 2
• เรียบเรียงขอมูลตามโครงเรื่อง โดยใช
๗) เรียบเรียงเนื้อหา หา โดยผู้เขียนจะต้องเรียบเรียงรายงานตามส่วนประกอบของรายงาน ความเขาใจและสํานวนภาษาของตนเอง
คือ ส่วนประกอบตอนหน้า ส่วนเนื้อหา และส่วนประกอบตอนท้าย โดยเฉพาะส่วนเนื้อหาผู้เขียน • อานทบทวนเนื้อหา หากพบขอบกพรอง
ต้องน�าข้อมูลที่จัดระเบียบ วิเคราะห์ และตีความแล้วมาเรียบเรียงจากความเข้าใจโดยใช้ภาษาทางการ ควรแกไข และเขียนบรรณานุกรม
๘) อ่านทบทวน โดยผู้เขียนควรปรับปรุง แก้ไขส�านวนภาษาเพื่อให้รายงานมีความสมบูรณ์ • นําสวนเนื้อหาที่เรียบเรียงแลว รวบรวม
๙) เขียนส่วนประกอบอื่นของรายงาน เช่น บรรณานุกรม สารบัญ หน้าปก จัดท�าเป็น เขากับสวนประกอบอื่นๆ ของรายงาน
รูปเล่ม เพื่อน�าเสนอ ใหไดเปนรูปเลมรายงานที่มีความครบถวน
สมบูรณ)
65

บูรณาการเชื่อมสาระ
การรวบรวมขอมูลเปนหนึ่งในขั้นตอนการเขียนรายงานการศึกษาคนควา นักเรียนควรรู
สามารถบูรณาการไดกับเรื่องการยอความ ในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
1 บัตรบันทึกขอมูล วิธีการบันทึกขอมูลลงบนบัตรบันทึกขอมูล ผูบันทึกจะตอง
วิชาหลักภาษาและการใชภาษา โดยใหนักเรียนใชทักษะการยอความ
ระบุหัวเรื่อง แหลงที่มาของเรื่อง เนื้อเรื่อง แหลงคนควาใหละเอียด ครบถวน ชัดเจน
อานตําราวิชาการเกี่ยวกับการเขียนรายงานการศึกษาคนควา จํานวน 15 เลม
แลวจึงจัดเก็บเรียงตามลําดับตัวอักษรของหัวเรื่อง หรือชื่อผูแตง ดังตัวอยาง
แลวบันทึกสาระสําคัญลงบนบัตรบันทึกขอมูลทีจ่ ดั ทําขึน้ เองจากกระดาษ
100 ปอนด หรือกระดาษที่มีความแข็งเทากับปกสมุด โดยตัดใหมีขนาด 3 คูณ การเขียน
5 นิ้ว, 4 คูณ 6 นิ้ว หรือ 5 คูณ 7 นิ้ว รวบรวมสงครู กองเทพ เคลือบพณิชกุล. การเขียนเชิงปฏิบัติการ. กรุงเทพฯ: โอเดียน
ผลที่ไดรับจากการปฏิบัติกิจกรรมบูรณาการจะทําใหนักเรียนไดฝกทักษะ สโตร, 2544, หนา 48.
แบบเชื่อมโยง โดยนําแนวทางการยอความมาใชใหเกิดประโยชนตอชีวิต การเขียน คือ ทักษะการใชภาษาที่แสดงออกเพื่อถายทอดความรูสึก ความคิด
ประจําวัน นอกจากนี้ขอมูลที่นักเรียนบันทึกไว ยังเปนประโยชนเมื่อตองจัดทํา ความรู ประสบการณ จินตนาการ เปนลายลักษณอักษรสูผูอาน
รายงานการศึกษาคนควา หอสมุดแหงชาติ

2 เรียบเรียงเนื้อหา ควรใชถอยคําในระดับที่เปนทางการอานเขาใจงาย ใชคําได


ถูกตองตามหนาที่ ความหมาย ใชศัพททางวิชาการไดถูกตอง เหมาะสม รูปประโยค
กระชับ ถูกหลักไวยากรณ สื่อความรู ความคิด ความเขาใจที่เปนประโยชนตอผูอาน

คู่มือครู 65
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
ครูสุมเรียกชื่อนักเรียน เพื่ออธิบายความรูของ
ตนเองผานขอคําถามของครู ๘.๓ ส่วนประกอบของรายงาน
• โครงเรื่องมีความสําคัญตอการจัดทํารายงาน
ส่วนประกอบของรายงาน สามารถแบ่งได้ ๓ ส่วน ดังนี้
การศึกษาคนควาอยางไร
๑) ส่วนประกอบตอนหน้า ได้แก่
(แนวตอบ โครงเรื่อง คือ กรอบที่ผูทํารายงาน
๑. ปกนอก ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ชื่อผู้เขียนรายงาน ชื่อครูผู้สอน ชื่อวิชา ชื่อสถาบัน
เขียนขึ้น เพื่อกําหนดเนื้อหาสวนตางๆ
ภาคการศึกษา ปีการศึกษา
ใชเปนแนวทางสําหรับการเขียนเรียบเรียง
๒. ใบรองปก เป็นกระดาษเปล่า ๑ แผ่น ที่คั่นอยู่ระหว่างปกนอกและปกใน
เนือ้ หาสาระ โดยลําดับความสําคัญของเนือ้ หา
๓. ปกใน เป็นกระดาษสีขาวธรรมดา เขียนรายละเอียดเหมือนปกนอก
เปนหัวขอใหญ หัวขอรอง และหัวขอยอย
๔. ค�าน�า กล่าวถึงเนื้อหาโดยสรุปของรายงาน เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจภาพรวมของรายงาน
ทําใหมองเห็นภาพรวมของเนื้อหา พิจารณา
ในเบื้องต้น เช่น บอกจุดมุ่งหมายในการศึกษาค้นคว้า ความส�าคัญ ขอบเขต ประโยชน์ของรายงาน
ไดวายังขาดเนื้อหาในสวนใด ปรับปรุงให
ตลอดจนกล่าวขอบคุณผู้ให้ความช่วยเหลือจนกระทั่งรายงานเสร็จสมบูรณ์
ครอบคลุมกับวัตถุประสงคและขอบเขตของ
๕. สารบัญ เป็นการเรียงล�าดับหัวข้อของเนื้อเรื่องในรายงานโดยบอกเลขหน้าก�ากับ
รายงาน)
เพื่อสะดวกในการค้นหา 1
๒) ส่วนเนื้อหา
หา ได้แก่
ขยายความเข้าใจ Expand ๑. บทน�า กล่าวถึง หัวข้อของรายงาน หลักการ เหตุผล สภาพปัญหา หรือความส�าคัญ
1. นักเรียนเขากลุมเดิมอีกครั้ง รวมกันจัดทํา ของเรื่องที่ศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาคนควาในหัวขอที่กลุมสนใจ ๒. เนือ้ หาสาระ ส่วนทีส่ า� คัญทีส่ ดุ ของรายงาน เพราะเป็นความรูท้ ไี่ ด้จากการศึกษาค้นคว้า
ใชเวลาสําหรับการจัดทํา 1 สัปดาห นําเสนอ ถ้าเป็นรายงานที่มีขนาดยาวอาจแบ่งเนื้อหาเป็นบทย่อยๆ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่าย
เปนรูปเลมรายงานที่ถูกตอง สมบูรณ พรอมสง ๓. บทสรุป เป็นการสรุปผลการศึกษาค้นคว้า อาจมีการอภิปรายเพิม่ เติมหรือข้อเสนอแนะ
บัตรบันทึกขอมูลทีร่ ว มกันสืบคนขณะทํารายงาน ในการศึกษาเรื่องนั้นๆ ต่อไป
2. นักเรียนรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมิน ๓) ส่วนท้าย ได้แก่
รูปเลมของรายงานที่รวมกันจัดทํา ๑. บรรณานุกรม หมายถึง รายชื่อหนังสือ เอกสารอ้างอิงที่น�ามาใช้เป็นข้อมูลในการเขียน
(แนวตอบ เกณฑควรครอบคลุม ดังตอไปนี้ รายงานทางวิชาการ การเขียนบรรณานุกรมจะต้องจัดล�าดับของหนังสือหรือเอกสาร โดยเรียงล�าดับ
• ความสมบูรณ ถูกตองขององคประกอบ ชื่อผู้แต่งตามล�าดับอักษรในพจนานุกรม ชื่อผู้แต่งภาษาไทยล�าดับก่อนชื่อผู้แต่งชาวต่างประเทศ เช่น
• หัวขอรายงานมีความนาสนใจ เรียบเรียง ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๐). พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย. กรุงเทพมหานคร: ยูเนียน
เนื้อหาไดสอดคลองกับโครงเรื่องที่วางไว อุลตร้าไวโอเล็ต.
• ใชภาษาเรียบเรียงไดเหมาะสม เขาใจงาย Dr. Ou. (1998). โรคเอดส์ (AIDS). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http: //www.thaiclinic.
ชัดเจน สื่อความรู ความคิด ความเขาใจ com/hiv.html. (วันที่สืบค้นข้อมูล: ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๑).
• อางอิงแหลงขอมูลไดถูกตองในรูปแบบ ๒. ภาคผนวก หมายถึง เนื้อหาหรือข้อมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อเรื่อง ซึ่งผู้เขียน
เชิงอรรถและบรรณานุกรม คิดว่ามีประโยชน์ต่อผู้อ่าน ซึ่งส่วนประกอบส่วนนี้จะมีหรือไม่มีก็ได้
• มารยาทในการทํารายงาน เชน การเลือก
ใชปก รูปแบบ ขนาดตัวอักษร) 66

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดเปนหลักการใชภาษาเพื่อเขียนสื่อสารในรูปแบบรายงานการศึกษา
1 สวนเนื้อหา รายงานการศึกษาคนควาเลมหนึ่งๆ จะมีคุณภาพ สื่อความรู
คนควา
ความคิดที่เปนประโยชนแกผูอานหรือไมนั้น สําคัญที่การวางโครงเรื่อง ซึ่งเปน
1. ผูเขียนสามารถเขียนอยางไรก็ได เพราะเปนรายงานของตนเอง
กรอบที่ผูเขียนรายงานวางไวเพื่อกําหนดสวนตางๆ ของเนื้อหา และใชเปนแนวทาง
2. ผูเขียนควรใชศัพททางวิชาการ เพื่อเพิ่มคุณคาใหแกรายงานของตนเอง
ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การเรียบเรียงเนื้อหาสาระ วิธีการวาง 3. ผูเขียนควรเขียนดวยสํานวนภาษาที่มีความไพเราะ งดงาม สละสลวย
1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับประชาคม โครงเรื่องจะเริ่มกําหนดเนื้อหาเปนหัวขอ
อาเซียน 4. ผูเขียนควรเขียนใหชัดเจนดวยสํานวนภาษาของตนเอง ผูอื่นอาน
1.1 สภาพภูมิศาสตรของอาเซียน ใหญ หัวขอรอง และหัวขอยอยไวตาม แลวเขาใจ
1.2 ประเทศสมาชิกอาเซียน ลําดับความสําคัญ โครงเรื่องที่ดีตอง
1.3 อัตลักษณอาเซียน
2. พัฒนาการอาเซียน มีความสอดคลองกับวัตถุประสงคและ วิเคราะหคําตอบ การเขียนรายงานการศึกษาคนควาที่ดี ควรใชถอยคํา
2.1 ความเปนมาของอาเซียน ขอบเขตของรายงาน เชน ถาจะทํา สํานวนโวหารในระดับทางการหรือกึ่งทางการ ตรงไปตรงมา ผูอื่นอานแลว
2.2 ประชาคมอาเซียน
3. ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน รายงานเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียน เขาใจไดงาย ใชคําไดถูกตองตามหนาที่ ใชคําศัพททางวิชาการไดเหมาะสม
3.1 การเตรียมตัวเขาสูประชาคม การเตรียมตัวเขาเปนสมาชิกอาเซียน ไมควรมากจนเกินไป ใชประโยคที่กระชับ ถูกตองตามหลักไวยากรณ
อาเซียนของไทย
3.2 ประโยชนของไทยกับการเขาสู ประโยชนที่ไดรับ โดยกําหนดขอบเขตวา เปนสํานวนภาษาของตนเอง จากตัวเลือกที่กําหนดขอที่มีความถูกตองที่สุด
ประชาคมอาเซียน จะศึกษาเฉพาะประเทศไทย จะทําให ผูเขียนรายงานควรเขียนใหชัดเจน อานเขาใจงาย และเปนสํานวนของตนเอง
3.3 บทบาทของไทยในอาเซียน
สามารถวางโครงเรื่องไดดังภาพซายมือ ดังนั้นจึงตอบขอ 4.
66 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน โดยเริ่ม
๓. อภิธานศัพท์ หมายถึง การอธิบายค�าศัพท์เฉพาะเรื่อง ซึ่งเป็นค�าศัพท์ยากที่ได้กล่าวไว้ จากการใหคํานิยามของ “โครงงาน” จากนั้นให
นักเรียนยกตัวอยางโครงงานวิชาตางๆ ที่เคย
ในเนื้อหาของรายงาน เพื่อช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจง่ายยิ่งขึ้น ซึ่งส่วนประกอบส่วนนี้จะมีหรือไม่มีก็ได้
ปฏิบัติ
๔. ดัชนี หมายถึง บัญชีคา� ทีจ่ ดั เรียงตามล�าดับตัวอักษรเฉพาะค�าส�าคัญทีก่ ล่าวไว้ในรายงาน
และมีเลขหน้าของค�าเหล่านั้นปรากฏในรายงานเพื่อให้สะดวกต่อการค้นคว้า ซึ่งส่วนประกอบส่วนนี้
จะมีหรือไม่มีก็ได้
ส�ารวจค้นหา Explore
แบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 5 คน
๙ การเขียนรายงานโครงงาน ตามความสมัครใจ หรืออาจใชกลุม เดิมทีศ่ กึ ษา
โครงงาน หมายถึง งานทีผ่ สู้ อนมอบหมายให้ผเู้ รียนศึกษาหาความรูด้ ว้ ยตนเองตามความสนใจ ในหัวขอรายงานการศึกษาคนควา แตละกลุม
และความถนัด โดยการแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบ ระบุปัญหา ตั้งสมมติฐาน วางแผนการศึกษา จัดโตะหันหนาเขากัน รวมสนทนาเพื่อหาคําตอบ
ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุปผลการศึกษาค้นคว้า แล้วน�าเสนอผลงานต่อครูผู้สอน ในประเด็น “การปฏิบัติโครงงานและการเขียน
ส่วนการเขียนรายงานโครงงาน หมายถึง รายงานการท�างานตามโครงงาน ผู้เขียนควรมี รายงานโครงงาน”
ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบและขั้นตอนการเขียนรายงานเป็นอย่างดี จึงจะสามารถ
เขียนได้ถกู ต้องและชัดเจน การเขียนรายงานโครงงานจึงมีลกั ษณะคล้ายกับการเขียนรายงานการศึกษา อธิบายความรู้ Explain
ค้นคว้า นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
ส่วนประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งได้ ๓ ส่วน ดังนี้ อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการเขียน
๑) ส่วนหน้า ประกอบด้วย ปกนอก ใบรองปก ปกใน บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ ค�าน�า รายงานโครงงาน โดยใชความรู ความเขาใจ
และสารบัญ ที่ไดรับจากการสนทนาภายในกลุมของตนเอง
๒) ส่วนเนื้อหา แบ่งเป็น ๕ บท ดังนี้ เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
บทที่ ๑ บทน�า กล่าวถึงหลักการ เหตุผล สภาพปัญหา เป้าหมาย และจุดประสงค์ของ • การเขียนรายงานโครงงานมีลักษณะสําคัญ
การท�าโครงงาน ก�าหนดขอบข่ายการด�าเนินงาน ระยะเวลา สถานที่ และสมมติฐาน อยางไร
บทที่ ๒ การส�ารวจแหล่งข้อมูลที่ใช้ในการท�าโครงงาน แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ (แนวตอบ การเขียนรายงานโครงงานเปน
๑. ข้อมูลจากเอกสารหรือหลักฐานต่างๆ ที่บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น วิธีหนึ่งในการนําเสนอโครงงาน ที่คณะ
หนังสือ บทความ วารสาร นิตยสาร จดหมายเหตุ จารึก วิทยานิพนธ์ และรายงาน เป็นต้น ผูจัดทําไดลงมือปฏิบัติตั้งแตตนจนจบ
๒. ข้อมูลภาคสนาม เป็นข้อมูลที่ผู้เขียนรายงานได้รวบรวมขึ้นจากการส�ารวจ ภายในระยะเวลาที่กําหนด ดังนั้น การเขียน
การสังเกต การสัมภาษณ์ แบบทดสอบ และการทดลอง รายงานโครงงานจึงเกิดขึ้นหลังจากการ
บทที่ ๓ ขั้นตอนการท�างาน วิธีการด�าเนินงาน แนวทางแก้ไขเพื่อให้ได้ค�าตอบในสิ่งที่ ลงมือปฏิบัติโครงงานแลว)
ผู ้ เรี ย นตั้ ง ประเด็ น ไว้ เริ่ ม ตั้ ง แต่ ก ารก� า หนดเรื่ อ ง ขอบเขตของเนื้ อ หา การส� า รวจแหล่ ง ข้ อ มู ล
การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเรียบเรียงเนื้อหา การอ้างอิง และบรรณานุกรม

67

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดแบงระยะของการปฏิบัติโครงงานไดเหมาะสมและถูกตอง
ครูควรชี้แจงแกนักเรียนวาการเขียนรายงานการศึกษาคนควากับการเขียนรายงาน
1. ขั้นออกแบบ ขั้นลงมือ และรายงานผล ขั้นติดตามผล
โครงงานแตกตางกัน โดยการเขียนรายงานการศึกษาคนควา คือ การเขียนเรียบเรียง
2. ขั้นออกแบบและเขียนเคาโครง ขั้นลงมือ ขั้นรายงานผล
เนื้อหาสาระที่ไดจากการศึกษาในหัวขอหนึ่งๆ ที่เลือกเอง หรือครูเปนผูกําหนดให
3. ขั้นออกแบบ ขั้นเขียนเคาโครง ขั้นลงมือ ขั้นแกปญหา ขั้นรายงานผล
สวนการเขียนรายงานโครงงานเปนกระบวนการหนึ่งของการนําเสนอโครงงานซึ่งได
4. ขั้นออกแบบ ขั้นเขียนเคาโครง ขั้นลงมือ และแกปญหา ขั้นรายงานผล
กระทําจนแลวเสร็จตามระยะเวลาที่กําหนด ความแตกตางที่ปรากฏนั้นอยูในสวน
วิเคราะหคําตอบ ขั้นตอนการปฏิบัติโครงงานมีทั้งสิ้น 3 ระยะ ไดแก ของเนื้อหา ครูอาจยกตัวอยางหนาสารบัญของรายงานการศึกษาคนควาใหนกั เรียนดู
ขั้นออกแบบและเขียนเคาโครง สมาชิกภายในกลุมจะตองชวยกันออกแบบ 2-3 ตัวอยาง เปรียบเทียบกับหนาสารบัญของรายงานโครงงาน 2-3 ตัวอยาง เชนกัน
โครงงาน แลวเขียนเคาโครงของโครงงานเพื่อนําเสนอ ขอความเห็นจาก ความแตกตางที่สังเกตได คือ แตละบทซึ่งถูกบรรจุอยูในรายงานการศึกษาคนควา
อาจารยที่ปรึกษาโครงงาน ระยะที่ 2 ขั้นลงมือปฏิบัติ เมื่อเคาโครงที่นําเสนอ เลมหนึ่งๆ จะไมมีรูปแบบตายตัวขึ้นอยูกับวาผูจัดทํารายงานเลือกศึกษาในประเด็นใด
ไดรับความเห็นชอบ ผูรับผิดชอบนําไปปฏิบัติตามขั้นตอนที่วางไวตามระยะ สวนบทซึ่งถูกบรรจุในรายงานโครงงานจะมีทั้งสิ้น 5 บท ไดแก บทที่ 1 บทนํา
เวลาที่กําหนด และระยะที่ 3 คือ รายงานผลการปฏิบัติโครงงาน บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ บทที่ 3 วิธีการดําเนินโครงงาน บทที่ 4 ผลการศึกษาของ
ดังนั้นจึงตอบขอ 2. โครงงาน บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ

คู่มือครู 67
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
ครูสมุ เรียกชือ่ นักเรียนเพือ่ อธิบายความรูเ กีย่ วกับ
ขั้นตอนการปฏิบัติโครงงานและการเขียนรายงาน บทที่ ๔ การวิเคราะห์จัดเก็บข้อมูล ท�าความเข้าใจ และตีความข้อมูลที่ได้ศึกษา ถ้าข้อมูล
โครงงาน ผานขอคําถามของครู ที่เป็นความคิดเห็น ผู้เขียนต้อ1งอภิปรายว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับความคิดเห็นนั้น พร้อมเหตุผล
• หากกลุมของนักเรียนไดรับมอบใหปฏิบัติ ถ้าเป็นข้อมูลภาคสนามผูเ้ ขียนรายงานควรใช้วธิ กี ารทางสถิตเิ ข้ามาช่วยย ไม่ควรน�าข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
โครงงาน และเขียนรายงานโครงงานจะมี มาเรียงต่อกัน การเรียบเรียงเนือ้ หารายงานควรเรียงล�าดับตามส่วนประกอบของรายงาน คือ ส่วนประกอบ
ขั้นตอนการปฏิบัติอยางไร ส่วนหน้า ส่วนเนื้อหา และส่วนท้าย ต้องน�าข้อมูลที่จัดระเบียบ วิเคราะห์ และตีความมาเรียบเรียง
(แนวตอบ มีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังตอไปนี้ ตามล�าดับขั้นตอนด้วยส�านวนภาษาของตนเอง ใช้ภาษาระดับทางการ มีแบบแผน ตรงไปตรงมา
• รวมกลุมกันเพื่อเลือกหัวขอ หรือประเด็น ชัดเจน และสมบูรณ์
โครงงาน บทที่ ๕ เป็นการสรุปการด�าเนินงานด้วยถ้อยค�าภาษาที่กระชับ ได้ใจความครบถ้วน
• วางแผนดวยวิธีการเขียนโครงราง เขียนสรุปความรูท้ ไี่ ด้จากการศึกษา ปัญหา และอุปสรรคทีพ่ บระหว่างการด�าเนินงาน แนวทางการแก้ไข
หรือเคาโครงของโครงงานเพื่อนําเสนอ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ขอความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา ๓) ส่วนท้ายหรือส่วนอ้างอิง ได้แก่
• เมื่อไดรับความเห็นชอบแลว จึงลงมือ ๑. บรรณานุกรม (เอกสารอ้างอิง) หมายถึง แหล่งที่มาของข้อมูล หนังสือ หรือเอกสาร
ปฏิบัติตามแผนการที่วางไว หากพบ ที่น�ามาใช้ในการเขียนรายงานโครงงาน โดยจัดล�าดับของหนังสือหรือเอกสารตามอักษรชื่อผู้แต่ง
ปญหาหรืออุปสรรคระหวางปฏิบัติ เรียงตามล�าดับอักษรในพจนานุกรม เพื่อให้ผู้อ่านสามารถตรวจทานข้อเท็จจริง หรือศึกษาเพิ่มเติมได้
ควรแจงที่ปรึกษา หาวิธีการแกไข บันทึก ๒. ภาคผนวก
ขอมูล เหตุการณ วิธีการแกไขไวอยาง - รูปภาพกิจกรรม
ละเอียดเพื่อประโยชนสําหรับการเขียน - เอกสารขออนุญาตทางราชการ
รายงานโครงงาน - แบบสอบถาม แบบทดสอบต่างๆ
• นําเสนอในรูปแบบรายงานโครงงาน)
• เคาโครงของโครงงานมีสวนประกอบใดบาง ๑๐ การเขียนวิเคราะห์วิจารณ์
(แนวตอบ ไดแก ชื่อโครงงาน ผูรับผิดชอบ การเขียนวิเคราะห์วิจารณ์ เป็นกระบวนการเขียนที่ผู้เขียนน�าเสนอสารผ่านการพิจารณา
โครงงาน ที่มาของโครงงาน จุดประสงคของ แยกแยะข้อมูล วิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย จุดเด่น จุดด้อย น�าไปประเมินค่า เพื่อน�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวัน
โครงงาน ขอบเขตเนื้อหาและระยะเวลา ๑๐.๑ หลักการเขียนวิเคราะห์วจิ ารณ์
การทําโครงงาน หลักวิชาที่นํามาใชในการ การเขียนวิเคราะห์วิจารณ์มีหลักการ ดังนี้
ทําโครงงาน วิธีปฏิบัติในการทําโครงงาน ๑. ศึกษาเรื่องที่จะวิเคราะห์วิจารณ์อย่างละเอียดให้เข้าใจถ่องแท้
และผลที่คาดวาจะไดรับ) ๒. วิเคราะห์แยกแยะเนือ้ หาเป็นส่วนๆ ว่ามีลกั ษณะอย่างไร มีความสัมพันธ์กนั หรือไม่ อย่างไร
๓. วิเคราะห์ วิจารณ์เนื้อหาของเรื่องที่อ่านแล้วประเมินค่าว่ามีข้อดี ข้อเสีย จุดเด่น จุดด้อย
ขยายความเข้าใจ Expand และมีคุณค่าอย่างไร
๔. วิจารณ์ในทางสร้างสรรค์ เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น
นักเรียนเขากลุมเดิมรวมกันจัดทําโครงงาน
๕. เรียบเรียงความคิดทีว่ เิ คราะห์วจิ ารณ์โดยใช้คา� ทีก่ ระชับ ชัดเจน
ภาษาไทย โดยเลือกประเด็นตามมติของกลุม
แลวดําเนินการตามขั้นตอนการปฏิบัติที่ถูกตอง 68
พรอมนําเสนอรูปเลมรายงานโครงงาน

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ขอใดกลาวถึงลักษณะสําคัญของการเขียนวิเคราะหวิจารณไดถูกตองที่สุด
การเรียนการสอนในหัวขอการเขียนแสดงความรู การเขียนวิเคราะหวิจารณ
1. เปนกระบวนการเขียนเพื่อแสดงความรูของผูเขียน
การเขียนแสดงความคิดเห็น และการเขียนโตแยง เหลานี้ลวนเปนการเขียนที่มี
2. เปนกระบวนการเขียนเพื่อทําใหผูอานเกิดอารมณความรูสึกคลอยตาม
วัตถุประสงคเฉพาะ ในกระบวนการอธิบายความรูจึงไดนํามาตั้งเปนขอคําถามรวมกัน
3. เปนกระบวนการเรียบเรียงเนื้อหาสาระที่ไดจากการศึกษาในประเด็นหนึ่งๆ
สวนกระบวนการขยายความเขาใจจะใหนักเรียนสรางสรรคงานเขียนของตนเอง
4. เปนกระบวนการเขียนเพือ่ แสดงความคิดเห็น โดยชีใ้ หเห็นทัง้ ขอดี และขอดอย
ในลักษณะองครวม สรางสรรคบทวิจารณดวยตนเอง เพราะในบทวิจารณยอมแสดง
ความรู ความคิดเห็น อาจปรากฏขอโตแยงของผูเขียนไดในขณะเดียวกัน วิเคราะหคําตอบ การเขียนวิเคราะหวิจารณ คือ การเขียนแสดงความ
คิดเห็นของผูเขียนที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยแจกแจงให
เห็นสวนประกอบแตละสวนวามีขอดี ขอดอยอยางไร เปนกระบวนการเขียน
นักเรียนควรรู เพื่อแสดงความคิดเห็นโดยการวิเคราะห แยกแยะขอมูล ทําใหมองเห็น
แตละสวนประกอบวามีความสัมพันธกันอยางไร นําไปสูการตัดสินประเมินคา
1 ผูเขียน ผูเขียนวิเคราะห วิจารณที่ดีตองมีความเปนกลาง ไมลําเอียงเขาขาง ดังนั้นจึงตอบขอ 4.
ฝายใดฝายหนึ่ง มีอคติตองาน หรือเจาของงาน รวมทั้งควรเปนผูที่มองโลกอยาง
สรางสรรค ผูเขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความคิดเห็นควรตระหนักไวเสมอวา
“ความคิดเห็นที่ดีคือความคิดที่สามารถแกปญหาได”
68 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
1. ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน กระตุน
๑๐.๒ ตัวอย่างการเขียนวิเคราะห์วจิ ารณ์ ความสนใจดวยวิธีการแสดงใหดูเปนตัวอยาง
เริ่มจากตั้งประเด็นสนทนาเกี่ยวกับโฆษณา
สารคดีที่นÓมาเขียนวิเคราะห์วิจารณ์ ในปจจุบัน จากนั้นครูยกตัวอยางโฆษณาที่ครู
ชื่นชอบ เลาเรื่องโดยสังเขปใหนักเรียนฟง
ตลาดน�้าอัมพวา ชีวิตชีวาก�าลังจะหวนคืน บอกสาเหตุที่ครูชอบโฆษณาดังกลาว จากนั้น
เสียงเพลงลูกทุ่งแว่วหวานกังวานมาแต่ไกล ในขณะที่แสงไฟเริ่มเต้นกะพริบไปตามจังหวะ ตั้งคําถามกับนักเรียนวา
เสียงเพลง ห่างออกไปไม่ไกลนัก เรือพายล�าน้อยหากเต็มไปด้วยขนม ผลไม้จากบ้านสวนหลายล�า • พฤติกรรมที่ครูทําไปขางตน นักเรียนคิดวา
ก�าลังมุ่งหน้าใกล้เข้ามา...นานมาแล้วที่ความครึกครื้นเช่นนี้ห่างหายไปจากล�าคลองอัมพวา เปนพฤติกรรมในลักษณะใด
หลายสิบปีผ่านมาแล้วที่ตลาดน�้าอัมพวา อ�าเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ผ่านวันเวลา (แนวตอบ คําตอบของนักเรียนมีความ
อันเงียบเหงา หลังจากเส้นทางสัญจรทางน�า้ เริม่ หมดความส�าคัญและถนนหนทางเข้ามาทดแทนที ่ หลากหลาย ขึ้นอยูกับพื้นฐานความรูเดิม)
ตลาดน�้าบริเวณปากน�้าอัมพวาติดกับแม่น�้าแม่กลองแห่งนี้ ซึ่งเดิมทีเป็นจุดแลกเปลี่ยนซื้อขาย หลังคําตอบของนักเรียนครูควรชี้แนะเพิ่มเติม
สินค้าอันส�าคัญที่สุดของเมืองแม่กลองจึงค่อยๆ ซบเซาลงไป เรือหลายร้อยที่เคยลอยล�าบรรทุก วาพฤติกรรมเมื่อสักครู คือ การพูดเพื่อแสดง
ข้าวของเครื่องใช้ อาหารคาวหวาน ก็ห่างหายไปจนล�าคลองแห่งนี้เงียบเหงาตามไปด้วย ความคิดเห็น ซึ่งเปนพื้นฐานของการพูด
หากวันนี้ ภาพอดีตของล�าคลองสายนี้คล้ายก�าลังถูกปะติดปะต่อฟื้นกลับขึ้นมาอีกหน ด้วย วิเคราะหวิจารณ การแสดงความคิดเห็น
ความพยายามของชาวชุมชนอัมพวากับการสนับสนุนของเทศบาลต�าบลอัมพวา ที่ช่วยกันพัฒนา ของมนุษยสามารถกระทําได 2 ชองทาง คือ
บริเวณถนนหน้าเทศบาลให้เป็นสถานทีจ่ า� หน่ายอาหาร ขนม และผลไม้หลากหลายชนิดพร้อมๆ กับ ผานการพูดและการเขียน
ชักชวนชาวบ้านสวนจากล�าคลองอื่นละแวกใกล้เคียง ให้ลอยเรือน�าสินค้าอาหารมาจ�าหน่าย 2. ครูนําภาพนี้ใหนักเรียนดู แลวตั้งคําถาม
เพื่อน�าพาความคึกคักของตลาดน�้าในอดีตกลับคืนสู่ล�าคลองอัมพวา โดยก�าหนดให้มีสัปดาห์ละ
๓ วัน คือ ทุกวันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ ช่วงเวลาบ่ายสี่โมงเย็นไปจนถึงเวลาประมาณสามทุ่ม
ทุกเย็นวันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ เรือนแถวไม้เก่าแก่ริมคลองที่เคยเงียบเหงา จึงกลับมา
มีชีวิตชีวาอีกหน เมื่อคนในชุมชนช่วยกันจัดช่วยกันหาสินค้าผลิตภัณฑ์ซึ่งท�ากันในชุมชนมาวาง
จ�าหน่าย บ้างก็จดั หาเครือ่ งขยายเสียงผลัดกันร้องร�าท�าเพลงสร้างความครึกครืน้ ในขณะทีล่ า� คลอง
เต็มไปด้วยเรือลอยล�าจ�าหน่ายอาหารการกิน ทั้งก๋วยเตี๋ยวเรือ ผัดไทย หอยทอด และขนมไทย
หลากหลายชนิด • นักเรียนคิดวาบุคคลในภาพกําลังแสดง
ตลาดน�า้ ยามเย็นอัมพวาจึงนับเป็นจุดหมายใหม่สา� หรับการท่องเทีย่ วเพือ่ สัมผัสกับอดีตและ พฤติกรรมใด มีความเหมาะสมหรือไม
ความเป็นไปของชุมชนอันเก่าแก่อีกแห่งหนึ่งซึ่งไม่ควรผ่านเลย ทั้งยังมีระยะทางไม่ห่างไกลจาก และสัมพันธกับการเขียนแสดงความคิดเห็น
กรุงเทพฯ มากนัก การเดินทางมาท่องเที่ยวซื้อหาอาหารการกิน นอกจากจะช่วยให้ชาวบ้านมี อยางไร
รายได้เสริมเพิ่มขึ้นแล้ว ยังอาจช่วยต่อเติมก�าลังใจให้กับความพยายามพลิกฟื้นและรักษาอดีต (แนวตอบ บุคคลในภาพกําลังรวมกันแสดง
อันสวยงามของชุมชนได้อีกทางหนึ่งด้วย ความคิดเห็น ซึ่งการยกมือเพื่อแสดง
เจตจํานงในการแสดงความคิดเห็นถือเปน
มารยาทที่เหมาะสม และไมวาจะพูด
69 หรือเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น มารยาท
ถือเปนสิ่งสําคัญ)

ขอสอบเนน การคิด
แนว NT O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดเปนคุณสมบัติของผูที่จะเขียนวิเคราะหวิจารณไดดี
ครูควรใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของผูเขียนที่ดี ไมวาจะเขียน
1. มีอารมณละเอียดออน
งานเขียนประเภทใดก็ตาม ผูเขียนควรมีคุณสมบัติ ดังนี้
2. มีอคติตองานเขียนของผูอื่น
• มีความพรอมและความตองการที่จะเขียน มีแรงบันดาลใจที่จะถายทอดความรู
3. เชื่อมั่นในความคิดเห็นของตนเอง
ความคิดเห็นของตนเอง
4. พิจารณาสิ่งตางๆ ดวยความละเอียดถี่ถวน
• เปนผูมีประสบการณในชีวิต ทั้งทางตรงและทางออม
วิเคราะหคําตอบ ผูที่จะเขียนวิเคราะหวิจารณไดดีจะตองสามารถ • เปนผูมองโลกในแงดี มีคุณธรรม เพราะจะสงผลตอการสรางสรรคงานเขียน
พิจารณา วิเคราะหองคประกอบแตละสวนของสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใด ที่จะชวยประเทืองสติปญญา ยกระดับ และจรรโลงจิตใจผูอานใหสูงขึ้น
เรื่องหนึ่ง โดยสามารถชี้แจงไดวามีลักษณะอยางไร ดีหรือไมดีอยางไร • มีอารมณละเมียดละไม มีความสามารถในการใชภาษาที่ดี
ควรปรับปรุงอยางไร นอกจากนี้จะตองมีใจที่เปนกลาง ปราศจากอคติ • มีทัศนคติที่ดีตองานเขียน
ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ดังนั้นจึงตอบขอ 4. • มีมุมมองความคิดเปนของตนเอง และกวางไกล

คู่มือครู 69
ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Elaborate Evaluate
ส�ารวจค้นหา Explore
นักเรียนจับคูก บั เพือ่ นตามความสมัครใจ รวมกัน
สนทนาแลกเปลี่ยนขอมูล ความรู ความเขาใจ เสียงเพลงลูกทุ่งแว่วหวานกังวานมาแต่ไกล ในขณะที่แสงไฟเริ่มเต้นกะพริบไปตามจังหวะ
เกีย่ วกับคําทีก่ าํ หนดให ตอไปนี้ “แสดงความคิดเห็น” เสียงเพลง ห่างออกไปไม่ไกลนัก เรือพายล�าน้อยหากเต็มไปด้วยขนม ผลไม้จากบ้านสวนหลายล�า
“วิเคราะห วิจารณ” “แสดงความรู” “โตแยง” บันทึก ก�าลังมุ่งหน้าใกล้เข้ามา...นานมาแล้วที่ความครึกครื้นเช่นนี้ห่างหายไปจากล�าคลองอัมพวา
สาระสําคัญของการสนทนาลงสมุด เพื่อใชใน หากวันนี้ บรรยากาศเหล่านั้นคล้ายจะกลับมาเยี่ยมเยือนล�าคลองสายนี้อีกหน
กิจกรรมตอๆ ไป (อนุส�ร อ.ส.ท. เดือน กุมภ�พันธ์ ๒๕๔๘: ส�ยัณห์ ชื่นอุดมสวัสดิ์)

อธิบายความรู้ Explain การเขียนวิเคราะห์วิจารณ์สารคดี เรื่องอัมพวา ชีวิตชีวาก�าลังจะหวนคืน มีดังนี้


สารคดีนมี้ ชี อื่ ว่า “ตลาดน�า้ อัมพวา ชีวติ ชีวาก�าลังจะหวนคืน” การเรียบเรียงถ้อยค�าเพือ่ ตัง้ ชือ่ เรือ่ ง
1. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการเขียน สร้างขอบข่ายให้ผู้อ่านทราบว่าผู้เขียนจะน� าเสนอเรื่องใด ลักษณะการใช้ภาษาเร้าความสนใจและ
เพื่อวัตถุประสงคเฉพาะ โดยใชความรู ชวนให้ตั้งค�าถามว่า “สิ่งที่หายไปจะกลับคืนมาได้ด้วยวิธีการใด” เมื่อเกิดค�าถามจึงน�าไปสู่การติดตาม
1
ความเขาใจทีไ่ ดรบั จากการสนทนารวมกับเพือ่ น ผู้เขียนแบ่งการน�าเสนอเนื้อหาเป็นความน�า ความเชื่อม เนื้อเรื่อง และบทสรุป ส่วนความน�า
เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม ผู้เขียนเรียบเรียงถ้อยค�าบรรยายบรรยากาศที่คึกคักของตลาดน�้าอัมพวา เข้าสู่ความเชื่อมที่ผู้เขียนเล่า
• นักเรียนคิดวา ผูที่จะเขียนแสดงความรู ย้อนอดีตของตลาดน�า้ อัมพวาทีเ่ คยเงียบเหงาเพราะความเปลีย่ นแปลงของยุคสมัย เมือ่ เข้าสูส่ ว่ นเนือ้ หา
ไดประสบผลสําเร็จควรมีคุณสมบัติอยางไร ผู้เขียนให้ค�าตอบแก่ผู้อ่านเกี่ยวกับวิธีน�าสิ่งที่หายไปจากตลาดน�้าอัมพวาให้กลับคืนมา จากนั้นจึงให้
(แนวตอบ ผูที่จะประสบผลสําเร็จในการเขียน ข้อมูลเกีย่ วกับวัน - เวลาการให้บริการ สินค้าทีจ่ �าหน่าย โดยมีจดุ ประสงค์เชิญชวนและโน้มน้าวให้ผอู้ า่ น
เพื่อแสดงความรู ประการแรกตองเปนผูที่มี สนใจเดินทางไปท่องเที่ยว ส่วนสรุปแบ่งเป็นสองย่อหน้า โดยย่อหน้าแรกเป็นข้อความเดียวกับส่วนน�า
ความรอบรูในเรื่องตางๆ ใฝหาความรูใหแก
และย่อหน้าที่สองเน้นย�้าว่าบรรยากาศของความมีชีวิตชีวาได้เกิดขึ้นแล้ว
ตนเองอยูเสมอๆ นอกจากนี้ ผูเขียนยัง
ข้อมูลทีป่ รากฏแสดงให้เห็นว่าผูเ้ ขียนเรียบเรียงสารคดีขนึ้ จากประสบการณ์ ศึกษาค้นคว้าข้อมูล
จะตองมีทักษะความสามารถทางดานภาษา
การใชถอยคํา การผูกและเรียบเรียงประโยค หรือได้สัมผัสกับพื้นที่โดยตรง ความเงียบเหงาที่เคยเกิดขึ้น ความมีชีวิตชีวา ความครึกครื้นเกิดขึ้นและ
เพื่อกระบวนความบรรยาย อธิบายใหผูอาน ยังด�ารงอยู่ การให้บริการ สินค้าต่างๆ เป็นข้อเท็จจริงซึ่งพบได้ในตลาดน�้าอัมพวา ขณะที่ความคิดเห็น
ไดรบั ความรูท แี่ จมแจง สิน้ สงสัย เกิดประโยชน ของผู้เขียนที่ใช้สนับสนุนจุดมุ่งหมายของการเขียนเป็นสิ่งที่ปฏิเสธไม่ได้ เพราะการเดินทางไปท่องเที่ยว
อยางแทจริง) จะท�าให้ตลาดน�า้ อัมพวามีเหตุแห่งการด�ารงอยู ่ มีคณ ุ ค่า ต่อเติมก�าลังใจของชาวบ้านให้รว่ มมือร่วมใจกัน
2. นักเรียนคูเดิม รวมกันพิจารณาตัวอยาง ตรงกับความคิดเห็นของผู้เขียน
การเขียนแสดงความรู “มะเร็งโรครายทีค่ ราชีวติ สารคดีเรื่องนี้ ผู้เขียนเลือกเล่าสถานที่ที่ผู้อ่านสามารถสัมผัสได้ ถ่ายทอดภาพความเป็นไปของ
คนไทย” จากหนังสือเรียนภาษาไทย หนา 71-72 สถานที่ทั้งอดีต ปัจจุบัน และเชิญชวนให้ผู้อ่านเดินทางไปท่องเที่ยว ด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ล�าดับความ
เพื่อวิเคราะหลักษณะการใชภาษาของงานเขียน ตามเหตุและผล เมือ่ ร่วมมือกันความมีชวี ติ ชีวาก็กลับคืนมา คุณค่าของสารคดีเรือ่ งนีจ้ งึ อยูท่ กี่ ารสะท้อน
ดังกลาว
แนวคิดเกีย่ วกับความร่วมมือร่วมใจระหว่างคนในชุมชน และคนในชุมชนกับหน่วยงานรัฐ นอกจากนีย้ งั
(แนวตอบ คําตอบของนักเรียนมีความหลากหลาย
สะท้อนแนวคิดเกี่ยวกับการเป็นส่วนหนึ่งของการร่วมสนับสนุนผู้อื่นให้กระท�าสิ่งดีงาม
เชน ผูเขียนใชภาษาเพื่อถายทอดความรู
อยางตรงไปตรงมา ผูกประโยคชัดเจน ลําดับ 70
ความเขาใจเปนขั้นตอน)

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
การเขียนเพื่อแสดงความรูควรใชเกณฑในขอใดสําหรับการเลือกเรื่อง
ครูควรชี้แนะนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของงานเขียนที่ดี ไดแก
1. เลือกเรื่องที่ตนเองยังหาคําตอบไมได
• มีความเปนเอกภาพ หรือเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของเนื้อความภายในเรื่อง
2. เลือกเรื่องที่คิดวานาจะเกิดประโยชน
• มีสารัตถภาพ มีเนื้อหาใจความครบถวน สมบูรณ ไมกลาววกไปวนมา
3. เลือกเรื่องที่กําลังเปนที่สนใจของสังคม
• มีสัมพันธภาพ เนื้อหาในเรื่องไมวาจะมีกี่ยอหนาตองมีความเกี่ยวของ สัมพันธกัน
4. เลือกเรื่องที่ตนเองสนใจและมีความรูเปนอยางดี
• มีความกระจางแจง เนื้อหาสาระมีความชัดเจน ไมคลุมเครือ หรือทําใหผูอานเกิด
ขอสงสัยได วิเคราะหคําตอบ การเขียนเพื่อแสดงความรู คือ การเขียนเพื่อแสดงขอมูล
ขอเท็จจริงของเรื่อง เปนการเผยแพรความรู หรือคลายความสงสัย การเลือก
เรื่องเพื่อนํามาเขียน จึงควรเลือกเรื่องที่ตนเองมีความรูและสนใจ เพราะจะ
นักเรียนควรรู ทําใหเกิดความกระตือรือรนที่จะคนควา หากเลือกเรื่องที่กําลังเปนที่สนใจ
หรือเรื่องที่นาจะเปนประโยชน แตตนเองไมมีความรูที่แจมแจง และถูกตอง
1 ผูเขียน ในการเขียนสารคดี ผูเขียนจะตองมีความรูในเรื่องที่จะเขียนเปนอยางดี ก็ไมสามารถบรรลุจดุ ประสงคของการเขียนเพือ่ แสดงความรูไ ด ดังนัน้
รวมทั้งตองกําหนดจุดประสงคในการเขียนแตละครั้งใหมีความชัดเจน เพื่อไมใหหลง จึงตอบขอ 4.
ประเด็น หรือเกิดการลําดับความวกวน ซึ่งจะสงผลใหงานเขียนไมมีประสิทธิภาพ

70 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
ขออาสาสมัครนักเรียนอานขอความที่กําหนด
๑๑ การเขียนแสดงความรู้ แลวรวมกันอธิบายความรูแบบโตตอบรอบวง
เกี่ยวกับการเขียนเพือ่ วัตถุประสงคเฉพาะ โดยใช
ความรูต้ า่ งๆ หากไม่มกี ารบันทึกไว้ยอ่ มสูญหาย ปัจจุบนั ความรูใ้ หม่ๆ เกิดขึน้ มากมาย ผูเ้ รียนจึง ความรู ความเขาใจที่ไดรับจากการสนทนากับคู
ควรฝึกเขียนแสดงความรู้ ถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองรู้ให้ผู้อื่นทราบ เป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน ของตนเอง เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
๑๑.๑ หลักการเขียนแสดงความรู้ มีขอ สันนิษฐานวาแตเดิมคนไทยกินขาวเหนียว
การเขียนแสดงความรู้มีหลักการ ดังนี้ เปนอาหารหลัก ตอมาเมื่อไดรับอิทธิพลทาง
๑. ตั้งจุดประสงค์ว่าต้องการสื่อสารประเด็นใด ให้ความรู้ ให้ประโยชน์แก่ผู้อ่านอย่างไร วัฒนธรรมจากอินเดีย จึงเริ่มนําขาวเจามาปลูก
๒. ก�าหนดหัวเรื่อง โดยผู้เขียนต้องมีความรู้และข้อมูลประกอบการเขียนครบถ้วน น่าเชื่อถือ แตชาวบานทั่วไปไมนิยมกินกันนัก เนื่องจาก
๓. จัดท�าโครงเรื่องเพื่อล�าดับเนื้อหา ศึกษาค้นคว้า รวบรวมความรู้ ความคิดให้เป็นระบบ ขาวเจาใหพลังงานนอยกวาขาวเหนียว ผูที่กินขาว
๔. เขียนอธิบายตามโครงเรือ่ งทีร่ า่ งไว้ โดยใช้ภาษาสือ่ ความชัดเจน ตรงไปตรงมา และเหมาะสม คือกลุมชนชั้นเจานายในราชสํานัก เปนที่มาของ
กับวัยของผูอ้ า่ น เรียบเรียงโดยเขียนความน�าให้นา่ สนใจ เขียนเนือ้ หาให้ถกู ต้องตามข้อเท็จจริง สรุปเรือ่ ง ชื่อ ขาวเจา ปจจุบันคนไทยกินขาวเจาเปน
ให้ผู้อ่านเห็นประโยชน์สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ได้ อาหารหลัก มีการปลูกขาวเจาเพื่อบริโภคภายใน
๕. อ่านทบทวนเพื่อพิจารณาว่าเป็นไปตามจุดประสงค์หรือไม่ ประเทศและสงออก จากขอมูลของ FAO (Food
๑๑.๒ ตัวอย่างการเขียนแสดงความรู้ and Agriculture Organization of the united
nations) ป 2552 ประเทศไทยปลูกขาวมากเปน
การเขียนแสดงความรู้ ลําดับที่ 7 และสงออกมากเปนอันดับหนึ่งของโลก
แหลงปลูกขาวสําคัญของประเทศไทยมีอยูสอง
มะเร็งโรคร้ายที่คร่าชีวิตคนไทย แหลงใหญ ไดแก บริเวณที่ราบภาคกลาง และ
ปัจจุบันนี้แม้การแพทย์ของไทยจะเจริญก้าวหน้าไปมาก เช่น แพทย์ไทยมีความสามารถ บริเวณที่ราบสูงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ในการผ่าตัดสมอง หัวใจ ศัลยกรรมตกแต่งใบหน้า ผ่าตัดด้วยแสงเลเซอร์ ฯลฯ และมียาบ�ารุงร่างกาย โดยเฉพาะพื้นที่ทุงกุลารองไห ซึ่งเปนที่ราบ
ต่อต้านโรคภัยต่างๆ ได้มากมาย ท�าให้คนไทยอายุยืนยาวมากขึ้น แต่โรคหนึ่งที่คร่าชีวิตคนไทย ขนาดใหญ มีพื้นที่ประมาณ 2 ลานไรเศษ ในเขต
ทุกชั่วโมงในปัจจุบันนี้ มิใช่โรคเอดส์ โรคหัวใจ โรคความดัน หรือเบาหวาน แต่เป็นมะเร็งร้ายที่ จังหวัดสุรินทร ศรีสะเกษ รอยเอ็ด มหาสารคาม
แฝงมากับความเจริญก้าวหน้าของโลกยุคใหม่ บุรีรัมย และยโสธร เปนแหลงปลูกขาวหอมมะลิ
นายแพทย์ไพจิตร วราชิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้เปิดเผยว่าโรคทีเ่ ป็นภัยร้ายแรงทีส่ ดุ ที่มีชื่อเสียงของโลก
ของคนไทยในขณะนี ้ คือ โรคมะเร็ง ตามสถิตขิ องกระทรวงสาธารณสุข พบว่าในช่วง ๑๐ ปีทผี่ า่ นมา
มีคนไทยเสียชีวิตจากโรคมะเร็งเฉลี่ยปีละประมาณสามแสนคน ตัวเลขล่าสุดพบว่าปี ๒๕๕๑ มี • นักเรียนคิดวาขอความขางตน
คนไทยตายด้วยโรคมะเร็ง ๕๕,๔๐๓ คน เป็นชาย ๓๒,๐๖๐ คน หญิง ๒๓,๓๔๓ คน ร้อยละ ๕๓ เปนการเขียนเพื่อแสดงความรูหรือไม
ของผู้เสียชีวิตเป็นผู้มีอายุมากกว่า ๖๐ ปี ผู้มีอายุวัยใช้แรงงาน คือ อายุระหว่าง ๑๕ - ๕๙ ปี เฉลี่ย แลวสังเกตจากสิ่งใด
ร้อยละ ๔๖ ในแต่ละวันจะมีคนไทยตายด้วยโรคมะเร็ง วันละ ๑๕๒ คน หรือชั่วโมงละ ๖ คน (แนวตอบ ขอความขางตนเปนการเขียน
เพื่อแสดงความรู โดยสังเกตจากลักษณะ
การใชภาษา ซึ่งเปนกระบวนความอธิบาย
71
ใจความสําคัญชัดเจน การผูกประโยคหลัก
ประโยคขยายความสอดคลองกัน)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขั้นตอนในขอใดมีความสําคัญที่สุดสําหรับการเขียนแสดงความรู
เพื่อความรู ความเขาใจที่มากยิ่งขึ้นเกี่ยวกับทักษะการเขียนแสดงความรู
1. การวางโครงเรื่อง
ครูควรหาตัวอยางบทความที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงความรูในเรื่องตางๆ ประมาณ 4-5
2. การกําหนดจุดประสงคในการเขียนใหชัดเจน
ตัวอยาง นํามาใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหในประเด็นตอไปนี้
3. การเรียบเรียงภาษาใหมีความชัดเจน แจมแจง
• จุดประสงคในการเขียนบทความของผูเขียน
4. การรวบรวมและหาขอมูลจากเอกสารที่มีความนาเชื่อถือ
• การเลือกเรื่องเพื่อนํามาเขียนแสดงความรูมีความนาสนใจหรือไม อยางไร
วิเคราะหคําตอบ การเขียนแสดงความรู ขั้นตอนแรก และถือเปนขั้นตอน • โครงเรื่องที่ผูเขียนไดวางไวมีลักษณะเปนอยางไร
ที่สําคัญที่สุด คือ ผูเขียนตองกําหนดจุดประสงคในการเขียนใหชัดเจน • กระบวนการเขียนอธิบายมีความชัดเจนหรือไม อยางไร
วาจะเขียนเพื่อแสดงความรูในเรื่องใด แลวจึงวางโครงเรื่องเพื่อเปนกรอบ • ลักษณะภาษาที่ใชมีความเหมาะสมหรือไม อยางไร
สําหรับเรียบเรียงเนื้อหาสาระ รวบรวม วิเคราะหจัดหมวดหมูขอมูล แลวจึง กิจกรรมที่ใหปฏิบัติจะชวยทําใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการเขียน
เขียนเรียบเรียงเนื้อหา ใชภาษาใหมีความชัดเจน แจมแจง ไมทําใหเกิด แสดงความรู มองเห็นแนวทางในการเขียนเพื่อนํามาพัฒนางานเขียนของตนเองตอไป
ขอสงสัยในงานเขียน ดังนั้นจึงตอบขอ 2.

คู่มือครู 71
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการเขียนเพื่อ เมื่อแยกประเภทอวัยวะที่เป็นมะเร็ง พบว่า คนเป็นโรคมะเร็งตับเป็นอันดับหนึ่งและพบว่า
วัตถุประสงคเฉพาะ โดยใชความรู ความเขาใจ ชายเป็นมะเร็งตับมากกว่าหญิง รองลงมา คือ มะเร็งหลอดลมและปอด ซึ่งเป็นในชายมากกว่า
ที่ไดรับจากการสนทนารวมกับเพื่อน เปนขอมูล เช่นกัน โดยเป็นมากกว่าหญิงถึงสองเท่า อวัยวะที่เป็นมะเร็งมากอันดับสาม คือ มะเร็งเต้านม
เบื้องตนสําหรับตอบคําถาม อันดับสี่ คือ มะเร็งล�าไส้ใหญ่และทวารหนัก องค์การอนามัยโลกรายงานว่า ปี ๒๕๔๘ มีผู้เสียชีวิต
• หากนักเรียนไดรับมอบหมายใหเขียนแสดง จากโรคมะเร็งเป็นจ�านวนถึงแปดล้านคน
ส�าหรับสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งยังไม่ทราบสาเหตุ แต่มีแนวทางปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน
ความรูในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จะมีแนวทาง และลดความเสี่ยงเป็นมะเร็ง ดังนี้
การเขียนอยางไร ๑. รับประทานอาหารประเภทผักในตระกูลกะหล�่าให้มาก เช่น กะหล�่าปลี กะหล�่าดอก
(แนวตอบ มีแนวทางการเขียน ดังตอไปนี้ ผักคะน้า หัวผักกาด บรอกโคลี
• ผูเขียนตองมีจุดประสงคที่ชัดเจนวา ๒. รับประทานอาหารที่มีกากใยมาก เช่น ผัก ผลไม้ ข้าวโพด เมล็ดธัญพืช
จะเขียนแสดงความรูเกี่ยวกับเรื่องอะไร ๓. รับประทานอาหารที่มีสารเบตาแคโรทีนและวิตามินเอสูง เช่น ผักสด ผลไม้ที่มีสีเขียว
อาจเลือกแสดงความรูในเรื่องหรือประเด็น เหลือง เช่น ส้ม มะละกอ และอาหารที่มีวิตามินซีสูง เช่น ผักและผลไม้ต่างๆ ให้มาก
ที่ยังไมเคยมีผูศึกษามากอน หรืออาจเลือก ๔. ออกก�าลังกายอย่างสม�่าเสมอและควบคุมน�้าหนักตัวไม่ให้อ้วน
๕. ระมัดระวังในการรับประทานอาหาร โดยไม่รับประทานอาหารที่มีราขึ้น ลดการ
แสดงความรูในเรื่องที่ยังเปนประเด็นหรือ
รับประทานอาหารไขมัน อาหารดองเค็ม อาหารปิง้ - ย่าง รมควัน ไม่รบั ประทานอาหารสุกๆ ดิบๆ
ขอถกเถียงทางสังคม เพื่อใหงานเขียน เช่น ลาบ ก้อย ปลาร้า ปลาจ่อม เพราะเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง
ไดรับความสนใจ แตถึงอยางไรก็ตาม ๖. ไม่สูบบุหรี่ งดเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์
ควรคํานึงถึงแหลงขอมูลเปนสําคัญ ๗. ไม่ให้ผิวหนังถูกแดดจัด เพราะท�าให้เป็นมะเร็งผิวหนัง
• วางโครงเรื่อง เพื่อรวบรวม วิเคราะห ๘. หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้แหล่งอุตสาหกรรม ซึ่งมักจะปล่อยมลพิษให้สิ่งแวดล้อม
จัดหมวดหมู สังเคราะหขอมูล เนื่องจากการก่อตัวของโรคมะเร็งเป็นไปอย่างช้าๆ ในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป ดังนั้น เรา
• เขียนตามโครงเรื่องที่วางไว โดยใชภาษา จึงควรตรวจสุขภาพประจ�าปีอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง หมั่นสังเกตความเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
หากมีความผิดปกติบางประการ เช่น มีเลือดออกหรือมีิสิ่งขับถ่ายออกจากร่างกายมากกว่าปกติ
ที่ชัดเจน ถูกตองตามหลักไวยากรณ
มีกอ้ นเนือ้ หูด ตุม่ ในร่างกายและโตเร็ว มีแผลเรือ้ รัง ถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะผิดปกติ มีสเี ปลีย่ นไป
หากเปนเรื่องทางวิชาการจะตองศึกษา จากเดิม เสียงแหบแห้งเรื้อรัง กลืนอาหารล�าบาก ควรรีบไปพบแพทย์โดยเร็ว
คําศัพทเฉพาะใหเขาใจเปนอยางดี มะเร็งเป็นโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับใครก็ได้และโรคนี้ก่อตัวช้าๆ โดยเราไม่รู้สาเหตุและมาโดย
• อานทบทวนเพื่อสํารวจขอบกพรอง ไม่รู้ตัว นับว่าเป็นภัยร้ายที่น่ากลัว แม้ว่าจะไม่มีทางรักษาให้หายได้ แต่ก็สามารถป้องกันได้
และแกไข) โดยการระมัดระวังตนเองตามแนวทางปฏิบัติดังกล่าวมาแล้ว
• นักเรียนเขาใจความหมายของคําวา (ร�ยง�นพิเศษ: มติชนสุดสัปด�ห์ ฉบับที่ ๑๕๖๒ ก.ค. ๒๕๕๓)
“การแสดงความคิดเห็น” อยางไร
จากตัวอย่าง จุดประสงค์ของผู้เขียน คือ การให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติ
(แนวตอบ คําตอบของนักเรียนมีความ
ตนเพื่อป้องกันโรคมะเร็ง โดยผู้เขียนแสดงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโรคมะเร็งในเชิงสถิติการพบผู้ป่วยและ
หลากหลาย ขึ้นอยูกับพื้นฐานความรูเดิม) ประเภทของโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่ง เพื่อให้ผู้อ่านตระหนักถึงภัยของโรคมะเร็ง จนเกิดการเห็น
หลังคําตอบของนักเรียนครูควรชี้แนะวา คุณค่าของการป้องกัน จากนั้นผู้เขียนกล่าวถึงแนวทางปฏิบัติตนเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงการเป็น
การแสดงความคิดเห็น คือ การแสดงความคิด โรคมะเร็ง เรียงล�าดับจากวิธีการรับประทานอาหาร การออกก�าลังกาย สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง และแนะน�า
ความรูสึกที่เจาของความคิดเห็นนั้นๆ มีตอสิ่งใด
สิง่ หนึง่ หรือเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ โดยยกเหตุผลประกอบ 72
ความคิดเห็นของตน

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
จากความรู ความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับการเขียน ใหเขียนสรุปวา
สําหรับการเรียนการสอนเกี่ยวกับการเขียน ครูควรสรางใหนักเรียนเห็นความสําคัญ
การเขียนเพื่อแสดงความรูมีหลักการเขียนอยางไร
ของการกําหนดจุดมุงหมายในการเขียน โดยชี้แนะใหเห็นวา หากผูเขียนแตละคน
มีจุดมุงหมายในการเขียนที่แตกตางกันจะทําใหงานเขียนนั้นๆ มีลักษณะตางกันดวย แนวตอบ การเขียนเพื่อแสดงความรูมีหลักการเขียน คือ ผูเขียนจะตองมี
เชน เมื่อจะเขียนเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณอุทกภัยในประเทศไทย ผูเขียนแตละคน ความรู และมีขอมูลประกอบการเขียนอยางเพียงพอ เลือกใชถอยคําภาษา
สามารถตั้งจุดมุงหมายไดหลายลักษณะ เชน เขียนเพื่อเลาเรื่องการเกิดอุทกภัย ในการเรียบเรียงใหมีความชัดเจน สื่อความครบถวนในประเด็นที่เลือก
ในประเทศไทยวาเปนอยางไร มีความเสียหาย ความตื่นตระหนกมากนอยเพียงใด นําเสนอ เมื่อผูอานอานแลวจะไมเกิดความสงสัย หรือเกิดขอคําถามขึ้น
เขียนเพื่ออธิบายหรือแสดงความรูเกี่ยวกับสาเหตุที่ทําใหเกิดอุทกภัย เขียนเพื่อ ภายในใจ โดยผูเขียนจะตองตระหนักวา การเขียนเพื่อแสดงความรูชิ้นหนึ่งๆ
โนมนาวใจใหรัฐบาลและประชาชนเห็นความสําคัญ ตระหนักถึงปญหา รวมกันหา จะเปนงานที่ดีไดนั้น ผูอานจะตองไดรับความรู ความเขาใจ และนําไปใช
ทางปองกันแกไข เขียนเพื่อสรางจินตนาการ โดยนําเหตุการณอุทกภัยมาเปน ประโยชน ตอยอดความรูไดจริงในชีวิตประจําวัน
แรงบันดาลใจในการเขียนงานบันเทิงคดี เปนตน

72 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
ให้ตรวจสุขภาพประจ�าปี การล�าดับข้อมูลทีด่ เี กิดจากการวางโครงเรือ่ งอย่างเหมาะสม โดยเริม่ จากภาพ อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการเขียน
รวมกว้างๆ ของโรค จากนัน้ จึงเข้าสูส่ ว่ นเนือ้ หาทีใ่ ห้ขอ้ มูลเกีย่ วกับแนวทางปฏิบตั ติ นและป้องกัน จากนัน้ เพื่อวัตถุประสงคเฉพาะผานขอคําถามของครู
สรุปให้เห็นความส�าคัญของการป้องกันอีกครัง้ โดยใช้ภาษาสือ่ ความชัดเจน ผูอ้ า่ นไม่ตอ้ งตีความ สามารถ • ความคิดเห็นมีโครงสรางเปนอยางไร
น�าข้อมูลไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับตนเองได้ (แนวตอบ ประกอบดวย ที่มา คือ สวนที่เปน
๑๒ การเขียนแสดงความคิดเห็น เรื่องราวตางๆ ที่กอใหเกิดการแสดงความ
คิดเห็น ขอสนับสนุน คือ เหตุผลที่อาจเปน
การรับข้อมูลข่าวสารเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผู้รับสารจะเกิดความคิดเห็นที่มีต่อเรื่องนั้น ทั้งเห็นด้วย หลักการ ขอเท็จจริง หรือขอคิดเห็นของผูอื่น
และไม่เห็นด้วย โดยสามารถแสดงความคิดเห็นผ่านการพูด การเขียน ผู้อ่านหรือผู้ฟังที่รับสาร
ที่ผูแสดงความคิดเห็นยกมากลาวอาง
เรื่องเดียวกันก็ไม่จ�าเป็นต้องมีความคิดเห็นตรงกัน เพราะเป็นการมองต่างมุม
เพื่อสนับสนุนความคิดเห็นของตนเอง
๑๒.๑ หลักการเขียนแสดงความคิดเห็1น ขอสรุป ถือเปนสวนที่สําคัญที่สุดของการ
การเขียนแสดงความคิดเห็นและการโต้แย้งจะเป็นทีเ่ ชือ่ ถือหรือยอมรับของผูอ้ นื่ มีหลักการเขียน แสดงความคิดเห็น เพราะเปนการสรุป
ดังนี้ ประเด็นของการแสดงความคิดเห็น)
๑. ศึกษาเรือ่ งทีจ่ ะเขียนแสดงความคิดเห็นอย่างละเอียด จับใจความส�าคัญให้ได้วา่ กล่าวถึงใคร • การเขียนวิเคราะห วิจารณมีลักษณะสําคัญ
ท�าอะไร ที่ไหน อย่างไร และศึกษาหาความรู้เรื่องที่เกี่ยวข้องจากแหล่งความรู้อื่นๆ ประกอบ อยางไร
๒. พิจารณาข้อเด่น ข้อด้อย พร้อมยกเหตุผลประกอบข้อคิดเห็น (แนวตอบ การเขียนวิเคราะห วิจารณเปน
๓. แสดงความคิดเห็นต่อเรื่องนั้นๆ ด้วยใจเป็นกลาง ใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์เป็นประโยชน์ การเขียนแสดงความคิดเห็น ดวยวิธีการ
ต่อส่วนรวม
แจกแจงใหเห็นสวนประกอบของสิ่งๆ นั้น
๑๒.๒ ตัวอย่างการเขียนแสดงความคิดเห็น ซึ่งขั้นตอนนี้เรียกวาการวิเคราะห หรือการ
ที่ ๕/๒๕๕๔ ่น Óมาแสดงความคิ
บทเพลงที ดเห็น ชุมชนหมู่บ้านป้าแดง ถนน คลี่องคประกอบของสิ่งนั้นๆ ออกมาเปน
พระราม ๒ สวนๆ เมื่อมองเห็นองคประกอบจึงแสดง
เพลง เมดอินไทยแลนด์ ความคิดเห็นวา องคประกอบแตละสวนมี
ค�าร้อง/ท�านอง: ยืนยง โอภากุล ขอดี ขอดอยอยางไร สงเสริม สนับสนุน
เมดอินไทยแลนด์ แดนดินไทยเรา เก็บกันจนเก่า เรามีแต่ของดีดี มาตั้งแต่ก่อนสุโขทัย หักลางกันเองหรือไม อยางไร ซึ่งการ
มาลพบุรี อยุธยา ธนบุรี ยุคสมัยนี้เป็นกอทอมอ เมืองที่คนตกท่อ (ไม่เอา...อย่าไปว่าเขาน่า)
วิเคราะห วิจารณจะนําไปสูการตัดสิน
เมดอินไทยแลนด์ แดนไทยท�าเอง จะร้องร�าท�าเพลง ก็ล�้าลึกลีลา ฝรั่งแอบชอบใจ แต่คนไทย
ไม่เห็นค่า กลัวน้อยหน้าว่าคุณค่านิยมไม่ทันสมัย เมดอินเมืองไทย แล้วใครจะรับประกัน ฮะ ประเมินคา หรือการตัดสินวาสิ่งนั้นๆ ดี
(ฉันว่ามันน่าจะมีคนรับผิดชอบบ้าง) หรือเปนประโยชนหรือไม การวิเคราะห
เมดอินไทยแลนด์ แฟนๆ เข้าใจ ผลิตผลคนไทยใช้เองท�าเอง ตัดเย็บเสื้อผ้ากางโกงกางเกง วิจารณจึงเปนการแสดงความคิดเห็น
กางเกงยีน (ชะหนอยแน่) แล้วขึ้นเครื่องบินไปส่งเข้ามา คนไทยได้หน้า (ฝรั่งมังค่าได้เงิน) อยางมีหลักการ หลักวิชา หลักทฤษฎี)
เมดอินไทยแลนด์ พอแขวนตามร้านค้า มาติดป้ายติดตราว่าเมดอินเจแปน ก็ขายดิบขายดี • การแสดงความคิดเห็นกับการวิเคราะห
มีราคา คุยกันได้ว่า มันมาต่างแดน ทั้งทันสมัย มาจากแมกกาซีน เค้าไม่ได้หลอกเรากินหลอก
เรานั่นหลอกตัวเอง วิจารณมีความเกี่ยวของสัมพันธกันอยางไร
(แนวตอบ การแสดงความคิดเห็นเปน
73 สวนหนึ่งของการวิจารณ เพราะการวิจารณ
คือการแสดงความคิดเห็นตอองคประกอบ
ของสิ่งนั้นๆ อยางมีหลักการ ทฤษฎี)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดไมใช สาเหตุที่ทําใหความคิดเห็นของบุคคลมีความแตกตางกัน
การเรียนการสอนในหัวขอการเขียนแสดงความคิดเห็น ครูควรชี้แนะใหนักเรียน
1. สภาพภูมิประเทศ
เขาใจวา การแสดงความคิดเห็นของมนุษยตอสิ่งตางๆ นั้น สามารถสื่อสาร
2. ความเชื่อและคานิยม
ความคิดเห็นของตนเองได 2 ชองทาง คือ การพูดและการเขียน ซึ่งการพูดแสดง
3. ความรูและประสบการณ
ความคิดเห็นที่ดียอมเปนพื้นฐานของการเขียนแสดงความคิดเห็นที่ดี
4. การอบรมเลี้ยงดูของครอบครัว
วิเคราะหคําตอบ ความคิดเห็นของแตละบุคคลมีความแตกตางกัน
โดยสาเหตุที่ทําใหเกิดความแตกตาง ไดแก ความรู ประสบการณ ศาสนา นักเรียนควรรู
ความเชื่อ คานิยม ประเพณี รวมไปถึงการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัว
สภาพภูมิประเทศ ไมใชสาเหตุที่ทําใหความคิดเห็นของบุคคลมีความ 1 การเขียนแสดงความคิดเห็นและการโตแยง ผูเขียนตองมีมารยาทในการเขียน
แตกตางกัน ดังนั้นจึงตอบขอ 1. แสดงความคิดเห็นโดยอยูบนพื้นฐานของขอเท็จจริง มีหลักฐานที่นาเชื่อถือ เปนกลาง
รวมทั้งตองแสดงความคิดเห็นเชิงสรางสรรค ไมใสรายหรือแสดงความคิดเห็นที่เปน
การใหราย พาดพิงผูอื่นใหไดรับความเสียหาย อีกทั้งตองใชภาษาที่สุภาพในการ
แสดงความคิดเห็นทุกครั้ง

คู่มือครู 73
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
ขออาสาสมัครนักเรียนอานขอความตอไปนี้
แลวรวมกันพิจารณาวามีลักษณะเปนงานเขียน การเขียนแสดงความคิดเห็นบทเพลง เมดอินไทยแลนด์ มีดังนี้
เชิงวิเคราะหวิจารณหรือไม เพราะเหตุใด เพลงเมดอินไทยแลนด์ เป็นเพลงเพื่อชีวิต ขับร้องโดยวงดนตรีคาราบาว สาระส�าคัญ กล่าวถึง
คนไทยที่มีค่านิยมใช้ของต่างประเทศ เพราะคิดว่าดีกว่า ทั้งๆ ที่เป็นของที่ผลิตในประเทศไทยแล้วส่ง
...คนแคระ ของวิภาส ศรีทอง เปนนวนิยาย ไปขายต่างประเทศ คนไทยก็ซอื้ กลับมาด้วยความเข้าใจผิด คนไทยมีความสามารถในการผลิตสินค้าต่างๆ
ที่เสนอปญหาสัมพันธภาพระหวางมนุษย เปดเผย หลากหลาย มีศิลปวัฒนธรรมที่น่าภาคภูมิใจ แม้แต่ต่างชาติก็ชื่นชม แต่คนไทยกลับไม่เห็นคุณค่า
ใหเห็นความโดดเดี่ยวอางวางของกลุมคน ซึ่งเปน
น�้าเสียงของบทเพลงมีเจตนากล่าวประชดประชัน และให้ข้อคิดว่าคนไทย เมืองไทยมีของดีๆ แต่ไม่รู้ค่า
ตัวแทนของสังคมรวมสมัย โดยสะทอนใหเห็น
มีค่านิยมผิดๆ ควรจะแก้ไขค่านิยมนี้อย่างไร
การขาดความตระหนักถึงคุณคาของความ
เพลงนี้เป็นเพลงที่สร้างสรรค์สังคม เพราะแสดงข้อเท็จจริงที่เป็นลักษณะนิสัยของคนไทย
เปนมนุษย การหมกมุนอยูกับปญหาของตนเอง
ส่วนมากเชื่อว่าของต่างประเทศเป็นของดี มีคุณภาพกว่า ผู้เขียนคิดว่าเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่
และการโหยหาสัมพันธภาพระหวางมนุษยเสนอ
ต้องช่วยกันรณรงค์ให้คนไทยภูมใิ จในศิลปวัฒนธรรมและความสามารถของตน โดยช่วยกันอนุรกั ษ์และ
ผานตัวละครทีแ่ สดงความเย็นชาตอชะตากรรม
นิยมใช้สินค้าไทย
ของมนุษย และหาทางสรางความชอบธรรมใหแก
การเขียนแสดงความคิดเห็น ผู้เขียนต้องรู้จักการอ่านจับใจความส�าคัญ วิเคราะห์ข้อเท็จจริง
การกระทําของตนเอง ผูเขียนมีกลวิธีการเลาเรื่อง
ข้อคิดเห็น พิจารณาข้อมูล และเหตุผลมาสนับสนุนว่ามีความน่าเชื่อถือเพียงใด มีความสมเหตุสมผล
เนิบชาทวามีพลัง มีการสรางจินตภาพที่ชวนให
หรือไม่ การเขียนแสดงความคิดเห็นควรใช้ภาษาสุภาพ สร้างสรรค์ เป็นกลาง ความคิดเห็นอาจ
เกิดการตีความหลากหลาย มีการนําเสนอตัวละคร
แตกต่างกัน ไม่มีใครผิดหรือถูก แต่จะเชื่อถือที่เหตุผล ผู้เขียนควรหมั่นฝึกฝนเขียนแสดงความคิดเห็น
ที่ซับซอน แปลกแยก และทาทายกฎเกณฑของ
เพื่อพัฒนาทักษะการคิดและการเปิดใจยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
สังคม คุณคาของนวนิยายเรือ่ งนีจ้ งึ อยูท กี่ ารกระตุน
ใหเกิดการสํารวจภาวะความเปนมนุษยในโลก ๑๓ การเขียนโต้แย้ง
รวมสมัย ในขณะเดียวกันก็ตงั้ คําถามกับมโนสํานึก 1
การโต้แย้ง เป็นการแสดงความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างกันระหว่างบุคคล ๒ ฝ่าย โดยแต่ละฝ่ายพยายาม
ความรับผิดชอบชั่วดี และสารัตถะของชีวิต
ใช้เหตุผล ข้อมูล สถิติ และการอ้างถึงความคิดเห็นของผู้รู้มาสนับสนุนความคิดของตนและคัดค้าน
ความคิดของอีกฝ่ายหนึ่ง
(แนวตอบ ขอความขางตน มีลักษณะเปนงาน
เขียนเชิงวิเคราะหวิจารณ เพราะไดแสดงใหเห็น ๑๓.๑ หลักการเขียนโต้แย้ง
องคประกอบภายในของนวนิยาย ซึ่งไดแก การเขียนโต้แย้งมีหลักการเขียน ดังนี้
โครงเรื่อง กลวิธีการเลาเรื่อง การสรางและนําเสนอ ๑. ก�าหนดหัวข้อและขอบเขตของการโต้แย้ง เพื่อไม่ให้หลงประเด็น
ตัวละคร เปนตน ผูเขียนไดแสดงความคิดเห็น ๒. แบ่งเนื้อหาออกเป็นประเด็
ที่มีตอองคประกอบภายในเรื่อง ซึ่งความคิดเห็น 2 น เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน
๓. ผู้โต้แย้งต้องมีความรู้เกี่ยวกับหัวข้อที่โต้แย้งเป็นอย่างดี
ดังกลาวไดนําไปสูการตัดสินประเมินคาผลงาน
๔. เรียบเรียงและน�าเสนอข้อโต้แย้งให้ละเอียดชัดเจน
คุณคาของนวนิยายเลมนี้ อยูที่การเปนเสมือน
๕. แบ่งกระบวนการโต้แย้งเป็น ๔ ขัน้ ตอน คือ การตัง้ ประเด็น การนิยามค�าทีอ่ ยูใ่ นประเด็นของ
กระจกเงาที่ชวยสองสะทอนความเปนมนุษย
การโต้แย้ง ค้นหา เรียบเรียงข้อสนับสนุน ชีใ้ ห้เห็นจุดอ่อนและข้อผิดพลาดของความคิดเห็นฝ่ายตรงข้าม
ของแตละบุคคล ทําใหเกิดการตั้งคําถามกับตนเอง
ตระหนักในความเปนมนุษย ความผิดชอบชั่วดี) 74

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดที่ทําใหการโตแยงแตกตางจากการโตเถียง
1 การโตแยง เปนการแสดงความคิดเห็นประการหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นในขณะที่การแสดง
1. โอกาส และความสัมพันธของบุคคล
ความคิดเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไมสามารถหาขอยุติได แตประเด็นปญหาดังกลาว
2. การแสดงความคิดเห็นที่แตกตางของบุคคล 2 ฝาย
จําเปนจะตองไดรบั การแกไขใหสาํ เร็จลุลว ง หรือจําเปนจะตองมีขอ ยุติ ดังนัน้ ทัง้ สองฝาย
3. การโตแยงใชในสถานการณที่เปนทางการ การโตเถียงใชในสถานการณ
ซึ่งแสดงความคิดเห็นในเรื่องเดียวกัน แตมีความคิดเห็นไมตรงกัน และตองการใหที่
ที่เปนกันเอง
ประชุมเห็นชอบในความคิดเห็นของตน จึงจําเปนตองโตแยงความคิดเห็นของ
4. แตละฝายพยายามใหขอมูล เหตุผลเพื่อสนับสนุนความคิดเห็นของตน
อีกฝายหนึ่ง โดยพยายามชี้ใหเห็นขอบกพรองในความคิดเห็นของอีกฝายหนึ่ง
และหักลางความคิดของฝายตรงขาม
แลวเสนอความคิดเห็นของตน โดยยกเหตุผล หลักทฤษฎี ขอมูล ตัวเลข ตาราง สถิติ
มาประกอบ ซึ่งความคิดเห็นที่ไดรับการยอมรับจากที่ประชุมภายหลังการโตแยง วิเคราะหคําตอบ การโตแยง คือ การแสดงความคิดเห็นของสองฝาย
สิ้นสุดลง เรียกวา มติ ซึ่งมีความคิดเห็นไมตรงกัน แตสิ่งที่ทําใหการโตแยงแตกตางจากการโตเถียง
2 ความรู ผูที่จะเขียนโตแยงไดประสบผลสําเร็จจะตองมีความรูในเรื่อง คือ การใชและการใหเหตุผลเพื่อสนับสนุนความคิดเห็นของตน และหักลาง
ที่จะโตแยงเปนอยางดี และรอบดาน มีขอมูลในเชิงลึกที่สามารถนํามาใชหักลาง ความคิดเห็นของฝายตรงขาม ไมใชการชี้แจงดวยอารมณที่ตองการเอาชนะ
ความคิดเห็นของอีกฝายได แตขอมูลเหลานั้นตองไดมาโดยสุจริต ถูกตอง และเปนจริง ซึ่งเปนลักษณะของการโตเถียง ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

74 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบายความรู
๑๓.๒ ตัวอย่างการเขียนโต้แย้ง ความเขาใจเกี่ยวกับการโตแยง
(แนวตอบ ในกระบวนการวิเคราะหวิจารณ
การเขียนโต้แย้ง แสดงความคิดเห็น ยอมเกิดเหตุการณที่บุคคล
ทั้งสองฝายมีความคิดเห็นไมตรงกันในเรื่อง
จากเพลงเมดอินไทยแลนด์ มีผู้เขียนแสดงความคิดเห็นว่า คนไทยส่วนใหญ่นิยมใช้สินค้า
หรือประเด็นเดียวกัน หากเปนในสถานการณของ
จากต่างประเทศ และชืน่ ชมศิลปวัฒนธรรมต่างชาติ เมือ่ เดินทางไปต่างประเทศก็มกั ซือ้ สินค้าทีช่ อบ
การพูด เชน การพูดอภิปราย ผูดําเนินรายการตอง
กลับมาโดยไม่จ�าเป็น โดยไม่รู้ว่าสินค้าหลายชนิดเป็นของที่ผลิตขึ้นในประเทศไทย ในขณะที่
ชาวต่างชาตินิยมศิลปวัฒนธรรมไทยว่ามีเอกลักษณ์และคุณค่า แต่คนไทยบางคนกลับไปชื่นชม
ใหโอกาสทัง้ สองฝายไดพดู เสนอความคิดเห็นของตน
วัฒนธรรมต่างชาติโดยคิดว่าเป็นสิ่งทันสมัย พวกเราจึงควรช่วยกันรณรงค์ให้คนไทยนิยมไทย โดยแสดงเหตุผลเพื่อสนับสนุนความคิดเห็น
ใช้ของไทย เพราะคนไทยมีฝมี อื ในการผลิตสินค้าทีง่ ดงาม มีคณ ุ ภาพ อีกทัง้ ราคาก็ถกู กว่า เป็นการ ในขณะเดียวกันก็ตองยกเหตุผลเพื่อพิสูจนใหไดวา
สนับสนุนให้คนไทยมีรายได้เพิ่มขึ้น มีโอกาสพัฒนาฝีมือ สร้างชื่อเสียงให้แก่ประเทศชาติ ความคิดเห็นของอีกฝายไมเปนความจริงหรือ
จากข้อคิดเห็นที่มีผู้น�าเสนอข้างต้น ขอโต้แย้งดังนี้ การที่คนไทยบางคนไม่นิยมใช้ของที่ผลิต ไมถูกตอง เมื่อความคิดเห็นของฝายใดฝายหนึ่ง
ในประเทศไทย เพราะเชื่อว่าสินค้าไทยมักไม่มีคุณภาพ ไม่ทนทาน เช่น ผ้าสีตก ฝีมือตัดเย็บ ชนะดวยขอสนับสนุนที่เปนจริง อีกฝายหนึ่งก็ตอง
ไม่เรียบร้อย ไม่ทนั สมัย ช�ารุดเสียหายง่าย หากผูผ้ ลิตสินค้าไทยรักษาคุณภาพ มีการผลิตทีป่ ระณีต ยอมรับความคิดเห็นนั้น ซึ่งกระบวนการโตแยง
ทนทาน มีผู้ออกแบบที่ทันสมัย น่าใช้ มีการตรวจสอบคุณภาพสินค้าอาจจะเปลี่ยนแปลงค่านิยม สามารถเกิดขึ้นไดกับการสื่อสารของมนุษย 2 ทาง
ของคนไทยให้กลับมานิยมสินค้าไทยได้มากยิ่งขึ้น คือ การพูดและการเขียน)

จะเห็นว่าการเขียนโต้แย้ง เป็นการเขียนแสดงความคิดเห็นที่แตกต่างโดยหาข้อมูลมาโต้แย้ง ขยายความเข้าใจ Expand


อย่างมีเหตุผล หากไม่สามารถหาข้อมูลมาสนับสนุนข้อโต้แย้งของตนได้ ผู้เขียนควรเปิดใจกว้าง
ยอมรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่าง ดังนั้น การฝึกเขียนโต้แย้ง จึงเป็นการฝึกทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล นักเรียนเลือกศึกษาบทวิจารณภาพยนตร
คิดรอบคอบ ละเอียดถี่ถ้วน บทเพลง หรือหนังสืออยางใดอยางหนึ่ง
เพื่อวิเคราะหวาบทวิจารณนั้นแสดงความคิดเห็น
การเขียนเพื่อการสื่อสารในรูปแบบเรียงความ ย่อความ จดหมายกิจธุระ เขียน วิเคราะหวิจารณไวในแงมุมใดบาง บันทึก
วิเคราะห์วจิ ารณ์ เขียนแสดงความรู ้ ความคิดเห็น โต้แย้ง รวมไปถึงการเขียนรายงาน ขอสังเกตไว จากนั้นใหนักเรียนชมผลงานที่ไดรับ
การศึกษาค้นคว้า และโครงงาน ผู้เขียนควรศึกษารูปแบบ หลักการเขียน การใช้ การวิจารณ แลวสํารวจวาตนเองมีความรูส กึ สวนตัว
ภาษาให้เหมาะสมกับเนื้อหาและวัยของผู้รับสาร ซึ่งจะทÓให้สื่อสารได้สัมฤทธิผลตาม อยางไรตอผลงานนัน้ และมีความสอดคลองกับบท
จุดมุ่งหมายที่กÓหนดไว้ วิจารณเดิมที่เลือกศึกษาหรือไม ใชองคความรู
ความเขาใจเกี่ยวกับการเขียนแสดงความรู
แสดงความคิดเห็น และวิเคราะห วิจารณ
สรางสรรคบทวิจารณผลงานที่รับชม และโตแยง
ความคิดเห็นของบทวิจารณเดิมที่ศึกษา โดยยก
เหตุผลประกอบทีช่ ดั เจน มีความยาวไมเกิน 1 หนา
75 กระดาษ A4

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดใชภาษาในการโตแยงไดถูกตองและเหมาะสมที่สุด
ครูควรสรางความรู ความเขาใจที่ถูกตองใหแกนักเรียนเกี่ยวกับรูปแบบการ
1. ผมไมเห็นดวยกับคุณสมศักดิ์
โตแยง ซึ่งสามารถกระทําได 2 ชองทาง คือการพูดและการเขียน ซึ่งในกระบวนการ
2. ขอเสนอของคุณสมศักดิ์มีขอบกพรองในทุกดาน
ขยายความเขาใจจะมอบหมายใหนักเรียนสรางสรรคผลงานบทวิจารณ ซึ่งจะปรากฏ
3. ถาเราทําตามขอเสนอของคุณสมศักดิ์มีหวังไดลมเหลวไมเปนทา
ขอโตแยงอยูภายใน เพื่อใหบรรลุจุดประสงคของตัวชี้วัด ดังนั้น กิจกรรมที่ครูควรจัด
4. ขอเสนอของคุณสมศักดิก์ น็ า พิจารณา แตผมมีความคิดเห็นทีแ่ ตกตางออกไป
เพิ่มเติม คือ การพูดโตแยง โดยครูใหนักเรียนชวยกันจัดบรรยากาศภายในชั้นเรียน
วิเคราะหคําตอบ การโตแยง คือ การทําใหที่ประชุมยอมรับความคิดเห็น เปนที่ประชุม เพื่อหามติหรือขอสรุปเกี่ยวกับประเด็นใดประเด็นหนึ่งที่นักเรียนรวมกัน
ของตนดวยการยกเหตุผลมาสนับสนุน แลวหักลางความคิดเห็นของผูอื่น ตั้งขึ้นแบงหนาทีก่ นั เปนผูด าํ เนินรายการ ผูร ว มแสดงความคิดเห็นในวงประชุม
ดวยเหตุผลเชนกัน การหักลางความคิดเห็นของผูอื่นเปนสิ่งที่ควรระมัดระวัง และผูช ม เปนตน โดยครูเปนผูสังเกตการณวา นักเรียนซึ่งทําหนาที่เปนผูแสดง
ไมควรใชถอยคําที่ทําใหฝายตรงขามรูสึกวาเสียหนา ผูเขียนหรือผูพูดโตแยง ความคิดเห็นในวงประชุมสามารถใชแนวทางการแสดงความคิดเห็นและโตแยง
ควรใชภาษาที่สุภาพในการหักลางความคิดเห็นของผูอื่นและการเสนอ ไดถูกตองหรือไม อยางไร หากมีเวลาควรใหนักเรียนแตละคนไดสลับกันทําหนาที่
ความคิดเห็นของตนเอง ดังนั้นจึงตอบขอ 4. จนครบทุกบทบาท

คู่มือครู 75
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engaae Expore Explain Elaborate
ตรวจสอบผล Evaluate
1. ครูตรวจสอบบทบรรยายและบทพรรณนา
โดยพิจารณาการใชสํานวนภาษา
2. ครูตรวจสอบยอความโดยพิจารณาดานรูปแบบ
และใจความสําคัญ
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
3. ครูตรวจสอบจดหมายกิจธุระ โดยพิจารณา
๑. การเขียนย่อความ การเขียนบรรยาย และการเขียนพรรณนา มีประโยชน์อย่างไร
เนื้อหาวาไดระบุขอความสําคัญครบถวนหรือไม
๒. การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน มีหลักการเขียนอย่างไร
รวมถึงโครงสรางของจดหมายและการใชภาษา ๓. การเขียนจดหมายกิจธุระสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้อย่างไร
4. ครูตรวจสอบการเรียบเรียงเนือ้ หา ความสมบูรณ ๔. การเขียนวิเคราะห์มีหลักการเขียนอย่างไร
และถูกตองขององคประกอบรายงานการศึกษา ๕. การเขียนแสดงความคิดเห็นและการเขียนโต้แย้ง มีลักษณะการเขียนเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
คนควา และรายงานโครงงาน
5. นักเรียนออกมาอานออกเสียงเรียงความ “เพือ่ นดี
ที่ฉันรัก” หนาชั้นเรียน นําเรียงความฉบับนั้น
สงพรอมผังความคิด เพื่อตรวจสอบตาม
หลักเกณฑ
6. นักเรียนออกมานําเสนอบทวิจารณหนาชัน้ เรียน
ครูตรวจสอบบทวิจารณ โดยพิจารณา ดังนี้
• ความนาสนใจของสิ่งที่นํามาวิจารณ
• เนื้อหาสาระ แสดงใหเห็นวานักเรียนมีความรู กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้
ความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องที่เขียนวิจารณเปน
อยางดี สะทอนใหเห็นความคิดเห็นที่มีตอ กิจกรรมที่ ๑ ให้นักเรียนเขียนเรียงความสั้นๆ ความยาวประมาณ ๑ หน้า กระดาษ A4
สิง่ นัน้ ยกเหตุผลประกอบหรือใชหลักทฤษฎีใด เกี่ยวกับข้อคิด คติธรรม และคุณธรรม เช่น ความกตัญญู ความสามัคคี
ในการวิจารณ ปรากฏขอโตแยงที่ไดมีการ ความมีวินัย เป็นต้น แล้วน�าเสนอหน้าชั้นเรียน
ยกเหตุผลตางๆ มาเปนขอสนับสนุนความ กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มร่วมกันจัดท�ารายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่
สมาชิกในกลุ่มสนใจ เช่น ค�ายืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คิดเห็นของตน การปลูกพืชสวนครัวในโรงเรียน โดยเรียบเรียงตามหลักการเขียน
7. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู และน�าเสนอเป็นรูปเล่มส่งครูผู้สอน
กิจกรรมที่ ๓ ให้นักเรียนเลือกบทความ สารคดี หรือบทเพลงที่ชื่นชอบ คนละ ๑ เรื่อง
น�ามาเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ หรือแสดงความคิดเห็นตามหลักการ
หลักฐานแสดงผลการเรียนรู แล้วน�าเสนอหน้าชั้นเรียน
1. งานเขียนบรรยายและพรรณนา
2. ยอความ
3. จดหมายกิจธุระ
4. รายงานการศึกษาคนควาและรายงานโครงงาน
76
5. เรียงความ
6. บทวิจารณ

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. การเขียนยอความ ทําใหสามารถเก็บสาระสําคัญของสิ่งที่อานหรือฟงไดอยางครบถวน และสามารถกลับไปทบทวนไดอีกในภายหลัง สวนการเขียนบรรยาย
และการเขียนพรรณนามีประโยชนตอการเขียนสื่อสารในชีวิตประจําวัน เพราะการเขียนบรรยายจะทําใหผูเขียนสามารถอธิบายเนื้อหาสาระตางๆ ไดเปนลําดับขั้น
ในขณะที่การเขียนพรรณนาจะทําใหผูเขียนสามารถระบุรายละเอียดของสิ่งตางๆ หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งไดอยางชัดเจน
2. การเขียนรายงานการศึกษาคนควา ผูเขียนจะตองเรียบเรียงเนื้อหาสาระดวยความเขาใจและใชสํานวนภาษาของตนเอง การเขียนรายงานโครงงาน ผูเขียนจะตองระบุ
รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนการปฏิบัติโครงงานอยางชัดเจน นําเสนอผลการปฏิบัติใหเขาใจงาย
3. การเขียนจดหมายกิจธุระสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได เชน การติดตอกับหนวยงานราชการเรื่องการขอเขาชมสถานที่ การติดตอกับหนวยงานเอกชน
เพื่อสมัครงาน เปนตน
4. การเขียนวิเคราะห ผูเขียนจะตองมีความรู ความเขาใจในเรื่องที่วิเคราะหเปนอยางดี อธิบายใหเห็นรายละเอียด ลักษณะองคประกอบภายในของเรื่องนั้นๆ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
หรือเหตุการณใดเหตุการณหนึ่ง โดยใชภาษาที่กระชับ ชัดเจน ตรงไปตรงมา
5. การเขียนแสดงความคิดเห็นกับการเขียนโตแยงมีลักษณะการเขียนที่เหมือนกัน เพราะการเขียนโตแยงเปนสวนหนึ่งของการเขียนแสดงความคิดเห็น ซึ่งการโตแยง
คือ การที่ผูเขียนยกเหตุผลขึ้นมาเพื่อสนับสนุนความคิดเห็นของตน และยกเหตุผลเพื่อพิสูจนหรือแสดงใหเห็นจริงวา ความคิดเห็นของอีกฝายหนึ่งไมเปนความจริง

76 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage

ตอนที่ ó การพัฒนาทักษะการฟง
การดู และการพูด
1. ครูนําเขาสูการเรียนการสอนเกี่ยวกับ
การพัฒนาทักษะการฟง การดู และการพูด
โดยใหนักเรียนอานออกเสียงทํานองเสนาะ
บทรอยกรองทีป่ รากฏในหนังสือเรียนภาษาไทย
หนา 77 โดยพรอมเพรียงกัน จากนั้นให
รวมกันแสดงความคิดเห็นวา ผูแ ตงบทรอยกรอง
ดังกลาวมีเจตนาอยางไร ควรใชวิธีการสุม
เรียกชื่อ เพื่อกระตุนบรรยากาศของการแสดง
ความคิดเห็นในชั้นเรียน
(แนวตอบ ผูเขียนตองการสื่อสารใหผูรับสาร
ทราบวา บุคคลทุกคนในสังคมไมวาจะดํารง
สถานภาพใดก็ตาม ยอมไมตอ งการใหบคุ คลอืน่
หรือผูที่สื่อสารดวยใชถอยคําที่ไมสุภาพ
ขณะสื่อสาร)
2. ครูตั้งคําถามกับนักเรียน เพื่อฝกใชทักษะ
การคิดวิเคราะห
• นักเรียนคิดวาทักษะการฟง การดู และ
การพูดมีความสัมพันธกันอยางไร แลวมี
แนวทางอยางไรเพื่อพัฒนาทักษะดังกลาว
(แนวตอบ มนุษยรับสารดวยการฟง การดู
และการอาน สงสารดวย การเขียน
และการพูด สําหรับการฟง และการดูเรื่อง
หนึ่งๆ ผูรับสารยอมเกิดความรูสึก
หลายประการหลังจากฟงและดูจบ เชน
เกิดความสงสัย เกิดความคิดเห็นที่แตกตาง
สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน ไมเหมือนแมนพจมานที่หวานหอม ออกไป จึงตองใชวิธีการพูดหรือการเขียน
กลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพะยอม อาจจะนอมจิตโนมดวยโลมลม เพื่อสื่อความรูสึก ความคิดของตนเอง
แมนลอลามหยามหยาบไมปลาบปลื้ม ดังดูดดื่มบอระเพ็ดตองเข็ดขม การพัฒนาทักษะการฟงและการดูสามารถ
ผูดีไพรไมประกอบชอบอารมณ ใครฟงลมเมินหนาระอาเอย กระทําได โดยผูฟงและดูควรเลือกรับสาร
(สักวา: พระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ) อยางหลากหลาย ไมจาํ กัดอยูเ ฉพาะทีต่ นเอง
ชอบหรือสนใจ ใชวิจารณญาณขณะรับชม
คิดตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ กับตนเอง
เพื่อใหเกิดความคิดที่กวางไกล สวนทักษะ
การพูดสามารถพัฒนาไดโดยวิธีการศึกษา
หลักเกณฑ แลวนําไปฝกฝนอยางสมํ่าเสมอ)

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในตอนที่ 3 การพัฒนาทักษะการฟง การดู และการพูด
ทักษะทางภาษาที่นักเรียนตองไดรับการฝกฝนไปพรอมๆ กัน คือ ทักษะการรับสาร
และทักษะการสงสาร สําหรับเปาหมายสําคัญของทักษะการรับสาร คือ นักเรียนมี
ความรู ความเขาใจ และรูเทาทันสื่อแตละประเภทในชีวิตประจําวัน มีแนวทาง
สําหรับการฟงและดูสื่ออยางมีประสิทธิภาพ
เปาหมายสําคัญของทักษะการสงสาร คือ นักเรียนมีวิจารณญาณในการสงสาร
ตองมีความรู ความเขาใจวา ควรเลือกเรื่องที่มีลักษณะเนื้อหาอยางไรมาถายทอด
ใหผูฟงซึ่งมีวัย ความรู ความคิด ประสบการณ และคานิยมแตกตางกัน พูดอยางไร
ใหสัมฤทธิผลตามจุดมุงหมายที่กําหนดไว
การจะบรรลุเปาหมายทั้งสองประการ ครูควรออกแบบการเรียนการสอน
ในลักษณะการเชื่อมโยงทักษะ โดยสรางสรรคกิจกรรมใหนักเรียนฝกทักษะการฟง
และการดู เพื่อนําสิ่งที่ไดฟงและดูมาแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น วิเคราะห
ขอเท็จจริง ขอคิดเห็นและประเมินความนาเชื่อถือของสารรวมกันเพื่อฝกทักษะการพูด

คู่มือครู 77
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. นักเรียนสามารถระบุเกี่ยวกับองคประกอบของ
การสื่อสารได
2. นักเรียนสามารถระบุลักษณะสําคัญ ขอดี
และขอจํากัดของสื่อแตละประเภทในชีวิต
ประจําวันได
3. นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับหลักการฟง
และดูสื่ออยางมีประสิทธิภาพ
4. นักเรียนเลือกฟงและดูสื่อไดอยางเหมาะสม
สามารถระบุสาระสําคัญ ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น
ความนาเชื่อถือของเรื่องที่ฟงและดูได
5. นักเรียนสามารถประเมินความเหมาะสม
ของพฤติกรรมการฟงและดูสื่อที่กําหนดใหได

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

ñ
3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต
4. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
หนวยที่
คุณลักษณะอันพึงประสงค หลักการฟงและการดูสื่อ
1. มีวินัย
2. ใฝเรียนรู
ตัวชี้วัด ก ารรั บ สารในชี วิ ต ประจํ า วั น
ท ๓.๑ ม.๒/๒, ๓, ๖ ทั้งการฟงและการดู เปนการเปดตาดู
3. มุงมัน่ ในการทํางาน ■ วิเคราะหขอเท็จจริง ขอคิดเห็น และความนาเชื่อถือของขาวสาร เปดหูฟง เพื่อรับรูเรื่องราวเขาสูสมอง
จากสื่ือตางๆ โดยเก็ บ ประเด็ น หรื อ ใจความสํ า คั ญ
■ วิเคราะหและวิจารณเรื่องที่ฟงและดูอยางมีเหตุผล เพื่อนําขอคิด
มาประยุกตใชในการดําเนินชีวิต ตั้งแตตนจนจบ นํามาคิดวิเคราะหอยางมี
■ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด ระบบ ระเบียบ และมีมารยาทกอนนําไปพูด
กระตุน้ ความสนใจ Engage ในโอกาสตางๆ อยางถูกตอง เหมาะสม และ
มีมารยาท
นักเรียนสํารวจทักษะการฟง การดู และการพูด สาระการเรียนรูแกนกลาง
การพูดวิเคราะหและวิจารณจากเรื่องที่ฟงและดู
ในชีวิตประจําวันของตนเองวามีลักษณะอยางไร

(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นได
อยางอิสระ จึงทําใหไดคําตอบที่หลากหลาย) ๗๘

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู หลักการฟงและการดูสื่อ เปาหมายสําคัญคือ
นักเรียนมีความรู ความเขาใจ สามารถระบุองคประกอบของการสื่อสาร รูเทาทันสื่อ
ทั้งขอดีและขอจํากัด มีหลักในการฟงและดูสื่ออยางมีประสิทธิภาพ โดยสามารถระบุ
สาระสําคัญ ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น และความนาเชื่อถือ รวมถึงมีหรือระบุมารยาท
ที่เหมาะสมขณะฟงและดูสื่อในที่สาธารณะ
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรออกแบบการเรียนการสอนโดยใหนักเรียน
เปนผูสืบคนองคความรูดวยตนเองเกี่ยวกับความเชื่อมโยงระหวางทักษะการฟง การดู
และการพูด หลักการฟงและดูสื่ออยางมีประสิทธิภาพ ครูสรางสรรคกิจกรรม
ใหนักเรียนนําเนื้อหาสาระที่ไดจากการฟงและดูสื่อในชีวิตประจําวันมารวมกันวิเคราะห
แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน กระตุนใหเกิดการตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ เพื่อสรุป
ความเปนไปได หรือความนาเชื่อถือ
การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยพัฒนาใหนักเรียนเปนผูมีวิจารณญาณและใช
วิจารณญาณในขณะรับ สงสาร นําหลักการไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

78 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา
Engage Explore อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูขออาสาสมัครนักเรียนจํานวนทั้งสิ้น 8 คน
๑ ความรู้พื้นฐานในการฟังและการดูสื่อ หรืออาจจะนอยหรือมากกวานี้ ขึ้นอยูกับดุลยพินิจ
ของครู จากนั้นใหออกมายืนหนาชั้นเรียน
๑.๑ ความหมาย โดยแตละคนยืนหันขางดานซายมือของตนเอง
การฟัง แตกต่างจากการได้ยิน เพราะการได้ยินเป็นเพียงการรับรู้เสียง แต่การฟัง หมายถึง ใหกับเพื่อนๆ ในชั้นเรียน ครูนําขอความที่มีขนาด
การรับรู้ แล้วแปลความหมายของเสียงที่ได้ยิน ดังนั้น การฟังจึงสัมพันธ์กับกระบวนการคิด ความยาวไมตํ่ากวา 2 บรรทัด ใหนักเรียนที่ยืน
การดู เป็นวิธีการรับสารผ่านประสาทตาหรืออาจเป็นการท�างานประสานกันระหว่างประสาท หัวแถวอานในใจ เมื่อจําไดแลวจึงบอกตอใหกับ
ตาและหู ในกรณีที่สารนั้นเป็นทั้งภาพและเสียง แล้วจึงแปลความหมาย ดังนั้น การฟังและการดูจึงเป็น เพื่อนคนที่ 2 ดวยวิธีการกระซิบ คนที่ 2 บอกตอ
ทักษะการรับสารที่ท�าให้มนุษย์รับรู้และตอบสนองความต้องการของกันและกันได้ถูกต้อง คนที่ 3 ดวยขอความที่ไดยิน ทําตอไปเรื่อยๆ
จนกระทั่งถึงคนสุดทาย ครูใหนักเรียนคนสุดทาย
๑.๒ องค์ประกอบของการสือ่ สาร บอกขอความที่ไดยิน แลวตรวจสอบวาตรงกับ
๑) ผู้ส่งสาร หมายถึง บุคคลหรือกลุ่มบุคคลซึ่งมีความตั้งใจที่จะถ่ายทอดความรู้ ความคิด ขอความที่ครูกําหนดไวหรือไม
ข้อมูล ข่าวสารไปยังผู้รับสาร โดยอาจใช้กลวิธีถ่ายทอดผ่านภาษา ตลอดจนใช้อุปกรณ์ต่างๆ ประกอบ
ในการส่งสาร ส�ารวจค้นหา Explore
๒) สาร หมายถึง เรื่องราวหรือเนื้อหาสาระที่ผู้ส่งสารต้องการส่งไปยังผู้รับสาร โดยใช้สื่อ
เป็นตัวกลางในการถ่ายทอด 1. นักเรียนจับกลุมยอย กลุมละ 3 คน รวมกัน
๓) ผู้รับสาร หมายถึง ผู้ที่รับฟังเรื่องราวจากผู้ส่งสาร แล้วน�ามาแปลความหมาย ไตร่ตรอง สืบคนความรูในประเด็น “กระบวนการสื่อสาร
ใคร่ครวญเพื่อน�า1สิ่งที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ ของมนุษย” โดยวิธีการสืบคนตองไดจาก
๔) สื่อ หมายถึง ตัวกลางในการถ่ายทอดสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร การสังเกตผานกิจกรรมในกระบวนการ
๕) ผลการสือ่ สาร หมายถึง ปฏิกริ ยิ าตอบสนองของผูร้ บั สาร เช่น ปฏิบตั ติ ามทีผ่ สู้ ง่ สารแนะน�า กระตุนความสนใจ (Engage) บันทึกขอมูล
ที่ไดแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ลงสมุด
๑.๓ ความสําคัญของการฟังและการดูสอื่ 2. นักเรียนกลุมเดิมรวมกันสืบคนความรู
การฟังและการดู เป็นทักษะการรับสารที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจ�าวัน เพราะสื่อต่างๆ ได้รับ ในประเด็น “มารยาทในการฟงและดู” เพื่อนํา
การพัฒนาให้มีคุณภาพและมีความหลากหลาย การฟังและการดูจึงมีความส�าคัญ และจ�าเป็นส�าหรับ ความรู ความเขาใจ มาใชประเมินพฤติกรรม
สังคมยุคใหม่ซึ่งสามารถสรุปได้ ดังนี้ ของบุคคลและระบุแนวทางปฏิบัติตนที่ถูกตอง
๑) ช่วยพัฒนาสติปัญญา การฟังและการดูช่วยให้ผู้รับสารมีความรอบรู้ในเรื่องราวต่างๆ ในสถานการณการฟงที่กําหนด
มีความทันสมัย ทันเหตุการณ์ เช่น ข่าวกีฬา ข่าวการเมือง ข่าวบันเทิง เป็นต้น
๒) ช่วยให้สนุกสนานเพลิดเพลินใจ การฟังและการดูช่วยให้ผู้รับสารผ่อนคลายจาก
ความเครียด เช่น การฟังเพลง ฟังละครวิทยุ หรือชมละคร ชมภาพยนตร์ ชมรายการทางโทรทัศน์ เป็นต้น
๓) ช่วยพัฒนาสังคม การฟังและการดูชว่ ยให้ผรู้ บั สารมีวจิ ารณญาณ มีจติ ใจประณีต งดงาม
มีสติ รู้จักยับยั้งชั่งใจ ไม่วู่วาม ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่ส�าคัญของการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข

79

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
การฟงและดูสื่อในขอใดสะทอนใหเห็นความสําคัญของการฟงและดูสื่อ
กิจกรรมที่ใหนักเรียนปฏิบัติในกระบวนการกระตุนความสนใจ (Engage)
ที่ชวยพัฒนาดานสติปญญา
มีเปาหมายสําคัญเพื่อใหนักเรียนตั้งขอสังเกตเกี่ยวกับกระบวนการสื่อสารของมนุษย
1. อมรชมละครหลังขาว
โดยกิจกรรมดังกลาวจะสะทอนใหเห็นวากระบวนการสือ่ สารของมนุษยมอี งคประกอบ
2. เอมอรชมภาพยนตรในโรงภาพยนตร
สําคัญใดบาง มีความสําคัญตอชีวิตประจําวันและสังคมมนุษยอยางไร และหาก
3. เอกชมสารคดีเกี่ยวกับการพัฒนาเทคโนโลยีนาโน
กิจกรรมที่ใหปฏิบัติ นักเรียนคนสุดทายระบุขอความที่ไดยินไมตรงกับขอความที่
4. อุษาชมการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ที่โรงละครแหงชาติ
กําหนดไว ยอมแสดงใหเห็นถึงความผิดพลาดในกระบวนการสื่อสาร ครูควรกระตุน
วิเคราะหคําตอบ การฟงและดู เปนทักษะการรับสารที่ใชมากที่สุดในชีวิต ใหนักเรียนระบุใหไดวาความผิดพลาดนั้นๆ มีลักษณะอยางไรและเกิดจากอะไร
ประจําวัน โดยการรับสารชวยพัฒนามนุษยในดานตางๆ หลายประการ เชน
พัฒนาสติปญญา พัฒนาจิตใจ ใหความเพลิดเพลิน เปนตน การชมละคร
ภาพยนตร และการแสดงโขน ถือเปนการรับสารเพื่อใหเกิดความเพลิดเพลิน นักเรียนควรรู
แตการรับชมสารคดีซึ่งมีเนื้อหาสาระที่ใหความรูเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
 ญา ดังนัน้ จึงตอบขอ 3.
ถือเปนการเลือกฟงและดูสอื่ ทีช่ ว ยพัฒนาดานสติปญ 1 สื่อ นอกจากวิทยุ โทรทัศน แลว ตัวกลางในการถายทอดสารจากผูสงสารไปยัง
ผูรับสาร ยังปรากฏในรูปแบบของการแสดงสีหนา การใชมือ การวางตัว

คู่มือครู 79
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
ความรูแ บบโตตอบรอบวงเกีย่ วกับกระบวนการสือ่ สาร ๔) ช่วยพัฒนาจิตใจ การฟังและการดูข้อความหรือเรื่องราวที่มีเนื้อหาให้ข้อคิด คติชีวิต
ของมนุษย โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจาก จะช่วยยกระดับหรือพัฒนาจิตใจให้ด�าเนินไปในทางที่ดีงาม ท�าให้ชีวิตมีความสุข สงบ เช่น การฟัง
การสืบคนรวมกับเพื่อน เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ ธรรมบรรยาย พระบรมราโชวาท โอวาท เป็นต้น
ตอบคําถาม การฟังและการดูบางประเภท เช่น ฟังเพลง ดูละคร นอกเหนือจากการได้รับความบันเทิง
• ทักษะการฟงและดูสื่อมีลักษณะสําคัญ ผู้ฟังและดูยังสามารถเก็บข้อคิด คุณค่าจากการฟังและดูนั้นๆ ไปใช้ประโยชน์ได้ หรือการฟังและดู
อยางไร ประเภทบันเทิงคดีชว่ ยผ่อนคลายความตึงเครียดจากการท�างานหรือจากปัญหาต่างๆ ในชีวติ ประจ�าวัน
(แนวตอบ การฟงเปนทักษะการรับสารซึ่งเกิด นอกจากนี้ยังสามารถฟังวิทยุเพื่อคลายเหงา เมื่อท้อใจ เสียใจ เศร้าใจ เมื่อล้มเหลวในการแก้ปัญหา
จากกระบวนการทํางานของระบบประสาท การฟังค�าแนะน�าจากพ่อ แม่ ครู อาจารย์ หรือฟังการบรรยายธรรมก็ท�าให้จิตใจที่ว้าวุ่นเกิดความสุข
แลวจึงแปลเสียงที่ไดยินเปนความหมาย สงบ เกิดความคิดที่ถูกต้อง และมองเห็นทางแก้ไขปัญหา
ในขณะทีก่ ารดูเปนทักษะการรับสารซึง่ เกิดจาก หากผู้รับสารรับรู้ข่าวสาร เรื่องราวต่างๆ โดยไม่คิดวิเคราะห์ ไตร่ตรอง ให้ละเอียดรอบคอบ
การทํางานของระบบประสาทตา แลวจึงแปล ผู้รับสารอาจตกเป็นเหยื่อของการโฆษณาชวนเชื่อ ผู้รับสารจึงต้องคิดวิเคราะห์จุดประสงค์ของผู้ส่งสาร
สัญลักษณที่เห็นเปนความหมาย ดังนั้นทักษะ ตลอดจนประเมินประโยชน์หรือคุณค่าที่ได้รับ ซึ่งจะเป็นการฟังและดูที่เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง
การฟงและดูจึงเปนทักษะการรับสาร
ซึ่งเกิดจากการทํางานที่สัมพันธกันระหวาง
๑.๔ มารยาทในการฟังและดู
ประสาทหูและตา) บุคคลควรมีมารยาทในการฟังและดูโดยปฏิบัติตามแนวทาง ดังนี้
• จากกิจกรรมที่ใหปฏิบัติในกระบวนการ ๑) มีจุดมุ่งหมาย ผู้ฟังและดูที่ดีจ�าเป็นจะต้องก�าหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน เช่น ฟังและดู
กระตุนความสนใจ องคประกอบของการ เพื่อความบันเทิงจรรโลงใจหรือเพื่อรับทราบข้อมูลข่าวสาร การตั้งจุดมุ่งหมายจะท�าให้ได้รับประโยชน์
สื่อสารประกอบดวยอะไรบาง จากการฟังและดูมากขึ้น
(แนวตอบ ผูสงสาร สาร ผูรับสาร และสื่อ) ๒) วางใจเป็นกลาง ผู้ฟังและดูที่ดีจะต้องเริ่มจากการวางใจเป็นกลางและใช้วิจารณญาณ
• ทักษะการฟงและดูมีความสําคัญ ในการรับสารเพื่อให้ได้รับข้อมูลที่ครบถ้วน
ตอชีวิตประจําวันของนักเรียนอยางไร ๓) ฟังและดูอย่างตั้งใจ อดทน ผู้ฟังและดูที่ดีจะต้องมีสมาธิ ควบคุมจิตใจให้จดจ่อก่อน
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ที่จะรับสาร อดทนต่ออุปสรรคที่ขัดขวางการฟังและดู เช่น ไม่มีสมาธิ เสียงดังรบกวน สุขภาพไม่ดี
ไดอยางอิสระ ขึ้นอยูกับทัศนคติสวนตน) เก้าอี้นั่งไม่สบาย เป็นต้น
• จากสถานการณที่เพื่อนคนสุดทาย ๔) มีปฏิกริ ยิ าตอบสนอง ผูฟ้ งั และดูทดี่ คี วรตอบสนองต่อสารและผูส้ ง่ สารด้วยสีหน้า แววตา
ระบุขอความไมตรงกับเพื่อนคนที่ 1 ที่สื่อถึงความสนใจและแสดงออกอย่างจริงใจ
หรือขอความที่ครูกําหนดไว แสดงใหเห็น ๕) มีการซักถาม ผู้ฟังและดูที่มีข้อสงสัยควรซักถามอย่างสุภาพ ไม่แฝงเจตนาเพื่อทดสอบ
อุปสรรคในการสื่อสารอยางไร ความรูข้ องผูส้ ง่ สาร ถามในเวลาทีเ่ หมาะสม ไม่เป็นการขัดจังหวะการสือ่ สาร หรือท�าลายบรรยากาศการฟัง
(แนวตอบ อุปสรรคในการสื่อสาร สามารถ ของผู้อื่น
เกิดขึ้นไดกับทุกองคประกอบของการสื่อสาร ๖) ไม่รบกวนสมาธิของผู้อื่น ผู้ฟังและดูไม่ควรน�าอาหารและเครื่องดื่มเข้าไปรับประทาน
ไดแก ผูสงสาร ผูรับสาร สาร และสื่อ เชน ในระหว่างการฟังและดู รวมถึงไม่พูดคุยส่งเสียงดังกับเพื่อน คนรู้จัก หรือสนทนาผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผูสงสารไมมีความพรอมขณะสงสาร ผูรับสาร
ขาดสมาธิขณะรับสาร สารที่สงมีความยาว 80
เกินไป การเลือกใชสื่อไมเหมาะสม)

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในหัวขอ มารยาทในการฟงและดู ครูควรสุมเรียกชื่อนักเรียน นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของอุปสรรคในกระบวนการสื่อสาร
เพื่ออธิบายความรูเกี่ยวกับมารยาทในการฟงและดูสื่ออยางเหมาะสมในสถานที่ ของมนุษย ซึ่งเกิดขึ้นขณะสื่อสาร พรอมยกตัวอยางที่ชัดเจนประกอบ
สาธารณะ จากนั้นจึงยกตัวอยางพฤติกรรมของบุคคลตอไปนี้ แลวใหนักเรียน คําอธิบาย นําขอมูลมาแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันภายในชั้นเรียน
รวมกันแสดงความคิดเห็นวา เปนพฤติกรรมที่เหมาะสมหรือไม เชน
• ปญญายกมือถามขอสงสัยทันทีที่วิทยากรกําลังบรรยาย
• เรณูปรบมือเสียงดังเพื่อแสดงความชื่นชม เมื่อการแสดงละครเวทีจบลง กิจกรรมทาทาย
โดยครูควรยกตัวอยางสถานการณที่หลากหลายและเปนจํานวนมากกวาที่ระบุไว

นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสําคัญขององคประกอบการสื่อสาร
ของมนุษย ไดแก ผูสงสาร ผูรับสาร สาร และสื่อ นําขอมูลมาแลกเปลี่ยน
เรียนรูซึ่งกันและกันภายในชั้นเรียน

80 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา
Engage Explore อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูชวนนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับสื่อประเภท
๒ สื่อในชีวิตประจÓวัน ตางๆ ที่ตนเองพบเห็นในชีวิตประจําวัน จากนั้น
ตั้งคําถามวา
สือ่ มีความส�าคัญต่อสังคมมนุษย์เพราะสังคมมีการเคลือ่ นไหวอยูต่ ลอดเวลา คนในสังคมจึงจ�าเป็น • ในชีวิตประจําวันนักเรียนรับสารจากสื่อ
ต้องได้รับทราบข้อมูล ข่าวสารอย่างรวดเร็ว เพื่อให้ทันต่อเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงและปรับตัว ประเภทใดมากที่สุด เพราะเหตุใด
เข้ากับสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม สื่อจึงมีบทบาทส�าคัญในฐานะเป็นตัวกลางในการถ่ายทอดข้อมูล (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
เนื่องจากเทคโนโลยีการสื่อสารเจริญก้าวหน้ามากขึ้น ท�าให้สื่อในปัจจุบันมีหลากหลายชนิดโดยสื่อที่ ไดอยางอิสระ คําตอบที่ไดจึงมีความ
พบเห็นในชีวิตประจ�าวัน มีดังนี้ี หลากหลายตามประสบการณสวนตนและ
คานิยมของแตละคน)
๒.๑ สือ่ สิง่ พิมพ์ • นักเรียนคิดวาสื่อแตละประเภทมีขอดี
ในชีวติ ประจ�าวันมนุษย์สามารถรับรูข้ อ้ มูล ข่าวสาร หรือหาความรู้ ความบันเทิงใจได้จากสือ่ สิง่ พิมพ์ ขอจํากัดแตกตางกันหรือไม อยางไร
ชนิดต่างๆ เช่น นิตยสาร วารสาร จุลสาร เป็นต้น แต่ในทีน่ จี้ ะน�าเสนอสือ่ สิง่ พิมพ์ทพี่ บเห็นและผูร้ บั สาร และเปนสาเหตุใหเกิดสิ่งใด
สามารถเข้าถึงได้ง่ายที่สุด คือ หนังสือพิมพ์ (แนวตอบ สื่อทุกประเภทในชีวิตประจําวัน
หนังสือพิมพ์เป็นสื่อในรูปแบบสิ่งพิมพ์ที่รับสารผ่านการดูและอ่านข้อความ มีหลายประเภท ลวนมีขอดีและขอจํากัดแตกตางกัน เชน
ทั้งรายวัน รายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน เป็นสื่อที่มีมานานกว่าสื่อชนิดอื่นๆ และได้รับความนิยม หนังสือพิมพ มีขอดี คือ คนทุกเพศทุกวัย
แพร่ ห ลาย โดยเฉพาะหนั ง สื อ พิ ม พ์ ร ายวั น เพราะสามารถหาอ่ า นได้ ส ะดวกและมี ร าคาย่ อ มเยา สามารถเขาถึงได ไมจํากัดเวลา สถานที่
หนังสือพิมพ์จะน�าเสนอข่าวสาร ความเคลือ่ นไหวทุกด้าน ทัง้ ด้านการเมือง ด้านวิชาการ กีฬา เศรษฐกิจ หางายและมีราคาถูก แตก็ยังมีขอจํากัด คือ
สังคม วัฒนธรรม การศึกษา และบันเทิง ข้อดีของสื่อหนังสือพิมพ์ คือ เป็นสื่อถาวรที่ใช้อ้างอิงได้ ผูรับสารอาจไดรับอรรถรสไมไดเทากับ
การรับชมผานสื่อวิทยุ โทรทัศน เปนตน
๒.๒ สือ่ วิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ ขอจํากัดที่เกิดขึ้นนั้น สงผลใหเกิดสื่อแตละ
วิทยุกระจายเสียงเป็นการส่งข้อมูล ข่าวสารด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความรวดเร็วใน ประเภทที่มีความหลากหลาย เพื่อแกไข
การสื่อสาร เหมาะกับการส่งสารประเภทข่าวที่ต้องการความรวดเร็ว เนื้อหามีความหลากหลาย ขอจํากัดของสื่ออื่นๆ สนองตอบความ
ทัง้ บันเทิงคดีและสารคดี ซึง่ รายการวิทยุในอดีตเป็นการสือ่ สารทางเดียวกล่าวคือ ผูจ้ ดั รายการวิทยุหรือ ตองการบริโภคขาวสาร สาระ และความ
ผู้ส่งสารไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ฟัง แต่ปัจจุบันผู้ผลิตบางรายการได้น�าเทคโนโลยีการสื่อสารมา บันเทิงของผูรับสาร)
ใช้เป็นประโยชน์แก่การผลิตรายการ เช่น การใช้โทรศัพท์สนทนาระหว่างผู้จัดรายการกับผู้ฟังรายการ
เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือสอบถามปัญหา ส�ารวจค้นหา Explore
วิทยุโทรทัศน์เป็นการสื่อสารด้วยภาพและเสียง โดยการส่งสัญญาณด้วยคลื่นวิทยุเพื่อสื่อ
นักเรียนจับคูกับเพื่อนตามความสมัครใจ
ความหมาย ผู้รับสารต้องมีทักษะการตีความสาร ซึ่งส่งผ่านภาพและเสียง เพราะผู้ผลิตสื่อมักใช้
รวมกันสืบคนความรูในประเด็น “สื่อในชีวิต
สี เสียง ภาพ ขนาด รูปแบบ เพื่อช่วยสื่อความและดึงดูดความสนใจของผู้รับสาร ดังนั้น ผู้รับสารจึง ประจําวัน” ใหครอบคลุมทั้งสื่อสิ่งพิมพและสื่อ
ต้องมีสมาธิและทักษะในการใช้ประสาทสัมผัสทางหูและตาไปตลอดการชมสื่อ ทั้งนี้เพื่อไม่ให้พลาด อิเล็กทรอนิกส โดยสามารถสืบคนความรูไดจาก
การรับสารในช่วงใดช่วงหนึง่ ไป เพราะอาจท�าให้การรับสารหรือการสือ่ ความผิดจากทีผ่ สู้ ง่ สารก�าหนดไว้ แหลงขอมูลตางๆ ทีเ่ ขาถึงได และมีความนาเชือ่ ถือ
81
บันทึกขอมูลทีเ่ ปนประโยชน ลงสมุด เพือ่ ใชสาํ หรับ
การปฏิบัติกิจกรรมตอๆ ไป

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T บูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียง
สื่อในขอใดมีความสัมพันธกับขอความที่กําหนดใหตอไปนี้
“การใชภาษามีลักษณะแปลกใหม เพื่อสะดุดตา สะดุดใจผูอาน ใชภาษา ความเจริญกาวหนาดานเทคโนโลยี ทําใหเกิดสื่อตางๆ นําไปสูพฤติกรรมการ
ระดับกึ่งทางการ มีการใชคําเฉพาะกลุม” วิ่งตามเทคโนโลยี นักเรียนจะมีวิธีการอยางไรที่จะแกไขปญหาดังกลาว เพื่อใหคน
1. วิทยุ ใกลชิด เปนตนวา ผูปกครอง เพื่อน เกิดความพอเพียงในการบริโภคสื่อใหเหมาะสม
2. นิตยสาร กับตนเองในมิติตางๆ เชน ความจําเปน ฐานะทางเศรษฐกิจ โดยใช Road map
3. โทรทัศน เพื่อแสดงวิธีการและขั้นตอน
4. หนังสือพิมพ
วิเคราะหคําตอบ หนังสือพิมพจัดเปนสื่อสิ่งพิมพที่นําเสนอขาวสาร สาระ
และความบันเทิงใหแกผูรับสาร มีรูปแบบการใชภาษาที่แปลกใหม กระตุน ให
ผูอ า นเกิดความสนใจ ใครรู หลังจากอานพาดหัวขาว นอกจากนี้ยังปรากฏ
การใชถอยคํางายๆ คําเฉพาะกลุม เชน ในขาวกีฬาจะใชฉายาของทีม
ฟุตบอลในการพาดหัวขาว เชน “ราชันยชุดขาว” “สิงโตคําราม” เปนตน
หากผูอานที่ไมทราบความหมายของคําเหลานี้ อาจทําใหรับสารได
ไมครบถวน หรือตีความคลาดเคลื่อน ดังนั้นจึงตอบขอ 4.
คู่มือครู 81
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับสื่อ ๒.๓ สือ่ สังคมออนไลน์
ในชีวิตประจําวัน โดยใชความรู ความเขาใจ สือ่ สังคมออนไลน์ หมายถึง ช่องทางการติดต่อสือ่ สารผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทีผ่ สู้ ง่ สาร
ที่ไดรับจากการสืบคนรวมกับเพื่อน และพื้นฐาน และผู้รับสารโต้ตอบกันได้ เป็นสื่อรูปแบบใหม่ที่บุคคลทุกเพศ ทุกวัยเข้าถึง น�าเสนอ เผยแพร่ข้อมูล
หรือรองรอยความรูเดิมของตนเอง เปนขอมูล ข่าวสารต่างๆ ได้ด้วยตนเองสู่สาธารณะ โดยใช้
เบื้องตนสําหรับตอบคําถาม 1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สื่อสารประเภทต่างๆ
สื่อสังคมออนไลน์ในปัจจุบัน เช่น Facebook, Twitter, Google Plus, MySpace, YouTube, Blog
• จากภาพประกอบในหนังสือเรียนภาษาไทย
รวมทั้งเว็บไซต์ต่างๆ ทั้งในและนอกประเทศ เช่น File sharing, photo sharing, video sharing และ
หนา 82 นักเรียนคิดวาปจจัยใดที่ทําให
กระดานข่าว (webboard)
บุคคลทั้งสองแสดงทาทางในลักษณะดังกลาว
สื่อสังคมออนไลน์เป็นช่องทางหนึ่งที่ผู้ส่งสารเลือกใช้เพื่อสื่อสารข้อมูล และผู้รับสารเลือกใช้
ขณะรับชมสื่อโทรทัศน
เพื่อรับทราบข้อมูล ข่าวสาร มีแนวโน้มการใช้เพิ่มขึ้น ลักษณะเฉพาะของสื่อออนไลน์เป็นสาเหตุส�าคัญ
(แนวตอบ โทรทัศน เปนสื่อที่มีขอไดเปรียบ
ทั้งดานภาพและเสียง ซึ่งจะชวยกระตุน ที่ท�าให้บุคคลเลือกใช้ เพราะใช้งานง่าย สะดวก รวดเร็ว ผู้ใช้สามารถสลับบทบาทแสดงความคิดเห็น
หรือมีอิทธิพลตออารมณ ความรูสึกของมนุษย ข้อมูลทีน่ า� มาเผยแพร่หลากหลาย นอกจากนีค้ วามเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทพี่ ฒ ั นาขีดความสามารถ
ดังนั้นการที่บุคคลทั้งสองแสดงทาทางใน ของคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือให้เพิ่มขึ้น กระแสสังคมก็เป็นส่วนหนึ่งที่ท�าให้บุคคลเลือกใช้
ลักษณะดังกลาว ยอมเปนผลมาจากการถูก สื่อออนไลน์แทนสื่อเดิมในชีวิตประจ�าวัน
กระตุนดวยภาพและเสียงขณะรับชม) ลักษณะทีโ่ ดดเด่นของสือ่ ออนไลน์ คือ การเปิดกว้าง สิง่ นีจ้ งึ เป็นข้อควรระวังของผูใ้ ช้บริการ ทุกครัง้
• สื่อตางๆ ในชีวิตประจําวัน มีลักษณะสําคัญ ทีร่ บั สารจากสือ่ ประเภทนี้ ไม่วา่ ด้วยการอ่าน หรือการฟังและดู จะต้องรูเ้ ท่าทันข้อมูล แยกแยะข้อเท็จจริง
ขอดีและขอจํากัดแตกตางกันอยางไร ออกจากข้อคิดเห็น ตรวจสอบความถูกต้อง น่าเชือ่ ถือของข้อมูลโดยเปรียบเทียบกับสือ่ อืน่ และก่อนทีจ่ ะ
(แนวตอบ สื่อสิ่งพิมพ : นําเสนอขาวสาร ส่งต่อข้อมูลควรตั้งค�าถามกับตนเองว่า ถ้าเผยแพร่จะส่งผลดีและผลเสียกับใคร อย่างไร
สาระและความบันเทิง มีขอดี คือ เปนสื่อ
ถาวรที่สามารถหาอานไดงาย ราคาถูก
แตมีขอจํากัดในเรื่องของเวลา เนื้อที่ในการ
นําเสนอ และการใชถอยคําภาษาที่มี
ลักษณะเฉพาะ
สื่ออิเล็กทรอนิกส : นําเสนอขาวสาร สาระ
และความบันเทิงไดสะดวก รวดเร็ว
นําเสนอสถานการณผานทางภาพและเสียง
เกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลไดรวดเร็ว แตมี
ขอสังเกตในเรื่องการเขาถึง เพราะเปนสื่อ
ทีเ่ ขาถึงไดงา ย หากผูฟ ง และดูขาดวิจารณญาณ
ในการรับชมอาจทําใหเกิดผลเสียได) ▲ การสื่อสารผานสื่อสังคมออนไลนผูสื่อสารควรมีสติ รูจักยับยั้ง ไตรตรอง กอนสื่อสารหรือเชื่อขอมูล

82

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
การฟงและดูสื่อเปนทักษะการรับสารที่มีความสําคัญในชีวิตประจําวัน
1 Facebook คือ บริการทางอินเทอรเน็ตบริการหนึ่ง ที่ทําใหผูใชสามารถติดตอ
หากนักเรียนจะเลือกฟงและดูเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สิ่งใดคือตัวกําหนดการเลือก
สื่อสารและรวมทํากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งหรือหลายกิจกรรมกับผูใช Facebook
รับสารของนักเรียน ยกตัวอยางประกอบใหชัดเจน
คนอื่นๆ ได เชน การตั้งประเด็นถามตอบ การโพสตรูปภาพหรือคลิปวิดีโอ การสง
ขอความสนทนากัน การเลนเกม ซึ่งในปจจุบัน Facebook เปน social network แนวตอบ สิง่ ทีเ่ ปนตัวกําหนดการเลือกรับสาร คือ จุดประสงค ซึง่ จุดประสงค
ที่ไดรับความนิยมอยางมาก โดยในประเทศไทยมีผูใชงาน Facebook มากเปน จะเปนตัวกําหนดทิศทางในการฟงและดู การเลือกรับสาร นอกจากนี้
อันดับ 6 ของโลก คือ ประมาณ 26.3 ลานคน (ขอมูลเดือน มกราคม พ.ศ. 2556) จุดประสงคยังกําหนดรูปแบบการดําเนินชีวิต ยกตัวอยางเชน ถาไมตองการ
ใหรา งกายของตนเองประกอบไปดวยไขมันทีม่ ากเกินไป ก็ตอ งเลือกรับประทาน
อาหารจําพวกผัก ผลไม ถั่ว และปลา หรือถาตองการใหบริเวณบานมีความ
รมเย็น ก็ควรเลือกปลูกตนไมทมี่ ลี กั ษณะการเจริญเติบโตแบบแผกิ่งกาน เชน
เดียวกัน ถามีความตึงเครียดจากการเรียน ตองการผอนคลาย ก็ตองเลือกฟง
และดูเรื่องที่ใหความบันเทิง เพลิดเพลินใจ เชน ละคร ภาพยนตร การตนู
มิวสิกวิดโี อ เปนตน จากตัวอยางขางตนจึงแสดงใหเห็นวา “จุดประสงค”
เปนตัวกําหนดการเลือกรับสาร

82 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา
Engage Explore อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
1. ครูกระตุนความสนใจและนําเขาสูหัวขอ
๓ หลักการฟังและการดูสื่ออย่างมีประสิท¸ิภาพ การเรียนการสอน หลักการฟงและดูสื่ออยาง
มีประสิทธิภาพ ดวยวิธีการอธิบายใหนักเรียน
การฟังและดูสื่อ ขึ้นอยู่กับความสนใจใฝ่รู้ของแต่ละบุคคลและความต้องการที่แตกต่างกัน มองเห็นความเชื่อมโยงของแตละขั้นตอน
ผู้ฟังและผู้ดูควรมีหลักการฟัง และการดูที่ถูกต้องเหมาะสม จึงจะได้ประโยชน์ตรงกับจุดมุ่งหมายและ ในการฟงและดูสื่อ โดยควรกลาวถึงประเด็น
สามารถน�าความรู้ ตลอดจนแนวคิดที่ได้รับไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ�าวัน ตอไปนี้
๓.๑ หลักการฟังและการดูสอื่ • จุดประสงคในการฟงและดูสื่อ
• การฟงและดูสื่อเบื้องตน
การฟังและดูสื่ออย่างมีประสิทธิภาพมีแนวปฏิบัติที่ผู้เรียนสามารถน�าไปใช้ได้ ดังนี้
2. นักเรียนสํารวจตนเองวา เมื่อไดฟงและดูสื่อ
๑) เตรียมความพร้อมก่อนการฟังและดู  ท�าความเข้าใจเรือ่ งทีก่ า� ลังจะฟังและดูวา่ ผูพ้ ดู จะ ตางๆ จนจบตลอดทั้งเรื่องแลว เคยตั้งคําถาม
บรรยายในประเด็นใด มีขอบเขตเนื้อหามากน้อยเพียงใด รวมถึงการเตรียมความพร้อมทั้งร่างกายและ เหลานี้กับตนเองบางหรือไม
จิตใจ ซึ่งการเตรียมความพร้อมจะช่วยให้ผู้ฟังท�าความเข้าใจเนื้อหาได้ครบถ้วน • เจตนาของผูสงสารคืออะไร
๒) ฟังและดูอย่างมีสมาธิ ตั้งแต่ต้นจนจบ เพราะจะท�าให้จับใจความหรือสาระส�าคัญ • ขอความใดเปนขอเท็จจริงและขอคิดเห็น
ของเรื่องได้ครบถ้วน ผู้ที่ขาดสมาธิจะพลาดเนื้อหาสาระส�าคัญซึ่งไม่สามารถย้อนกลับไปฟังและดูได้อีก • มีการบิดเบือนขอเท็จจริงของเรื่องหรือไม
๓) คิดทบทวนพิจารณาเรือ่ งทีฟ่ งั และดู โดยตัง้ ค�าถาม เช่น เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับอะไร เนือ้ หา จากนั้นครูตั้งคําถามวา
ส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง ส่วนใดเป็นข้อคิดเห็น ผู้พูดใช้เหตุผลใดสนับสนุนประเด็นที่น�าเสนอ หลักฐาน • นักเรียนคิดวาตนเองมีทักษะการฟงและดู
หรือตัวอย่างที่น�ามาใช้ประกอบมีความน่าเชื่อถือหรือไม่ อยางไร หากไมสามารถตั้งคําถามขางตน
๔) จับประเด็นส�าคัญของเรือ่ งทีฟ่ งั และดู ผูฟ้ งั อาจสังเกตจากการเน้นย�า้ ของผูพ้ ดู การเว้น กับตนเองได
จังหวะ เพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงของแต่ละประเด็น (แนวตอบ สาเหตุที่ไมสามารถตั้งคําถามได
๕) จดบันทึก โดยอาจใช้วิธีการจด บันทึกภาพ และเสียง ในกรณีที่เรื่องที่ฟังและดูไม่จ�ากัด เพราะมีทักษะการฟงและดูเพียงขั้นตน
ลิขสิทธิ์ แต่อย่างไรก็ตาม ควรขออนุญาตจากผู้พูดหรือผู้จัดงานก่อน การจดบันทึกเป็นวิธีการที่จะช่วย เปนการฟงและดูเพียงเพื่อรูวามีอะไรเกิดขึ้น
ให้จับใจความส�าคัญจากการฟังและดูได้เป็นอย่างดี นอกจากจะช่วยเตือนความจ�าแล้ว ยังช่วยให้ผู้ฟัง แตไมรูวาสิ่งเหลานั้นเกิดขึ้นไดอยางไร
และดูมีสมาธิกับเรื่องที่ฟัง ทําไมจึงเกิดขึ้น)
1
๖) ตรวจสอบเปรียบเทียบจากสือ่ อืน่ โดยหลังจากการฟังและดูอย่างตัง้ ใจแล้ว ผูฟ้ งั และดู
ควรพิจารณาตรวจสอบเปรียบเทียบข้อมูลกับสือ่ ประเภทอืน่ ๆ เพือ่ ความถูกต้องตรงกันก่อนน�าไปอ้างอิง ส�ารวจค้นหา Explore

๓.๒ การวิเคราะห์สารจากสือ่ ทีฟ่ งั และดู นักเรียนจับคูกับเพื่อนตามความสมัครใจ


จากนั้นใหรวมกันสืบคนความรูในประเด็น
การรับสารจากสื่อที่ฟังและดู หมายถึง การรับรู้สารจากเสียงและภาพ เป็นกระบวนการ “การวิเคราะหสารจากสื่อที่ฟงและดู” เพื่อใหการ
ที่ผ่านประสาทหูและตาเพื่อแยกแยะสิ่งที่ได้ฟังได้ดู จับประเด็นส�าคัญตีความเพื่อน�าไปปรับใช้ในชีวิต รับสารในแตละครั้งเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ประจ�าวัน โดยสามารถสืบคนความรูไดจากแหลงขอมูลตางๆ
ที่เขาถึงได และมีความนาเชื่อถือ
83

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
พิจารณาพฤติกรรมของบุคคลที่กําหนดใหตอไปนี้ นักเรียนคาดการณวา
1 ตรวจสอบเปรียบเทียบจากสื่ออื่น การตรวจสอบเปรียบเทียบขอมูลที่ไดฟง
บุคคลใดนาจะประสบผลสําเร็จในการฟงมากที่สุด
และดู ควรเลือกแหลงเปรียบเทียบที่มีความนาเชื่อถือและควรกระทําดวยใจที่
1. กุกเสียบหูฟงขางหนึ่งเพื่อฟงเพลงจากคลื่นวิทยุขณะฟงอภิปราย
เปนกลาง ปราศจากอคติ พิจารณาขอมูลดวยเหตุผล ไตรตรองใหรอบคอบกอน
2. กรณสนทนากับกันตเกี่ยวกับประเด็นการอภิปรายที่พึ่งผานไปขณะฟง
ตัดสินใจเชื่อ ซึ่งการเปรียบเทียบขอมูลมีความเกี่ยวของกับการฟงและดูเพื่อจับใจ
3. ไกฟงการอภิปรายอยางตั้งใจแตไมสามารถจับใจความสําคัญของเรื่องได
ความสําคัญ โดยผูรับสารจะตองจับใจความหรือสาระสําคัญของสิ่งที่ไดฟงและดู
4. แกวบันทึกเสียงของผูอภิปรายขณะฟงการอภิปราย แลวนําไปเปดฟง
เพื่อเปรียบเทียบใหไดวาเหตุการณเดียวกัน แตเมื่อรับผานสื่อตางประเภทกัน ใจความ
อีกครั้งหนึ่งที่บาน เพื่อสรุปสาระสําคัญลงในแบบบันทึกการฟง
สําคัญเปลี่ยนแปลงไปหรือไม มีการบิดเบือนขอเท็จจริงหรือไม อยางไร ซึ่งการฟง
วิเคราะหคําตอบ การฟงและดูสื่อเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผูฟง และดูในลักษณะดังกลาว ถือเปนการฟงและดูสื่ออยางมีประสิทธิภาพ
และดูควรมีสมาธิ ใจจดจออยูก บั เรือ่ งทีฟ่ ง เพือ่ ใหสามารถจับใจความสําคัญได
ไมสนทนากับผูอื่น เพราะอาจทําใหพลาดสาระสําคัญในสวนตอๆ ไป
เมื่อฟงเรื่องที่มีความยาว และผูฟงขาดพื้นฐานความรู ควรมีอุปกรณชวยจํา
แลวนํากลับมาทบทวนภายหลังจะทําใหการฟงครั้งนั้นๆ เกิดประสิทธิภาพ
ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

คู่มือครู 83
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับหลักการฟงและดู อุปสรรคของการสื่อสารอาจเกิดจากผู้ส่งสาร ผู้รับสาร สื่อ สาร หรือแม้แต่กาลเทศะและ
สื่ออยางมีประสิทธิภาพ โดยใชความรู ความเขาใจ สภาพแวดล้อม ท�าให้การสื่อสารไม่สัมฤทธิผล ในกระบวนการของการวิเคราะห์สาร ผู้วิเคราะห์จ�าเป็น
ที่ไดรับจากการสืบคนรวมกับเพื่อน เปนขอมูล ต้องมีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของการสื่อสาร ดังนี้
เบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
• การมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการ ผู้ส่งสาร สื่อ สาร สื่อ ผู้รับสาร
วิเคราะหสารที่ไดจากการฟงและดู สงผล
อยางไรตอการรับสารของนักเรียน ๑) การวิเคราะห์องค์ประกอบของการสือ่ สาร การวิเคราะห์องค์ประกอบของการสือ่ สาร
(แนวตอบ ความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการ แบ่งออกได้ ดังนี้
วิเคราะหสาร จะทําใหการรับสารในแตละครั้ง ๑.๑) วิเคราะห์ผู้ส่งสาร ผู้ส่งสารควรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่สื่อสารเป็นอย่างดี
เกิดประสิทธิภาพ ทําใหผูรับสารไมเชื่อขอมูล ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องเหมาะสม แต่ถ้าผู้ส่งสารต้องการสื่อภาพลักษณ์ ควรแต่งกายให้เหมาะสม และมี
โดยปราศจากการไตรตรอง เนื่องจากมี กิริยามารยาทตามวัฒนธรรมไทย ส่งสารผ่านสื่อไปยังผู้รับสารให้ตรงตามจุดมุ่งหมาย
แนวทางสําหรับการวิเคราะห แยกแยะ ๑.๒) วิเคราะห์สาร การวิเคราะห์เรื่องราวหรือเนื้อหาสาระที่ต้องการส่งไปยังผู้รับสาร
องคประกอบของสาร ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น ซึง่ มีหลายประเภท ทัง้ สารทีใ่ ห้ความรู้ ความบันเทิง และคุณธรรม
และความเปนไปไดของเรื่อง) ๑.๓) วิเคราะห์ผู้รับสาร  ผู้รับสารอาจเป็นบุคคลเดียวหรือกลุ่มบุคคลก็ได้ การรับสาร
• นักเรียนคิดวาขอเท็จจริงและขอคิดเห็น ควรตั้งใจรับอย่างมีมารยาท รู้จักจับประเด็นหรือใจความส�าคัญ จดบันทึกหรือบันทึกภาพและเสียง
สงผลอยางไรตอสารที่ไดรับจากการฟงและดู ๑.๔) วิ เ คราะห์ สื่ อ   การสื่ อ สารโดยตรงระหว่ า งบุ ค คลอาจใช้ สื่ อ เพื่ อ ขยายเสี ย ง
(แนวตอบ ขอเท็จจริงและขอคิดเห็น สงผล
เพียี งอย่างเดียว แต่ถา้ ส่งผ่านสือ่ วิทยุ - โทรทัศน์ ภาพนิง่ ภาพยนตร์ สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ จะมีขนั้ ตอน
ตอความนาเชื่อถือของสาร โดยสารที่มีความ
ซับซ้อนมากขึ้น อาจเป็นอุปสรรคต่อการรับส่งสารไม่ชัดเจนหรือไม่ประสบความส�าเร็จได้
นาเชื่อถือยอมปรากฏอัตราสวนของ
การวิเคราะห์ผสู้ ง่ สาร ผูร้ บั สาร และสือ่ ย่อมท�าให้เข้าใจได้วา่ สมรรถภาพในการรับรู้
ขอเท็จจริงมากกวาขอคิดเห็น)
จะเกิดขึ้นได้ต้องมีการวิเคราะห์ทุกองค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร
1
๒) การวิเคราะห์ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู การวิเคราะห์ขอ้ เท็จจริง
และข้อคิดเห็นเป็นการแยกแยะสารทีไ่ ด้รบั ว่าส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง และส่วนใดเป็นข้อคิดเห็น ผู้พูด
มีจุดประสงค์ในการสื่อสารอย่างไร สารนั้นมีความน่าเชื่อถือและมีประโยชน์เพียงใด
๒.๑) ข้อเท็จจริง หมายถึง ข้อมูลตามจริงที่อ้างอิงได้ มีลักษณะ ดังนี้
๑. เป็นความจริงตามธรรมชาติ เช่น เราเห็นดวงดาวชัดเจนในคืนเดือนมืด
๒. มีความเป็นไปได้ เช่น รับประทานอาหารสุกๆ ดิบๆ อาจเป็นโรคพยาธิได้
๓. มีความสมเหตุสมผล เช่น ไก่เป็นสัตว์จ�าพวกเดียวกับนก
๒.๒) ข้อคิดเห็น หมายถึง ข้อความทีแ่ สดงทรรศนะ ความรูส้ กึ ความคิด ความเชือ่ แนวคิด
ของผู้เขียนหรือผู้พูดที่มีต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง มีลักษณะ ดังนี้

84

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
บุคคลใดตอไปนี้ใชวิจารณญาณในการฟงและดูสื่อ
ครูควรอธิบายใหนักเรียนตระหนักในความสําคัญของคําวา “วิจารณญาณ” หรือ
1. นิดฟงและดูแลวเชื่อในทันที
ความรูในเหตุผล ซึ่งเปนทักษะการคิดที่สงผลตอการตัดสินใจของมนุษย การรับสาร
2. นุนคนหาขอเท็จจริง ขอคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู
ดวยวิธีการอาน การฟงและการดู ผูรับสารจึงตองใชวิจารณญาณในการตัดสินใจวา
3. นอยไมเชื่อเรื่องที่ฟงและดู เนื่องจากไมเชื่อมั่นในผูสงสาร
จะเชื่อถือขอมูลในสารนั้นๆ หรือไม โดยมีเหตุผลที่เพียงพอ ซึ่งไดมาจากการ
4. หนุมเชื่อเรื่องที่ฟงและดู เนื่องจากเชื่อมั่นในผูดําเนินรายการ
วิเคราะหสารในประเด็นตางๆ อยางครบถวน
วิเคราะหคําตอบ วิจารณญาณ คือ ความรูในเหตุผล การรับสารไมวาจาก
ชองทางใดก็ตาม ผูรับสารจะตองใชวิจารณญาณกอนการตัดสินใจเชื่อขอมูล
นักเรียนควรรู โดยมีเหตุผลที่เพียงพอ ซึ่งเหตุผลนั้นไดมาจากการที่ผูฟงพิจารณาคนหา
ขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากสิ่งที่ไดฟงและดู ตัดสินใจโดยใชเหตุผล
1 การวิเคราะหขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู ในปจจุบันมีรายงาน ไมดวนเชื่อโดยปราศจากเหตุผลที่เพียงพอ ดังนั้นจึงตอบขอ 2.
ขาวในรูปแบบการวิเคราะหขาว คุยขาว เลาขาว ซึ่งการรายงานขาวในลักษณะนี้
ผูทําหนาที่ดําเนินรายการมักสอดแทรกความคิดเห็นสวนตัวลงไป ผูรับสารจึงตอง
วิเคราะห แยกแยะวาขอความใดเปนขอเท็จจริง ขอความใดเปนขอคิดเห็น

84 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนรวมกันอธิบายความรูจากประเด็น
๑. เป็นความคิดเห็นส่วนตัว เช่น ฉันคิดว่าคุณไตรภพเป็นพิธกี รทีใ่ ช้ภาษาไทยได้ดมี าก คําถามนี้
๒. เป็นข้อความที่แสดงความรู้สึก เช่น อากาศบนดอยอินทนนท์สดชื่น เย็นสบาย • การฟงและดูสารแตละประเภทมีแนวทาง
น่าอิจฉาชาวเขาแถบนี้นะ การวิเคราะหที่แตกตางกันอยางไร นําเสนอ
๓. เป็นข้อความทีแ่ สดงการคาดคะเน ไม่แน่นอน เช่น ทีเ่ ธอปวดท้อง ฉันคาดว่าต้อง ในรูปแบบตารางเปรียบเทียบหนาชั้นเรียน
เป็นเพราะกินอาหารรสจัดเกินไป (แนวตอบ การฟงและดูสารที่แตกตางกัน
๔. เป็นข้อความทีแ่ สดงความเปรียบเทียบ อุปมาอุปไมย เช่น มานพหลงรักกาญจนา มีแนวทางการวิเคราะหสาร ดังตอไปนี้
น่าสงสารนะ เหมือนดอกฟ้ากับหมาวัด สารใหความรู สารใหความบันเทิง
๕. เป็นข้อความที่แสดงค�าแนะน�าหรือข้อเสนอแนะ เช่น ชนกลุ่มน้อยซ่องสุมก�าลัง
• จับใจความสําคัญ • จับใจความสําคัญ
บริเวณชายแดน รัฐบาลควรส่งทหารไปตรึงก�าลังไว้ • วิเคราะหแหลงขอมูล • วิเคราะห
การรับสารใดๆ ก็ตาม ผู้รับสารจะต้องจับใจความและจับประเด็นส�าคัญของสารที่รับ • วิเคราะหขอเท็จจริง องคประกอบ เชน
โดยใช้ทักษะการฟัง การดู การอ่าน และวิเคราะห์พิจารณาแยกแยะข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น จุดประสงค์ ขอคิดเห็น เรื่องสั้น ควร
ของผู้ส่งสารและสรุปคุณค่าของสาร ช่วยให้ผู้รับสารเกิดความคิด มีวิจารณญาณในการรับสาร • วิเคราะหความ วิเคราะหชื่อเรื่อง
นาเชื่อถือ โครงเรื่อง เนื้อหา
๓) ตัวอย่างการวิเคราะห์สารจากสื่อที่ฟัง • วิเคราะหรูปแบบ สาระ เปนตน
การนําเสนอ • วิเคราะหนัยสําคัญ
สื่อที่นÓมาวิเคราะห์ • วิเคราะหการใชภาษา • ตัดสิน ประเมินคา
เพลง ความฝันอันสูงสุด 2. รวมกันวิเคราะหวา ประโยคใดเปนขอเท็จจริง
ทำ�นอง พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และประโยคใดเปนขอคิดเห็นของขอความนี้
คำ�ร้อง ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค
ขับร้อง สันติ ลุนเผ่ ตลาดโรงเกลือที่นี่จึงเปรียบไดดั่งสวรรคของ
นักช็อปเดินดิน ที่แตละวันตั้งแตเชาจรดเย็น
ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ ขอสู้ศึกทุกเมื่อไม่หวั่นไหว จะมีนักทองเที่ยวนับพัน นับหมื่น ทยอย
ขอทนทุกข์รุกโรมโหมกายใจ ขอฝ่าฟันผองภัยด้วยใจทะนง เดินทางมาจับจายซื้อหาสินคาแบรนดเนม
จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด จะรักชาติจนชีวิตเป็นผุยผง ราคาถูก คุณภาพดี จากทั่วทุกมุมโลก ใครที่
จะยอมตายหมายให้เกียรติด�ารง จะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา เคยวาของถูกมันมักไมดี ของดีมันมักไมถูก
ไม่ท้อถอยคอยสร้างสิ่งที่ควร ไม่เรรวนพะว้าพะวังคิดกังขา เห็นทีจะใชกับที่นี่ไมไดแน
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป
นี่คือปณิธานที่หาญมุ่ง หมายผดุงยุติธรรมอันสดใส (แนวตอบ ขอเท็จจริงคือ แตละวันตั้งแตเชา
ถึงทนทุกข์ทรมานนานเท่าใด ยังมั่นใจรักชาติองอาจครัน จรดเย็นจะมีนักทองเที่ยวนับพัน นับหมื่นทยอย
โลกมนุษย์ย่อมจะดีกว่านี้แน่ เพราะมีผู้ไม่ยอมแพ้แม้ถูกหยัน เดินทางมาจับจายซื้อหาสินคา ขอคิดเห็น
คงยืนหยัดสู้ไปใฝ่ประจัญ ยอมอาสัญก็เพราะปองเทิดผองไทย ไดแก 1) ตลาดโรงเกลือที่นี่จึงเปรียบไดดั่ง
สวรรคของนักช็อปเดินดิน 2) สินคาแบรนดเนม
85 ราคาถูกคุณภาพดีจากทั่วทุกมุมโลก 3) ใครที่
เคยวาของถูกมันมักไมดี ของดีมันมักไมถูก
เห็นทีจะใชกับที่นี่ไมไดแน)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
บุคคลใดใชทักษะการฟงและดูสารแตกตางจากผูอื่น
การเรียนการสอนเกี่ยวกับวิธีการวิเคราะหสารที่ไดรับจากการฟงและดูสื่อ
1. กรุณาฟงและดูรายการขาวขน คนขาว
ครูควรชี้แนะใหนักเรียนรูจักการวิเคราะหภาษาที่ปรากฏใชในสารนั้นๆ เพราะภาษา
2. เจนภพฟงและดูรายการทิศทางเศรษฐกิจไทย
ที่ใชอาจเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย กระแสสังคม การวิเคราะหภาษาในสารนับเปน
3. เอกองคฟงและดูรายการสารคดีชีวิตสัตวโลก ตอนโลกใตทะเล
แนวทางหนึง่ ทีส่ ามารถสะทอนไดวา สารทีไ่ ดฟง และดูมคี วามนาเชือ่ ถือมากนอยเพียงใด
4. ปรานีฟงและดูการแสดงโขนของกรมศิลปากร ตอนนารายณปราบนนทก
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1., 2. และ 3. เปนการฟงและดูสารประเภทให
ความรู ผูรับสารจึงตองใชวิจารณญาณในการรับสาร แยกแยะขอเท็จจริง
ออกจากขอคิดเห็น ในขณะที่ขอ 4. เปนการฟงและดูสารประเภทใหความ
บันเทิง ผูรับสารจึงไมตองแยกแยะขอเท็จจริง ขอคิดเห็น แตตองวิเคราะห
องคประกอบอื่นของสาร เชน ตัวละคร แสง สี เสียง เนื้อหาสาระ เสื้อผา
เครื่องแตงกาย ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

คู่มือครู 85
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
1. นักเรียนเลือกฟงและดูขาวที่ออกอากาศ
ผานทางสื่อวิทยุ โทรทัศน โดยกําหนด จากการฟังเพลงความฝันอันสูงสุดสามารถจับประเด็น เปรียบเทียบ และวิเคราะห์ได้ ดังนี้
จุดประสงคการฟงและดูดวยตนเอง คนละ ๓.๑) ใจความส�าคัญ เพลงความฝันอันสูงสุด กล่าวถึง ความม่งุ หมายทีจ่ ะต่อสูก้ บั อุปสรรค
1 ขาว บันทึกสาระสําคัญ จากนั้นใหตั้งคําถาม ปณิธาน คือ ความตั้งใจอย่างแน่วแน่ มั่นคงที่จะผดุงความยุติธรรม เพื่อจะรักษาชาติบ้านเมือง โดย
ตอไปนี้กับตนเอง ไม่หวังผลตอบแทน แม้จะถูกเย้ยหยัน ก็จะท�าความดีต่อไป แม้ไม่มีใครรู้เห็น หวังให้ประเทศชาติดีขึ้น
• นักเรียนเชื่อถือขาวนั้นหรือไม และยอมสละชีพเพื่อชาติ
๓.๒) การเปรียบเทียบกับบทเพลงในปัจจุบัน เพลงความฝันอันสูงสุด เป็นเพลงปลุกใจ
• นักเรียนคิดวาเนื้อหาสาระตอนใดบาง
ที่มีเนื้อหาปลุกเร้าอารมณ์ความรู้สึกให้ผู้ฟังเกิดความรักชาติ มีลักษณะการใช้ถ้อยค�าที่สละสลวย
ที่ไมนาจะใชขอเท็จจริง เพราะเหตุใด คล้องจองภายในวรรค ท�าให้ง่ายต่อการจดจ�า ซึ่งเนื้อหาของเพลงเมื่อน�าไปตรวจสอบเปรียบเทียบ
• นักเรียนคิดวาขาวดังกลาวผูสงสาร กับเนือ้ หาของเพลงในปัจจุบนั จะเห็นว่าน�าเสนอความรูส้ กึ ทีเ่ รียกว่า รัก โลภ โกรธ หลง ใช้ภาษาสัน้ ง่าย
มีการบิดเบือนขอเท็จจริงหรือไม สื่อความตรงไปตรงมา บางครั้งไม่ต้องอาศัยการตีความก็สามารถเข้าใจเนื้อหาของเพลงได้
และการบิดเบือนนั้นมุงหวังใหเกิดสิ่งใด ๓.๓) การวิเคราะห์องค์ประกอบ แบ่งออกได้ ดังนี้
โดยใหนักเรียนเรียบเรียงขอมูลเพื่อนํามา ๑. วิเคราะห์ผู้ส่งสาร ผู้ขับร้อง คือ สันติ ลุนเผ่ เป็นนักร้องที่มีน�้าเสียงดังกังวาน
ตอบคําถามขางตนหนาชั้นเรียน ไพเราะ มีพลัง เหมาะแก่การร้องเพลงที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อปลุกใจ
2. นักเรียนออกมาเลาเนื้อหาสาระของขาวที่ไดรับ ๒. วิเคราะห์สาร เนื้อเพลงความฝันอันสูงสุด ให้ทั้งความบันเทิงและใช้ภาษาเพื่อ
จากการฟง และดูผานสื่อวิทยุ โทรทัศน โน้มน้าวใจให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน คือ ท�าความดีเพื่อชาติ
พรอมกับตอบคําถามทั้ง 3 ขอขางตน หลังการ ๓. วิเคราะห์ผู้รับสาร ผู้รับสารในที่นี้ หมายถึง ผู้ฟัง ซึ่งเป็นคนไทยส่วนใหญ่ เมื่อฟัง
นําเสนอของนักเรียนทุกๆ คน กอนที่คนตอไป เพลงนี้จะเกิดก�าลังใจที่จะกระท�าความดีเพื่อประเทศชาติ โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน
จะออกมานําเสนอ ครูควรชวนนักเรียนคนอื่นๆ ๔. วิเคราะห์สื่อ สื่อควรอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อ
ตั้งคําถามกับขาวที่เพื่อนนําเสนอ ดังตอไปนี้ ต่อการฟัง
• ถาเปนนักเรียน นักเรียนจะเชื่อขาวนั้นหรือไม ๔) จุดประสงค์ของการฟัง โดยปกติจุดประสงค์ของการฟังเพลง คือ เพื่อความบันเทิงใจ
แต่ถ้าผู้ฟังใช้วิจารณญาณและคิดไตร่ตรองก็จะเห็นคุณค่า แง่คิดที่แฝงอยู่ในบทเพลงที่สามารถน�าไป
• นักเรียนคิดวาขาวนี้จริงหรือไม เพราะเหตุใด
ใช้ประโยชน์ได้
๕) การวิเคราะห์ขอ้ เท็จจริงและข้อคิดเห็นจากสือ่ เนือ้ เพลงนีส้ ะท้อนให้เห็นความจริง ซึง่
เป็นสาเหตุหรือแรงบันดาลใจในการเขียนเนื้อเพลง ความจริงนี้คือ ความขลาดกลัว ความมักง่าย ความ
วุ่นวาย ความปรารถนาในชื่อเสียงเกียรติยศ ซึ่งทั้งหมดส่งผลต่อความมั่นคงของประเทศชาติ ผู้เขียน
จึงแสดงความนิยมส่งเสริมคนดีให้มีก�าลังใจท�างาน และเตือนสติมิให้ท้อถอยในการท�าความดี ปลูกฝัง
อุดมคติในการท�าความดีเพื่อประเทศชาติ
การรับสารประเภทต่างๆ ผูร้ บั สารควรใช้วจิ ารณญาณในการตัดสิน ซึง่ เป็นทักษะ
ทีส่ ามารถพัฒนาได้ดว้ ยตนเอง โดยการหมัน่ คิดวิเคราะห์ พิจารณาอย่างมีเหตุผล จับประเด็น
ตรวจสอบความน่าเชือ่ ถือ หาจุดประสงค์และคุณค่าของสาร เพือ่ ให้สามารถเลือกรับสาร
ที่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม

86

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
กิจกรรมที่ออกแบบใหนักเรียนปฏิบัติในกระบวนการขยายความเขาใจ นักเรียนศึกษาเนื้อหาสาระของบทเพลง ความฝนอันสูงสุด วิเคราะห
เปนการเรียนการสอนที่ชวยฝกทักษะการฟงและการดูอยางมีวิจารณญาณใหแก เนือ้ หาสาระ โดยใชแนวทางทีร่ ว มกันระบุขน้ึ ในกระบวนการขัน้ อธิบายความรู
นักเรียน โดยฝกผานการตั้งคําถาม ใหนักเรียนไดใชสติปญญาในการคิดใครครวญ พรอมแสดงความคิดเห็นของตนเองที่มีตอบทเพลง แลวนําเสนอผลการ
หาคําตอบ ใชขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหสารเบื้องตน ทั้งในสวนของแหลงขอมูล วิเคราะหในรูปแบบใบงานเฉพาะบุคคล
ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น รูปแบบการนําเสนอ การใชภาษา ซึ่งผลการวิเคราะหในดาน
ตางๆ เหลานี้จะนําพาไปสูการตัดสินประเมินไดวาสารนั้นๆ มีความนาเชื่อถือ
มีความเปนไปได สมเหตุสมผลหรือไม ซึ่งการประเมินคาจึงเปนกระบวนการที่ตอง กิจกรรมทาทาย
ใชทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ
นอกจากนี้หากมีเวลามากพอสําหรับการเรียนการสอน ควรใหนักเรียนไดมีโอกาส
นําเสนอผลการวิเคราะหสารประเภทใหความบันเทิง (บทเพลง) เพื่อใหนักเรียน นักเรียนคัดสรรบทเพลงที่ตนเองชื่นชอบ วิเคราะหเนื้อหาสาระ โดยใช
ไดฝกฝนทักษะการฟงและดูสื่ออยางมีประสิทธิภาพโดยการรับสื่ออยางหลากหลาย แนวทางที่รวมกันระบุขึ้นในกระบวนการขั้นอธิบายความรู พรอมแสดง
ความคิดเห็นของตนเองที่มีตอบทเพลง แลวนําเสนอผลการวิเคราะห
ใน รูปแบบใบงานเฉพาะบุคคล

86 คู่มือครู
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engaae Expore Explain Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
1. ครูตรวจรางบทพูดการวิเคราะหขาวที่นักเรียน
เลือกฟงและดูจากสื่อวิทยุ โทรทัศน
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
2. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู

๑. ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นมีความแตกต่างกันอย่างไร จงอธิบาย หลักฐานแสดงผลการเรียนรู


๒. จงอธิบายองค์ประกอบในการวิเคราะห์สารที่ได้จากการฟังและการดู
๓. สื่อชนิดใดที่มีอิทธิพลต่อความคิดของนักเรียนมากที่สุด เพราะเหตุใด รางบทพูดการวิเคราะหขาวที่เลือกฟงและดู
๔. ถ้านักเรียนเป็นผู้เข้าร่วมฟังการอภิปราย นักเรียนจะต้องปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะถูกต้องเหมาะสม จากสื่อวิทยุ โทรทัศน ความยาวไมเกิน 3 นาที
๕. การฟังและการดูที่ดีมีประโยชน์อย่างไรบ้าง จงอธิบาย

กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้
กิจกรรมที่ ๑ ใ ห้นักเรียนดูรายการข่าวทางโทรทัศน์ หรือฟังข่าวจากรายการวิทยุ
แล้ววิเคราะห์สารที่ได้รับว่ามีสาระส�าคัญอย่างไรและมีความน่าเชื่อถือ
มากน้อยเพียงใด จงอธิบาย
กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนเลือกบทเพลงที่ชื่นชอบ คนละ ๑ บทเพลง น�ามา
จับใจความส�าคัญ เปรียบเทียบ และวิเคราะห์องค์ประกอบ น�าส่งครูผู้สอน

87

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. การวิเคราะหขอเท็จจริง ขอคิดเห็น เปนหนึ่งในกระบวนการวิเคราะหวาสารที่ไดรับจากการอาน การฟง และการดู มีความนาเชื่อถือหรือไม โดยที่ขอเท็จจริง
คือ ขอมูลที่สามารถพิสูจนไดวาเปนจริง ในขณะที่ขอคิดเห็นเปนขอมูลที่แสดงทรรศนะของบุคคลตามความคิด ความเชื่อ คานิยม และประสบการณ
2. การวิเคราะหสารจากสื่อที่ฟงและดู ผูวิเคราะหตองพิจารณาองคประกอบตางๆ ไดแก สาระสําคัญ แหลงขอมูล เนื้อหาสาระอันประกอบดวยขอเท็จจริง ขอคิดเห็น
เพื่อสรุปใหไดวาสารที่ไดฟงและดูมีความนาเชื่อถือหรือไม อยางไร
3. สื่อทุกชนิดไมวาจะเปนสื่อสิ่งพิมพหรือสื่ออิเล็กทรอนิกสตางมีอิทธิพลตอผูรับสารทั้งสิ้น ขึ้นอยูกับวาผูรับสารสามารถเขาถึงสื่อประเภทใดไดสะดวกกวากัน
แตโดยสวนใหญสื่อที่มีทั้งภาพเคลื่อนไหว และเสียงจะสงอิทธิพลตอผูรับสารมากที่สุด
4. หากทราบหัวขอการอภิปรายลวงหนา ควรหาความรูเบื้องตนกอนการเขาฟง เพื่อใหเขาใจเนื้อหาสาระไดงายขึ้น นอกจากนี้ยังสงผลดีตอการมีสวนรวมในการ
ตั้งคําถาม ตั้งขอสังเกต ซึ่งเปนลักษณะสําคัญของการอภิปราย
5. การฟงและการดูเปนทักษะการรับสารที่ใชมากที่สุดในชีวิตประจําวัน สารที่ไดรับจากการฟงและดูมีหลายประเภท หากผูรับสารมีความกระตือรือรน สนใจใครรู
ที่จะฟง และดูสื่ออยางหลากหลาย มีหลักในการฟงและดู สามารถวิเคราะหสารไดรอบดาน จะทําใหไดรับประโยชน ทั้งดานความรู ความบันเทิง ชวยยกระดับ
และจรรโลงจิตใจ

คู่มือครู 87
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
นักเรียนสามารถพูดสรุปความเรื่องที่เลือกฟง
และดูจากสื่อตางๆ รวมถึงพูดวิเคราะห วิจารณ
ไดอยางมีเหตุผล เพื่อนําขอคิดจากเรื่องมาประยุกต
ใชในชีวิตประจําวัน และในขณะที่พูดไดแสดง
มารยาทที่เหมาะสมกับกาลเทศะ

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. มีวินัย
2. ใฝเรียนรู
3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ Engage หน่วยที่ ò


ครูใหนักเรียนดูภาพประกอบหนาหนวย จากนั้น กำรพูดสรุปควำมจำกสื่อที่ฟงและดู
ตั้งคําถามกับนักเรียนวา
• ทักษะการสื่อสารที่ปรากฏในภาพ ไดแก
ตัวชี้วัด
ท ๓.๑ ม.๒/๑, ๓, ๖
ใ นชีวิตประจําวันมนุษยมีโอกาส
ได ฟ  ง และดู เ รื่ อ งราวต า งๆ มากมาย
ทักษะประเภทใดบาง เพราะเหตุใด ■ พูดสรุปใจความสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู ซึ่งเรื่องที่ฟงและดูนั้น บางครั้งจําเปน
วิเคราะหและวิจารณเรื่องที่ฟงและดูอยางมีเหตุผล เพื่อนําขอคิด
(แนวตอบ ทักษะการฟง การดู และการพูด ■

มาประยุกตใชในการดําเนินชีวิต ตองถายทอดใหผูอื่นไดรับรู ดังนั้น ผูพูด


เพราะในขณะที่ผูพูดกําลังใชทักษะการพูด ■ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด จึงควรเรียนรูห ลักการพูดสรุปความ รวมทัง้
เพื่อสงสารอยูนั้น ผูที่อยูในสถานภาพของผูฟง สามารถพูดวิเคราะหวิจารณเรื่องที่ฟงและ
สาระการเรียนรู้แกนกลาง ดูอยางมีเหตุผล มีมารยาท ซึ่งจะชวยพัฒนา
ก็ไดใชทักษะการฟงและดูเพื่อรับรูและทํา ■ การพูดสรุปความจากเรื่องที่ฟงและดู ทักษะการฟง การดู การพูดใหมป ี ระสิทธิภาพ
การพูดวิเคราะหและวิจารณจากเรื่องที่ฟงและดู
ความเขาใจเนื้อหาสาระที่ผูพูดสื่อสาร) ■

■ มารยาทในการฟง การดู และการพูด มากยิ่งขึ้น


• จากภาพบุคคลที่อยูในสถานภาพของผูพูด
รวมถึงผูฟง มีบุคลิกภาพ ทาทาง
หรือมารยาทเหมาะสมหรือไม เพราะเหตุใด 88
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
ไดอยางอิสระ)

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู การพูดสรุปความจากสื่อที่ฟงและดู
เปาหมายสําคัญคือ นักเรียนมีความรู ความเขาใจ สามารถฝกปฏิบัติการพูดสรุปความ
วิเคราะห วิจารณ เรื่องที่เลือกฟงและดูจากสื่อตางๆ โดยคํานึงถึงธรรมเนียมปฏิบัติ
และมารยาทที่ถูกตอง เหมาะสมกับกาลเทศะ
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรชี้แนะใหนักเรียนเขาใจวา การเรียนการสอน
ในหนวยการเรียนรูนี้เปนการนําความรู ความเขาใจ และความสามารถในการวิเคราะห
สารประเภทตางๆ ซึ่งไดเรียนรูจากหนวยการเรียนรูที่ 1 มาประยุกตใชกับการฟงและดู
เพื่อวัตถุประสงคเฉพาะ หรือการฟงและดูเพื่อนําเนื้อหาสาระมาถายทอดสูผูอื่นโดยใช
ทักษะการพูด
การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยฝกทักษะการสรุปยอ ทักษะการตีความ
ทักษะการวิเคราะห ทักษะการประยุกตใชความรู ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ
และทักษะการวิพากษ วิจารณอยางมีเหตุผลใหแกนักเรียนนําไปประยุกตใชในชีวิต
ประจําวัน

88 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน ดวยวิธีการ
๑ ความรู้พื้นฐานในการพูด ตั้งคําถามเพื่อกระตุนทักษะการคิด
๑.๑ ความหมาย • ทักษะการพูดมีลักษณะสําคัญที่แตกตาง
จากทักษะการเขียนอยางไร
การพูด หมายถึง การถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึก หรือความต้องการของผู้พูด เพื่อสื่อ
(แนวตอบ ทักษะการพูดใชเสียงพูด
ความหมายไปยังผู้รับสารหรือผู้ฟัง โดยใช้ถ้อยค�า น�้าเสียง และอากัปกิริยาท่าทางให้เป็นที่เข้าใจกัน
การพูดเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ เพราะการพูดจะต้องใช้หลักเกณฑ์และเรียนรู้วิธีปฏิบัติต่างๆ
และอวัจนภาษาหรือภาษาทาทาง เปนสื่อใน
อีกทั้งการพูดยังเป็นเรื่องของความสามารถเฉพาะบุคคลในการเลือกใช้ถ้อยค�าที่ไพเราะงดงามและ การถายทอดเนื้อหาสาระตางๆ ในขณะที่
สื่อความได้ชัดเจน ลึกซึ้ง ดังนั้น ผู้ที่ต้องการจะเป็นผู้พูดที่ดีจึงต้องศึกษาหลักและวิธีการพูด จากนั้นจึง การเขียนถายทอดโดยใชวจั นภาษา)
น�าไปฝึกฝนอย่างสม�่าเสมอ
ส�ารวจค้นหา Explore
๑.๒ องค์ประกอบของการพูด
แบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม ตามความ
๑) ผู้พูด หมายถึง ผู้ที่ต้องการถ่ายทอดความรู้ ความคิดไปสู่ผู้ฟัง ผู้พูดต้องรู้จักใช้ภาษา
สมัครใจ ครูทําสลากจํานวน 3 ใบ โดยเขียน
น�้าเสียง สีหน้าท่าทางอย่างเหมาะสมและรวมถึงการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ประกอบการพูดเพื่อให้บรรลุ หมายเลข 1, 2 และ 3 พรอมระบุขอความในแตละ
จุดมุ่งหมายที่ก�าหนดไว้ หมายเลข จากนั้นใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมา
๒) สาร หมายถึง เนือ้ เรือ่ งทีจ่ ะถ่ายทอด ต้องมีความถูกต้อง ชัดเจน มีประโยชน์ เป็นไปในทาง จับสลาก ดังนี้
สร้างสรรค์และที่ส�าคัญควรเป็นเรื่องที่ผู้พูดมีความสนใจ เชี่ยวชาญ และมีองค์ความรู้ครบถ้วนสมบูรณ์ หมายเลข 1 ความรูพื้นฐานในการพูด
๓) ผู้ฟัง หมายถึง ผู้รับสารที่ผู้พูดถ่ายทอดมา ซึ่งผู้ฟังต้องตั้งใจฟังสารอย่างมีสมาธิ สามารถ หมายเลข 2 การพูดสรุปความ
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้พูดได้ ในขณะที่ฟังควรแสดงอากัปกิริยาให้ผู้พูดทราบด้วยว่าสิ่งที่พูด หมายเลข 3 การพูดวิเคราะห วิจารณ
ตรงกับจุดมุ่งหมายหรือไม่ เช่น การพยักหน้า ปรบมือ ยิ้ม หัวเราะ โดยนักเรียนสามารถสืบคนความรูไดจากแหลง
ขอมูลตางๆ ที่เขาถึงได และมีความนาเชื่อถือ
๑.๓ คุณสมบัตขิ องผูพ้ ดู
๑) มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะพูด เมื่อจะพูดเรื่องใด ผู้พูดต้องรู้เรื่องอย่างละเอียด
ไม่ใช่รู้แค่ใคร ท�าอะไร ที่ไหนเท่านั้น ต้องรู้ว่าท�าไม เพราะอะไร อย่างไรอีกด้วย เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐาน
อธิบายความรู้ Explain
ในการพูด ถ้าความรู้พื้นฐานเดิมมีไม่พอ ต้องค้นคว้าเพิ่มเติม หรือถ้าเกรงว่าจะพูดจัดล�าดับได้ไม่ดี 1. นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 1
ควรเตรียมบันทึกย่อไว้เพื่อช่วยให้การพูดประสบความส�าเร็จ สงตัวแทน 2 คน ออกมาอธิบายความรู
๒) รู้จักผู้ฟัง ผู้พูดต้องรู้จักวิเคราะห์ผู้ฟัง เพื่อให้ทราบพื้นฐานความสนใจ ความสามารถ ในประเด็นที่กลุมของตนเองไดรบั มอบหมาย
ของผู้ฟังแต่ละกลุ่ม โดยพิจารณาจากเพศ วัย ความรู้ และอาชีพ ทั้งนี้ในขณะที่พูดก็สามารถวิเคราะห์ พรอมระบุแหลงทีม่ าของขอมูล
ผู้ฟังได้จากความตั้งใจของผู้ฟัง แล้วจึงพูดให้ผู้ฟังเกิดความสนใจ โดยอาศัยปฏิภาณไหวพริบ เมื่อสังเกต 2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบาย และทบทวน
ได้ว่าผู้ฟังเกิดความเบื่อหน่าย ต้องแก้ไขเพื่อท�าให้บรรยากาศการฟังแจ่มใส น่าสนใจ ดังนั้น ถ้าผู้พูด ความรูที่ไดรับจากการฟงบรรยาย จากนั้น
ทราบพื้นฐานความสนใจของผู้ฟังก่อนการพูด ย่อมช่วยให้การพูดน่าสนใจและช่วยให้การพูดด�าเนินไป รวมกันสรุปความรู ความเขาใจ ใหถูกตอง
อย่างราบรื่นและประสบผลส�าเร็จตามจุดมุ่งหมาย ตรงกันอีกครั้ง บันทึกขอมูลลงสมุด

89

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
พฤติกรรมของบุคคลใดแสดงใหเห็นวาอมรชัยนาจะหรือประสบผลสําเร็จ
ครูควรอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับองคประกอบของการพูด กลาวคือ องคประกอบ
ในการพูดเพื่อขอความรวมมือจากสมาชิกภายในหมูบานใหชวยกันรักษา
ของการพูดซึ่งไดแก ผูพูด สาร และผูฟง เปนองคประกอบหลักของกระบวนการ
ความสะอาดบริเวณหนาบานของตนเอง
สื่อสาร แตยังมีองคประกอบที่นอกเหนือไปจากที่กลาวไวในหนังสือเรียน คือ
1. วิชิตขมวดคิ้วขณะที่อมรชัยกําลังพูดชี้แจงเหตุผล
เครื่องมือที่ใชในการสื่อสาร และความมุงหมายหรือผลที่ตองการใหเกิดขึ้นหลังการพูด
2. ชนะชัยกมหนาขณะที่อมรชัยกําลังกลาวถึงสาเหตุของการพูด
เครื่องมือที่ใชในการสื่อสาร หมายถึง สื่อหรือสิ่งที่ชวยถายทอดสารไปสูผูฟง
3. ภาณุพยักหนาขณะที่อมรชัยกําลังพูดยกตัวอยางสถานการณ
เชน เสียง บุคลิกภาพตางๆ โสตทัศนูปกรณ ความมุง หมายในการพูด หมายถึง เจตนา
4. ปรานีสายศีรษะขณะที่อมรชัยกําลังพูดขอความคิดเห็นจากทุกคน
ของผูพูด เชน ตองการใหผูฟงเชื่อ คลอยตาม เห็นดวย หรือปฏิบัติตาม โดยจะตอง
วิเคราะหคําตอบ การพูดที่ดีและจะประสบผลสําเร็จได ผูพูดตองมี สอดคลองกับผลของการพูด ซึง่ แสดงผานปฏิกริ ยิ าหรือทาทีของผูฟ ง เชน การพยักหนา
จุดมุงหมายที่ชัดเจน ซึ่งผูพูดสามารถคาดคะเนหรือรับรูผลของการพูด เมื่อเห็นดวยหรือคลอยตาม เปนตน หากทาทีของผูฟงไมสอดคลองกับจุดมุงหมาย
ในขณะที่กําลังพูดไดโดยการสังเกตปฏิกิริยาหรือการวางทาทีของผูฟง ของการพูดที่กําหนดไวยอมสะทอนใหเห็นวาการพูดในครั้งนั้นไมประสบผลสําเร็จ
โดยที่ทาทีเหลานั้นตองสอดคลองกับจุดมุงหมายของการพูด ดังนั้น
จึงตอบขอ 3.

คู่มือครู 89
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับพื้นฐานในการพูด ๓) ใช้ภาษาถูกต้องเหมาะสม การพูดต่อหน้าผู้อื่น ต้องระมัดระวังเรื่องการออกเสียง ผู้พูด
โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟง ควรออกเสียงให้ชัดเจน ถูกต้อง โดยเฉพาะค�าควบกล�้า ตัว ร ล เพราะการออกเสียงผิดอาจท�าให้
บรรยาย และการแลกเปลี่ยนความรูรวมกันใน ความหมายของค�าเปลี่ยนไป หรือฟังแล้วน่าข�า ท�าให้เสียบรรยากาศ บั่นทอนความน่าเชื่อถือของผู้พูด
ชั้นเรียน เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม ๔) มี ค วามเชื่ อ มั่ น ในความรู ้ ค วามคิ ด ของตน การพู ด วิ เ คราะห์ ต ้ อ งมี ค วามเชื่ อ มั่ น
• “การพูด คือ ทักษะการสื่อสารที่สําคัญ ในตนเองก่อนที่จะพูดให้ผู้ฟังเชื่อมั่นตาม ดังนั้นจึงต้องเตรียมตัวให้พร้อม แต่งกายสุภาพเหมาะสม
ของมนุษย ซึ่งการพูดที่ประสบผลสําเร็จ และวางท่าทีให้สง่างาม ไม่หวาดหวัน่ ไม่ประหม่า พูดด้วยเสียงทีม่ นั่ คง หนักแน่น เสียงดังชัดเจน อาจใช้
จะวัดจากปฏิกิริยาอาการของผูฟง” ท่าทางประกอบบ้างอย่างเป็นธรรมชาติ มีชีวิตชีวา น่าสนใจ เพื่อให้ผู้ฟังคิดตามอย่างตั้งใจ
จากขอความขางตนสามารถวิเคราะห ๕) มีความประพฤติดี มีคุณธรรม ผู้พูดต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องที่พูด ใช้ภาษาสุภาพ
ให้เกียรติผู้ฟัง ส่วนการพูดวิเคราะห์นั้นผู้พูดต้องมีใจเป็นกลาง ไม่อคติ
องคประกอบของการพูดไดหรือไม อยางไร
(แนวตอบ จากขอความดังกลาวสามารถ ๑.๔ มารยาทการพูด
วิเคราะหใหเห็นองคประกอบของการพูดได การพูดเป็นการสื่อสารและแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนกัน โดยเฉพาะการพูดวิเคราะห์
ดังนี้ ผูพูด สาร ผูฟง เครื่องมือหรือสื่อที่ใช เป็นการพูดแสดงข้อมูล ข้อเท็จจริงเพื่อแก้ปัญหา ดังนั้นจึงควรมีมารยาทการพูด ดังนี้
สําหรับการถายทอดเนือ้ หาสาระ ความมุง หมาย ๑) พูดด้วยค�าสัตย์จริง ผูพ้ ดู ควรน�าเสนอเนือ้ หาให้ถกู ต้องตามความเป็นจริง เป็นข้อเท็จจริง
และผลของการพูด) ที่พิสูจน์ได้ มีเหตุผลที่น่าเชื่อถือสนับสนุนอย่างเพียงพอ
• เมื่อผูพูดไมมีความรู ความเขาใจในเรื่องที่ ๒) รับผิดชอบต่อค�าพูด ผู้พูดควรมีความรับผิดชอบต่อค�าพูดหรือสิ่งที่ได้สื่อสารไปสู่ผู้ฟัง
ไดรับมอบหมายใหพูด แตจําเปนตองพูด หากมีการกล่าวพาดพิงถึงบุคคลอื่น หรือให้ข้อมูลบกพร่อง ไม่ครบถ้วนควรแสดงความรับผิดชอบ
หากสถานการณนี้เกิดขึ้นกับนักเรียน ด้วยการกล่าวขอโทษและชี้แจงแสดงข้อมูลที่ถูกต้อง
จะมีวิธีการเตรียมตัวอยางไร ๓) ใช้ภาษาสุภาพ ผู้พูดควรใช้ค�าพูดที่สุภาพสื่อสารเรื่องราวต่างๆ ไปสู่ผู้ฟัง เพราะค�าพูด
(แนวตอบ ควรเตรียมตัว โดยการหาขอมูล ที่สุภาพย่อมท�าให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกชื่นชม น�าไปสู่ความศรัทธาในตัวผู้พูดและเรื่องที่ฟังได้
เกี่ยวกับประเด็นที่จะพูดจากแหลงขอมูล ๔) อ่อนน้อมถ่อมตน ผู้พูดควรแสดงภาษากายหรือท่าทางที่เป็นมิตรต่อผู้ฟัง และสื่อถึง
ที่มีความนาเชื่อถือ ศึกษาและทําความเขาใจ ความอ่อนน้อมถ่อมตนเพราะความอ่อนน้อมย่อมสร้างความชื่นชมให้เกิดขึ้นได้ง่าย
ขอมูล เรียบเรียงดวยสํานวนภาษาของตนเอง ๕) ควบคุมอารมณ์ให้มนั่ คง ผูพ้ ดู ควรควบคุมอารมณ์ของตนเองให้เป็นปกติ ในขณะสือ่ สาร
ฝกซอมเปนประจํากอนถึงวันจริง เพื่อลด จะเกิดสถานการณ์ต่างๆ ไม่ควรใช้อารมณ์ตอบโต้หรือแสดงท่าทางไม่พอใจ แต่ควรใช้วาจาและกิริยา
ที่สุภาพสื่อสารกับผู้ฟัง
อาการประหมา หรือตื่นเวทีจนลืมขอมูล
ทั้งหมด) ๒ หลักการพูดสรุปความจากสื่อ
• การวิเคราะหผูฟงเอื้อประโยชนใหการพูด การพูดสรุปความ จะต้องตั้งค�าถามแล้วหาค�าตอบในหัวข้อ ใครท�าอะไร ที่ไหน เมื่อไร ท�าไม
ประสบผลสําเร็จไดอยางไร (เพราะอะไร) และอย่างไรบ้าง เมื่อตอบค�าถามได้ก็นับว่าจับประเด็นหรือใจความส�าคัญได้ครบถ้วน
(แนวตอบ การวิเคราะหผูฟงทั้งในประเด็น แล้วจึงเขียนสรุปความ ซึ่งต้องเขียนให้กระชับ เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์โดยใช้ส�านวนภาษาของตนเอง
ของวัย เพศ อายุ ความคิด ความตองการ ล�าดับความให้ต่อเนื่องกลมกลืนกัน อาจพูดน�าเสนอแนวคิด การแก้ปัญหา หรือยกตัวอย่างเพื่อเป็น
จะทําใหผูพูดสามารถเลือกเรื่องที่จะนํามา ข้อยืนยันและสร้างความเข้าใจในสิ่งที่ฟังด้วย
ถายทอดไดตรงกับความตองการของผูฟง
เตรียมเนื้อหา วิธีการนําเสนอไดเหมาะสม) 90

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
บุคลิกภาพที่ดีของผูพูดที่ทําใหการพูดประสบผลสําเร็จ หรือสรางศรัทธา
ครูควรใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียนเกี่ยวกับ “สิ่งเราในการพูด” ซึ่งเปนตัวกําหนด
ในความรูสึกของผูฟง สามารถแสดงผานสิ่งใดไดบาง และมีลักษณะอยางไร
พฤติกรรมและการแสดงออกของบุคคลในกระบวนการสื่อสาร จากแผนภาพนี้
แนวตอบ บุคลิกภาพที่ดีของผูพูด สามารถแสดงออกได ดังตอไปนี้
สิ่งแวดลอม • การใชภาษาที่เหมาะสมกับกาลเทศะ สถานการณ ความนิยมของผูฟง
• การใชเสียงและนํา้ เสียง ใหมคี วามดังทีพ่ อเหมาะ ชัดเจน แตในขณะเดียวกัน
ตองแฝงไวดว ยความสุภาพ
• แสดงสีหนา อากัปกิริยาทาทางที่สุภาพ เหมาะสม สอดคลองกับเรื่องที่พูด
ผูพูด ผูฟง • การใชสายตา โดยมองผูฟงอยางทั่วถึง เพื่อแสดงใหเห็นวาผูพูดใหความ
สนใจผูฟง
• สิ่งเราที่เกิดจากผูพูด คือ สิ่งที่ผูฟงจะเห็นและไดยิน
• การเดิน การยืน การนั่งและการแตงกาย ควรมีความเหมาะสมกับ
• สิ่งเราที่เกิดจากผูฟง โดยผูฟงเปนผูที่มีอิทธิพลตอผูพูด หากผูฟงมีทัศนคติที่ดี
กาลเทศะ วางตัวใหเปนธรรมชาติ ไมเครงเครียด แตก็ไมควรทําตัว
ตอผูพูด และเรื่องที่ฟงก็ยอมทําใหการสื่อสารราบรื่น
ตามสบายจนเกินพอดี
• สิ่งแวดลอม เปนสิ่งเราที่มีอิทธิพลตอผูพูดและผูฟง โดยสิ่งแวดลอมที่ไมเหมาะสม
ตอการฟงอาจทําใหการสื่อสารไมประสบผลสําเร็จตามจุดมุงหมายที่ตั้งไว
90 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 2
๒.๑ หลักการพูดสรุปความจากสือ่ สงตัวแทน 2 คน ออกมาอธิบายความรู
๑) ศึกษาเรื่องที่จะต้องสรุปและตีความให้เข้าใจ ผู้พูดจะต้องฟังและดูสื่ออย่างมีสมาธิ ในประเด็นที่กลุมของตนเองไดรบั มอบหมาย
ท�าความเข้าใจเนือ้ หาของเรือ่ งและตีความหมายจากเรือ่ งว่ากล่าวถึงอะไร สิง่ ใด อย่างไร และเพือ่ อะไร พรอมระบุแหลงทีม่ าของขอมูล
๒) สรุปใจความส�าคัญของเรื่อง ผู้พูดต้องทราบความหมายและจุดมุ่งหมายของเรื่อง 2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบาย และทบทวน
ความรูที่ไดรับจากการฟงบรรยาย จากนั้น
พร้อมทั้งสรุปใจความส�าคัญของเรื่อง
รวมกันสรุปความรู ความเขาใจ ใหถูกตอง
๓) เรียบเรียงเนื้อหาใหม่ ผู้พูดต้องเรียบเรียงเนื้อหาให้มีใจความกระชับ สละสลวย ชัดเจน
ตรงกันอีกครั้งหนึ่ง บันทึกขอมูลลงสมุด
ด้วยส�านวนภาษาของตนเอง
3. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
๔) พูดสรุปความจากเรื่องที่ฟังและดู ผู้พูดต้องพูดสรุปความด้วยภาษาสุภาพ เข้าใจง่าย อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ
ไม่วกวน สับสน การพูดสรุปความเรื่องจากสื่อที่ฟงและดู
๒.๒ ตัวอย่างการพูดสรุปความจากสือ่ ภาพยนตร์ โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการ
ฟงบรรยาย และการแลกเปลี่ยนความรูรวมกัน
การพูดสรุปความจากการชมภาพยนตร์เรื่อง สิ่งเล็ก ที่เรียกว่ารัก ในชั้นเรียน เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ
ตอบคําถาม
น�้า เด็กนักเรียนชั้น ม.๑ หน้าตาธรรมดาค่อนข้างไปทางไม่สวย แต่กลับไปหลงรักโชน • หากนักเรียนไดรับมอบหมายใหเลือกฟง
ร่นุ พีท่ ที่ งั้ หล่อ นิสยั ดี เป็นนักกีฬา และเป็นทีห่ มายปองของสาวๆ เกือบทัง้ โรงเรียน น�า้ จึงได้แค่มอง และดูเรื่องตางๆ แลวนํามาพูดสรุปความ
และพยายามหาวิธีใกล้ชิดกับโชน แต่ก็ดูเหมือนกับว่าโชนจะไม่ได้มีท่าทีสนใจน�้าเลยแม้แต่น้อย ใหเพื่อนๆ ฟง จะมีแนวทางการเตรียม
วันหนึ่งกลุ่มเพื่อนของน�้าจึงช่วยกันคิดว่าจะท�าอย่างไรให้โชนหันมาสนใจน�้า น�้าและเพื่อนๆ ความพรอมกอนพูดอยางไร
จึงตัดสินใจใช้ความรักเป็นแรงบันดาลใจในการเปลี่ยนแปลงตัวเองของน�้า และด้วยความที่น�้า (แนวตอบ มีแนวทางสําหรับเตรียม
อยากไปหาพ่อทีไ่ ปท�างานทีต่ า่ งประเทศและพ่อสัญญาว่าจะส่งตัว๋ เครือ่ งบินมาให้หากสอบได้ที่ ๑ ความพรอม ดังตอไปนี้
น�้าจึงตัดสินใจเปลี่ยนแปลงตัวเองครั้งยิ่งใหญ่ ทั้งในด้านการเรียนและรูปลักษณ์ • กําหนดจุดประสงคในการฟงและดู
น�้าสมัครเข้าชมรมละครภาษาอังกฤษและได้รับเลือกเป็นนางเอก เนื่องจากเธอพูดภาษา วิเคราะหผูฟง เพื่อเลือกเรื่องที่เหมาะสม
อังกฤษได้ดีที่สุดและโชนก็มาช่วยเป็นฝ่ายศิลป์ในการท�าละครเรื่องนี้ด้วย น�้าเริ่มโตเป็นสาว ทั้ง • ในขณะที่ฟง ควรฟงอยางมีสมาธิตลอด
สวยและเก่งขึ้นในทุกๆ ด้าน ขณะเดียวกันท็อปเพื่อนรักของโชนตั้งแต่สมัยเด็กก็ได้ย้ายเข้ามา ทั้งเรื่อง จดบันทึกสาระสําคัญที่ไดจาก
อยู่โรงเรียนเดียวกันและมีท่าทีว่าจะชอบพอน�้าอยู่ไม่น้อย ท็อปให้โชนเป็นพ่อสื่อให้ตนเองกับน�้า การฟง เพราะการจดบันทึกจะทําใหจิตใจ
น�้าเองก็ยอมสนิทกับท็อปเพราะอยากอยู่ใกล้โชน และโชนก็สัญญากับท็อปว่าจะไม่จีบน�้า จดจอ มีสมาธิ
ในวันจบการศึกษาของโชน น�้าตัดสินใจบอกโชนว่าเขาเป็นคนที่เธอแอบรักมาตั้งแต่ ม.๑ แต่ • เรียบเรียงเนือ้ หาทีจ่ ะพูด ดวยสํานวนภาษา
ก็สายไปเสียแล้ว เมื่อโชนได้ตกลงคบหากับปิ่นเพื่อนสนิทของเขา น�้าเสียใจมาก แต่ก็บอกกับ
ของตนเอง โดยคํานึงถึงการใชถอยคํา
โชนว่าเธอยินดีกับความรักครั้งนี้ของเขา ในด้านของโชนเขาเองก็เสียใจมากเช่นกัน เมื่อได้รู้ว่า
ใหเหมาะสมกับผูฟงและเนื้อหาสาระ
ผู้หญิงที่เขาแอบชอบมากว่า ๓ ปี ก็มีใจให้เขาเช่นกัน แต่ทุกอย่างก็สายเกินไป
ของเรื่อง
• ฝกฝนจนเกิดความคลองตัว หรือชํานาญ
91 โดยอาจออกแบบทาทาง การวางตัว
บุคลิกภาพใหเหมาะสมในขณะที่พูด)

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ปจจัยใดที่จะชวยสงเสริมใหการพูดดําเนินไปจนสําเร็จลุลวง
ครูควรใหความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับจุดมุงหมายของการพูดใหแกนักเรียน
1. ภาษา
โดยอธิบายวา จุดมุงหมายของการพูด แบงเปน 4 ประเภท ดังตอไปนี้
2. นํ้าเสียง
1. พูดเพื่อความรู ผูพูดมีจุดประสงคใหผูฟงมีความรู ความเขาใจในเรื่องที่
3. บุคลิกภาพ
นําเสนอ เชน การพูดนําเสนอผลงานทางวิชาการ
4. ความเชื่อมั่นในตนเอง
2. พูดเพื่อความบันเทิง ผูพูดมีจุดประสงคใหผูฟงไดรับความสนุกสนาน
วิเคราะหคําตอบ การพูดใหบรรลุจุดประสงค สิ่งสําคัญประการแรก คือ ความบันเทิง เพลิดเพลินจากเรื่องที่นํามาถายทอด เชน การพูดเกี่ยวกับ
ผูพูดตองมีความรู ความเขาใจในเรื่องที่จะพูดเปนอยางดี ฝกฝนเตรียม ภาพยนตรที่กําลังเขาฉาย และไดรับความนิยม เปนตน
ความพรอมดานตางๆ ไมวาจะเปนการใชภาษา นํ้าเสียง หรือการวาง 3. พูดเพื่อเสนอขาว ผูพูดมีจุดประสงคใหผูฟงรับทราบและพิจารณาเกี่ยวกับ
บุคลิกภาพ แตการพูดที่ดีจะเกิดขึ้นไมได ถาผูพูดปราศจากความเชื่อมั่น เหตุการณที่เกิดขึ้นในแตละวัน เชน การนําเสนอขาวประจําวัน
ในตนเอง ไมเชื่อมั่นวาตนเองจะทําได เมื่อถึงเวลาที่จะตองพูด แมวาจะมี 4. พูดเพื่อจูงใจ ผูพูดมีจุดประสงคเพื่อโนมนาวจิตใจของผูฟง ใหคลอยตาม
ความรูหรือเตรียมตัวมาดีเพียงใดก็ตาม หากไมมั่นใจก็จะไมมีทางสําเร็จ เชื่อถือ ยอมปฏิบัติ หรือสนองตอบตามจุดประสงคของผูพูด
หรือเปนการพูดที่ไมราบรื่น ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

คู่มือครู 91
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 3
สงตัวแทน 2 คน ออกมาอธิบายความรู เมื่อโชนจบการศึกษาเขาก็ได้รับคัดเลือกให้เป็นนักฟุตบอลเยาวชนของสโมสรฟุตบอล
ในประเด็นที่กลุมของตนเองไดรบั มอบหมาย แห่งหนึ่ง ส่วนน�้าก็สอบได้ที่ ๑ และได้รับตั๋วเครื่องบินจากพ่อเป็นรางวัลตามสัญญา ก่อนที่ทั้งสอง
พรอมระบุแหลงทีม่ าของขอมูล จะแยกย้ายกันไปท�าหน้าที่ของตน โชนก็ตัดสินใจบอกความรู้สึกของตนเองให้น�้าได้รู้ โดยน�าสมุด
2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบาย และทบทวน บันทึกที่เขาเขียนและถ่ายรูปน�้าไปวางไว้หน้าบ้าน
ความรูที่ไดรับจากการฟงบรรยาย จากนั้น หลายปีผ่านไป น�้ากลายเป็นดีไซเนอร์ชื่อดังและได้รับเชิญให้ไปออกรายการทีวี โดยมี
รวมกันสรุปความรู ความเขาใจ ใหถูกตอง โชนเป็นแขกรับเชิญพิเศษและทั้งสองก็ได้พบกันอีกครั้งในวันที่ประสบความส�าเร็จในชีวิต โดยมี
ตรงกันอีกครั้งหนึ่ง บันทึกขอมูลลงสมุด แรงบันดาลใจจาก “สิ่งเล็กๆ ที่เรียกว่ารัก”
3. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย (ภาพยนตร์ เรื่อง สิ่งเล็กๆ ที่เรียกว่ารัก: ก�ากับโดย พุทธิพงศ์ พรหมสาขา ณ สกลนคร)
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการพูด
วิเคราะห วิจารณเรื่องที่ฟงและดูจากสื่อ โดยใช
ความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟงบรรยาย ๓ การพูดวิเคราะห์วิจารณ์จากสื่อที่ฟังและดู
และการแลกเปลี่ยนความรูรวมกันในชั้นเรียน การพู ด วิ เ คราะห์ เป็ นการพู ด แยกแยะเรื่ อ งเป็ นส่ ว นย่ อ ยๆ และพู ด แบบพิ นิ จ พิ จ ารณา
เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม แต่ละส่วนนั้นให้ผู้ฟังเข้าใจว่าส่วนต่างๆ มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันอย่างไร
• นักเรียนมีแนวทางสําหรับการพูดวิเคราะห
การพูดวิจารณ์ เป็นการพูดแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังหรือดู แยกแยะข้อดี ข้อเสีย
วิจารณเรื่องที่ฟงและดูจากสื่ออยางไร
และอาจเสนอแนะสิ่งที่ดีมีประโยชน์แก่ผู้ฟัง
(แนวตอบ มีแนวทาง ดังตอไปนี้
• กําหนดจุดประสงค และวิเคราะหผูฟง การพูดวิจารณ์ที่ดีต้องศึกษารายละเอียดและเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์หาสาเหตุ โดยอาศัย
เพื่อเลือกเรื่องมานําเสนอไดเหมาะสม กระบวนการความคิด ความรู้ ความเข้าใจ น�าข้อมูลที่แยกแยะจากการฟังและดูมาพิจารณาว่าส่วนใด
และไดรับความสนใจจากผูฟง ที่เป็นประโยชน์เพื่อน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวัน
• ฟงและดูอยางมีสมาธิใหจบตลอดทั้งเรื่อง
จดบันทึกสาระสําคัญ ตั้งขอสังเกต ๓.๑ หลักการพูดวิเคราะห์วจิ ารณ์จากสือ่ ทีฟ่ งั และดู
เพื่อขยายความคิดของตนเองที่มีตอเรื่อง การพูดวิเคราะห์วิจารณ์มีหลักการ ดังนี้
• แยกแยะองคประกอบตามประเภทของเรื่อง ๑. ฟังและดูเรื่องที่จะวิเคราะห์วิจารณ์อย่างตั้งใจ
เชน ถาฟงและดูภาพยนตรก็ควรแยกแยะ ๒. แยกแยะข้อมูลโดยละเอียด
วิเคราะหชื่อเรื่อง บท นักแสดง เครื่อง ๓. พิจารณาว่าส่วนใดเป็นประโยชน์ในการน�าไปประยุกต์ใช้
แตงกาย เพลงประกอบ และเนื้อหาสาระ ๔. น�าเสนอผลการวิเคราะห์ วิจารณ์โดยยกเหตุผลประกอบ
ที่เปนประโยชนตอผูฟง ซึ่งสามารถนํามา ๕. สรุปข้อคิดที่ได้จากการวิเคราะห์วิจารณ์เพื่อน�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวัน
ประยุกตใชในชีวิตประจําวันได จากนั้น
จึงแสดงความคิดเห็นหรือวิจารณไปตาม
ลําดับขั้นขององคประกอบที่แยกแยะได
จะทําใหการนําเสนอไมสับสน วกวน
ซึ่งการวิจารณที่ดีควรแสดงเหตุผลที่ชัดเจน 92
ประกอบ)

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
เมื่อครูกําหนดใหเลือกเรื่อง เพื่อนํามาพูดหนาชั้นเรียน คนละ 1 เรื่อง
ครูใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียนเกี่ยวกับหลักการพูด ดังนี้ หลักการพูด
การพูดของบุคคลใดนาจะไดรับความสนใจจากผูฟงมากที่สุด
เปนองคประกอบที่สําคัญสําหรับการพูดใหประสบผลสําเร็จ มีนักวิชาการหลายทาน
1. สมภพเลือกเรื่องที่ครูสนใจมากที่สุด
ไดกลาวถึงหลักการพูดไวหลายลักษณะ เชน จินดา งามสุทธิ ไดนําเสนอ
2. ชมพูนุทเลือกเรื่องที่ใหความรูมากที่สุด
หลักการพูดของสมาคมฝกการพูดแหงประเทศไทยไว ดังนี้
3. ชานนทเลือกเรื่องที่ตนเองสนใจมากที่สุด
1. จงเตรียมพรอม 6. จงใชสายตาใหเปนผลดีตอการพูด
4. จินตนาเลือกเรื่องที่กําลังเปนสถานการณปจจุบัน
2. จงเชื่อมั่นในตนเอง 7. จงใชภาษาที่งายและสุภาพ
3. จงปรากฏตัวอยางสงา ผาเผย 8. จงใชอารมณขัน วิเคราะหคําตอบ วิธีการเลือกเรื่องใหเหมาะสม ผูพูดจะตองทราบวาผูฟง
4. จงพูดโดยใชเสียงอันเปนธรรมชาติ 9. จงจริงใจ เปนใคร อยูใ นชวงวัยใด สนใจอะไร เรียกวิธนี วี้ า การวิเคราะหผฟู ง นอกจากนี้
5. จงใชทาทางประกอบการพูด 10. จงหมั่นฝกฝน ยังควรสังเกตวา ณ ชวงเวลานั้นๆ คนในสังคมใหความสนใจในเรื่องใด
ซึ่งการมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับหลักการพูด จะทําใหผูฝกฝนทักษะการพูด เพราะการเลือกเรื่องที่อยูในกระแสสังคม จะชวยกระตุนความกระหายใครรู
สามารถนําไปประยุกตใชเพื่อใหเขากับแนวทางการพูดของตนเอง เพื่อทําใหการพูด ในตัวผูฟง การเลือกเรื่องที่ใครคนใดคนหนึ่งสนใจ หรือเลือกเรื่องที่ตนมี
ในแตละครั้งมีประสิทธิภาพและประสบผลสําเร็จ ความรู แตไมไดอยูในความสนใจของกลุมผูฟง ไมอาจทําใหการพูดไดรับ
ความสนใจ ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

92 คู่มือครู
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
1. นักเรียนเลือกฟงและดูเรื่องจากสื่อวิทยุ
๓.๒ ตัวอย่างการพูดวิเคราะห์วจิ ารณ์สอื่ ภาพยนตร์ โทรทัศน คนละ 1 เรื่อง โดยเปนผูกําหนด
จุดประสงคของการฟงและดูดวยตนเอง
การพูดวิเคราะห์วิจารณ์จากการชมภาพยนตร์เรื่อง สิ่งเล็ก ที่เรียกว่ารัก ใชความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการพูด
สรุปความ และการพูดวิเคราะห วิจารณ
สวัสดีค่ะ ท่านผู้ฟัง บูรณาการรวมกัน รางบทพูดความยาวไมเกิน
ภาพยนตร์เรื่อง สิ่งเล็กๆ ที่เรียกว่ารัก ได้แสดงให้เห็นถึงความงดงามและพลังของความรัก 3 นาที โดยสรุปความของเรื่องใหครบถวน
ที่สามารถเปลี่ยนความคิดและชีวิตของคนคนหนึ่งให้ดีขึ้นได้ โดยการน�าเสนอผ่านตัวละครเอก วิเคราะห วิจารณองคประกอบ โดยยกเหตุผล
คือ “น�้า” ประกอบใหชัดเจน รวมถึงระบุสาระ ขอคิด
ภาพยนตร์เรื่อง สิ่งเล็กๆ ที่เรียกว่ารัก มีคุณค่าในด้านเนื้อหา ถึงแม้ว่าหากดูผิวเผินอาจ
ที่เปนประโยชนจากเรื่อง ซึ่งผูฟงสามารถนําไป
เหมือนกับหนังรักวัยรุ่นทั่วไป แต่หากพิจารณาเนื้อเรื่องอย่างละเอียดแล้ว ก็จะพบว่า ภาพยนตร์
ประยุกตใชในชีวิตประจําวันได
เรื่องนี้ได้สอดแทรกแง่คิดดีๆ เกี่ยวกับความรักไว้ได้อย่างแยบยล ไม่ใช่เพียงแค่ความรักระหว่าง
2. นักเรียนรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมิน
หน่มุ สาว แต่ยงั กล่าวถึงความรักระหว่างเพือ่ นและครอบครัว ซึง่ ถือเป็นสิง่ จ�าเป็นในชีวติ ของมนุษย์
การพูดสรุปความ การพูดวิเคราะห วิจารณ
ทุกคน
เรื่องที่ฟงและดูจากสื่อ และใชเปนแนวทาง
แก่นเรือ่ งส�าคัญ คือ การใช้ความรักเป็นแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเองไปในทางทีด่ ขี นึ้ ซึง่
ปรับปรุง แกไขในครั้งตอไป
ตัวละครที่เห็นการพัฒนาได้ชัดเจนที่สุด คือ น�้า นางเอกของเรื่อง เพราะนอกจากจะพัฒนาตนเอง
เพือ่ ให้ผชู้ ายทีเ่ ธอแอบชอบหันมาสนใจแล้ว เธอยังพยายามตัง้ ใจเรียนเพือ่ ทีจ่ ะได้เดินทางไปหาพ่อ
(แนวตอบ เกณฑควรครอบคลุม ดังตอไปนี้
ของเธอที่ต่างประเทศ ถือเป็นการใช้ความรักในทางที่ถูกต้อง • เรื่องที่เลือกฟงและดู มีความนาสนใจ
การล�าดับความส�าคัญในชีวติ ก็เป็นอีกหนึง่ แง่คดิ ทีผ่ ชู้ มจะได้รบั จากภาพยนตร์เรือ่ งนี้ ช่วงวัยร่นุ เหมาะสม และเปนประโยชนตอผูฟง
เป็นวััยค้นหาและเรียนรู้ มีสิ่งต่างๆ เข้ามาในชีวิตมากมาย ทั้งความรัก มิตรภาพ และกิจกรรม • ผูพูดมีการเกริ่นนําเกี่ยวกับเหตุผลของ
แต่สงิ่ ส�าคัญทีส่ ดุ คือ การศึกษาเล่าเรียน หากไม่หลงลืมความส�าคัญในหน้าที่ สิง่ ดีอนื่ ๆ ก็จะตามมา การเลือกเรื่อง รายละเอียดเกี่ยวกับ เรื่อง
ไดนาสนใจ ชัดเจน
• ผูพูดสามารถสรุปความ วิเคราะห
ความสามารถในการพูดวิเคราะห์วจิ ารณ์ขน้ึ อยูก่ บั วุฒภิ าวะ ความรู ้ วัย และประสบการณ์ องคประกอบของเรื่องครบถวน แสดงความ
ของผู้พูด เช่น วิเคราะห์ภาษาที่ใช้ในงานโฆษณา สมาชิกในครอบครัวอาจช่วยกัน คิดเห็นหรือวิจารณอยางมีเหตุผลไดตาม
พู ด วิ เ คราะห์ อ ย่ า งมี เ หตุ ผ ลว่ า น่ า เชื่ อ ถื อ หรื อ ไม่ ซึ่ ง จะทÓให้ เ ด็ ก เติบโตเป็นผู้ใหญ่ ลําดับขั้น ไมสับสน วกวน และใชสํานวน
ที่มีเหตุผล ไม่หลงเชื่อสิ่งใดง่ายๆ การรู้จักวิเคราะห์ รู้จักอ้างอิงหลั ก ฐานประกอบ ภาษาของตนเอง
จะช่วยให้เป็นผู้มีสติ รู้จักไตร่ตรอง ทันคน ทันเหตุการณ์ อยู่ในโลกสมัยใหม่ท่ีมี
• ผูพูดสามารถระบุสาระ ขอคิดของเรื่องที่เปน
การเปลี่ยนแปลงได้อย่างชาญฉลาด นอกจากนี้ในการพูดผู้พูดต้องคÓนึงถึงมารยาท
ประโยชนตอผูฟง แสดงความคิดเห็น
ในการพูดเพื่อให้การพูดเป็นไปอย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ต่อผู้ฟัง
เกี่ยวกับแนวทางการนําไปใชไดอยาง
นาเชื่อถือ สมเหตุสมผล
• ผูพูดสามารถใชนํ้าเสียง ทาทาง การวาง
บุคลิกภาพ การใชสื่อประกอบการพูดได
93 เหมาะสม และมีมารยาท)

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
นักเรียนเลือกฟงและดูรายการประเภทสารคดี ใชความรู ความเขาใจ ครูควรใหความรู ความเขาใจเพิ่มเติมแกนักเรียนเกี่ยวกับการใชทาทางประกอบ
เกี่ยวกับการพูดสรุปความ และการพูดวิเคราะห วิจารณ บูรณาการรวมกัน การพูด กลาวคือ การใชทาทางประกอบการพูดชวยทําใหคําพูดมีความกระจางชัด
รางบทพูด พรอมระบุขอคิดที่เปนประโยชน แนวทางการนําไปใชนํามา หรือชวยเนนความคิดมากยิ่งขึ้น
อภิปรายรวมกันภายในชั้นเรียน ทาทางประกอบการพูด หมายถึง การเคลื่อนไหวอยางมีความหมายของอวัยวะ
ในรางกาย เชน ศีรษะ ไหล แขน มือ เปนตน เพื่อกระตุนอารมณความรูสึกของผูฟง
สวนการจับกระดุมเสื้อ หนังสือ กระดาษบนโตะของผูพูด ไมนับวาเปนการแสดง
กิจกรรมทาทาย ทาทางประกอบการพูดเพราะไมมีความหมายและไมเกี่ยวกับความคิดที่พูด
การแสดงทาทางประกอบการพูดที่มีความหมายเปนที่เขาใจโดยทั่วกัน เชน
การควํ่ามือ ใชแสดงอาการไมยอมรับ การชูกําปน ใชเพื่อเนนการแสดงอารมณ
นักเรียนเลือกฟงและดูภาพยนตร ใชความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการพูด ความรูสึกที่รุนแรง แสดงอาการโกรธหรือการตัดสินใจ เปนตน
สรุปความ และการพูดวิเคราะห วิจารณ บูรณาการรวมกัน รางบทพูด
พรอมระบุขอ คิดทีเ่ ปนประโยชน แนวทางการนําไปใช นํามาอภิปรายรวมกัน
ภายในชั้นเรียน

คู่มือครู 93
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engaae Expore Explain Elaborate
ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนออกมาพูดสรุปความและวิเคราะห
วิจารณเรื่องที่เลือกฟงและดูจากสื่อ พรอมระบุ
สาระ ขอคิดที่เปนประโยชนและแนวทางการนํา
ไปปรับใชในชีวิตประจําวัน ใชเวลาไมเกิน
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
3 นาที
๑. การพูดสรุปใจความมีแนวทางในการพูดอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป
2. นักเรียนใชเกณฑที่รวมกันกําหนดประเมิน
๒. การพูดสรุปความกับย่อความเหมือนหรือต่างกัน อย่างไร
การพูดสรุปความและการพูดวิเคราะห วิจารณ ๓. การพูดวิเคราะห์วิจารณ์มีแนวทางในการพูดอย่างไร
ของเพื่อนๆ ๔. การพูดวิเคราะห์วิจารณ์จ�าเป็นต้องเสนอแนะแนวทางแก้ไขหรือไม่ อย่างไร
3. ครูสอบถามผลการประเมินของนักเรียน ๕. การพูดสรุปความและวิเคราะห์วิจารณ์ เป็นทักษะที่จ�าเป็นในชีวิตประจ�าวันอย่างไร
แตละคน พรอมเหตุผลประกอบ
4. ครูตรวจสอบรางบทพูดของนักเรียน โดยใช
หลักเกณฑเดียวกับที่นักเรียนรวมกันกําหนด
ภายใตคําแนะนําของครู เขียนขอเสนอแนะหรือ
ขอควรปรับปรุง แกไขในครั้งตอไป แลวสงคืน
5. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้


รางบทพูดสรุปความและการวิเคราะห วิจารณ
กิจกรรมที่ ๑ ใ ห้นักเรียนเลือกวิเคราะห์รายการทางวิทยุหรือโทรทัศน์ที่ชื่นชอบ ๑ รายการ
เรือ่ งทีเ่ ลือกฟงและดูจากสือ่ ความยาวไมเกิน 3 นาที
ว่ามีเนื้อหากล่าวถึงอะไรและให้คุณค่าหรือข้อคิดแก่นักเรียนอย่างไรบ้าง
น�าเสนอหน้าชั้นเรียนเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นกับเพื่อนๆ
กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มช่วยกันเลือกงานเขียน เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น
บทความ สารคดี เป็นต้น มากลุ่มละ ๑ เรื่อง แล้วช่วยกันวิเคราะห์วิจารณ์
งานเขียนนั้นๆ ว่ามีข้อดี ข้อเสียอย่างไร น�าเสนอหน้าชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ๓ ให้นักเรียนดูรายการสารคดี หรือข่าวที่ชอบ แล้วสรุปใจความส�าคัญ
ที่ได้จากการดู รวมทั้งฝึกวิเคราะห์วิจารณ์เพื่อแสดงความคิดเห็น
จากสื่อที่ได้ฟังและดู น�าส่งครูผู้สอน

94

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. การพูดสรุปความ คือ การพูดเพื่อถายทอดเนื้อหาสาระของสารที่ไดรับจากการฟงและดู การพูดสรุปความมีแนวทางการพูด คือ หลังจากที่ผูรับสารฟงและดูเรื่องนั้นๆ
จนจบตลอดทั้งเรื่องแลว ใหตั้งคําถามกับตนเองวาเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร ใคร ทําอะไร กับใคร ที่ไหน อยางไร เมื่อไร และทําไม ซึ่งการพูดสรุปความ ผูพูดไมจําเปน
ตองแสดงความคิดเห็นในขณะที่พูด
2. การพูดสรุปความและการยอความ มีลักษณะสําคัญที่เหมือนกัน คือ การสรุปสาระสําคัญวาเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร ใคร ทําอะไร กับใคร ที่ไหน อยางไร เมื่อไร
และทําไม ดวยสํานวนภาษาของผูรับสาร
3. การพูดวิเคราะห และวิจารณเปนการพูดที่มีความตอเนื่องสัมพันธกัน กลาวคือ ผูพูดตองแยะแยก วิเคราะหองคประกอบของเรื่องที่ฟงและดูใหไดเสียกอน จากนั้น
จึงวิจารณหรือแสดงความคิดเห็นของตนเองที่มีตอแตละองคประกอบ แสดงใหเห็นทั้งขอดีและขอดอย โดยยกเหตุผลประกอบชัดเจน
4. การพูดวิเคราะห วิจารณที่ดี ผูพูดควรแสดงความคิดเห็น และเสนอแนะขอคิดเห็นสวนตนอยางมีมารยาท การพูดวิเคราะห วิจารณในลักษณะติเพื่อกอจะทําใหเกิด
มุมมองความคิดที่แปลกใหม
5. ในชีวิตประจําวันมนุษยรับสารหลากหลายประเภทจากสื่อตางๆ หากผูรับสารไมมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการวิเคราะห วิจารณอาจทําใหหลงเชื่อเรื่องตางๆ
โดยปราศจากการคิด พิจารณา ซึ่งอาจกอใหเกิดผลเสียทั้งตอตนเองและคนรอบขาง ดังนั้นความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการวิเคราะห วิจารณจึงเปนทักษะที่จําเปน
สําหรับการรับสารในชีวิตประจําวัน

94 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. นักเรียนอธิบายความรู ความเขาใจของตนเอง
และสามารถฝกปฏิบัติการพูดในโอกาสตางๆ
ไดโดยคํานึงถึงธรรมเนียมและมารยาท
ที่เหมาะสม
2. นักเรียนอธิบายความรู ความเขาใจของตนเอง
และสามารถฝกปฏิบัติการพูดรายงาน
เรื่องหรือประเด็นที่เลือกศึกษาคนควา
จากการฟง การดู และการสนทนา

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค

ó
1. มีวินัย รับผิดชอบ
2. ใฝเรียนรู
3. มุงมัน่ ในการทํางาน
หน่วยที่
กำรพูดในโอกำสต่ำงๆ และกำรพูดรำยงำน
ตัวชี้วัด ก ารพูดในโอกาสตางๆ ตอที่ กระตุน้ ความสนใจ Engage
ท ๓.๑ ม.๒/๔, ๕ ชุมชน เปนการพูดที่พบเห็นอยูเสมอ
■ พูดในโอกาสตางๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค ในชีวิตประจําวันมนุษยทุกคนมีโอกาสที่ ครูนําเขาสูหนวยการเรียนรูดวยวิธีการ
■ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟง การดู จะพูดตอทีช่ มุ ชนไมโอกาสใดก็โอกาสหนึง่ ตั้งคําถามเพื่อกระตุนทักษะการคิดและการสํารวจ
และการสนทนา
การศึกษาเรียนรู ฝกพูดในโอกาสตางๆ ประสบการณของตนเอง
สาระการเรียนรู้แกนกลาง จึงเปนสิ่งจําเปนเพื่อใหพูดไดเหมาะสมกับ • นักเรียนคิดวาในสถานการณหรือโอกาส
โอกาส เวลา สถานที่
■ การพูดในโอกาสตางๆ เชน การพูดอวยพร การพูดโนมนาวใจ
การพูดโฆษณา
ใดบางที่แขกรับเชิญสามารถมีสวนรวมกับ
■ การพูดรายงานการศึกษา คนควา จากแหลงเรียนรูตางๆ การพูดเพื่อแสดงความรูสึกของตนเอง
ที่มีตอเจาของงาน และนักเรียนเคยมี
โอกาสนั้นหรือไม อยางไร
95 (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
ไดอยางอิสระ ทําใหไดคําตอบที่หลากหลาย
พิจารณาตามดุลยพินิจของครู)

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู การพูดในโอกาสตางๆ และการพูดรายงาน
เปาหมายสําคัญคือ นักเรียนมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการพูดในสถานการณ
หรือโอกาสตางๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค รวมถึงการพูดรายงานการศึกษาคนควา
สามารถฝกปฏิบัติไดดวยตนเอง โดยใชแนวทางที่ถูกตอง
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรออกแบบการเรียนการสอน โดยใหนักเรียน
รวมกลุมกันสืบคนความรูที่จําเปนสําหรับการฝกฝน ครูสังเกตการณและตรวจสอบวา
นักเรียนมีความรูที่เพียงพอหรือไม กอนจะมอบหมายใหลงมือฝกปฏิบัติ ซึ่งความรู
ที่นักเรียนควรมี ไดแก ลักษณะสําคัญของการพูดในโอกาสตางๆ และการพูดรายงาน
วิธีการวางโครงเรื่อง การใชถอยคําภาษาสําหรับการเรียบเรียง ขั้นตอน รูปแบบ
หรือวิธีการพูด และรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมินการพูดของตนเอง รวมถึง
เพื่อนๆ ในชั้นเรียน
การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยฝกทักษะที่จําเปนใหแกนักเรียน ไดแก
ทักษะการประยุกตใชความรู ทักษะการตั้งเกณฑ และทักษะการประเมิน

คู่มือครู 95
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา
Engage Explore อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explain Elaborate Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน ดวยการ
กระตุน ใหนกั เรียนรวมกันระบุความหมายของการพูด ๑ การพูดในโอกาสต่างๆ
ในโอกาสตางๆ จากรองรอยความรูเดิม ซึ่งคําตอบ
การพูด เป็นกระบวนการติดต่อสื่อสารที่ท�าให้มนุษย์รับรู้ เข้าใจ และสนองตอบความต้องการ
ของนักเรียนควรอยูในขอบขาย ดังนี้
(แนวตอบ การพูดในโอกาสตางๆ หรือการพูด ของกันและกันได้ถูกต้อง ในชีวิตประจ�าวันมนุษย์ย่อมมีกิจกรรมทางสังคมที่ต้องพูดจาสื่อสารกัน เช่น
ในที่ชุมชน คือ การพูดเพื่อแสดงความรู ความคิด การพูดระหว่างพ่อแม่ พี่ น้อง เพื่อน ผู้ร่วมงาน หรือการพูดคุยสังสรรค์กับบุคคลอื่นๆ ถ้าผู้พูดรู้จักพูด
ความรูสึก รวมทั้งขอเสนอแนะตางๆ ตอผูฟง ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม จะช่วยให้สามารถติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างเข้าใจและมีมนุษยสัมพันธ์
เปนจํานวนมาก ณ ที่ใดที่หนึ่ง เชน การพูดอวยพร อันดีต่อกัน
เนื่องในวันเกิด วันแตงงาน วันขึ้นบานใหม วันสําเร็จ การพูดที่ดีต้องประกอบด้วยศาสตร์และศิลป์ คือ มีหลักการและใช้ภาษาได้ไพเราะ เหมาะสม
การศึกษา การพูดตอนรับ การพูดโนมนาวใจ กับเนื้อหาสาระและโอกาสของการสื่อสาร
การพูดโฆษณา การพูดรายงาน การพูดอภิปราย ๑.๑ การพูดอวยพร
เปนตน)
การพูดอวยพร หมายถึง การพูดเพื่อแสดงความปรารถนาดี ยินดีต่อบุคคลอื่นในโอกาสที่เป็น
มงคล เช่น งานมงคลสมรส งานขึ้นบ้านใหม่ ตลอดจนการกล่าวอวยพรของญาติผู้ใหญ่ที่อ�านวยพร
ส�ารวจค้นหา Explore
แก่ลูกหลาน ครูอวยพรให้แก่ลูกศิษย์ หรือผู้บังคับบัญชาอวยพรให้แก่พนักงาน ในการกล่าวค�าอวยพร
แบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม ตามความสมัครใจ ผู้กล่าวจึงต้องใช้วิจารณญาณในการพูดให้สอดคล้องเหมาะสมกับบุคคล โอกาส และสถานที่ รวมถึง
ครูทําสลากโดยเขียนหมายเลข 1, 2 และ 3 พรอม บุคคลผู้ร่วมงานด้วย
ระบุขอ ความในแตละหมายเลข จากนัน้ ใหแตละกลุม การพูดอวยพรมีหลักการพูด ดังนี้
สงตัวแทนออกมาจับสลาก แลวอานประเด็นที่กลุม ๑. ผู้พูดควรเริ่มต้นทักทายผู้ฟัง กล่าวแสดงความยินดีที่ผู้มีเกียรติมาร่วมงาน กล่าวถึง
ของตนเองไดรับมอบหมายใหสืบคนความรู ดังนี้ ความสัมพันธ์ของตนเองที่มีต่อเจ้าภาพ แล้วจึงกล่าวอวยพร
หมายเลข 1 การพูดอวยพร ๒. ผู ้ พู ด ควรค� า นึ ง ถึ ง บุ ค คลและกาลเทศะ เช่ น การอวยพรให้ ผู ้ ใ หญ่ หรื อ ผู ้ ที่ มี คุ ณ วุ ฒิ
หมายเลข 2 การพูดเพื่อโนมนาวใจ วัยวุฒิสูงกว่า ควรกล่าวอ้างสิ่งศักดิ์สิทธิ์ก่อน เป็นต้น
หมายเลข 3 การพูดโฆษณา ๓. ผู้พูดควรพูดด้วยถ้อยค�าสุภาพ นุ่มนวล และแสดงความปรารถนาดีต่อผู้อื่น
โดยนักเรียนสามารถสืบคนความรูไดจากแหลง ๔. ผู้พูดควรแสดงกิริยาอาการอ่อนน้อม สุภาพ เรียบร้อย แสดงความเคารพยกย่อง ให้เกียรติ
ขอมูลตางๆ ที่เขาถึงได และมีความนาเชื่อถือ เชน บุคคลที่อวยพรให้
ตําราวิชาการเกี่ยวกับทักษะการพูดในโอกาสตางๆ ๕. ผู้พูดควรพูดด้วยใบหน้าสดชื่น ยิ้มแย้ม จริงใจ และใช้เสียงดังพอควร
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส ซึ่งขอมูลที่รวบรวมไดจะตอง ๖. ข้อความที่กล่าวอวยพร ควรเป็นข้อความที่ก่อให้เกิดความปีติยินดีและมีความสุขทั้งผู้พูด
ครอบคลุมประเด็น ตอไปนี้ และผู้ฟัง
• ลักษณะสําคัญของการพูดในแตละโอกาส การพู ด อวยพรไม่ ว ่ า ในโอกาสใด นั บ เป็ น การพู ด ที่ เ ป็ น มงคล ผู ้ พู ด ควรเลื อ กใช้ ถ ้ อ ยค� า
• วิธีการเรียบเรียงเนื้อหา ที่เป็นมงคลเหมาะสมกับงานนั้นๆ เช่น การพูดอวยพรในวันเกิดไม่ควรพูดถึงอาการแก่ เจ็บ ตาย
• วิธีการพูดเพื่อใหประสบผลสําเร็จ บรรลุ หรือไม่ควรพูดยืดยาว ซ�้าซาก ใช้เวลานานเกินไป เป็นต้น
วัตถุประสงค
96

ขอสอบ O-NET
เกร็ดแนะครู ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับลักษณะเนื้อหาของการพูดอวยพร
ครูควรใหความรู ความเขาใจแกนักเรียนเกี่ยวกับวิธีการพูดใหประสบผลสําเร็จ “ขออํานาจคุณความดีทง้ั ปวงทีไ่ ดทาํ มา จงบันดาลดลใหไดประสบแตความ
ซึ่งการพูดใหประสบผลสําเร็จสําคัญที่การเตรียมตนราง หรือเรียกวาวิธีการวาง เจริญรุง เรืองในหนาทีก่ ารงาน พบแตคนดี พบแตสง่ิ ดีและคลาดแคลวจาก
โครงเรื่อง แบงออกเปน 3 ชวง ไดแก การกลาวนํา การดําเนินเรื่อง และการกลาวสรุป อันตรายทัง้ ปวง” คําอวยพรขางตนใชในโอกาสใด
จบทาย ผูพูดควรเตรียมตนราง แลวฝกซอมจนเกิดความชํานาญ ดังนี้ 1. แตงงาน
การกลาวนํา ถือเปนจุดเรียกรองและกระตุนความสนใจของผูฟง ผูพูดจะตอง 2. เกษียณอายุ
เรียบเรียงเนื้อหาในสวนนี้ใหรวบรัด ตรงประเด็นและชวนใหติดตาม 3. รับตําแหนงใหม
การดําเนินเรื่องผูพูดควรเรียบเรียงเนื้อหาใหมีความนาสนใจ ดึงดูดและตรึง 4. ขึ้นบานใหม
ความสนใจของผูฟงใหฟงจนจบตลอดทั้งเรื่อง อยาพูดออกนอกประเด็น ควรมีความ วิเคราะหคําตอบ การพูดอวยพรในแตละโอกาส จะบรรจุหรือเรียบเรียง
ยืดหยุน คือ พรอมที่จะจบหรือขยายความตอไดหากเกิดเหตุการณเฉพาะหนา เนื้อความแตกตางกันขึ้นอยูกับสถานการณหรือโอกาสในการพูด หากเปน
การสรุปจบทายผูพูดควรใชถอยคําที่สรางความประทับใจแกผูฟง เนนยํ้า งานแตงงานเนื้อความโดยมากจะอวยพรใหมีความสุขในการใชชีวิตคู
วัตถุประสงคที่ตั้งไว งานเกษียณอายุเนื้อความจะปรากฏความอาลัย ความคิดถึง ความเสียดาย
ในตัวผูเ กษียณอายุ สวนงานขึน้ บานใหมเนือ้ ความจะมีลกั ษณะเปนการอํานวยชัย
ใหพร ใหมีความสุข ความรมเย็นในบานหลังใหม ดังนั้นจึงตอบขอ 3.

96 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1 1. นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 1
ตัวอย่าง การพูดอวยพรผู้ใหญ่ สงตัวแทน 2 คน ออกมาอธิบายความรู
ในประเด็นที่กลุมของตนเองไดรบั มอบหมาย
การพูดอวยพรผู้ใหญ่เนื่องในวันขึ้นปีใหม่ พรอมระบุแหลงทีม่ าของขอมูล
2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
เรียน ท่านประธานบริษัทเจริญกิจและแขกผู้มีเกียรติ อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ
กระผมรู้สึกดีใจเป็นอย่างยิ่งที่ทางบริษัทได้จัดงานสังสรรค์ปีใหม่ให้แก่พนักงานทุกคน การพูดอวยพร โดยครูควรหาตัวอยางบทพูด
และขอบคุณที่ท่านประธานและครอบครัวสละเวลาอันมีค่าของท่านมาร่วมงานในคืนนี้ เนื่องใน
อวยพรในโอกาสตางๆ มาอานใหฟง จากนั้น
โอกาสขึน้ ปีใหม่ กระผมในนามของตัวแทนพนักงานทุกคน ขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัย จงปกป้อง
ตั้งคําถามกับนักเรียนวา
คุม้ ครองให้ทา่ นประธานบริษทั และครอบครัว มีความสุขความเจริญ สุขภาพแข็งแรง เป็นร่มโพธิ์
ร่มไทรให้ความร่มเย็นแก่พนักงานทุกคนตลอดไป
• จากบทอวยพรที่ไดฟง นักเรียนสังเกตสิ่งใด
ณ โอกาสนี้กระผมขอเป็นตัวแทนมอบดอกไม้แทนใจของพวกเราทุกคนครับ ไดบาง
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
ตัวอย่าง การพูดอวยพรผู้ที่เสมอกัน ไดอยางอิสระ ทําใหไดคําตอบที่หลากหลาย
เชน คําขึ้นตน เนื้อเรื่อง ถอยคําที่ไพเราะ
การพูดอวยพรผู้ที่เสมอกัน เปนตน ซึ่งครูควรชี้แนะวา คําตอบที่ชวยกัน
ระบุนั้น เปนสวนหนึ่งของการวางโครงเรื่อง
สวัสดีสมศักดิ์ เพื่อนรัก เพื่อจัดทําตนรางการพูด)
ในนามตัวแทนของเพื่อนร่วมรุ่น ๒๙ ของโรงเรียนนพรัตน์ มีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่เพื่อน • จากความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการพูด
ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนไปดูงานที่ต่างประเทศ เพื่อน�าความรู้มาพัฒนางานให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น อวยพร หากนักเรียนไดรับคัดเลือกจาก
ขอให้เพื่อนจงประสบความส�าเร็จและมีความสุขความเจริญ เป็นที่รักของเพื่อนๆ ตลอดไป เพื่อนๆ ใหเปนตัวแทนทําหนาที่กลาว
และขอมอบมาลัยดอกไม้พวงนี้แทนน�้าใจของเพื่อนๆ เพื่อเป็นก�าลังใจในการไปดูงานครั้งนี้ด้วย อวยพรวันเกิดใหแดครูประจําชั้น
จะมีวิธีการเตรียมความพรอมอยางไร
๑.๒ การพูดเพือ่ โน้มน้าวใจ (แนวตอบ หาขอมูลเกี่ยวกับเจาของวันเกิด
เชน ปนี้อายุครบรอบกี่ป มีจุดมุงหมาย
การพูดเพื่อโน้มน้าวใจ หมายถึง การพูดที่ผู้พูดมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้ฟังเชื่อถือปฏิบัติตาม
เปาหมายในอนาคตอยางไร เปนตน
ค�าแนะน�า ค�าขอร้อง ค�าชวนโดยใช้ศิลปะการเลือกใช้ถ้อยค�า การพูดโน้มน้าวใจจึงเป็นความพยายาม
นําขอมูลมาวางโครงเรื่อง โดยใชคําขึ้นตน
ในการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของผู 2 ้ฟังโดยผู้พูดใช้ทั้ง “วัจนภาษา”  คือ ภาษาพูด และ  “อวัจนภาษา”   ใหเหมาะสม เรียบเรียงเนื้อหาสาระ โดยเริ่ม
คือ ภาษากาย กิริยาท่าทาง เพื่อให้เกิดการยอมรับและเปลี่ยนแปลงความคิด พฤติกรรมตามที่ผู้พูด จากการกลาวแสดงความยินดีที่มีโอกาส
ต้องการ ซึ่งการพูดโน้มน้าวใจขึ้นอยู่กับเจตนาของผู้พูด ผู้ฟังจึงควรใช้วิจารณญาณในการรับสาร ไดอวยพร แสดงใหเห็นความสัมพันธระหวาง
ก่อนตัดสินใจเชื่อหรือปฏิบัติตาม เช่น การพูดรณรงค์ให้ร่วมกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง การอบรมสั่งสอน ผูพูดกับเจาของวันเกิด กลาวอวยพรให
การพูดให้โอวาท การพูดปราศรัยหาเสียง การพูดโฆษณา เจาของวันเกิดมีสุขภาพรางกายและจิตใจ
ที่แข็งแรงสมบูรณ โดยคํานึงวาหากผูนอย
97 อวยพรใหผูใหญ ควรอาราธนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์
เปนผูประสาทพร และสรุปจบทายใหผูรับ
การอวยพรประทับใจ)
กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
นักเรียนทบทวนเกี่ยวกับลักษณะสําคัญของการพูดอวยพร ศึกษาการ 1 การพูดอวยพร เปนการพูดในงานมงคลตางๆ เชน งานครบรอบวันคลายวันเกิด
บรรจุเรียบเรียงเนื้อหาสาระ การเลือกใชถอยคํา นําความรูมาใชรางบทพูด เปนตน ลักษณะการพูดจะเนนไปที่การกลาวใหผูเปนเจาของงานประสบแตสิ่งที่ดีงาม
อวยพรวันเกิดญาติผูใหญ นําเสนอหนาชั้นเรียน หากถูกสุมเรียกชื่อ มีความเจริญรุงเรือง ซึ่งรายละเอียดการพูดจะแตกตางกันในแตละสถานการณ
และโอกาส ผูพูดตองศึกษาวิธีการเรียบเรียงเนื้อหาในแตละสถานการณใหเขาใจ
อยางลึกซึ้ง จนสามารถฝกปฏิบัติไดจริง เพื่อใหการพูดในแตละครั้งประสบผลสําเร็จ
กิจกรรมทาทาย ตามจุดมุงหมายและสรางความประทับใจใหแกผูฟง
2 กิริยาทาทาง ที่แสดงออกขณะกําลังพูดในที่สาธารณชน ตองสดชื่น แจมใส
มีทาทีเปนมิตร ไมหมนหมอง มีความสงาผาเผย กระฉับกระเฉง มีชีวิตชีวา ไมควร
นักเรียนทบทวนเกี่ยวกับลักษณะสําคัญของการพูดอวยพร ศึกษาการ แสดงอาการหงอยเหงา เซื่องซึม กิริยาทาทางที่เหมาะสมขณะพูด เชน การใชสายตา
บรรจุเรียบเรียงเนื้อหาสาระ การเลือกใชถอยคํา นําความรูมาใชรางบทพูด ขณะพูดควรกวาดตามองผูฟงดวยดวงตาอันแจมใส ไมควรมองดวยความรวดเร็ว
โดยสมมติใหตนเองเปนญาติผูใหญของฝายเจาสาวขึน้ กลาวอวยพรในงาน หรือกวาดสายตาเร็วจนเกิดเปนอาการวอกแวก เพราะอาจทําใหผูฟงเกิดความ
มงคลสมรส นําเสนอหนาชั้นเรียน หากถูกสุมเรียกชื่อ ไมเชื่อมั่นหรือไมศรัทธาในผูพูด และสงผลใหการพูดไมประสบผลสําเร็จตาม
จุดมุงหมายที่ตั้งไว

คู่มือครู 97
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 2 และ 3 1
สงตัวแทนกลุมละ 2 คน ออกมาอธิบายความรู การพูดโน้มน้าวใจมีหลักการพูด ดังนี้
ในประเด็นที่กลุมของตนเองไดรับมอบหมาย ๑. พูดเร้าความสนใจ โดยใช้ภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม ในการพูดโน้มน้าวใจผู้พูดควรใช้วิธี
พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล ปลุกเร้าความสนใจผู้ฟังก่อน2 เมื่อผู้ฟังเริ่มสนใจจึงน�าเข้าสู่จุดมุ่งหมายของการพูด
2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย ๒. พูดให้น่าเชื่อถือ ผู้พูดโน้มน้าวใจต้องพูดให้ผู้ฟังเห็นว่า ตนมีความรู้อย่างแท้จริง สามารถ
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการพูด อธิ บ ายหรื อ ตอบค� า ถามได้ ล ะเอี ย ดชั ด เจน เช่ น ยกประเด็ น ที่ น ่ า สนใจน� า มาพู ด ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง
โนมนาวใจ โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับ มีข้อมูลประกอบจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ พูดให้ผู้ฟังเห็นทั้งด้านดีและด้านเสีย หากไม่ปฏิบัติตาม
จากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ ที่ผู้พูดเสนอแนะ ท�าให้ผู้ฟังรู้สึกยอมรับและอยากปฏิบัติตาม
ตอบคําถาม ๓. พูดให้มีความรู้สึกร่วมกัน เป็นการพูดที่แสดงถึงความเป็นพวกเดียวกัน เช่น ชอบสิ่งที่
• ในความคิดเห็นของนักเรียน การพูด เหมือนหรือคล้ายกัน มีแหล่งก�าเนิด หรืออยู่หมู่บ้านเดียวกัน จบสถาบันการศึกษาเดียวกัน เป็นต้น
โนมนาวใจ มีลักษณะสําคัญที่แตกตางจาก จะท�าให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกเชื่อใจ นอกจากนี้ การพูดเพื่อสร้างความสนิทสนม โดยใช้กิจกรรมสัมพันธ์
การพูดประเภทอื่นอยางไร ที่ให้ความบันเทิง ความสนุกสนาน ด้านดนตรี กีฬา เกมในการแข่งขัน รวมทั้งงานการกุศล ประเพณี
(แนวตอบ การพูดโนมนาวใจเปนการพูดที่ วัฒนธรรมต่างๆ เมื่อจิตใจมีความสนุกหรรษา ย่อมมีความอ่อนโยน ไม่รู้สึกต่อต้าน พร้อมที่จะรับฟัง
ผูพูดมีจุดประสงคใหผูฟงมีความคิดเห็น ๔. พูดให้ถูกเวลา บุคคล สถานที่ การพูดโน้ม3น้าวใจขึ้นอยู่กับจังหวะเวลาที่พอเหมาะพอดี
คลอยตาม เกิดปฏิกิริยาตอบสนองในลักษณะ กับบุคคลที่พร้อมและสนใจ รวมถึงสถานที่ที่เหมาะสม ซึ่งนับเป็นหัวใจส�าคัญของการพูดให้ประสบ
ผลส�าเร็จ
สอดคลองกับจุดประสงคที่กําหนดไว เชน
๕. พูดให้ไพเราะอ่อนหวาน ประทับใจผู้ฟัง ผู้ฟังจะประทับใจและคล้อยตามจุดประสงค์
ตองการใหเชื่อ ตองการใหปฏิบัติหรือเลิก
ของผู้พูด
ปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยยกขอมูลและผลที่จะ
ไดรบั มาประกอบ ในขณะทีก่ ารพูดประเภทอืน่
อาจมีจุดประสงคเพื่อแสดงความรู ความคิด การพูดวิงวอน
ความรูสึก เปนตน)
สวัสดีครับ พี่น้องชุมชนปิยรมย์ที่รักทั้งหลาย
• การพูดเพื่อรณรงค การพูดเพื่ออบรมสั่งสอน
ขณะนี้เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า ยังมีพี่น้องคนไทยร่วมชาติทางภาคเหนือและภาคอีสาน
การพูดใหโอวาท จัดเปนการพูดโนมนาวใจ
ของเราได้รับความเดือดร้อนจากภัยหนาวมาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว ซึ่งทางภาครัฐและเอกชน
หรือไม เพราะเหตุใด
ก�าลังด�าเนินการให้ความช่วยเหลือโดยส่งเสื้อกันหนาว ผ้าห่ม เครื่องกันหนาว และเครื่องอุปโภค
(แนวตอบ นักเรียนแสดงความคิดเห็นตาม
บริโภค เพื่อเป็นการช่วยเหลือเบื้องต้น หากแต่จ�านวนสิ่งของยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ
พื้นฐานความรูของแตละคน ครูควรชี้แนะ
ยังมีเด็กและคนชราจ�านวนมากยังขาดเครื่องกันหนาว ในฐานะที่เราเป็นคนไทย อาศัยอยู่บนผืน
เพิ่มเติมวา การพูดเพื่อรณรงค การพูด
แผ่นดินเดียวกัน กระผมในฐานะคนไทยคนหนึ่งจึงขอวิงวอนให้พี่น้องชาวชุมชนปิยรมย์ได้ร่วม
เพื่ออบรมสั่งสอน และการพูดใหโอวาท
บริจาคเงินหรือสิง่ ของจ�าเป็นส�าหรับกันภัยหนาว ส่งไปช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยตามก�าลังทรัพย์และ
จัดเปนการพูดเพื่อโนมนาวใจประเภทหนึ่ง
ศรัทธาเพื่อให้พี่น้องที่เดือดร้อนได้คลายทุกข์ลงบ้างและมีก�าลังใจว่าไม่ได้ถูกทอดทิ้งให้โดดเดี่ยว
เพราะผูพูดมีจุดประสงคใหผูฟงเปลี่ยนแปลง
ยังมีพี่น้องร่วมชาติเห็นความทุกข์ยากของตน
ความคิด เกิดอารมณความรูสึกคลอยตาม
เห็นคุณคาและนําไปปฏิบัติเพื่อเปลี่ยนแปลง
ตนเอง สูทิศทางที่ดีขึ้นหรือทิศทางที่เปน 98
จุดประสงคที่ผูพูดกําหนดไว)

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
บุคคลใดตอไปนี้นาจะประสบผลสําเร็จในการพูดเพื่อโนมนาวใจมากที่สุด
1 การพูดโนมนาวใจ ตองใชศิลปะการพูดเพื่อใหผูฟงเกิดอารมณความรูสึก
1. ปรานีใชถอยคําเพื่อแสดงความรูสึกของตนเอง
คลอยตาม และยอมปฏิบัติตามคําขอรองหรือเชิญชวน การพูดโนมนาวใจที่พบเห็น
2. บรรจงใชถอยคําเพื่อสงผานความปรารถนาดีไปยังผูฟง
ในชีวิตประจําวัน เชน การโฆษณาขายสินคา โดยผูพูดมีจุดมุงหมายใหผูฟงเชื่อ
ในสรรพคุณของสินคาจนตัดสินใจซื้อสินคาและบริการ 3. เสาวลักษณใชถอยคําเพื่อแสดงความคิดเห็นของตนเอง
4. รุงโรจนใชถอยคําเพื่อทําใหผูฟงรูสึกวาเขาเขาใจความรูสึกของผูฟง
2 พูดใหนาเชื่อถือ การพูดที่ประกอบดวยขอมูลที่เปนความรูผานการศึกษา
ตามหลักวิชา สถิติ ตัวเลขตางๆ ขอมูลที่เปนเหตุเปนผลซึ่งกันและกัน มีสวนทําใหผูพูด วิเคราะหคําตอบ การพูดโนมนาวใจ เปนการพูดทีผ่ พู ดู มีวตั ถุประสงคเฉพาะ
และเรื่องที่นํามาพูดมีความนาเชื่อถือมากขึ้น ตองการใหผูฟงเชื่อ ศรัทธา และสนองตอบเจตนา เชน นักการเมืองพูด
หาเสียง เพื่อใหผูฟงเชื่อถือในนโยบายหรือตัวตน และนําไปสูการลงคะแนน
3 สถานที่ที่เหมาะสม การเลือกสถานที่ใหเหมาะสมกับเรื่องที่จะพูด ลักษณะของ
เสียงให เปนตน ดังนั้นลักษณะการพูดโนมนาวใจที่มีแนวโนมวาจะประสบผล
ผูฟง จํานวนผูฟง เปนปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จของการพูด เชน หากตองการพูด
เพื่อโนมนาวใจใหกลุมคนรวมกันกระทําการณบางอยาง หรือการพูดเพื่อหาแนวรวม สําเร็จมากที่สุดจากตัวเลือกที่กําหนด คือ ผูพูดตองใชถอยคําเพื่อกระตุน
ผูพูดควรเลือกพูดในสถานที่ที่มีผูคนมารวมตัวกันหรือสัญจรผานไปมา หากผูพูดเลือก อารมณความรูสึกของผูฟง ทําใหผูฟงรูสึกวาผูพูดเปนอันหนึ่งอันเดียวกันกับ
พูดในสถานที่ที่ไมมีผูคนสัญจร อาจทําใหการพูดในครั้งนั้นไมประสบผลสําเร็จ ผูฟงหรือรับรูและเขาใจความรูสึก หากผูพูดโนมนาวใจสามารถทําใหผูฟง
ยอมรับในตัวผูพูด หรือรับผูพูดเขามาในความรูสึกของตน ยอมทําใหผูฟงเกิด
ความคลอยตามไดโดยงาย ดังนั้นจึงตอบขอ 4.
98 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนศึกษาตัวอยางการพูดโนมนาวใจ
จากหนังสือเรียนภาษาไทย หนา 98-99
การพูดขอร้อง
จากนั้นใหยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ
สวัสดีครับ พนักงานแผนกธุรการบริษัท พีพี มาร์เก็ตติ้ง จ�ากัด
การวางโครงเรื่องเพื่อการพูดโนมนาวใจ
“โลกร้อนขึน้ ” ทุกคนคงเคยได้ยนิ ค�านีม้ าแล้ว จากหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ หรือค�าบอกเล่า
โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟง
ซึ่งทุกคนทราบดีว่าเมื่อโลกร้อนขึ้นจะส่งผลกระทบต่อมนุษย์โดยตรง แต่จะมีสักกี่คนที่ตระหนัก
บรรยาย เปนขอมูลเบือ้ งตนสําหรับตอบคําถาม
ว่า เราทุกคนมีส่วนท�าให้โลกร้อนขึ้น จากการท�าลายธรรมชาติและใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย
หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนตื่นตัวกับการแก้ปัญหาดังกล่าว ด้วยการรณรงค์ลดใช้พลังงาน
• การวางโครงเรื่องเพื่อการพูดโนมนาวใจ
แต่ถงึ อย่างไรก็ตามการมีสว่ นร่วมก็ยงั เกิดขึน้ เฉพาะกลุม่ บุคคล เราในฐานะมนุษย์ผซู้ งึ่ ใช้ประโยชน์
มีวิธีการอยางไร
จากธรรมชาติจงึ ไม่ควรปล่อยให้การแก้ไขปัญหาเป็นเรือ่ งของคนกลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ กระผมในฐานะ (แนวตอบ การวางโครงเรื่องสําหรับการพูด
หัวหน้าแผนกธุรการจึงขอร้องให้ทุกท่านร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ไขปัญหา ด้วยการช่วยกัน โนมนาวใจ เกิดขึ้นหลังจากที่ผูพูดมี
ลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า ปิดไฟฟ้าดวงที่ไม่ใช้งาน ปิดเครื่องปรับอากาศก่อนพักกลางวัน จุดประสงคที่ชัดเจน วิเคราะหผูฟงในดาน
เป็นเวลา ๑๕ นาที ถ้าพวกเราร่วมมือกันอย่างจริงจัง กระผมคิดว่าปัญหาโลกร้อนคงมีทางแก้ไข ตางๆ แลว จากนั้นจึงวางโครงเรื่อง ดังนี้
ให้ดีขึ้นได้ ท�าเพื่อโลกที่เราใช้ประโยชน์ ท�าเพื่อวันนี้ของเราและท�าเพื่ออนาคตของลูกหลาน คําขึ้นตนควรใชถอยคําเพื่อสรางอารมณ
ความรูสึกรวมเปนนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน
การดําเนินเรื่อง ผูพูดควรเรียบเรียงเนื้อหา
การพูดเสนอแนะ สาระดวยสํานวนภาษาของตนเอง กลาวถึง
สาเหตุของการพูด เพื่อปูทางหรือนําไปสู
สวัสดีค่ะ ท่านผู้ฟัง วัตถุประสงคหลัก แสดงเหตุผล ความเปน
เชื่อไหมคะว่าไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ หรือที่เรียกว่าไข้หวัด ๒๐๐๙ ได้แพร่ระบาดไปทั่วโลก ไปได ผลที่จะเกิดขึ้น เพื่อเราใหผฟู ง เกิด
อย่างรวดเร็ว มีการติดต่อกันง่ายมาก ด้วยการไอ จาม ดังนั้น วิธีระวังเบื้องต้นที่แพทย์แนะน�า ความคิดเห็นที่สอดคลอง คลอยตาม
คือ ให้ใช้หน้ากากอนามัยปิดปาก - จมูกไว้ เพื่อเป็นการป้องกันตนเองจากเชื้อไข้หวัด ๒๐๐๙ การสรุปจบ ควรเนนยํ้าใหผฟู ง เห็นวา
ที่กระจายออกมาในอากาศได้ทางหนึ่ง และแนะน�าการใช้หน้ากากอนามัยไว้ว่า ถ้าเป็นชนิดที่ท�า หากเชือ่ ถือ ศรัทธา และปฏิบัติตามในสิ่งที่
ด้วยกระดาษ ควรใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ส่วนชนิดที่ท�าด้วยผ้า ใช้แล้วซักให้สะอาด อาจน�ามาใช้ ผูพูดสื่อสารจะเกิดสิ่งที่ดีตางๆ ตามมา
ได้อีก แต่ถ้ามีอาการป่วยต้องใช้ชนิดที่แพทย์แนะน�า เพื่อไม่ให้แพร่กระจายสู่ผู้อื่นและควรรีบไป กอใหเกิดผลแหงการเปลี่ยนแปลงในทิศทาง
รับการรักษาจากโรงพยาบาลโดยเร็ว อย่าทิ้งไว้นาน จะเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ นอกจากนี้ ที่ดีขึ้น)
ยังมีการรณรงค์ให้รักษาความสะอาดด้านอื่นๆ ทางสื่อมวลชนอย่างต่อเนื่อง เช่น ด้านโภชนาการ • การพูดโฆษณาจัดเปนการพูดโนมนาวใจ
ได้แนะน�าไว้ดงั นี้ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ทุกท่านจึงควรปฏิบตั ติ ามค�าเสนอแนะ อย่านิ่งนอนใจ
หรือไม อยางไร
(แนวตอบ การพูดโฆษณาจัดเปนการพูด
ควรติดตามสือ่ ต่างๆ ทีใ่ ห้ขอ้ มูล เพือ่ สวัสดิภาพของตนและผูอ้ นื่ โดยเฉพาะช่วยแนะน�าดูแลกลุม่ เสีย่ ง
ที่มีจุดประสงคใหผูฟงเชื่อถือ ในสรรพคุณ
ที่รับเชื้อได้ง่ายเพราะมีภูมิต้านทานน้อย ได้แก่ เด็ก ผู้สูงอายุ และสตรีมีครรภ์
ของสินคาจนตัดสินใจซื้อสินคาและบริการ)
ขอให้ช่วยกันปฏิบัติตามค�าเสนอแนะทุกท่านด้วยค่ะ
2. นักเรียนรวมกันสรุปลงความคิดเห็นวา
แหลงขอมูลของเพื่อนๆ แตละกลุมมีความ
99 นาเชื่อถือ หรือไม เพราะเหตุใด
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
ไดอยางอิสระ ครูควรชี้แนะเพิ่มเติม)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
บุคคลใดตอไปนี้กลาวเริ่มตนการพูดไดเหมาะสมที่สุด
ครูควรสรางความรู ความเขาใจใหแกนักเรียนเกี่ยวกับการวางโครงเรื่องในสวนตน
1. ผมตองขออภัยหากการพูดในวันนี้อาจมีขอบกพรอง
และการสรุปจบของการพูด เพื่อใหมีความรูเพียงพอสําหรับนําไปฝกปฏิบัติการพูด
2. สวัสดีทานผูฟงทุกทาน ที่เสียสละเวลามาฟงการสัมมนาในครั้งนี้
ของตนเอง
3. ทานผูฟงอยากพนจากทุกขหรือไม ความทุกขนั้นหลุดพนไดอยางไร
การเริ่มตนการพูด ถือเปนสวนที่เรียกรองความสนใจจากผูฟง ผูพูดควรใชถอยคํา
4. เรือ่ งทีผ่ มจะพูดในวันนี้ ผมอาจจะมีความรูไ มเพียงพอเหมือนกับทานอืน่ ๆ
เพื่อกระตุนความสนใจของผูฟง ไมควรใชถอยคําที่ทําใหผูฟงเกิดความรูสึกไมมั่นใจ
วิเคราะหคําตอบ การขึ้นตนการพูดที่ดี นับเปนจุดแรกที่เรียกรองความสนใจ หรือหมดความเชื่อมั่นในตัวของผูพูด เชน “การพูดในวันนี้ ผมไมไดเตรียมตัวมาเลย”
จากผูฟง โดยผูพูดควรใชถอยคําที่กระชับ ชัดเจน เราอารมณความรูสึก “ผมจําเปนตองพูดในวันนี้ เพราะรับปากไว” “ผมออกตัวไวกอนวา การพูดในวันนี้
ตรงประเด็น ชวนใหติดตาม ถอยคําที่ไมควรใชเมื่อเริ่มตนการพูด คือ อาจมีขอผิดพลาดบาง” เปนตน
ถอยคําที่ทําใหผูฟงเกิดความรูสึกไมมั่นใจในผูพูด เชน “การพูดในวันนี้อาจมี การสรุปจบนับเปนสวนสําคัญเชนกัน เพราะเปนสวนที่เนนยํ้าจุดประสงคของผูพูด
ขอบกพรอง” “ขอบคุณที่เสียสละเวลามาฟง” “ผมอาจไมมีความรูเพียงพอ ดังนั้นจึงควรใชถอยคําเพื่อสรางความประทับใจใหแกผูฟง ไมควรใชขอความ เชน
ในเรื่องนี้เทากับผูพูดทานอื่นๆ” การเริ่มตนการพูดที่เหมาะสม ควรใชถอยคํา “ผมขอยุติเพียงเทานี้” “ผมขอขอบคุณที่ฟง” “เรื่องที่พูดวันนี้คงมีประโยชนบาง
ที่เราและกระตุน ความสนใจ ความกระหายใครรขู องผูฟ ง ดังนัน้ จึงตอบขอ 3. ไมมากก็นอย” เพราะขอความเหลานี้อาจทําใหผูฟงเกิดความไมประทับใจในผูพูด
หรือไมทราบวาสุดทายผูพูดมีจุดประสงคอยางไร

คู่มือครู 99
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
1. นักเรียนเลือกฝกฝนทักษะการพูดประเภท
ที่สนใจและมีความสามารถ จากสถานการณ ๑.๓ การพูดโฆษณา
ตอไปนี้ การโฆษณา คือ การสื่อสารข่าวสาร ข้อมูลจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสารเพื่อโน้มน้าวให้เชื่อ และ
• การพูดอวยพรเนื่องในวันเกิดของญาติผูใหญ เกิดความคล้อยตาม ในชีวิตประจ�าวันโฆษณาที่ผู้รับสารคุ้นเคย คือ การโฆษณาขายสินค้าและบริการ
• การพูดอวยพรเพื่อแสดงความยินดีกับเพื่อนที่ ซึ่งผู้จ�าหน่ายจะเลือกใช้สื่อต่างๆ เป็นช่องทางการสื่อสาร
ไดรับทุนการศึกษาตอตางประเทศ การพูดโฆษณาสินค้าและบริการ ผู้พูดจะใช้ทั้งวัจนภาษาร่วมกับอวัจนภาษาในการสื่อสาร
• การพูดเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งเปนประธาน แนวความคิดของสินค้าไปสู่ผู้รับสารตามจุดมุ่งหมายที่ต่างกัน เช่น เพื่อแนะน�าให้รู้จักสินค้าและบริการ
นักเรียน
ให้ข่าวสารที่เกี่ยวกับลักษณะ คุณประโยชน์ สร้างแรงจูงใจและดึงดูด หรือเพิ่มยอดจ�าหน่าย
• การพูดเพื่อขอความรวมมือจากเพื่อนๆ
สละเวลาวันเสารมาบําเพ็ญประโยชน คุณสมบัติของผู้พูดโฆษณา
ที่โรงเรียน
• การพูดเพื่อโฆษณาขายสินคา
ใชความรู ความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะสําคัญ รู้หลัก
การสื่อสาร ผู้พูดโฆษณาต้องรู้หลักการสื่อสาร รู้ว่าเมื่อใดควรฟัง
ของการพูดประเภทตางๆ การบรรจุเรียบเรียง ควรพูด การเรียบเรียงถ้อยค�าที่สร้างการรับรู้ กระชับ
เนื้อหาสาระ กลวิธีการเลือกใชถอยคํา ชัดเจน มีเนื้อความเดียว และมีศิลปะ
รางบทพูดความยาวไมเกิน 3 นาที ฝกซอม รู้จักลูกค้า รู้จักสินค้า ผู้พูดโฆษณาต้องรู้จักสินค้าที่ตนเองจะน�าเสนอ ได้แก่
ใหเกิดความชํานาญ นํามาพูดหนาชั้นเรียน เปาหมาย และบริการ ประเภท ชือ่ ความโดดเด่นเมือ่ เทียบกับผูจ้ า� หน่ายรายอืน่
เพื่อให้น�าเสนอและตอบค�าถามลูกค้าได้ถูกต้อง
2. นักเรียนรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมิน
การพูดในโอกาสตางๆ ที่เลือกจากความสนใจ ผู้พูดโฆษณาต้องรู้จักลูกค้า เช่น เพศ วัย ความสนใจ
ฐานะทางเศรษฐกิจ เพื่อให้เ ลื อกใช้ ถ ้ อยค� า วิ ธีการ
ความสามารถของตนเอง และใชเปนแนวทาง เร้าความสนใจ สร้างความสัมพันธ์ได้เหมาะสม ประทับใจ
ปรับปรุง แกไขในครั้งตอไป
(แนวตอบ เกณฑควรครอบคลุม ดังตอไปนี้
• โครงเรื่อง มีความสอดคลองกันในแตละสวน การพูดโฆษณามีหลักการพูด ดังนี้
มุงสูจุดมุงหมายที่ตั้งไว ไมสับสน วกวน ๑. เมือ่ เริม่ ต้น ไม่ควรพูดเกีย่ วกับสินค้าและบริการ แต่ควรเริม่ จากการสร้างความสัมพันธ์ ความ
• บรรจุ เรียบเรียงเนื้อหามีความครบถวน ประทับใจ โดยสื่อสารให้ผู้ฟังรู้สึกว่า ผู้พูดรับรู้ เข้าใจในปัญหาและก�าลังเสนอสิ่งที่จะมาช่วยแก้ปัญหา
เหมาะสมกับสถานการณที่เลือก ๒. เมือ่ ผูฟ้ งั สนใจจึงน�าเสนอสินค้าและบริการ หากเป็นโฆษณาทีม่ งุ่ หวังให้ผฟู้ งั ตัดสินใจซือ้ ทันที
• เลือกใชถอยคําไดไพเราะ สละสลวย อาจต้องสาธิตประกอบโดยพูดให้มลี า� ดับขัน้ น�าเสนอข้อดีของสินค้า แนะน�าวิธกี ารใช้ ความแตกต่างจาก
เหมาะสมกับสถานการณที่เลือกและผูฟง สินค้าประเภทเดียวกัน เมื่อผู้ฟังมีค�าถามต้องตอบด้วยความมั่นใจ ปิดการขายโดยใช้ถ้อยค�าชักจูงให้ซื้อ
• พูดไดเปนลําดับขั้นตอนตามสถานการณ ๓. การเรียบเรียงถ้อยค�าเพือ่ ใช้พดู โฆษณา ควรเป็นภาษาไทยในระดับแบบแผน หรือกึง่ แบบแผน
ที่เลือก เหมาะสมกับกาลเทศะและสังคม เป็นทีเ่ ข้าใจตรงกันของคนส่วนใหญ่ มีเนือ้ ความเดียว กะทัดรัด ชัดเจน
• ขณะที่พูด ผูพูดควรแสดงทาทีที่เปนมิตร สร้างความสนใจ ดึงดูดให้เกิดความต้องการในสินค้าและบริการ
ผานทางสีหนา แววตา ทาทาง และมีมารยาท
ในการพูด) 100

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
ในระดับชั้นนี้จะใหนักเรียนไดฝกฝนทักษะการพูดโฆษณาขายสินคาและบริการ นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการเขียนโฆษณาที่ดี โดยอาจสืบคน
ซึ่งโฆษณาที่ดีตองนําเสนอแนวความคิดของสินคาสูกลุมเปาหมาย ถอยคําที่ใชเรียบเรียง ความรูไดจากแหลงขอมูลตางๆ ที่มีความนาเชื่อถือ บันทึกความรูที่เกิดจาก
ตองชวยใหสินคาขายดี สรางแรงจูงใจ ดึงดูดใจ และความเชื่อของผูซื้อใหมีตอสินคา การคนควาเฉพาะบุคคล นํามาอภิปรายรวมกันภายในชั้นเรียน
ครูควรออกแบบการเรียนการสอนในหัวขอนี้ โดยมอบหมายใหนักเรียนปฏิบัติ
กิจกรรมดานขวามือ จากนั้นจึงสุมเรียกชื่อนักเรียนเปนตัวแทนของแตละกิจกรรม
ออกมาอธิบายความรูหนาชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนความรูซึ่งกันและกัน ควรใหนักเรียน
ฝกเขียนขอความเพื่อโฆษณาขายสินคาและบริการ โดยกําหนดชนิดสินคาดวยตนเอง กิจกรรมทาทาย
สงครู
นักเรียนชมรายการโฆษณาขายสินคาและบริการ (แบบขายตรง Direct
Sale) เพื่อวิเคราะหรูปแบบการนําเสนอ และการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร
บันทึกผลการวิเคราะห นํามาอภิปรายรวมกันภายในชั้นเรียน

100 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน ดวยวิธีการ
๒ การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้า ตั้งคําถามกระตุนทักษะการคิด
• นักเรียนคิดวาการพูดรายงานมีความสําคัญ
การพูดรายงาน เป็นทักษะที่ควรศึกษาเรียนรู้และฝึกฝนให้เกิดความช�านาญ โดยเฉพาะ อยางไร
ในวัยศึกษาเล่าเรียนที่จะต้องใช้ทักษะนี้เพื่อรายงานผลการศึกษาค้นคว้าเรื่องต่างๆ ให้ครูและเพื่อนๆ (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
ในชั้นเรียนฟัง แม้แต่วัยท�างานก็ต้องใช้เพื่อกล่าวรายงานสรุปผลการประชุมของหน่วยงาน สมาคม ไดอยางอิสระ ทําใหไดคําตอบที่หลากหลาย
หรือมูลนิธติ า่ งๆ ดังนัน้ ในการพูดรายงานผูพ้ ดู จึงต้องมีความสามารถในการชีแ้ จง บอกเล่า หรืออธิบาย ครูควรชี้แนะเพิ่มเติม)
เรื่องต่างๆ ได้ชัดเจน ตรงประเด็น
1
๒.๑ หลักการพูดรายงาน ส�ารวจค้นหา Explore
การพูดรายงานมีหลักการพูด ดังนี้ นักเรียนจับกลุมยอย กลุมละ 3 คน รวมกัน
๑. พูดเสนอเนื้อหาสาระที่เป็นประโยชน์ เป็2 นข้อๆ ชัดเจน ตรงประเด็น สืบคนความรูในประเด็น “การพูดรายงาน
๒. อาจมีอุปกรณ์ประกอบการพูดรายงาน เช่น เอกสาร รูปภาพ แผ่นใส แผนผัง แผนภูมิ การศึกษาคนควาเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา
๓. มีความรู้ความเข้าใจเรื่องทั้งหมดเป็นอย่างดี จากการฟง การดู และการสนทนา” โดยสามารถ
๔. พูดด้วยน�้าเสียงแจ่มใส ชัดเจน เสียงดังพอควร ออกเสียง และแบ่งวรรคตอนในการพูด สืบคนความรูไดจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เขาถึงได
ได้ถูกต้องเหมาะสม น่าฟัง และมีความนาเชื่อถือ
๕. มีท่าทางประกอบการพูดที่เป็นธรรมชาติเพื่อให้ผู้ฟังรู้สึกผ่อนคลาย
๖. ใช้เวลาให้พอเหมาะ โดยเฉพาะถ้ามีการก�าหนดเวลาไว้ล่วงหน้าแล้ว ต้องรู้จักรักษาเวลา อธิบายความรู้ Explain
๗. พูดด้วยภาษาทางการ อาจมีบางตอนที่ยกมาจากแหล่งอ้างอิงอื่นผู้พูดสามารถใช้ภาษา
กึ่งทางการได้ ควรหลีกเลี่ยงภาษาที่ไม่สุภาพเพื่อให้เกียรติผู้ฟัง นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการพูด
๒.๒ ขัน้ ตอนการพูดรายงาน รายงานการศึกษาคนควาเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา
การพูดรายงานมีขั้นตอน ดังนี้ คนควาจากการฟง การดู และการสนทนา โดยใช
๑. กล่าวทักทายผู้ฟังโดยค�านึงถึงสถานภาพของบุคคล แนะน�าตนเอง และคณะผู้ร่วมงาน ความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการสืบคนรวมกับ
๒. กล่าวชื่อเรื่องของรายงาน เพื่อน เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
๓. กล่าวถึงที่มา ความส�าคัญของหัวข้อรายงาน วิธีการศึกษาค้นคว้า • นักเรียนคิดวาการฟง การดู และการสนทนา
๔. กล่าวชื่อบุคคลหรือสื่อที่ให้ความรู้และข้อมูลส�าหรับค้นคว้า มีความสัมพันธรูปแบบใดกับการเขียน
๕. กล่าวถึงเนื้อหาตามล�าดับขั้นตอนโดยพูดให้กระชับ ชัดเจน เข้าใจง่าย ใช้เวลาน้อย แต่ได้ รายงานการศึกษาคนควา
ความมาก เสนอความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ อาจใช้สื่อหรืออุปกรณ์ประกอบเพื่อความเข้าใจ (แนวตอบ รายงานการศึกษาคนควา
๖. สรุปผลการศึกษาค้นคว้า แสดงความคิดเห็น และให้ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าต่อไป ในบางประเด็นตองใชขอมูลซึ่งไดมาจากการ
เมื่อพูดรายงานตามหลักการและขั้นตอนที่น�าเสนอ จะช่วยให้การพูดมีประสิทธิภาพมากขึ้น ที่ผูทํารายงานใชทักษะการฟง การดู
ดังตัวอย่างการพูดรายงานการศึกษาค้นคว้า ต่อไปนี้ การสนทนา หรือการสัมภาษณเปนหนึ่ง
ในกระบวนการสืบคนขอมูล เชน การทํา
101 รายงานเรื่อง ปราชญชุมชน การทํารายงาน
เรื่องสินคา O-TOP ของชุมชน การทํา
รายงานเรื่อง ลําตัด : การแสดงพื้นบาน
ขอสอบเนน การคิด ที่กําลังเสื่อมสูญ เปนตน)
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
บุคคลใดแสดงทาทางประกอบการพูดไดเหมาะสมมากที่สุด
1 หลักการพูดรายงาน เมือ่ ตองพูดรายงานการศึกษาคนควาหนาชัน้ เรียน ผูพ ดู
1. สมฤทัยยืนนิ่ง ตัวตรง เพื่อใหบุคลิกภาพมีความนาเชื่อถือ
ควรเตรียมความพรอม โดยทําความเขาใจเนื้อหาสาระที่จะตองพูดมาเปนอยางดี
2. สมภพวางมือประสานกันไวดานหนาตลอดเวลาขณะที่พูด
ลําดับความตามหัวขอจากความเขาใจ นําเสนอเนื้อหาครบถวน โดยใชถอยคํา ภาษา
3. สมทรงแสดงสีหนาใหเครงขรึมเพื่อเพิ่มความนาเชื่อถือใหแกตนเอง
ที่เปนทางการหรือกึ่งทางการ เรียบเรียงใหมีความกระชับ ชัดเจน เขาใจงาย ถูกตอง
4. สมพรใชทา ทางประกอบการพูดตามความเหมาะสมเพือ่ ใหเกิดความนาสนใจ
ตามหลักไวยากรณ และออกเสียงใหชัดเจน ไมควรออกมาอานรายงานจากฉบับราง
วิเคราะหคําตอบ การพูดในที่สาธารณชน ผูพูดควรแสดงทาทีที่เปนมิตร ที่เตรียมไว เพราะจะแสดงถึงการไมเตรียมความพรอมของตนเองและอาจทําใหผูฟง
ซึ่งสามารถแสดงผานทางสีหนา ทาทาง แววตา การแสดงทาทางที่เหมาะสม ไมสนใจ เกิดความไมเชื่อมั่นในผูพูด
ควรมีความยืดหยุน ไมควรวางทาทางเครงขรึมจนเกินไป หรืออยูนิ่งเปน 2 อุปกรณประกอบการพูดรายงาน ผูร ายงานตองศึกษาการใชอปุ กรณประกอบ
เวลานาน เพราะอาจสรางบรรยากาศในการฟงใหเกิดความตึงเครียด อึดอัด การพูดรายงานของตนเองใหมคี วามชํานาญ คลองแคลว เพือ่ ความตอเนือ่ ง ไมตดิ ขัด
ผูพูดควรแสดงทาทางประกอบการพูดบางตามความเหมาะสมกับเนื้อหา ขณะพูดรายงาน และควรมีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการแกไขสถานการณเฉพาะหนา
ดังนั้นจึงตอบขอ 4. หากอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ใชเกิดความขัดของ

คู่มือครู 101
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการพูดรายงาน
การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้า
การศึกษาคนควาโดยใชความรู ความเขาใจ
ที่ไดรับจากการสืบคนรวมกับเพื่อน เปนขอมูล เรียนอาจารย์ทเี่ คารพและสวัสดีเพือ่ นๆ ทุกคน ดิฉนั ชือ่ เด็กหญิงสุจริ า ถาวรวัฒนะ เป็นตัวแทน
เบื้องตนสําหรับตอบคําถาม ของกลุม่ ที่ ๑ ซึง่ มีสมาชิกกลุม่ ดังต่อไปนี้ เด็กชายภูสทิ ธิ์ คงมี เด็กชายปฐมพงษ์ ใจดี เด็กหญิงวราภรณ์
• หากครูมอบหมายใหทํารายงานในหัวขอ มากมี และเด็กหญิงจินตนา แจ่มจันทร์ รายงานที่กลุ่มของข้าพเจ้าจะน�าเสนอในวันนี้มีชื่อเรื่องว่า
“ปราชญชุมชน” นักเรียนจะใชทักษะการฟง “ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน: ปฐมบทแห่งการพัฒนา”
การดู และการสนทนา เปนหนึ่งใน สาเหตุที่กลุ่มของข้าพเจ้าเลือกศึกษาค้นคว้าเรื่องดังกล่าวเพราะในปัจจุบันเทคโนโลยีจาก
กระบวนการสืบคนขอมูลอยางไร ต่างประเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อวิถีการด�าเนินชีวิตของคนไทยมากขึ้น ชุมชนในท้องถิ่น
(แนวตอบ เมื่อสมาชิกในกลุมลงมติแลววา มีความตื่นตัวกับปัจจัยภายนอก หลงลืมวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ภูมิปัญญาพื้นถิ่น จากสถานการณ์
จะเลือกศึกษาเกี่ยวกับปราชญชุมชนทานใด ดังกล่าวได้มีชุมชนแห่งหนึ่งเล็งเห็นว่าการที่ประเทศชาติจะพัฒนาได้อย่างยั่งยืนนั้นต้องเริ่มที่
เพื่ออะไร จึงวางโครงเรื่องวาจะศึกษาในหัวขอ ชุมชน หากชุมชนมีความเข้มแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนก็จะส่งผลให้ประเทศชาติ
ใดบาง เชน ชีวประวัติ ความรู ความสามารถ เกิดการพัฒนาอย่างมั่นคง
อุปสรรคที่ผานมา วิธีกาวขามผานอุปสรรค วิธีการด�าเนินการศึกษาค้นคว้าของกลุ่ม คือ เก็บข้อมูลภาคสนามจากการสัมภาษณ์บุคคล
คุณธรรมในการดําเนินชีวิต เปนตน ซึ่งขอมูล ในชุมชนรวมถึงการค้นคว้าจากสื่อต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ต วิทยุ โทรทัศน์ จากนั้นจึงน�าข้อมูล
เหลานี้เปนขอมูลสวนตัว ดังนั้นกระบวนการ ทั้งหมดมารวบรวมน�าเสนอ ดังนี้
ที่จะทําใหไดขอมูลมาคือ การสัมภาษณ ชุมชนบ้านจ�ารุง เป็นชุมชนเล็กๆ ในจังหวัดระยอง ผู้คนมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย
เจาของประวัติ ซึ่งนับเปนการสนทนา ในขณะที่ความเจริญทางวัตถุเข้ามามีอิทธิพล คนในชุมชนเห็นว่าถ้าไม่รวมตัวกันอาจท� าให้
ประเภทหนึ่ง โดยสมาชิกภายในกลุมจะตอง วัฒนธรรมดัง้ เดิมของชุมชนสูญหายไปกับกาลเวลา คนในชุมชนจึงเริม่ รวมตัวกันเพือ่ ปฏิบตั กิ จิ กรรม
รวมกันเตรียมคําถามเพื่อใหไดขอมูล และน�าไปสู่การพึ่งพาตนเอง โดยมีนายชาติชาย เหลืองเจริญ ประธานสภาองค์กรชุมชนและ
ครอบคลุมโครงเรื่องที่วางไว เมื่อถึงวัน เป็นคณะแกนน�าในการปฏิรูปชุมชน โดยยึดหลัก ๘ ประการ คือ
สัมภาษณ สมาชิกตองรวมกันใชทักษะการฟง
๑. เปลี่ยนแปลงความคิดของคนในชุมชนจากการรอคอยความช่วยเหลือ ให้หันมาพึ่งพา
การดู และการสนทนาเพื่อรับรู บันทึกขอมูล
ตนเอง
นํามาจัดหมวดหมู คัดกรอง รวบรวม เลือกใช
๒. เลิกพึ่งพาปัจจัยภายนอก โดยการปลูกพืชผักกินเองในครัวเรือน ท�าเกษตรอินทรีย์
ขอมูลที่เปนประโยชน สอดคลองกับโครงเรื่อง
๓. ให้คนในชุมชนได้ท�าในสิ่งที่ตนเองถนัดและชื่นชอบ
นํามาเรียบเรียงแลวนําเสนอเปนรูปเลม
๔. ให้คนในชุมชนเคารพ ไว้ใจซึ่งกันและกัน
รายงาน หรือนําเสนอหนาชั้นเรียน)
๕. มีการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน
• นักเรียนมีแนวทางสําหรับการพูดรายงาน
๖. อย่าคิดถึงปัญหาก่อนลงมือท�า ให้ลงมือท�าถ้ามีปัญหาจึงค่อยๆ แก้ไข
การศึกษาคนควาอยางไร
๗. ร่วมแสดงความคิดเห็นภายในชุมชน ทุกคนมีสิทธิแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ
(แนวตอบ ตองมีความรู ความเขาใจในเรื่องที่
ที่เกี่ยวข้องกับชุมชน
จะพูด ใชภาษาในระดับทางการหรือกึง่ ทางการ
๘. ร่วมคิด ร่วมท�า มีผลประโยชน์ร่วมกัน
เขาใจงาย ถูกหลักไวยากรณ ใชอุปกรณ
หรือทาทางประกอบการพูดไดเหมาะสม
ขณะพูดควรพูดดวยหนาตาที่ยิ้มแยม 102
ใชนํ้าเสียงใหนาฟง ออกเสียง แบงวรรคตอน
ไดถูกตองและรักษาเวลา)
ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
นักเรียนคิดวารูปแบบของอักษร ¡ÒþѲ¹ÒªÕÇԵ͋ҧÂÑè§Â×¹
ครูควรชี้แนะแกนักเรียนวา หลังจากผูทํารายงานไดศึกษาหัวขอหรือประเด็นใด
ที่ปรากฏดานขวามือ มีความเหมาะสม
ประเด็นหนึ่งจนแลวเสร็จตามจุดประสงค ไดขอมูลครบถวนตามโครงเรื่องที่วางไวแลว ¡ÒþѲ¹ÒªÕÇԵ͋ҧÂÑè§Â×¹
ที่จะใชในการนําเสนอรายงานการศึกษา
จึงนําขอมูลมาเรียบเรียงนําเสนอเปนรูปเลมรายงาน โดยมีองคประกอบของรูปเลม ¡ÒþѲ¹ÒªÕÇԵ͋ҧÂÑè§Â×¹
คนควาผานโปรแกรม Microsoft Power
ถูกตองสมบูรณ นอกจากการนําเสนอเปนรูปเลม อาจนําเสนอดวยวิธีการพูด
Point ดวยวิธีการพูดหนาชั้นเรียนหรือไม ¡ÒþѲ¹ÒªÕÇԵ͋ҧÂÑè§Â×¹
ซึ่งรายละเอียดที่นํามาพูดจะเปนสาระสําคัญของรายงานทั้งหมด โดยอาจใชวิธีการพูด
เพราะเหตุใด
ปากเปลาจากตนราง ใชแผนใส โสตทัศนูปกรณประกอบ
ปจจุบันมีโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ชวยทําใหการนําเสนอรายงานการศึกษาคนควา แนวตอบ ไมเหมาะสม เพราะการนําเสนอรายงานการศึกษาคนควาทาง
ดวยวิธีการพูดมีความนาสนใจ เชน โปรแกรม Microsoft PowerPoint ซึ่งการใช วิชาการ ไมควรใชรูปแบบตัวอักษรที่มีลักษณะการเลนเสน เลนหางของ
โปรแกรมคอมพิวเตอรขางตนเพื่อนําเสนอรายงาน ผูพูดควรคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ รูปแบบ ตัวอักษรมากเกินไป หรือใชแบบอักษรที่ไมมีหัว ตัวกลมมน หรือตัวอักษร
พื้นหลัง การจัดวางขอความ รูปแบบ ขนาด สีของอักษร ภาพประกอบ การใชภาพ ที่มีลักษณะคลายกับลายมือ เพราะทําใหผูรับสารอานยาก
เคลื่อนไหว การใชเสียงประกอบการเปลี่ยนแปลงภาพเลื่อน และเพื่อใหการเรียน
การสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ครูควรหาตัวอยางทั้งที่เหมาะสมและไมเหมาะสม
มาประกอบคําอธิบาย เพื่อฝกทักษะการสังเกต และทักษะการเปรียบเทียบของนักเรียน

102 คู่มือครู
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
1. นักเรียนจับกลุมกับเพื่อนตามความสมัครใจ
จากความร่วมมือ ร่วมใจ ณ วันนี้ท�าให้คุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบ้านจ�ารุงดีขึ้นจากเดิม กลุมละไมเกิน 4 คน รวมกันปรึกษาเพื่อลงมติ
ชุมชนมีความสงบเรียบร้อย วิถีชีวิตดั้งเดิมเริ่มกลับคืนมา พึ่งพาเทคโนโลยีน้อยลง หันมาคิด พูด เลือกหัวขอหรือประเด็นสําหรับการทํารายงาน
ท�า และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน การศึกษาคนควา ดําเนินการตามขั้นตอน
จากผลการศึกษาค้นคว้าสามารถสรุปได้ว่า ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเปรียบเสมือนองค์กรกลาง ที่ถูกตองของการทํารายงานการศึกษาคนควา
ที่ท�าให้คนในชุมชนรวมตัวกันได้ มีสิ่งยึดเหนี่ยวและเป้าหมายเดียวกัน คือ “เพื่อชุมชน” จาก โดยใชทักษะการฟง การดู และการสนทนา
ผลประโยชน์ทคี่ นในชุมชนบ้านจ�ารุงได้รบั นัน้ เป็นข้อสนับสนุนอย่างดีวา่ ศูนย์การเรียนรูข้ องชุมชน สืบคนขอมูล จากนั้นใหเรียบเรียงขอมูล
เปรียบเสมือนปฐมบทหรือบทเริ่มต้นแห่งการพัฒนา เพราะถ้าชุมชนเข้มแข็ง มีการพัฒนาที่ยั่งยืน เปนรูปเลมรายงานใหมีองคประกอบที่ถูกตอง
และพึ่งพาตนเองได้ ก็จะส่งผลให้ประเทศชาติพัฒนาไปด้วย สมบูรณ รวมถึงซักซอมเพื่อนําเสนอ
กลุ่มของข้าพเจ้าคิดว่า ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนมีประโยชน์ต่อทุกชุมชน หากน� าไปปฏิบัติ หนาชั้นเรียน
โดยปรับใช้ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมก็จะท�าให้สามารถพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งการศึกษา 2. นักเรียนรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมิน
ค้นคว้าของกลุ่มข้าพเจ้าเป็นเพียงการน�าเสนอผลการศึกษาจากชุมชนเล็กๆ เพียงแห่งเดียว ซึ่ง การพูดนําเสนอรายงานการศึกษาคนควา
ผู้สนใจยังสามารถน�าแนวทางการศึกษาพัฒนาไปต่อยอดองค์ความรู้ เพื่อเป็นการเผยแพร่ให้เห็น ของตนเอง รวมถึงเพื่อนๆ ในชั้นเรียน และใช
ถึงประโยชน์ของศูนย์การเรียนรู้ชุมชนต่อไป เปนแนวทางปรับปรุง แกไขในครั้งตอไป
(แนวตอบ เกณฑควรครอบคลุม ดังตอไปนี้
การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าที่ดี ผู้พูดจะต้องปฏิบัติตามหลักการพูดรายงานการศึกษา • ใหเกียรติผูฟงดวยการใชคําขึ้นตน
ค้นคว้าและพูดตามขัน้ ตอน โดยการชีแ้ จงอธิบายรายละเอียดต่างๆ ของเรือ่ งให้ครบถ้วน เพือ่ ให้การพูด และลงทายการพูดไดเหมาะสม
รายงานการศึกษาค้นคว้ามีประสิทธิภาพ ผู้ฟังได้รับความรู้ครบถ้วน และสามารถน�าความรู้ไปใช้เพื่อ • นําเขาสูหัวขอหรือประเด็นที่จะนําเสนอ
พัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ ไดนาสนใจ กระตุนความรูสึกของผูฟง
• นําเสนอเนื้อหาเปนลําดับขั้นตอน ไมสับสน
การพูดเป็นทักษะการส่งสารที่ใช้มากในชีวิตประจÓวันและทุกคนจÓเป็นต้องใช้ วกวน โดยประยุกตใชโปรแกรมคอมพิวเตอร
เช่น ใช้การพูดเพือ่ ให้ตนเองเป็นทีร่ จู้ กั เป็นทีย่ อมรับของผูอ้ น
่ื ทÓให้ประสบความสÓเร็จ หรือโสตทัศนูปกรณอื่นๆ เพื่อนําเสนอเนื้อหา
ในหน้าทีก่ ารงาน หรือใช้การพูดเพือ่ ส่วนรวม เช่น พูดเพือ่ ให้บคุ คลในสังคมเกิดความรู้ ไดนาสนใจและมีความเหมาะสม
ความเข้าใจ ความร่วมมือทÓกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่สังคม การพูดจึงมี • ใชภาษาทางการหรือกึ่งทางการ ในการ
ความสÓคัญต่อทุกคน การพูดที่ดีทÓให้ผู้พูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกได้ตาม สื่อความที่ชัดเจน เขาใจงาย ถูกตองตาม
จุดมุ่งหมายถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะ ได้รับการยอมรับนับถือจากผู้อ่ืน ส่งผล หลักไวยากรณ การออกเสียง เวนวรรค
ให้การดÓเนินชีวติ ประจÓวันในด้านอืน ่ ๆ ราบรืน ่ และประสบความสÓเร็จ หรือชวงจังหวะการพูดมีความเหมาะสม
• ใชนํ้าเสียง กิริยาทาทางประกอบการพูด
ไดเหมาะสมและมีมารยาท
• มีความเปน team work)

103

บูรณาการเชื่อมสาระ
การพูดรายงานการศึกษาคนควาสามารถบูรณาการไดกับเรื่องการนํา เกร็ดแนะครู
สารสนเทศไปใชงาน ในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
เพื่อใหนักเรียนมีความรูเพียงพอสําหรับฝกปฏิบัติ ครูควรชี้แนะวา การพูด
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยใหนักเรียนศึกษาในประเด็น
รายงานการศึกษาคนควาตองอาศัยการเตรียมบทพูดที่ดีและเตรียมสื่อ เพื่อชวย
ตอไปนี้
ในการนําเสนอ โดยมีขั้นตอน ดังนี้
• การนําสารสนเทศไปใชงาน สามารถนําไปใชในรูปแบบใดไดบาง
1. การกําหนดโครงราง จะชวยทําใหผูพูดเลือกนําเสนอขอมูลที่จําเปน
• สารสนเทศแตละรูปแบบมีขอดี ขอจํากัดอยางไร
ครอบคลุมประเด็น ในแตละหัวขอมีการลําดับความคิดที่สัมพันธกัน
• นักเรียนมีแนวทางการนําสารสนเทศมาใชประกอบการนําเสนอรายงาน
2. การเพิ่มรายละเอียด คือ การเพิ่มเนื้อหา ตัวอยาง การวิเคราะหสวนประกอบ
การศึกษาคนควาอยางไร
อื่นๆ ที่จะชวยเสริมเนื้อหาใหมีความชัดเจนขึ้น เชน กราฟ ตาราง สถิติ
นําเสนอความรูท ไี่ ดจากการสืบคนลงสมุด สงครู ผลทีไ่ ดรบั จากการปฏิบตั ิ
เปนตน
กิจกรรมบูรณาการจะทําใหนกั เรียนมองเห็นแนวทางสําหรับการนําเสนอขอมูล
3. การปรับแตงงานนําเสนอ ใหมีความชัดเจน เขาใจงาย
ความรูทางวิชาการที่ไดจากการศึกษาคนควาอยางเปนกระบวนการในรูปแบบ
4. การทดลองนําเสนอ หากพบขอบกพรอง ควรแกไขกอนการนําเสนอจริง
สารสนเทศ นําไปปรับใชกับการฝกปฏิบัติดวยตนเอง
5. การเตรียมเอกสารประกอบการนําเสนอ เปนคูมือประกอบการฟง
ซึ่งจะชวยใหผูฟงติดตามเนื้อหาและเขาใจในสิ่งที่ผูพูดอธิบายไดสะดวกขึ้น

คู่มือครู 103
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engaae Expore Explain Elaborate
ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนนําเสนอการพูดตามสถานการณและ
โอกาสที่เลือกจากความสนใจและความสามารถ
ของตนเอง คนละไมเกิน 3 นาที
2. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอการพูดรายงาน
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
การศึกษาคนควาเรื่องหรือประเด็นที่เลือกศึกษา
๑. การพูดอวยพรในโอกาสต่างๆ จ�าเป็นต้องค�านึงถึงสิ่งใดบ้าง จงอธิบายโดยยกตัวอย่างประกอบ
จากการฟง การดู และการสนทนา
๒. การพูดโน้มน้าวใจให้สัมฤทธิผล จะต้องมีหลักในการพูดอย่างไร จงอธิบายโดยยกเหตุผลประกอบ
3. ครูตรวจสอบการพูด และรางบทพูดตาม ๓. นักเรียนคิดว่าอาชีพใดที่ต้องใช้ศิลปะการพูดโน้มน้าวใจมากที่สุด เพราะเหตุใด
สถานการณและโอกาสทีน่ กั เรียนเลือก ๔. การพูดรายงานมีความจ�าเป็นต่อการศึกษาของนักเรียนอย่างไร
โดยเขียนขอเสนอแนะ หรือขอควรปรับปรุง ๕. การพูดโฆษณาสินค้าและบริการมีหลักการอย่างไร จงอธิบาย
ลงในรางบทพูดกอนสงคืนแกนักเรียน
พิจารณาใหสอดคลองกับหลักเกณฑที่นักเรียน
รวมกันกําหนดภายใตคําแนะนําของครู
4. ครูตรวจสอบการพูดรายงานการศึกษาคนควา
หนาชั้นเรียนของนักเรียนแตละกลุม พิจารณา
ใหสอดคลองกับหลักเกณฑที่นักเรียนรวมกัน
กําหนดภายใตคําแนะนําของครู นอกจากนี้
ครูควรมุงพิจารณาไปที่การประยุกตใช
โปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อการนําเสนอ กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้
อาจมอบหมายใหนักเรียนแตละกลุมทําไฟลงาน
นําเสนอสงพรอมรูปเลมรายงาน กิจกรรมที่ ๑ ใ ห้นักเรียนฝึกกล่าวอวยพร โดยเลือกสถานการณ์มาคนละ ๑ สถานการณ์
5. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู เช่น อวยพรวันคล้ายวันเกิดเพื่อน อวยพรวันปีใหม่แด่ญาติผู้ใหญ่ที่เคารพ
นับถือ อวยพรในโอกาสที่เพื่อนได้รับทุนไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ เป็นต้น
แล้วพูดหน้าชั้นเรียนให้ครูและเพื่อนๆ ในชั้นช่วยกันเสนอแนะ
หลักฐานแสดงผลการเรียนรู กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนฝึกพูดโน้มน้าวใจ โดยสมมติสถานการณ์ขึ้นเองตามความสนใจ
เช่น พูดเชิญชวนให้เพื่อนๆ ช่วยกันรักษาความสะอาดของห้องเรียน
1. รางบทพูดตามสถานการณและโอกาสที่เลือก เป็นต้น แล้วพูดหน้าชั้นเรียนให้เพื่อนๆ ร่วมฟังและประเมินผลให้คะแนน
จากความสนใจและความสามารถของตนเอง กิจกรรมที่ ๓ ให้นักเรียนเลือกข้อความที่มีลักษณะชวนเชื่อ หรือใช้ภาษาโน้มน้าวใจ
ความยาวไมเกิน 3 นาที โดยเขียนหรือพิมพ ที่น่าสนใจ แล้วประเมินความน่าเชื่อถือของข้อความนั้นๆ เขียนส่ง
ใหถูกตองเรียบรอย ครูผู้สอน หรือพูดแสดงความคิดเห็นร่วมกันในชั้นเรียน
2. ไฟลงานนําเสนอหนาชั้นเรียน และรูปเลม
รายงานการศึกษาคนควาเรื่องหรือประเด็น
ที่เลือกศึกษาจากการฟง การดู และการสนทนา
104

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. การพูดอวยพร คือ การพูดเพื่อแสดงความรูสึก สงผานความปรารถนาดีของผูพูดในโอกาสที่เปนมงคลของผูฟง หรือผูรับคําอวยพร การพูดอวยพรที่ดีผูพูดตองคํานึงถึง
บุคคล โอกาส และกาลเทศะ ควรแสดงความสุภาพออนนอม ใหเกียรติผูฟง ใชถอยคําที่ไพเราะในการสื่อความหมาย ชวนฟง ขณะพูดควรแสดงความจริงใจผานทาง
สีหนา แววตา และทาทางที่เปนมิตร
2. การพูดโนมนาวใจ คือ การพูดที่มีวัตถุประสงคเฉพาะ ตองการใหผูฟงเห็นดวย และปฏิบัติตามวัตถุประสงคที่ผูพูดกําหนดไว ดังนั้นการพูดโนมนาวใจใหสัมฤทธิผลจึงอยู
ที่การวิเคราะหความตองการของผูฟง และการใชถอยคําเพื่อกระตุนอารมณ ความรูสึกของผูฟงใหเกิดความรูสึกคลอยตาม เชน การใชถอยคําวา “พี่นองชาวเกษตรกร
ที่เคารพ ความเหนื่อยยาก ความลําบากของเรามีใครเห็นบางหรือไม วันนี้ถึงเวลาแลวที่พวกเราจะเรียกรองสิทธิ์ที่ควรมี ควรได” ซึ่งขอความขางตนอาจใชในสถานการณ
การพูดโนมนาวใจเพื่อใหเกษตรกรรวมมือกันเรียกรองสิทธิประโยชนของตนเอง
3. อาชีพที่จะตองใชศิลปะการพูดโนมนาวใจ เชน นักการเมือง พนักงานขาย เพราะบุคคลเหลานี้จะตองใชถอยคําเพื่อทําใหผูฟงเกิดความคิดเห็นที่สอดคลอง
และยอมปฏิบัติตามวัตถุประสงคของผูพูด
4. การพูดรายงานการศึกษาคนความีความจําเปนตอการเรียนการสอนในโรงเรียน เพราะการทํารายงานการศึกษาคนควา จะทําใหนักเรียนเรียนรูการทํางานอยาง
เปนระบบ ตามขั้นตอน เรียนรูการทํางานรวมกับผูอื่น ในขณะที่การพูดรายงานการศึกษาคนควาจะชวยฝกทักษะการพูดใหแกนักเรียน ทําใหกลาแสดงออก เปนตน
5. การพูดโฆษณาสินคาและบริการควรเริ่มจากการสรางความประทับใจแกผูฟง แลวจึงนําเสนอสินคาหรือบริการ โดยอาจมีการสาธิตวิธีการใชประกอบดวย รวมถึงตอง
ตอบคําถามดวยความมั่นใจ ใชภาษาใหเหมาะสมกับกาลเทศะ กะทัดรัด ชัดเจน

104 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage

ตอนที่ ô หลักกำรใช้ภำษำ 1. ครูชวนนักเรียนสนทนาในประเด็นความสําคัญ


ของการมีความรู ความเขาใจ เกีย่ วกับหลักการ
ใชภาษาไทย จากนั้นรวมกันอานออกเสียง
ทํานองเสนาะบทรอยกรองที่ปรากฏหนาตอน
ในหนังสือเรียนภาษาไทย หนา 105 พรอมสรุป
สาระสําคัญ
2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนอานออกเสียงขอความ
ที่กําหนดใหตอไปนี้
“ภาษาไทย” ไมวาจะเปนภาษาที่ใชในชีวิต
ประจําวัน หรือภาษาที่ใชในงานวรรณกรรม
ลวนมีความไพเราะ นาอาน นาฟงยิ่ง
เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต
ทีจ่ ะทําใหคาํ มีเสียงและทํานองทีเ่ ปลีย่ นแปรไป
มีการใช ถอยคําคลองจอง มีสัมผัส ฟงเหมือน
เสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใชอันแสดง
ใหเห็นถึงปฏิภาณไหวพริบตางๆ กัน เชน
เปนภาษิตสอนใจเพื่อเตือนสติ เปนปริศนา
คําทายเพื่อใหขบคิด เปนภาษากวีที่มีความ
งดงาม ไพเราะ ทําใหเห็นภาพ และเกิดความ
ซาบซึ้งประทับใจ เมื่อไดอานหรือฟง และเรา
ยังมีการใชภาษาที่แสดงลําดับชั้นของบุคคล
ที่แสดงกาลเทศะและความออนนอมถอมตน
อีกดวย
จากนั้นตั้งคําถามกับนักเรียนวา
• หากจะวิเคราะหเพื่อคนหาเอกลักษณของ
ภาษาไทย จากขอความดังกลาว สามารถ
เอกลักษณภาษาไทยพิไลลักษณ ไทยพิทักษภาษาสงาสม
กระทําไดหรือไม หากกระทําไดเอกลักษณ
ใชอักษรแทนเสียงไดไมตรอมตรม ชนนิยมเรียนรูบูชาคุณ
มีสระ พยัญชนะ วรรณยุกต ไทยทํานุกสืบสมัยไดเกื้อหนุน
ที่ปรากฏนั้นไดแกอะไรบาง
ถายทอดเสียงหลายภาษาคาอดุล นับเปนทุนทางภาษานาอัศจรรย (แนวตอบ ขอความดังกลาวแสดงใหเห็น
เอกลักษณของภาษาไทย เชน ภาษาไทย
(ภำษำไทยเรำนี้มีเอกลักษณ์: ฐะปะนีย์ นำครทรรพ)
มีลักษณะเปนเสียงดนตรี เนื่องดวยมีรูป
วรรณยุกตกํากับ ทําใหคําๆ หนึ่ง มีหลาย
ความหมายและนําไปใชในบริบททีแ่ ตกตางกัน
ภาษาไทยมีระดับการใชใหเหมาะสมกับ
บุคคล กาลเทศะ เปนตน)
เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในตอนที่ 4 หลักการใชภาษา เปาหมายสําคัญคือ นักเรียน
มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับหลักภาษาไทย โดยในระดับชั้นนี้ควรเรียนรูเกี่ยวกับ
วิธีการสรางคํา วิธีการสังเกตคําที่ยืมมาจากภาษาตางประเทศ การวิเคราะห
โครงสรางของประโยค คําราชาศัพท และการแตงบทรอยกรองประเภทกลอน
โดยอธิบายลักษณะสําคัญ ขอสังเกต และสามารถนําไปใชสื่อสารในชีวิตประจําวันได
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรออกแบบการเรียนการสอน โดยใหนักเรียน
รวมกันสืบคนองคความรูดวยตนเอง นําความรู ความเขาใจ ที่ไดรับมาแลกเปลี่ยน
เรียนรูซึ่งกันและกัน มีครูเปนผูกําหนดขอคําถาม หากพบวาความรู ความเขาใจ
ของนักเรียนยังไมเพียงพอ ดวยวิธีการสังเกตจากคําตอบ ควรใหคําชี้แนะที่ถูกตอง
เพิ่มเติม
การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยทําใหนักเรียนทราบที่มา ที่ไปของภาษา
ที่ตนเองใชสื่อสารในชีวิตประจําวัน ตระหนัก เห็นคุณคา และรวมกันอนุรักษใหคงอยู
ตอไปดวยการใชภาษาไทยใหถูกตอง

คู่มือครู 105
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. สามารถอธิบายลักษณะสําคัญของคําใน
ภาษาไทยที่เกิดจากการสรางดวยวิธีการตางๆ
ไดแก การประสมคํา การซอนคํา การซํ้าคํา
และการสมาสคํา
2. สามารถระบุไดวาคําที่กําหนดใหหรือสืบคน
ดวยตนเองสรางขึ้นดวยวิธีการใด
3. สามารถอธิบายสาเหตุการยืมคํา ลักษณะสําคัญ
ของคํายืมแตละภาษา เพือ่ ระบุวา คําทีก่ าํ หนดให
หรือสืบคนดวยตนเอง เปนคําที่ยืมมาจาก
ภาษาใด รวมถึงอธิบายความหมายของคํายืม
นั้นๆ ได
4. สามารถวิเคราะหโครงสรางของประโยค
ที่กําหนดใหหรือสืบคนดวยตนเองเพื่อระบุวา
เปนประโยคชนิดใด

สมรรถนะของผูเรียน

ñ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
หน่วยที่
คุณลักษณะอันพึงประสงค กำรสร้ำงค�ำและประโยค
1. ใฝเรียนรู
2. มุงมั่นในการทํางาน
ตัวชี้วัด คํา ที่มีใชในภาษาไทย มีทั้งคํา
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ๒, ๕ ทีเ่ ปนคําไทยแทและคําทีย่ มื มาจากภาษา
■ สรางคําในภาษาไทย ต า งประเทศ ซึ่ ง นํ า มาใช ใ นภาษาไทย
■ วิเคราะหโครงสรางประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซอน เพือ่ ประโยชนในการสือ่ สาร การถายทอด
■ รวบรวมและอธิบายความหมายของคําภาษาตางประเทศที่ใช
ในภาษาไทย วัฒ นธรรม และการศึกษาหาความรู โดย
กระตุน้ ความสนใจ Engage การจําแนกคําไทย รวมถึงคําที่ยืมมาจาก
สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง ภาษาตางประเทศได ชวยใหเกิดความเขาใจ
ครูนําเขาสูหนวยการเรียนรู โดยใหนักเรียน ■ การสรางคําสมาส ในเรื่ อ งอิ ท ธิ พ ลของภาษาต า งประเทศที่ มี
ลักษณะของประโยคในภาษาไทย ประโยคสามัญ ประโยครวม ตอภาษาไทยและยังเปนประโยชนตอ  การศึกษา
รวมกันสนทนาเกี่ยวกับวิธีการสรางคําในภาษาไทย ■

ประโยคซอน
ที่ตนเองเคยทราบ ■ คําที่มาจากภาษาตางประเทศ วรรณคดี แ ละวรรณกรรมให เ ข า ถึ ง อรรถรส
ไดชดั เจน ลึกซึง้
(แนวตอบ คําตอบเกิดขึน้ จากพืน้ ฐานหรือรองรอย
ความรูเดิมของนักเรียน เชน การประสมคํา 106
การซอนคํา การซํ้าคํา การยืมคํา การสมาส
เปนตน)

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู การสรางคําและประโยค เปาหมายสําคัญ
ประการแรกนักเรียนมีความรู ความเขาใจในลักษณะสําคัญของการสรางคํา ระบุไดวา
คํานั้นๆ เกิดจากการสรางดวยวิธีการใด มีความรู ความเขาใจในลักษณะสําคัญของ
คํายืมจากภาษาตางๆ รวบรวมและระบุความหมายของคําได ประการที่สองมีความรู
ความเขาใจในลักษณะสําคัญของประโยค วิเคราะหไดวารูปประโยคนั้นๆ เปนประโยค
ชนิดใดโดยพิจารณาจากโครงสรางเปนสําคัญ
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรออกแบบการเรียนการสอนโดยใหนักเรียน
สืบคนองคความรูดวยตนเอง แลวรวมกันอธิบายความรู ความเขาใจ ผานขอคําถาม
ของครู
การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยฝกทักษะที่จําเปนตอการเรียนรูของนักเรียน
ไดแก ทักษะการวิเคราะห ทักษะการรวบรวมขอมูล และทักษะการสังเคราะห

106 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา
Engage Explore อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน ดวยวิธีการ
๑ ¡ÒÃÊÌҧ¤Ó ตั้งคําถาม
• จากคํานิยาม “การสรางคํา (word
คํา หมายถึง หนวยเสียงตางๆ ในภาษาที่มาประกอบกันเปนกลุมเสียงและเปนหนวยเสียง
ที่มีความหมาย ในภาษาไทยมีการนําคําตางๆ มาสรางเปนคําใหมเพื่อใหมีคําใชในภาษามากขึ้น
formation) เปนกระบวนการเพิ่มคําใหม
ซึ่งการสรางคําตามหลักเกณฑทางภาษา มี ๔ ประเภท คือ คําประสม คําซํ้า คําซอน และคําสมาส ใหแกภาษา โดยนําคําหรือหนวยคําที่มีใชอยู
โดยแตละประเภทสรางขึ้นจากคํามูล ในภาษามารวมกัน” นักเรียนคิดวาการ
สรางคําในภาษาไทย มีสาเหตุจากอะไร
๑.๑ คํามูล (แนวตอบ การสรางคํา เปนการเพิ่มคําใหม
คํามูล หมายถึง คําที่มีความหมายสมบูรณในตัวเอง ไมสามารถแยกศัพทยอยออกได ซึ่งอาจ ใหแกภาษา ซึ่งสาเหตุของการสรางคํา
เปนคําไทยแท คําที่ยืมมาจากภาษาอื่น ทําหนาที่ในประโยคไดหลายหนาที่ เชน ประธาน กริยา กรรม มีหลายประการ เชน ความเจริญกาวหนา
สวนขยาย คํามูลที่พบในภาษาไทยอาจมีพยางคเดียวหรือหลายพยางค ดังนี้ ทางเทคโนโลยี การติดตอสื่อสารกับกลุมคน
จํานวนพยางค ตางวัฒนธรรม ทําใหคําที่มีใชอยูเดิมใน
คํามูลพยางคเดียว ชาง มา วัว ผม ฉัน เขา กิน นอน เย็น ลาง และ โธ ภาษา มีไมเพียงพอสําหรับการสื่อสารใหตรง
คํามูลสองพยางค ตะไคร กระทะ ดิฉัน กระหมอม สะดุด ชะลูด ระหวาง ปดโธ จุดประสงค จึงมีการสรางคําใหมขึ้นใชใน
ภาษา ดวยวิธีการนําคําที่มีใชอยูเดิมมา
คํามูลสามพยางค กะลาสี นาฬกา จระเข จาละหวั่น บริสุทธิ์
รวมกันใหเกิดเปนคําใหมที่มีความหมายใหม
คํามูลสี่พยางค โกโรโกโส ตะลีตะลาน คะยั้นคะยอ หรืออาจใชวิธีการยืมคําจากภาษาตาง
คํามูลหาพยางค สํามะเลเทเมา ประเทศเขามาใช)
การสังเกตวาคําใดเปนคํามูลใหใชการเปรียบเทียบ เชน ปลาหมอ สามารถแยกศัพทได คือ
ปลา + หมอ มีความหมายในตัวเองชัดเจนทัง้ สองคํา คํานีจ้ งึ ไมใชคาํ มูล จระเข ไมสามารถแยกศัพทเปน ส�ารวจค้นหา Explore
จอ + ระ + เข ดังนั้น คํานี้จึงเปนคํามูล
นักเรียนจับกลุม 4 กลุม ตามความสมัครใจ
๑.๒ คําประสม ครูทําสลากเขียนหมายเลข 1-4 พรอมระบุขอความ
คําประสม หมายถึง คําที่สรางจากคํามูลที่มีความหมายตางกัน มารวมกันเปนคําเดียว ซึ่งอาจ ในแตละหมายเลข จากนั้นใหแตละกลุมสงตัวแทน
ยังคงเคาความหมายเดิมหรือเปลี่ยนแปลงไปก็ได คําประสมมีหนาที่ เชน ออกมาจับสลากประเด็นสําหรับการสืบคนเพือ่ สราง
หนาที่ ชนิดของคําที่นํามาสราง องคความรูร ว มกัน เมือ่ ตัวแทนกลุม ออกมาจับสลาก
เปนคํานาม คําสรรพนาม นาม + นาม เชน รถราง นํ้าปลา หูชาง ลูกชาง ใหอานออกเสียงประเด็นที่ไดรับมอบหมาย ดังนี้
นาม + กริยา เชน หมูหัน หมอดู ไกชน แมพิมพ หมายเลข 1 คําประสม
เปนคํากริยา กริยา + นาม เชน นอนใจ กินแรง วางตัว ออกหนา หมายเลข 2 คําซํ้า
กริยา + วิเศษณ เชน ถือดี ไปดี หมายเลข 3 คําซอน
เปนคําวิเศษณ นาม + วิเศษณ เชน มือเย็น มือออน มือหนัก ใจเย็น หมายเลข 4 คําสมาส
นาม + นาม เชน ใจบาป ใจบุญ ใจเพชร ใจยักษ โดยสามารถสืบคนความรูไดจากแหลงขอมูล
๑๐๗
ตางๆ ที่เขาถึงได และมีความนาเชื่อถือ

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
คําประสมในขอใดประกอบขึ้นจากคําชนิดเดียวกันทุกคํา
ครูควรอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเกณฑที่ใชแยกคําประสมออกจากคําประเภทอื่นๆ
1. นํ้าปลา ไกชน นํ้าแข็ง
ในประโยค “คําประสมจะแทรกคําใดๆ ลงระหวางกลางคําไมได” โดยยกตัวอยาง
2. ตาขาว มดแดง ดอกฟา
ประกอบคําอธิบาย จากรูปประโยค “ลูกชางเดินตามแมชา ง” ใจความคือ ลูกของชาง
3. บัตรเติมเงิน แปรงสีฟน ใบขับขี่
เดินตามแมชาง ซึ่งสามารถแทรกคําวา “ของ” ลงระหวางคําวา “ลูก” กับ “ชาง” ได
4. ปากนกกระจอก รถไฟฟา เด็กหลอดแกว
ดังนั้น “ลูกชาง” ในรูปประโยคนี้จึงไมใชคําประสม แตถาอยูในรูปประโยค “เจาแม
วิเคราะหคําตอบ จากตัวเลือกที่กําหนดให ขอ 1. “นํ้าปลา” นาม+นาม โปรดชวยลูกชางดวย” “ลูกชาง” ในที่นี้เปนคําสรรพนามบุรุษที่ 1 ใชแทนตัวผูพูด
“ไกชน” นาม+กริยา “นํา้ แข็ง” นาม+วิเศษณ ขอ 2. “ตาขาว” นาม+วิเศษณ เมื่อพูดกับสิ่งศักดิ์ิสิทธิ์ที่เคารพนับถือ จึงไมสามารถแทรกคําวา “ของ” ลงระหวาง
“มดแดง” นาม+วิเศษณ “ดอกฟา” นาม+นาม ขอ 3. “บัตรเติมเงิน” นาม+ คําวา “ลูก” กับ “ชาง” ได ดังนั้น “ลูกชาง” ในประโยคนี้จึงเปนคําประสม
กริยา “แปรงสีฟน” นาม+กริยา “ใบขับขี่” นาม+กริยา สวนขอ 4. “ปากนก นอกจากนี้ควรอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับสวนประกอบของคําประสม โดยคําที่นํา
กระจอก” นาม+นาม “รถไฟฟา” นาม+นาม “เด็กหลอดแกว” นาม+นาม มาประกอบเปนคําประสม สวนใหญจะเปนคํานาม คํากริยา คําวิเศษณ หรือคําบุพบท
ดังนั้นจึงตอบขอ 4. เมื่อคํานั้นๆ มาประกอบกันแลวจะไดคําประสมที่เปนคํานาม คํากริยา หรือ
คําวิเศษณ

คู่มือครู 107
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่ 1 และ 2 สงตัวแทนออกมา
อธิบายความรูในประเด็นที่กลุมของตนเอง ค�ำประสมที่พบในภำษำไทย มีวิธีกำรสร้ำง ดังนี้
ไดรบั มอบหมาย พรอมระบุแหลงทีม่ าของขอมูล ๑) สร้างจากค�าไทย ดังตัวอย่ำง
2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย นำม + นำม เช่น น�้ำปลำ แม่ยำย พ่อตำ
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับคําประสม นำม + กริยำ เช่น หมูหัน หมอดู ไก่ชน
โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟง นำม + วิเศษณ์ เช่น น�้ำหวำน ตำเขียว ใจด�ำ
บรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม ๒) สร้างขึ้นจากค�าไทยและภาษาต่างประเทศ ดังตัวอย่ำง
• คําประสมมีลักษณะสําคัญที่แตกตางจากคํา ค�ำไทย + ค�ำยืมภำษำเขมร เช่น ของโปรด จ่ำโขลน กฎหมำย
ที่สรางดวยวิธีการอื่นอยางไร ค�ำไทย + ค�ำยืมภำษำจีน เช่น กินโต๊ะ ของเก๊ ข้ำวต้มกุ๊ย
(แนวตอบ คําประสมเกิดจากการนําหนวยคํา ค�ำไทย + ค�ำยืมภำษำบำลี สันสกฤต เช่น นักประพันธ์ เข้ำฌำน น�้ำมนตร์
อิสระ ที่มีความหมายตางกัน อยางนอย ค�ำไทย + ค�ำยืมภำษำอังกฤษ เช่น น�้ำก๊อก เข้ำคิว เรียงเบอร์
2 หนวยมารวมกัน เกิดเปนคําใหมที่มี ๓) สร้างขึ้นจากค�าภาษาต่างประเทศทั้งหมด ดังตัวอย่ำง
ความหมายใหม หรืออาจยังคงเคา ค�ำยืมภำษำบำลี + ค�ำยืมภำษำบำลี เช่น ผลผลิต วัตถุโบรำณ ภำคภูมิ
ความหมายเดิม) ค�ำยืมภำษำบำลี + ค�ำยืมภำษำสันสกฤต เช่น ยำนอวกำศ สำรพิษ สังเกตกำรณ์
ค�ำยืมภำษำเขมร + ค�ำยืมภำษำบำลี เช่น ผจญภัย อวยพร เผด็จกำร
• หากตองแยกคําประสมออกจากคําประเภท
ค�ำยืมภำษำบำลี + ค�ำยืมภำษำอังกฤษ เช่น รถเมล์ รถบัส รถแท็กซี่
อื่นๆ กลุมคํา และประโยค นักเรียนจะมี
เกณฑสําหรับการคัดแยกหรือสังเกตอยางไร ๑.๓ ค�ำซ�ำ้
(แนวตอบ มีเกณฑ ดังตอไปนี้ ค�ำซ�้ำ หมำยถึง ค�ำชนิดหนึ่งที่สร้ำงโดยกำรน�ำค�ำเดิมค�ำเดียวมำกล่ำวซ�้ำ โดยใช้ ไม้ยมก (ๆ)
• คําประสมเปนคําที่มีความหมายใหม แตยัง ก�ำกับ เช่น ดีๆ สูงๆ ต�่ำๆ แดงๆ เป็นต้น หรือกำรซ�้ำค�ำที่มำจำกกำรเล่นเสียงวรรณยุกต์ เช่น น้ำนนำน
คงเคาความหมายเดิม แก๊แก่ เป็นต้น
• คําประสมจะแทรกคําใดๆ ลงระหวางกลาง ๑) วิธีสร้างค�าซ�้า สำมำรถท�ำได้ ดังนี้
คําไมได ๑.๑) น�าค�าค�าเดียวมาซ�้ากัน เช่น พี่ๆ เรำๆ เร็วๆ นั่งๆ ไกลๆ รำวๆ กรี๊ดๆ เป็นต้น
• คําประสมเปนคําคําเดียว หนวยคําที่นํามา ๑.๒) น�าค�าที่มีความหมายใกล้เคียงกันมาซ้อนกันอีก เช่น สวยๆ งำมๆ เป็นต้น
ประกอบเปนคําประสมแลว จะไมสามารถ ๑.๓) ซ�า้ ค�าเดียวกัน ๒ ครัง้ โดยเน้นระดับเสียงวรรณยุกต์ทคี่ า� หน้า เช่น ว้ำนหวำน เป็นต้น
สลับที่ได ๒) ลักษณะความหมายของค�าซ�้า แบ่งออกได้ ดังนี้
• คําประสมจะออกเสียงตอเนื่องกัน ๒.๑) ความหมายเป็นพหูพจน์ มักเป็นค�ำนำมและสรรพนำม เช่น
โดยไมหยุดหรือเวนจังหวะระหวางหนวยคํา ■ เพื่อนๆ มำร่วมงำนวันเกิดของฉัน
ที่นํามาประกอบ ■ เด็กๆ ก�ำลังร้องไห้
• คําประสมบางคํา หนวยคําที่นํามาประสม ๒.๒) ความหมายเป็นเอกพจน์ แยกจ�ำนวนออกเป็นส่วนๆ มักเป็นค�ำลักษณนำม เช่น
จะไมมีความสัมพันธทางไวยากรณ ■ แม่หั่นมะเขือเทศเป็นแว่นๆ
ระหวางกัน เชน คําวา “กินนํ้า” ไมเปน ■ แม่สั่งให้น้องล้ำงถ้วยให้สะอำดเป็นใบๆ
คําประสมเพราะ “กิน” กับ “นํ้า” มีความ
สัมพันธทางไวยากรณแบบกริยา-กรรม 108
แต “กินใจ” เปนคําประสมเพราะไมมี
ความสัมพันธทางไวยากรณระหวางกัน)
กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
ตารางที่นักเรียนนําเสนอ ควรมีลักษณะ ดังนี้ นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสวนประกอบของคําประสม เชน เกิดจาก
กิจกรรมสรางเสริม คํานามกับคํานาม “วัวนม” “ลูกชาง” เกิดจากคํานามกับคํากริยา “มือถือ”
ชนิดของคําที่นํามาประกอบ “หมูหัน” จากนั้นนําคําประสมที่รวบรวมไดมานําเสนอในรูปแบบตาราง
ชนิดของคําประสม เพื่อแสดงสวนประกอบของคําบนปายนิเทศประจําชั้นเรียน
มยก
ต ม
ิ ช น ด
ิ ข องคํา พรอ

คําประสมที่เปนคํานาม ใหนักเรียน งคําลงในชองวาง
ตัวอยา
คําประสมที่เปนคํากริยา
กิจกรรมทาทาย
กิจกรรมทาทาย
ลักษณะความหมาย ตัวอยางคําประสม
นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะความหมายของคําประสมที่
ความหมายเปรียบเทียบ าง
ัวอยางคําลงในชองว ปรากฏใชในปจจุบนั โดยนําเสนอในรูปแบบตาราง พรอมเลือกคําจากตาราง
ความหมายเฉพาะ ยกต
ความหมายใกลเคียงกับคําเดิม
ใหนักเรียน ประเภทละ 2 คํา มาแตงประโยคเพื่อแสดงความหมายของคํา เมื่อนํามา
ใชสื่อสาร

108 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่ 2 สงตัวแทนออกมาอธิบาย
๒.๓) เน้นความหมายของค�าเดิม โดยมำกมักเป็นค�ำขยำย เช่น นั่งดีๆ พูดชัดๆ ความรูในประเด็นที่กลุมของตนเองไดรับ
๒.๔) บอกความหมายโดยประมาณทั้งเวลาและสถานที่ เช่น มอบหมาย พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล
ตอนเช้ำๆ อำกำศดี

จากนั้นใหนักเรียนยืนในลักษณะวงกลม
เขำชอบเดินเล่นตอนเย็นๆ

เพื่อรวมกันอธิบายความรูแบบโตตอบรอบวง
เกี่ยวกับคําซํ้า
บ้ำนของเขำอยู่แถวๆ ลำดพร้ำว
• คําซํ้ามีลักษณะสําคัญที่แตกตางจากคํา

เขำไม่สบำย เดือนหลังๆ นี้อำกำรทรุดหนักมำก



ที่สรางดวยวิธีการอื่นอยางไร
๒.๕) ลดความหมายของค�าเดิม เช่น (แนวตอบ คําซํ้าเปนวิธีการสรางคํา โดยนํา
น้องเพิ่งหำยจำกอำกำรไข้ยังเพลียๆ ไม่มีแรง
■ หนวยคํา 2 หนวย ซึ่งเหมือนกันทุกประการ
วันนี้สมศรีสวมเสื้อสีเทำๆ
■ ใชไมยมกกํากับ เพื่อใหออกเสียงซํ้า 2 ครั้ง
๒.๖) บอกความหมายเป็นส�านวน เช่น ซึ่งหนวยคําที่นํามาประกอบเปนคําซํ้า
เลขข้อนี้น่ะหรือของกล้วยๆ
■ หมำยควำมว่ำ ง่ำย เปนคําทั้ง 7 ชนิดในภาษาไทย)
2. ครูขออาสาสมัครนักเรียน เขียนประโยคตอไปนี้
เขำพูดภำษำอังกฤษได้แบบงูๆ ปลำๆ หมำยควำมว่ำ พูดได้นิดหน่อย
บนกระดาน “หลานๆ ของคุณยายเปนเด็กดี

๑.๔ ค�ำซ้อน ทุกคน” “หลังๆ มานี้ เขามาโรงเรียนสาย


ทุกวัน” “ผูหญิงคนนี้แตงตัวสวยสวย” จากนั้น
ค�ำซ้อน หมำยถึง ค�ำที่เกิดจำกกำรน�ำค�ำที่มีควำมหมำยเหมือนกัน คล้ำยกัน หรือมีควำมหมำย
ตั้งคําถามวา
ตรงข้ำมกันมำซ้อนหรือรวมกัน ซึ่งอำจเกิดควำมหมำยที่คล้ำยคลึงควำมหมำยของค�ำเดิม แต่จะท�ำให้ • จากประโยคที่กําหนด สามารถสังเกต
ควำมหมำยของค�ำชัดเจนขึ้น มี ๒ ประเภท ดังนี้ ลักษณะการออกเสียงคําซํ้าในภาษาไทย
ประเภทของค�ำซ้อน ไดหรือไม อยางไร
(แนวตอบ สามารถตั้งขอสังเกตเกี่ยวกับ
ค�ำซ้อนเพือ่ ควำมหมำย: เป็นกำรน�ำค�ำมูลทีค่ วำมหมำย เช่น จิตใจ ซื่อสัตย์ ขัดถู ใจคอ ถ้วยชำม ข้ำวปลำ
ใกล้เคียงกัน เหมือนกัน ตรงข้ำมกันมำซ้อนกัน ท�ำให้ หนักแน่น บำกบั่น ชั่วดี ผิดถูก บุญกรรม
ลักษณะการออกเสียงคําซํ้า ไดเปน 2 กรณี
เกิดควำมหมำยใหม่หรือเหมือนเดิม คือ คําซํ้าประเภทไมเปลี่ยนเสียง และคําซํ้า
ค�ำซ้อนเพื่อเสียง: เป็นกำรน�ำค�ำมูลที่ควำมหมำย เช่น เจิดจ้ำ ซำบซึ้ง บู้บี้ ห้องหับ ข้ำเก่ำเต่ำเลี้ยง
ประเภทเปลี่ยนเสียง ดังนี้
ใกล้เคียงกันมำซ้อนกันให้เกิดเสียงคล้องจอง โบกปัดพัดวี อกไหม้ไส้ขม ประเภท ประเภท
ค�ำซ้อนที่พบในภำษำไทย มีวิธีกำรสร้ำง ดังนี้ ประโยค ไมเปลี่ยน เปลี่ยน
๑) สร้างขึ้นจากค�าไทยซ้อนกับค�าไทย เช่น เสียง เสียง
ใหญ่โต อ้วนพี บ้ำนเรือน ปำกคอ หลานๆ ของคุณยาย

กู้ยืม บ้ำนเมือง ตัดสิน แก่เฒ่ำ เปนเด็กดีทุกคน
หลังๆ มานี้ เขามา

โรงเรียนสายทุกวัน
109
ผูหญิงคนนี้แตงตัว

สวยสวย

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ประโยคในขอใดปรากฎการสรางคําที่แตกตางจากขออื่น
ครูออกแบบกิจกรรมยอยภายในชั้นเรียน โดยใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง
1. สมพลเปนคนซุมซามมักเดินชนสิ่งของตางๆ อยูเปนประจํา
“คําซํ้า” ที่ประกอบขึ้นจากคําทั้ง 7 ชนิดในภาษาไทย พรอมแสดงความหมายของ
2. สมภพฟงเรื่องที่สมเกียรติเลาแลวหัวเราะจนนํ้าหูนํ้าตาไหล
คํานั้นๆ ในรูปประโยค เชน
3. สมชายมักถูกหัวหนางานตําหนิติเตียนเสมอเรื่องเวลาเขางาน
4. สมสมรจัดขาวของที่กระจัดกระจายอยูเต็มพื้นหองใหเรียบรอย พี่ๆ เกิดจากการนําคํานามมาสรางเปนคําซํ้า (พี่ๆ ของฉันอยูที่กรุงเทพ)
หนูๆ เกิดจากการนําคําสรรพนามมาสรางเปนคําซํ้า (หนูๆ อยาสงเสียงดัง)
วิเคราะหคําตอบ จากตัวเลือกที่กําหนดให ขอ 2. “นํ้าหูนํ้าตา” เปนคําซอน
โขลงๆ เกิดจากการนําคําลักษณนามมาสรางเปนคําซํ้า (ชางเดินมาเปนโขลงๆ)
4 คํา โดยมีคําที่ 1 และ 3 ซํ้ากัน ขอ 3. “ตําหนิติเตียน” เปนคําซอน 4 คํา
เดินๆ เกิดจากการนําคํากริยามาสรางเปนคําซํ้า (ฉันเดินๆ อยู เขาก็เขามาทัก)
แยกเปน 2 คู โดยมีเสียงคลองจองระหวางพยางคที่ 2 กับ 3 ขอ 4. “กระจัด
คลายๆ เกิดจากการนําคําชวยกริยามาสรางเปนคําซํา้ (เขาหนาตาคลายๆ ดาราคนหนึง่ )
กระจาย” เปนคําซอน 4 คํา ซึ่งเกิดจากการนําคํายืมจากภาษาเขมรมา
ใกลๆ เกิดจากการนําคําบุพบทมาสรางเปนคําซํ้า (บานของฉันอยูใกลๆ กับวัด)
ซอนกัน สวนขอ 1. ไมปรากฏคําที่สรางดวยวิธีการซอนคํา คําวา “ซุมซาม”
สายๆ เกิดจากการนําคําวิเศษณมาสรางเปนคําซํา้ (ตอนสายๆ ฉันจะออกไปขางนอก)
เปนคําที่สรางโดยทําใหมีเสียงบางเสียงเหมือนกัน เขากัน หรือคูกัน
สิบๆ เกิดจากการนําคําบอกจํานวนมาสรางเปนคําซํ้า (เขามีรถเปนสิบๆ คัน)
ดังนั้นจึงตอบขอ 1.

คู่มือครู 109
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนอธิบายความรูแบบ
โตตอบรอบวงเกี่ยวกับคําซอน โดยใชความรู ๒) สร้างขึ้นจากค�าไทยซ้อนกับค�าภาษาต่างประเทศ เช่น
ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟงบรรยาย ค�ำไทย + ค�ำยืมภำษำบำลี เช่น ถิ่นฐำน ขอบเขต รำกฐำน
เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม ค�ำไทย + ค�ำยืมภำษำสันสกฤต เช่น ซื่อสัตย์ ลมปรำณ ซำกศพ
• คําซอนมีลักษณะสําคัญที่แตกตางจากคํา ค�ำไทย + ค�ำยืมภำษำเขมร เช่น แบบฉบับ เงียบสงัด เขียวขจี
ที่สรางดวยวิธีการอื่นอยางไร ค�ำไทย + ค�ำยืมภำษำจีน เช่น ชื่อแซ่ ต้มตุ๋น นั่งจ๋อ
(แนวตอบ คําซอนเกิดจากการนําหนวยคํา ค�ำไทย + ค�ำยืมภำษำอังกฤษ เช่น แบบแปลน แบบฟอร์ม แถมฟรี
ตั้งแต 2 หนวยขึ้นไป มาเรียงตอกัน เพื่อให ๓) สร้างขึ้นจากค�ายืมภาษาต่างประเทศ เช่น
เกิดเปนคําใหม โดยหนวยคําที่นํามาซอน ค�ำยืมภำษำบำลี + ค�ำยืมภำษำบำลี เช่น อำยุขัย เหตุกำรณ์ บุญบำรมี
อาจมีความสัมพันธกันในดานความหมาย ค�ำยืมภำษำบำลี + ค�ำยืมภำษำสันสกฤต เช่น เวรกรรม ญำติมิตร บำปกรรม
ทางใดทางหนึ่ง ดังนี้ ความหมายเหมือนกัน ค�ำยืมภำษำเขมร + ค�ำยืมภำษำเขมร เช่น สนุกสนำน เฉลิมฉลอง อำจหำญ
คลายกัน หรือตรงขามกัน)
2. ครูขออาสาสมัครเขียนคําตอไปนี้บนกระดาน บอกเล่าเก้าสิบ
“กูยืม บานเมือง พัดวี ขาทาส เขียวขจี
แถมฟรี พักเบรก ยักษมาร” คำ�ซ้อนเพื่อเสียง
• คําที่กําหนดให เปนคําซอนทุกคําหรือไม คำ�ซ้อนเพือ่ เสียงนี ้ นักวิช�ก�รบ�งท่�นใช้เรียกเฉพ�ะคำ�ซ้อนทีม่ คี �ำ เดิม (ถือเป็นคำ�ตัง้ หรือคำ�หลัก)
เพราะเหตุใด แล้วมีก�รซ้อนเสียง คือ พย�งค์ที่ไม่มีคว�มหม�ยซึ่งไม่มีฐ�นะเป็นคำ�เข้�ไป เช่น ม�กม�ย (ม�ย ไม่มี
(แนวตอบ คําที่กําหนดใหทั้งหมดขางตน คว�มหม�ย) อ่อนแอ (แอ ไม่มีคว�มหม�ย) พร้อมเพรียง (เพรียง ในพจน�นุกรมมีคว�มหม�ยว่� พร้อม
เปนคําซอน เนื่องดวยหนวยคําที่นํามา แต่ไม่ปร�กฏก�รใช้) พรักพร้อม (พรัก ไม่มคี ว�มหม�ย) แต่ค�ำ ซ้อนเพือ่ เสียงประเภททีไ่ ม่มคี �ำ หลัก แปลคว�ม
ประกอบกันมีความสัมพันธกันในดาน ไม่ได้ทั้ง ๒ พย�งค์ หรือคว�มหม�ยไม่เกี่ยวข้องกัน เป็นแต่เพียงเสียงของพย�งค์ที่ไม่ซ้ำ�กับคำ� เรียกว่� คำ�คู่
ความหมายทางใดทางหนึ่ง) โดยถือว่�เป็นคำ�ทีส่ ร้�งโดยทำ�ให้มเี สียงบ�งเสียงใน ๒ พย�งค์นนั้ เหมือนกัน เข้�กัน หรือคูก่ นั ไม่ใช่เป็นก�รสร้�ง
• สามารถสังเกตที่มาของคําที่นํามาประกอบ โดยก�รซ้อน เช่น กุ๊กกิ๊ก ดุกดิก ดุบดิบ โอ้เอ้ ขลุกขลิก หย็องแหย็ง โมเม ตุ้บตั้บ ฟืดฟ�ด ซุ่มซ่�ม งอดแงด
เปนคําซอนขางตนไดหรือไม อยางไร งัวเงีย ดักด�น โงกเงก บึกบึน โลเล เป็นต้น
(แนวตอบ สามารถสังเกตได ดังนี้
คําซอน ที่มาของคําที่มาซอนกัน ๑.๕ ค�ำสมำส
กูยืม ไทยกลางซอนไทยกลาง ในภำษำไทยมีค�ำที่ยืมมำจำกภำษำอื่นใช้อยู่เป็นจ�ำนวนมำก โดยเฉพำะค�ำที่ยืมมำจำกภำษำ
บานเมือง บำลีและสันสกฤต ด้วยเหตุที่ไทยรับวัฒนธรรมทั้งจำกพระพุทธศำสนำและศำสนำพรำหมณ์ - ฮินดู
พัดวี ไทยกลางซอนไทยถิ่น จึงได้รับภำษำบำลีจำกพระพุทธศำสนำและภำษำสันสกฤตจำกศำสนำพรำหมณ์ - ฮินดู นอกจำกนี ้
ขาทาส ไทยกลางซอนบาลี สันสกฤต ยังรับวิธีกำรสร้ำงค�ำในภำษำบำลีสันสกฤต ซึ่งเรียกว่ำ สมาส มำใช้ด้วย กำรเรียนรู้เกี่ยวกับค�ำสมำส
เขียวขจี ไทยกลางซอนเขมร จึงต้องมีพื้นฐำนควำมรู้เกี่ยวกัับภำษำบำลีสันสกฤต
แถมฟรี ไทยกลางซอนภาษาอังกฤษ 110
พักเบรก
ยักษมาร บาลี สันสกฤตซอนกัน )
ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
คําซํ้าในประโยคใดแตกตางจากขออื่น
จากกิจกรรมที่ใหนักเรียนปฏิบัติในกระบวนการ E3 (Explain) อธิบายความรู
1. ในหองนี้มีกลิ่นคาวๆ
ครูควรตั้งคําถามเพิ่มเติมวา “จากตารางขางตน นักเรียนสามารถสรุปเกี่ยวกับที่มา
2. ดาราชองนี้มีแตอายุนอยๆ
ของคําซอนไดหรือไม อยางไร” ซึ่งคําตอบของนักเรียน ควรมีลักษณะ ดังนี้
3. วันนี้คุณๆ จะกินอะไรกันจะ
• คําไทยซอนกับคําไทย
4. แกงถุงนี้นาจะเสียเพราะนํ้ามีลักษณะเปนยางๆ
• คําไทยซอนกับคํายืมจากภาษาตางประเทศ
• คํายืมจากภาษาตางประเทศซอนกัน วิเคราะหคําตอบ จากตัวเลือกที่กําหนดให คําซํ้าในประโยค ขอ 1., 2.
นอกจากนี้ควรเพิ่มเติมความรูในหัวขอ “จํานวนคําของคําซอน” โดยอธิบายวา และ 4. เมื่อนําหนวยคํามาซํ้าแลว กอใหเกิดลักษณะความหมายในประเด็น
คําซอนคําหนึ่งๆ อาจมีจํานวนคําไดตั้งแต 2 คํา, 4 คํา หรือ 6 คํา มีตําแหนงของคํา เดียวกัน คือ มีความหมายในทํานองนั้น ลักษณะอยางนั้นหรือเปนอยางนั้น
ทีบ่ อกความหมายแตกตางกัน จากรูปประโยค “ผูร า ยคนนีใ้ จคอโหดเหีย้ มมาก” คําวา สวนขอ 3. เมื่อนําหนวยคํามาซํ้าแลว กอใหเกิดความหมายที่เปนพหูพจน
“ใจคอ” เปนคําซอน ซึ่งคําที่บอกความหมายของคําอยูในตําแหนงขางหนา คือ คําวา หมายถึง คนจํานวนมากกวาหนึ่ง ซึ่งมีความหมายแตกตางจากตัวเลือกอื่นๆ
“ใจ” สวนรูปประโยค “คนเจ็บผูนี้ พักรักษาตัวไมนานก็กลับบานได เพราะบาดแผล ดังนั้นจึงตอบขอ 3.
ไมลึกมาก” คําวา “บาดแผล” เปนคําซอน ซึ่งคําที่บอกความหมายของคําอยู
ในตําแหนงขางหลัง คือ คําวา “แผล”

110 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
ครูขออาสาสมัครนักเรียน เขียนคําตอไปนี้
ภำษำบำลีและสันสกฤตไม่ใช่ภำษำเดียวกัน แต่มักเรียกพร้อมกััน เพรำะเป็นภำษำตระกูล บนกระดาน อภิเษก ศัตรู ศิลปะ ราษฎร กีฬา
เดียวกัน แต่มีข้อแตกต่ำงเพื่อให้แยกแยะได้ ดังนี้ จริยา สตรี โอษฐ บุญ มัจฉา โมลี วิชชา จากนั้น
ภำษำบำลี ภำษำสันสกฤต ตั้งคําถามวา
ใช้สระ ๘ ตัว ได้แก่ อริยะ สำระ ฤๅษี ไมตรี ใช้สระเหมือนภำษำบำลี และ • คําที่กําหนดใหขางตน คําใดที่มาจากภาษา
อะ อำ อิ อี อุ อู เอ โอ โมลี อุตุ เมำลี ไพบูลย์ เพิ่ม ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอำ บาลีและคําใดที่มาจากภาษาสันสกฤต
ค�ำที่ใช้ ส เป็นค�ำในภำษำ สำสนำ สิริ ศำสนำ ศรี ค�ำที่ใช้ ศ ษ เป็นค�ำใน (แนวตอบ คําที่มาจากภาษาบาลี ไดแก กีฬา
บำลี สูญ สุกกะ ศูนย์ ศุกร์ ภำษำสันสกฤต จริยา บุญ มัจฉา โมลี วิชชา
ค�ำที่ใช้ ฬ เป็นค�ำในภำษำ จุฬำ กีฬำ จุฑำ กรีฑำ ค�ำที่ใช้ ฑ เป็นค�ำใน คําที่มาจากภาษาสันสกฤต ไดแก อภิเษก
บำลี บีฬ ครุฬ บีฑำ ครุฑ ภำษำสันสกฤต ศัตรู ศิลปะ ราษฎร สตรี โอษฐ)
ใช้พยัญชนะเรียงพยำงค์ กิริยำ สวำมี กริยำ สวำมี ใช้พยัญชนะควบกล�้ำ และ
ปกติ ปฐม ปรกติ ประถม พยัญชนะประสม ครูควรชี้แนะวา ในบรรดาภาษาตางประเทศ
ใช้พยัญชนะสะกดและ กัมม ธัมม กรรม ธรรม ใช้ รร (แผลงมำจำก ภาษาที่มีอิทธิพลตอภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษา
ตัวตำมตัวเดียวกัน สัพพ วัณณ สรรพ วรรณ ร เรผะ ในภำษำสันสกฤต) บาลีและภาษาสันสกฤต ในภาษาไทยยืมคําจาก
ใช้หลักตัวสะกดตัวตำม ภิกขุ กัมม ทั้งสองภาษานี้ มาใชในชีวิตประจําวันทั้งภาษาพูด
บุปผำ องค์ และภาษาเขียน ภาษาบาลีเปนคํายืมที่รับเขามา
ข้อแตกต่ำงของภำษำบำลีและสันสกฤต ช่วยให้สังเกตได้ว่ำค�ำใดเป็นค�ำที่ยืมมำจำกภำษำ ทางศาสนาพุทธ สวนภาษาสันสกฤตรับเขามาทาง
ต่ำงประเทศ ค�ำใดเป็นค�ำไทยแท้ เพื่อให้รู้เกี่ยวกับที่มำของค�ำ ศาสนาพราหมณ
๑) การสมาสแบบไทย สมำส คือ วิธีกำรผสมค�ำในภำษำบำลีและสันสกฤตที่ไทยได้น�ำมำ
ดัดแปลงให้เข้ำกับไวยำกรณ์และกำรออกเสียงโดยมีหลัก ดังนี้
๑. ต้องเป็นค�ำที่มำจำกภำษำบำลีและสันสกฤตเท่ำนั้น
ที่มำของค�ำ ค�ำ ควำมหมำย
บำลี + บำลี วำตภัย ภัยที่เกิดจำกลม
สันสกฤต + สันสกฤต อักษรศำสตร์ วิชำที่เกี่ยวข้องกับตัวอักษร หรือตัวหนังสือ
บำลี, สันสกฤต + บำลี, สันสกฤต วีรชน ผู้ที่มีควำมกล้ำหำญ
๒. ควำมหมำยหลักของค�ำที่สมำสกันจะอยู่ที่ค�ำหลัง ส่วนควำมหมำยรองจะอยู่ที่ค�ำหน้ำ
ที่มำของค�ำ ค�ำ ควำมหมำย
บำลี, สันสกฤต + บำลี ทันตแพทย์ แพทย์ผู้มีหน้ำที่ตรวจรักษำโรคทำงฟัน โรคในช่องปำก
บำลี, สันสกฤต + บำลี, สันสกฤต วีรชน ผู้ที่มีควำมกล้ำหำญ
บำลี, สันสกฤต + สันสกฤต อำรยประเทศ ประเทศที่มีอำรยธรรม หรือควำมเจริญ

111

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดมีทั้งคําภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
ครูควรใหความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับหนวยเสียงของภาษาบาลีและสันสกฤตวามี 2
1. ฤดู อักขระ บุษกร
หนวยเสียง ไดแก หนวยเสียงพยัญชนะและหนวยเสียงสระ ซึ่งแตกตางจากภาษา
2. ปจจุบัน จุฬา อุณหภูมิ
ไทยที่มี 3 หนวยเสียง ไดแก หนวยเสียงพยัญชนะ หนวยเสียงสระ และหนวยเสียง
3. ปจจุบัน จริยา สิปป
วรรณยุกต ดังนั้นคํายืมที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตจึงไมปรากฏรูปวรรณยุกต
4. กรรม พราหมณ กันยา
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. คําวา ฤดู และ บุษกรเปนคําภาษาสันสกฤต สวน
คําวา อักขระ เปนคําภาษาบาลี ขอ 2. และขอ 3. เปนคําภาษาบาลีทุกคํา
ขอ 4 เปนคําภาษาสันสกฤตทุกคํา ดังนั้นจึงตอบขอ 1.

คู่มือครู 111
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่ 4 สงตัวแทนออกมาอธิบาย
ความรูในประเด็นที่กลุมของตนเองไดรับ แต่อำจพบค�ำสมำสที่ควำมหมำยของค�ำทั้งสองมีน�้ำหนักเท่ำกัน เช่น บุตรภรรยำ หมำยถึง ลูก
มอบหมาย พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล และเมีย รำชโอรส หมำยถึง โอรสของพระรำชำ
ซึ่งครูควรสังเกตวาขอมูลที่นักเรียนกลุมนี้นํามา ๓. พยำงค์สุดท้ำยของค�ำหน้ำจะประวิสรรชนีย์ หรือปรำกฏเครื่องหมำยทันฑฆำตไม่ได้ เช่น
อธิบายใหเพื่อนๆ ฟง ครอบคลุมประเด็น
ที่มาของค�า ค�า ความหมาย
ตอไปนี้ หรือไม
• ความหมายของคําสมาส บาลี + สันสกฤต แพทยศาสตร์ วิชาที่ว่าด้วยการป้องกันและบ�าบัดโรค
• องคประกอบของคําสมาส บาลี, สันสกฤต + บาลี, สันสกฤต สาธารณชน ประชาชนทั่วไป
• การออกเสียงคําสมาส บาลี, สันสกฤต + สันสกฤต พลศึกษา การศึกษาที่จะน�าไปสู่ความเจริญพัฒนาการทางร่างกาย
หากพบวานักเรียนยังอธิบายความรูไ มครอบคลุม
๔. กำรออกเสียงค�ำสมำส ต้องออกเสียงสระที่ท้ำยศัพท์ค�ำแรก แต่ถ้ำไม่ปรำกฏรูปสระให้ออก
ครูควรชี้แนะเพิ่มเติม
2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย เสียงสระอะ เช่น
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับคําสมาส ที่มาของค�า ค�า ความหมาย
โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟง บาลี, สันสกฤต + บาลี, สันสกฤต สิทธิบัตร หนังสือที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์
บรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
สันสกฤต + บาลี, สันสกฤต ทัศนคติ แนวความคิดเห็น
• “สมาส” เปนวิธีการสรางคําประเภทหนึ่ง
บาลี, สันสกฤต + บาลี, สันสกฤต จินตกวี ผู้สามารถแต่งร้อยกรองตามจินตนาการของตน
เพือ่ ใหมคี าํ ในภาษาใชมากขึน้ ลักษณะสําคัญ
ประการใดที่ทําใหคําสมาส แตกตางจากคํา มีค�ำสมำสบำงค�ำที่นิยมอ่ำนตำมแบบไทย คือ ไม่ออกเสียงสระที่ท้ำยพยำงค์ศัพท์ตัวแรก เช่น
ที่สรางดวยวิธีการอื่นๆ สุขศำลำ อ่ำน สุก - สำ - ลำ หรือ ชำตินิยม อ่ำนว่ำ ชำด - นิ - ยม เป็นต้น
(แนวตอบ การสรางคําสมาส คือ การนําคํา ๒) การสมาสแบบมีสนธิ สนธิ หมำยถึง กำรกลมกลืนหน่วยเสียงของภำษำบำลีและสันสกฤต
ในภาษาบาลี สันสกฤตตั้งแต 2 คําขึ้นไป
ไทยได้น�ำมำใช้ในกำรสร้ำงค�ำและได้ดัดแปลงให้เป็นกำรสนธิแบบไทย มี ๓ ประเภท ดังนี้
มารวมกันเปนคําใหมที่มีความหมายแตกตาง
๑. สระสนธิ คือ กำรน�ำค�ำภำษำบำลีและสันสกฤตมำสนธิค�ำที่ขึ้นต้นด้วยสระ
ไปจากเดิมหรือคําที่นํามาประกอบ)
ตัดสระท้ายของศัพท์ค�าหน้า ความหมาย ค�า
และใช้สระหน้าของศัพท์ค�าหลัง
ผล (บาลี + สันสกฤต) + สิ่งที่เกิดจากการกระท�า
ผลานิสงส์
อานิสงส์ (บาลี + สันสกฤต) ผลแห่งกุศลกรรม
พุทธ (บาลี + สันสกฤต) + ผูต้ รัสรู,้ ผูต้ นื่ แล้ว
พุทโธวาท
โอวาท (บาลี + สันสกฤต) ค�าแนะน�า, ค�าสอน

112

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
คําวา วิทยาลัย เปนคําสมาสแบบมีสนธิที่เกิดจากคําใด
ครูควรออกแบบการเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนมีสวนรวม โดยใหรว มกัน
1. วิทยา + ลัย
ยกตัวอยางคําสมาสสรางทีป่ รากฏใชในภาษาไทย หรือครูเปนผูย กตัวอยางเอง
2. วิทยา + อาลัย
แลวใหนกั เรียนรวมกันวิเคราะหวา คํานัน้ ๆ ประกอบขึน้ จากคํายืมในภาษาใดบาง เชน
3. วิทยะ + ลัย
“ถาวรวัตถุ” ประกอบขึ้นจากคําวา “ถาวร” และ “วตฺถุ” ซึ่งเปนคํายืมจากภาษาบาลี
4. วิทยะ + อาลัย
ทั้งสองคํามาประกอบกันเปนคําสมาส โดยมีความหมายวา “วัตถุ สิ่งของ สิ่งกอสราง
ที่มีความคงทน ถาวร” วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. 2. และ 3. ไมใชคําที่สามารถนํามาสนธิกันได
สวนขอ 4. คํา วิทยะ และ อาลัย สามารถนํามาสนธิกันไดตามหลักสระสนธิ
คือ คําหนาลงทายดวยสระอะ คําหลังขึ้นตนดวยสระอา เมื่อสนธิกันจึงตัด
สระพยางคทา ยคําหนา แลวใชสระพยางคหนาคําหลังไดเปน วิทยาลัย ดังนัน้
จึงตอบขอ 4.

112 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
ตัดสระท้ำยค�ำหน้ำ ใช้สระหน้ำของค�ำหลัง อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับคําสมาส
แต่เปลี่ยน อะ เป็น อำ , อิ เป็น เอ, อุ ควำมหมำย ค�ำ โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟง
เป็น อู โอ แล้วใช้หลักกำรเดียวกับแบบที่ ๑
บรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
เทศ (สันสกฤต) + ถิ่นที่, ท้องที่
เทศาภิบาล • นักเรียนมีวิธีการอยางไร เพื่อใหทราบวา
อภิบาล (บาลี + สันสกฤต) บ�ารุงรักษา, ปกครอง
คําสมาสแบบมีสนธิ ประเภทสระสนธิ
คช (บาลี + สันสกฤต) + ช้าง
อินทร์ (สันสกฤต) ชื่อเทวราชผู้เป็นใหญ่ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ คเชนทร์ เกิดจากคําใดประสมกับคําใด
และชั้นจาตุมหาราช (แนวตอบ คําสมาสแบบมีสนธิ ประเภทสระ
สนธิ จะมีวิธีการสนธิ ดังนี้
เปลี่ยน อิ อี เป็น ย, อุ อู เป็น ว 1. ตัดสระทายของศัพทคําหนาและใชสระ
ควำมหมำย ค�ำ
แล้วใช้หลักกำรเดียวกับแบบที่ ๑ หนาของศัพทคําหลัง
สามัคคี (บาลี) + ความปรองดองกัน
สามัคยาจารย์ 2. ตัดสระทายของศัพทคําหนา และใชสระ
อาจารย์ (บาลี) ผู้สั่งสอนวิชาความรู้ หนาของศัพทคําหลัง แตเปลี่ยน อะ เปน
ธนู (บาลี) + ราศีที่ ๘ ในจักรราศี อา อิ เปน เอ อุ เปน อู หรือ โอ
ธันวาคม
อาคม (บาลี + สันสกฤต) การมาถึง
3. เปลี่ยนสระทายของศัพทคําหนาจาก อิ
๒. พยัญชนะสนธิ คือ การน�าค�าภาษาบาลีและสันสกฤตมาสนธิกับพยัญชนะ อี เปน ย อุ อู เปน ว แลวใชหลักการ
เดียวกับแบบที่ 1.)
ค�ำที่ลงท้ำยด้วย ส สนธิกับพยัญชนะ • นักเรียนรูจักคําวา “สนธิ” หรือไม
ควำมหมำย ค�ำ
ให้เปลี่ยน ส เป็น โ-
และมีลักษณะสําคัญอยางไร
มนัส (บาลี + สันสกฤต) + ใจ
กรรม (สันสกฤต) การกระท�า
มโนกรรม (แนวตอบ การสนธิ คือ ปรากฏการณที่
รหัส (บาลี + สันสกฤต) + เครือ่ งหมายหรือสัญลักษณ์ลบั ทีร่ กู้ นั เฉพาะ หนวยเสียง 2 หนวย มาอยูชิดกัน
รโหฐาน แลวหนวยเสียงใดหนวยเสียงหนึ่ง
ฐาน (บาลี + สันสกฤต) ล�าดับความเป็นอยู่
หรือทั้งสองหนวยเสียงแปรไป หรือรวมเขา
อุปสรรค ทิสฺ กับ นิสฺ สนธิกับพยัญชนะ เปนหนวยเสียงเดียว หรือมีหนวยเสียง
ควำมหมำย ค�ำ
ให้เปลี่ยน ส เป็น ร เพิ่มเขามา)
ทุสฺ (บาลี + สันสกฤต) + ยาก, ล�าบาก, ไม่มี
ทุรกันดาร
กันดาร (บาลี) อัตคัต, ฝืดเคือง
นิสฺ (บาลี + สันสกฤต) + ไม่, ไม่มี
นิรภัย
ภัย (บาลี + สันสกฤต) สิง่ ทีน่ า่ กลัว, อันตราย

113

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
คําสมาสในขอใดอานออกเสียงตางจากขออื่น
ครูควรใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียนเกี่ยวกับ “คําสมาสเทียม” โดยอธิบายวา
1. เอกชอบเรียนวิชากายวิภาคศาสตร
องคประกอบของคําสมาสในภาษาไทยจะตองเกิดจากคําภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤตทั้ง
2. ฟาผาเปนปรากฏการณทางธรรมชาติ
สองคํา สวนคําสมาสเทียม คือคําสมาสที่มีคํายืมจากภาษาบาลี สันสกฤต ปรากฏอยูสวน
3. แพทยสภาเปนหนวยงานทางราชการ
หนาหรือสวนหลังของคําก็ได แตอีกคําหนึ่งที่มาประกอบนั้น ไมใชคํา
4. พสกนิกรชาวไทยเฝาฯ รับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต โดยอาจเปนคําไทย เชน เทพเจา (เทว บ.ส.
วิเคราะหคําตอบ คําสมาสในขอ 1. อานวา กาย-วิ-พาก-สาด ขอ 2. อานวา รวมกับ เจา ท.) หรือคํายืมจากภาษาอังกฤษ เชน ชีวเคมี (ชีว บ.ส. รวมกับ
ปฺรา-กด-กาน ขอ 3. อานวา แพด-สะ-พา หรือ แพด-ทะ-ยะ-สะ-พา สวนขอ 4. เคมี อ.) จึงเรียกคําที่มีลักษณะเชนนี้วา “คําสมาสเทียม”
อานวา พะ-สก-นิ-กอน ซึ่งคําสมาสในขอ 1., 2. และ 4. เปนคําสมาสที่ไมตอง
อานออกเสียงพยางคเชื่อมระหวางคํา คําสมาสในขอ 3. จึงอานออกเสียง
ตางจากขออื่น ดังนั้นจึงตอบขอ 3.

คู่มือครู 113
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เพื่อใหการเรียน
การสอนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และนักเรียนมี ๓. นฤคหิตสนธิ คือ กำรน�ำค�ำภำษำบำลีและสันสกฤตสนธิกับนฤคหิต
ความรู ความสามารถอยางเพียงพอ ครูควรให นฤคหิตสนธิกับสระ
นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตอไปนี้เปนรายบุคคล ควำมหมำย ค�ำ
เปลี่ยน เป็น ม
• นักเรียนใชความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับ ส� (บำลี + สันสกฤต) + -
สมำคม
ลักษณะสําคัญของคําประสม เพื่อระบุวา อำคม (บำลี + สันสกฤต) กำรมำ, กำรมำถึง
คําประสมที่กําหนดใหและรวบรวมดวย ส� (บำลี + สันสกฤต) + -
สมำทำน
ตนเองอีก 30 คํา ประกอบขึ้นจากคําชนิดใด อำทำน (บำลี + สันสกฤต) กำรรับ, กำรยึดถือ
ระบุลักษณะความหมาย พรอมแตงประโยค นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค ควำมหมำย ค�ำ
เพื่อแสดงความหมายเมื่อนํามาใชในการ เปลี่ยนเป็นพยัญชนะท้ำยของวรรคนั้น
สื่อสาร นําเสนอดังตารางตัวอยาง ส� (บำลี + สันสกฤต) + -
สัญจร
จร (บำลี + สันสกฤต) ไป, เที่ยวไป
คํา สวนประกอบ ความหมาย
ส� (บำลี + สันสกฤต) + -
นํ้าแข็ง นาม + วิเศษณ มีความหมาย สัมผัส
ผัส (บำลี + สันสกฤต) กำรกระทบ, กำรถูกต้อง
ใกลเคียงกับ
นฤคหิตสนธิกับเศษวรรค
คําเดิม เปลี่ยน เป็น ง ควำมหมำย ค�ำ
(เขาชอบกิน ส� (บำลี + สันสกฤต) + -
นํ้าแข็ง) สังสรรค์
สรรค์ (สันสกฤต) พบปะกันเป็นครั้งครำวด้วยควำมสนิทสนม
• นักเรียนใชความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ ส� (บำลี + สันสกฤต) + -
สังหรณ์
ลักษณะสําคัญของคําซํ้า เพื่อระบุวาคําซํ้า หรณ์ (บำลี + สันสกฤต) รู้สึกคล้ำยมีอะไรมำดลใจ ท�ำให้รู้ว่ำจะมีเหตุ
ที่กําหนดใหและรวบรวมดวยตนเองอีก 20 คํา
- นําคําชนิดใดมาสรางเปนคําซํ้า
- เมื่อซํ้าคําแลวใหความหมายอยางไร
พรอมแตงประโยคเพื่อแสดงความหมาย เมื่อนํา
มาใชในการสื่อสาร
• นักเรียนใชความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับ
ลักษณะสําคัญของคําซอน เพือ่ ระบุวา คําซอน
ทีก่ าํ หนดใหและรวบรวมดวยตนเองอีก 25 คํา มี
- ที่มาอยางไร
- ลักษณะความหมายของคําซอน
- จุดประสงคในการซอน ▲ การมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับค�าสมาส จะช่วยให้เปนผู้มีความสามารถในการใช้ถ้อยค�าและการอ่านออกเสียง
- จํานวนคํา
พรอมแตงประโยคเพื่อแสดงความหมาย 114
เมื่อนํามาใชในการสื่อสาร

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
คําสมาสในขอใดเปนคําสมาสที่มีสนธิทุกคํา
คําที่กําหนดใหนักเรียนเพื่อใชปฏิบัติกิจกรรมในกระบวนการ E4 (Expand)
1. สุโขทัย ปรมาณู ยุทธภูมิ
ขยายความเขาใจ มีดังตอไปนี้
2. จิตรกรรม ปรมาณู สวัสดิภาพ
คําประสมที่กําหนดใหนักเรียน ไดแก ลูกชาง ปดปาก มือเสือ หมาวัด และตีนผี
3. จิตรกรรม กรณียกิจ สวัสดิภาพ
คําซํ้าที่กําหนดใหนักเรียน ไดแก บอยๆ แถวๆ พี่ๆ ไปๆ มาๆ และคุณๆ
4. สุโขทัย พฤษภาคม แสนยานุภาพ
คําซอนที่กําหนดใหนักเรียน ไดแก เสื่อสาด เขียวขจี สูงตํ่า ดําขาว ยักษมาร
และแถมฟรี วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. “สุโขทัย” และ “ปรมาณู” เปนคําสมาสแบบมีสนธิ
สวน “ยุทธภูม”ิ เปนคําสมาสแบบไมมสี นธิ ขอ 2. “จิตรกรรม” และ “สวัสดิภาพ”
เปนคําสมาสแบบไมมีสนธิ สวน “ปรมาณู” เปนคําสมาสแบบมีสนธิ ขอ 3.
“จิตรกรรม” “กรณียกิจ” และ “สวัสดิภาพ” เปนคําสมาสแบบไมมีสนธิ
ทั้ง 3 คํา ขอ 4. “สุโขทัย” “พฤษภาคม” และ “แสนยานุภาพ” เปนคําสมาส
แบบมีสนธิทุกคํา ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

114 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน ดวยวิธีการ
๒ คÓภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ตั้งคําถามเพื่อกระตุนทักษะการสํารวจและทักษะ
การคิด
เมื่อไทยเริ่มมีกำรติดต่อกับประเทศต่ำงๆ ทั้งทำงด้ำนกำรค้ำ กำรทูต กำรสงครำม กำรเมือง • นักเรียนสังเกตการใชภาษาไทยเพื่อการ
กำรศึกษำ วรรณคดี ศำสนำ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและอืน่ ๆ ท�ำให้มกี ำรรับค�ำในภำษำต่ำงๆ สื่อสารในชีวิตประจําวันของตนเอง
เข้ำมำใช้ในภำษำไทย เช่น ภำษำบำลี - สันสกฤต ภำษำเขมร ภำษำจีน ภำษำอังกฤษ ภำษำฝรั่งเศส พบลักษณะการใชถอยคําอยางไร
ภำษำมลำยู ภำษำญี่ปุ่น เป็นต้น กำรยืมค�ำที่มำจำกภำษำต่ำงประเทศมำใช้ในภำษำไทยท�ำให้ภำษำ (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
มีควำมเจริญงอกงำมและมีค�ำใช้ส�ำหรับกำรสื่อสำรมำกยิ่งขึ้น ไดอยางอิสระ ทําใหไดคําตอบที่หลากหลาย
กำรศึกษำค�ำภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทย มีควำมจ�ำเป็นอย่ำงยิ่งที่จะต้องรู้จักลักษณะ ซึ่งมาจากการสํารวจพฤติกรรมของตนเอง)
ของค�ำไทยแท้หรือค�ำทีอ่ ยูใ่ นภำษำไทยแต่เดิมว่ำมีลกั ษณะทัว่ ไปอย่ำงไร จึงจะสำมำรถจ�ำแนกค�ำไทยแท้ จากนั้นครูควรชี้แนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบ
และค�ำภำษำต่ำงประเทศที่ไทยยืมมำใช้ได้อย่ำงถูกต้อง ดังนั้น กำรศึกษำในหัวข้อค�ำภำษำต่ำงประเทศ การใชถอยคําเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจําวัน
ในภำษำไทย จะประกอบด้วย ๒ ประเด็น ได้แก่ ลักษณะของค�ำไทยแท้และค�ำยืมที่มำจำกภำษำ ซึ่งยอมจะตองปรากฏการใชถอยคําปะปนระหวาง
ต่ำงประเทศ คําไทยแทกับคําที่ยืมมาจากภาษาตางประเทศ
และตั้งคําถามเพิ่มเติมหลังคําอธิบาย
๒.๑ ลักษณะของค�ำไทยแท้ • นักเรียนคิดวาเปนเพราะเหตุใด ถอยคํา
ค�าไทยแท้ เป็นค�ำที่มีใช้ดั้งเดิมอยู่ในภำษำไทย มีลัก1ษณะส�ำคัญที่สังเกตได้ ดังนี้ ที่ใชสื่อสารในชีวิตประจําวัน จึงปรากฏ
๑) ค�าไทยแท้มกั เป็นค�าโดด ค�ำไทยแท้เป็นค�ำโดด โดด คือ ไม่ตอ้ งผันค�ำเพือ่ บอกเพศ พจน์ หรือ ทั้งคําไทยแทหรือคําที่มีใชดั้งเดิมอยูใน
กำล และมีควำมหมำยสมบูรณ์ในตัวเอง เมื่อฟังแล้วสำมำรถเข้ำใจได้ทันที เช่น ภาษาไทย และคําที่ยืมมาจากภาษา
ค�ำใช้เรียกเครือญำติ เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง ป้ำ อำ ลุง ตางประเทศ
ค�ำใช้เรียกชื่อสัตว์ เช่น ช้ำง ม้ำ วัว ควำย หมู หมำ นก (แนวตอบ การยืมถอยคําจากภาษา
ค�ำใช้เรียกธรรมชำติ เช่น ดิน น�้ำ ลม ไฟ อุ่น เย็น ร้อน ตางประเทศมาใชในภาษาไทย เพื่อใหมี
ค�ำใช้เรียกเครื่องใช้ เช่น มีด เขียง เตียง ตู้ ครก ไห ช้อน ถอยคําเพียงพอสําหรับการสื่อสาร ใหทัน
ค�ำใช้เรียกอวัยวะ เช่น หัว หู หน้ำ ตำ ปำก นิ้ว แขน กับความเปลี่ยนแปลง ความเจริญกาวหนา
ทั้งนี้ มีค�ำไทยแท้บำงค�ำที่มีหลำยพยำงค์ ซึ่งมีสำเหตุ ดังนี้ ทางเทคโนโลยี รวมถึงการแลกรับวัฒนธรรม
๑.๑) การกร่อนเสียง หมำยถึง กำรทีค่ ำ� เดิมเป็นค�ำประสม ๒ พยำงค์เรียงกัน เมือ่ พูดเร็วๆ ประเพณี ความเชื่อ คานิยม ศาสนาระหวาง
สังคมหนึ่งๆ เปนตน)
ท�ำให้พยำงค์แรกมีกำรกร่อนเสียงลงไป เช่น หมำก เป็น มะ ตัว เป็น ตะ เป็นต้น ท�ำให้กลำยเป็นค�ำ
๒ พยำงค์ เช่น
หมำกขำม ➔ มะขำม ตัวขำบ ➔ ตะขำบ
ตำวัน ➔ ตะวัน สำวใภ้ ➔ สะใภ้
อันไร ➔ อะไร ฉันนั้น ➔ ฉะนั้น

115

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
คําในขอใดตอไปนี้เปนคําไทยแททุกคํา
ครูควรอธิบายเพิ่มเติมใหแกนักเรียนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาษา โดยชี้แนะ
1. เฆี่ยน ขจี กุศล
ใหเขาใจวา ภาษาทุกภาษายอมมีการเปลี่ยนแปลง มีความแตกตางไปจากภาษา
2. กีฬา กรีฑา ปฏิวัติ
ที่เคยใชในอดีต ซึ่งลักษณะของการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได 4 ลักษณะ ไดแก เสียง
3. เผด็จ กระจาย กวยเตี๋ยว
ไวยากรณ ความหมาย และคํา โดยการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ เหลานี้ ดําเนินไปอยางชาๆ
4. มะขาม กระถิน กระโจน
ในลักษณะคอยเปนคอยไป จนทําใหเจาของภาษาไมรูสึกวาเกิดการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. “เฆี่ยน” เปนคําไทยแท “ขจี” เปนคํายืมจาก
ภาษาเขมร “กุศล” เปนคํายืมจากภาษาสันสกฤต ขอ 2. “กีฬา” และ “ปฏิวัติ”
เปนคํายืมจากภาษาบาลี “กรีฑา” เปนคํายืมจากภาษาสันสกฤต ขอ 3. นักเรียนควรรู
“เผด็จ” “กระจาย” เปนคํายืมจากภาษาเขมร “กวยเตี๋ยว” เปนคํายืมจาก
ภาษาจีน ดังนั้นจึงตอบขอ 4. 1 คําโดด หรือภาษาคําโดด คือ ภาษาที่นําคําตั้งหรือคํามูลมาเรียงลําดับกันเขา
เปนประโยค คงรูปคําเหมือนเดิมไมเปลี่ยนแปลง เมื่อสลับตําแหนงของคําในประโยค
ความหมายจะเปลี่ยนไป นอกจากภาษาไทยแลว ยังมีภาษาอื่นๆ ที่จัดเปนภาษา
คําโดด เชน ภาษาพมา ภาษากะเหรี่ยง ภาษามอญ ภาษาเขมร

คู่มือครู 115
ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Elaborate Evaluate
ส�ารวจค้นหา Explore
ครูทําสลากเทากับจํานวนนักเรียนในชั้นเรียน
โดยเขียนหมายเลข 1-7 ในจํานวนเทาๆ กัน ๑.๒) การแทรกเสียง หมำยถึง กำรเติมพยำงค์ลงไประหว่ำงค�ำ ๒ พยำงค์ ท�ำให้เกิด
หรือเฉลี่ยตามความเหมาะสม พรอมระบุขอความ เป็นค�ำหลำยพยำงค์ เช่น
ในแตละหมายเลข จากนั้นใหแตละคนออกมา ลูกตำ ➔ ลูกกะตำ ลูกท้อน ➔ ลูกกระท้อน
จับสลากประเด็นสําหรับการสืบคนความรูรวมกัน นกจอก ➔ นกกระจอก นกจิบ ➔ นกกระจิบ
ดังนี้ ผักถิน ➔ ผักกระถิน ผักเฉด ➔ ผักกระเฉด
หมายเลข 1 คําไทยแท
๑.๓) การเติ ม พยางค์ ห น้ า หมำยถึ ง กำรเติ ม พยำงค์ ล งไปหน้ ำ ค� ำ พยำงค์ เ ดี ย ว
หมายเลข 2 คํายืมจากภาษาบาลี
หรือสองพยำงค์แล้วท�ำให้เกิดเป็นค�ำหลำยพยำงค์ เช่น
หมายเลข 3 คํายืมจากภาษาสันสกฤต
หมายเลข 4 คํายืมจากภาษาจีน โจน ➔ กระโจน ท�ำ ➔ กระท�ำ
หมายเลข 5 คํายืมจากภาษาเขมร เดี๋ยว ➔ ประเดี๋ยว ท้วง ➔ ประท้วง
หมายเลข 6 คํายืมจากภาษาชวา-มลายู จุ๋มจิ๋ม ➔ กระจุ๋มกระจิ๋ม ดุกดิก ➔ กระดุกกระดิก
หมายเลข 7 คํายืมจากภาษาอังกฤษ ๒) ค�าไทยแท้มกั มีตวั สะกดตรงตามมาตรา ลักษณะกำรสังเกตค�ำไทยแท้อกี ประกำรหนึง่
นักเรียนที่จับสลากไดหมายเลขเหมือนกัน คือ ค�ำไทยแท้มักมีตัวสะกดตรงตำมมำตรำ กล่ำวคือ อักษรที่น�ำมำเขียนเป็นตัวสะกดจะตรงกับ
ใหอยูกลุมเดียวกัน โดยสามารถสืบคนความรูได มำตรำตัวสะกด ได้แก่
จากตําราวิชาการ เชน หนังสือบรรทัดฐาน แม่กก ใช้ ก เป็นตัวสะกด เช่น รัก จำก ปีก ลูก ตัก
ภาษาไทย เลม 2 (คํา การสรางคําและการยืมคํา) แม่กด ใช้ ด เป็นตัวสะกด เช่น คด เลือด รำด ปิด
หนังสือภาษาตางประเทศในภาษาไทย เปนตน แม่กบ ใช้ บ เป็นตัวสะกด เช่น จับ เจ็บ สิบ โอบ ดำบ
ซึ่งการสืบคนในครั้งนี้นักเรียนควรมุงเนนไปที่ แม่กง ใช้ ง เป็นตัวสะกด เช่น วำง โยง สอง ปิ้ง
ความรูเกี่ยวกับลักษณะสําคัญของคํายืมแตละภาษา แม่กน ใช้ น เป็นตัวสะกด เช่น ขึ้น เส้น กิน นอน ล้วน
เพื่อใหมีความรู ความเขาใจ เพียงพอที่จะใชเปน แม่กม ใช้ ม เป็นตัวสะกด เช่น ตุ่ม แก้ม คุ้ม ล้ม เต็ม
ฐานขอมูลระบุวาคําที่กําหนดใหหรือรวบรวมดวย
แม่เกย ใช้ ย เป็นตัวสะกด เช่น เย้ย สำย คอย โกย คุย
ตนเองจากสื่อตางๆ ในชีวิตประจําวัน เปนคําที่ยืม
แม่เกอว ใช้ ว เป็นตัวสะกด เช่น เหว สำว นิ้ว แก้ว ข้ำว
มาจากภาษาใด
๓) ค�าไทยแท้ไม่มีการเปลี่ยนรูปค�าเพื่อแสดงลักษณะทางไวยากรณ์ ค�ำในภำษำอื่นๆ
อำจมีกำรเปลี่ยนรูปค�ำเพื่อแสดงลักษณะทำงไวยำกรณ์บอกเพศ พจน์ กำล ขณะที่ในภำษำไทย
อธิบายความรู้ Explain
ไม่มีกำรเปลี่ยนแปลงรูปค�ำ แต่จะอำศัยกำรใช้ค�ำขยำยมำประกอบ เช่น
1. นักเรียนกลุมที่ 1 สงตัวแทน 2 คน ออกมา นก ➔ นกตัวผู้ (แสดงเพศชำย)
อธิบายความรูในประเด็นที่กลุมของตนเองไดรับ คน ➔ คนเดียว (แสดงเอกพจน์)
มอบหมาย พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล นี้ ➔ พรุ่งนี้ (แสดงอนำคตกำล)
2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนอธิบายความรูที่ไดรับ
จากการฟงบรรยาย จากนั้นใหรวมกันสรุป
ความรู ความเขาใจ ใหถูกตองตรงกันอีกครั้ง 116
แลวบันทึกสาระสําคัญลงสมุด เพื่อใชใน
กิจกรรมตอไป
ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
คําในขอใดมีตัวสะกดอยูในมาตราเดียวกันและเปนคําไทยแททุกคํา
ครูควรยกตัวอยางคําแทรกเสียงเพิ่มเติมเพื่อใหนักเรียนเขาใจลักษณะการสรางคํา
1. สาย ยาย คอย
ดวยการแทรกเสียง จากนั้นใหบันทึกสาระสําคัญที่ไดเรียนรูลงสมุด นอกจากนี้
2. ถวาย ขนาย เขนย
ควรจัดกิจกรรมยอยภายในชั้นเรียน โดยใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา “การมี
3. ตรวจ เคลือบ เมื่อย
ความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับลักษณะสําคัญของคําไทยแทมีประโยชนอยางไร
4. บังเอิญ เผชิญ ดําเนิน
ตอการศึกษาเรื่องคํายืมภาษาตางประเทศในภาษาไทย” โดยในกิจกรรมนี้ครูควร
ทําหนาที่กระตุนใหนักเรียนทุกคนมีโอกาสแสดงความคิดเห็น หลังจากนั้นจึงเปน วิเคราะหคําตอบ จากตัวเลือกที่กําหนดให ขอ 2. “ถวาย” “ขนาย” และ
ผูชี้แนะเพิ่มเติม “เขนย” มีตัวสะกดอยูในมาตราเดียวกัน คือ “แมเกย” แตทั้ง 3 คํา เปนคํายืม
ภาษาเขมร ขอ 3. “ตรวจ” มีตัวสะกดอยูในมาตรา “แมกด” เปนคํายืมภาษา
เขมร “เคลือบ” มีตัวสะกดอยูในมาตรา “แมกบ” เปนคําไทยแท “เมื่อย”
มุม IT มีตัวสะกดอยูในมาตรา “แมเกย” เปนคําไทยแท ขอ 4. “บังเอิญ” “เผชิญ”
และ “ดําเนิน” มีตัวสะกดอยูในมาตรา “แมกน” แตทั้ง 3 คํา เปนคํายืม
นักเรียนสามารถหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับสาเหตุที่ทําใหภาษาเปลี่ยนแปลง ภาษาเขมร ดังนั้นจึงตอบขอ 1.
ไดจากเว็บไซต http://www.thaieditorial.com/?s=สาเหตุที่ทําใหภาษาเปลี่ยนแปลง

116 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
๔) ค�าไทยแท้มีเสียงวรรณยุกต์ เพื่อให้เกิดระดับเสียงต่ำงกัน ท�ำให้มีค�ำใช้ในภำษำไทย อธิบายความรูแ บบโตตอบรอบวงเกีย่ วกับลักษณะ
มำกขึ้น เกิดเสียงในภำษำที่ไพเรำะ เช่น สําคัญของคําไทยแทโดยใชความรู ความเขาใจ
ปำ หมำยถึง ขว้ำง ขำว หมำยถึง ชื่อสีชนิดหนึ่ง ที่ไดรับจากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตน
ป่ำ หมำยถึง ที่รกด้วยต้นไม้ ข่ำว หมำยถึง ค�ำบอกเล่ำ เรื่องรำว สําหรับตอบคําถาม
ป้ำ หมำยถึง พี่สำวของพ่อหรือแม่ ข้ำว หมำยถึง อำหำรประเภทหนึ่ง • คําไทยแท หมายถึงอะไร และมีความสําคัญ
๕) ค�าไทยแท้มีลักษณนามใช้ ลักษณนำมเป็นค�ำที่ใช้บอกลักษณะของนำมที่อยู่ข้ำงหน้ำ อยางไร
(แนวตอบ คําไทยแท คือคําที่มีใชดั้งเดิม
ซึ่งในภำษำไทยจะใช้ค�ำเหล่ำนี้แตกต่ำงจำกภำษำอื่นชัดเจน เช่น
ในภาษาไทย ซึ่งมีความสําคัญตอการสื่อสาร
ลักษณนามบอกลักษณะของค�ากริยา ขอกอดที
ทําความเขาใจระหวางคนในสังคม จนเมื่อ
ลักษณนามบอกอาการ พลู ๓ จีบ ดอกไม้ ๓ ก�า เกิดการแลกรับวัฒนธรรม ประเพณี
ลักษณนามบอกรูปร่าง แหวน ๑ วง ดินสอ ๒ แท่ง และความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี
๖) ค�าไทยแท้ไม่นิยมใช้ตัวการันต์ ลักษณะของตัวกำรันต์ มักเป็นค�ำที่ยืมมำจำกภำษำ ทําใหคําที่มีใชดั้งเดิมอยูในภาษาไมเพียงพอ
ต่ำงประเทศ เพรำะในภำษำไทยจะไม่นยิ มใช้กำรันต์ เช่น โล่ เสำ อิน จัน วัน กำ ขำด ปำ จัก เป็นต้น สําหรับการสื่อสาร จึงเกิดการยืมคํา
เป็นค�ำไทยแท้ ในภาษาของผูซึ่งเปนเจาของวัฒนธรรม
๗) ค�าไทยแท้ไม่นิยมใช้พยัญชนะบางตัว ค�ำไทยแท้ไม่นิยมใช้พยัญชนะบำงตัว เช่น หรือเทคโนโลยีนั้นๆ เขามาใชในภาษาไทย)
ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฬ และตัว ฤ ฤๅ ยกเว้นค�ำไทยแท้บำงค�ำ ได้แก่ • นักเรียนมีวิธีการแยกแยะคําไทยแทออกจาก
คํายืมภาษาตางประเทศอยางไร
เฆี่ยน ฆ่ำ ฆ้อง ระฆัง หญิง ศึก (แนวตอบ คําไทยแทมีลักษณะสําคัญ ดังนี้
ใหญ่ ณ ธ เธอ ศอก อ�ำเภอ • คําไทยแทมักเปนคําโดด มีความหมาย
สมบูรณในตัวเอง
๘) การใช้ ใอ และ ไอ ในค�าไทย ค�ำที่ออกเสียง อัย ใช้รูปไม้ม้วน ( ใ ) มีใช้เฉพำะค�ำไทย • คําไทยแทมีตัวสะกดตรงตามมาตรา
เพียง ๒๐ ค�ำเท่ำนัน้ ได้แก่ ใหญ่ ใหม่ ให้ สะใภ้ ใช้ ใฝ่ ใจ ใส่ (หลง)ใหล ใคร ใคร่ ใบ ใส • คําไทยแทไมมีการเปลี่ยนแปลงรูปคํา
ใด ใน ใช่ ใต้ ใบ้ ใย ใกล้ นอกนั้นใช้ไม้มลำย เช่น ไกล ไส ไป ไข ไอ เป็นต้น แต่ค�ำ เพื่อแสดงลักษณะทางไวยากรณ
ที่ใช้ไม้มลำยประกอบ ย ( ไ-ย ) และไม้หันอำกำศประกอบ ย ( -ั ย ) มักเป็นค�ำไทยที่มำจำกภำษำอื่น • คําไทยแทเปนเสียงดนตรี หรือเปนคํา
เช่น ไวยำกรณ์ มำลัย ที่มีเสียงวรรณยุกต
• คําไทยแทมีการใชคําลักษณนาม
๒.๒ ค�ำทีย่ มื มำจำกภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทย • คําไทยแทไมนิยมใชการันต
ภำษำไทยมีกำรยืมค�ำจำกภำษำต่ำงๆ จำกหลำยประเทศ อำทิ ภำษำบำลีและสันสกฤต ทีย่ มื มำ • คําไทยแทไมนิยมใชพยัญชนะตอไปนี้
จำกอินเดีย ภำษำจีน ภำษำเขมร ภำษำอังกฤษ ภำษำฝรั่งเศส ภำษำชวำ ภำษำพม่ำ ภำษำมลำยู ภำษำ ฆ ณ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ธ ศ ษ ยกเวน
ญีป่ นุ่ ภำษำเวียดนำม เป็นต้น กำรรับค�ำภำษำต่ำงประเทศมำใช้นนั้ ท�ำให้ภำษำไทยมีคำ� ศัพท์ใช้มำกขึน้ คําไทยแทบางคํา ไดแก หญิง หญา ใหญ
ระฆัง ฆา เฆี่ยน เศิก ศึก ศอก ธ เธอ ณ
117 เศรา
• คําไทยแทที่ออกเสียง “ไอ” จะประสมดวย
สระ “ใอ” ไมมวน ซึ่งมีอยู 20 คํา)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
สาเหตุของการยืมคําในขอใดแตกตางจากขออื่น
เมื่อนักเรียนในชั้นรวมกันอธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับลักษณะสําคัญ
1. เพื่อความรุมรวยทางดานภาษา
ของคําไทยแทจนเกิดองคความรูที่ถูกตอง หรือเปนที่เขาใจตรงกันแลว ครูควรนํา
2. ความสัมพันธทางดานเชื้อชาติ
เขาสูหัวขอการเรียนการสอนตอไปคือ “คํายืมในภาษาไทย” โดยทบทวนความรู
3. การแลกรับวัฒนธรรมระหวางกัน
เกี่ยวกับสาเหตุที่ทําใหภาษาเปลี่ยนแปลง ไดแก สภาพภูมิศาสตร ความสะดวกใน
4. ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี
การใช การเรียนรูภาษาของเด็กไมสมบูรณ ความเปลี่ยนแปลงของสังคม และการ
วิเคราะหคําตอบ สาเหตุของการยืมคําจากภาษาตางประเทศเขามาใช ยืมคําจากภาษาอื่น
ในภาษาไทย ตรงกับตัวเลือกใน ขอ 2., 3. และ 4. ซึ่งเปนการยืมดวยความ “การยืมคํา” นับเปนสาเหตุหรือปจจัยที่ทําใหภาษามีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด
จําเปน เนื่องจากภาษาของผูรับหรือผูยืมไมมีคํานั้นๆ ใชในภาษา จึงตองยืม ทั้งดานเสียง คํา และโครงสรางของประโยค ซึ่งครูอาจมอบหมายใหนักเรียนศึกษา
คําในภาษาของผูซึ่งเปนเจาของวัฒนธรรม เทคโนโลยีมาใชสื่อสารภายใน เพิ่มเติมเกี่ยวกับสาเหตุของการยืมคําจากภาษาตางประเทศมาใชในภาษา แลวนํา
สังคมใหเปนที่เขาใจตรงกัน และยังหมายรวมถึงสื่อสารกับสังคมอื่นดวย ขอมูล ความรูมาแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันในสัปดาหตอไป หรือครูเปนผูใหขอมูลนี้
การยืมคําจึงเปนการยืมเขามาเพื่อใชในการสื่อสาร ไมใชเพื่อความรุมรวย แกนักเรียนเอง โดยใหนักเรียนมีสวนรวมกับการยกตัวอยางประกอบคําอธิบายของครู
ทางดานภาษา ดังนั้นจึงตอบขอ 1.

คู่มือครู 117
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนกลุมที่ 2 และ 3 สงตัวแทนกลุมละ
2 คน ออกมาอธิบายความรูในประเด็นที่กลุม ดังนั้น จึงควรศึกษำเกี่ยวกับค�ำที่ยืมมำจำกภำษำต่ำงประเทศ เพื่อให้รู้ที่มำของค�ำต่ำงๆ ที่ใช้สื่อสำร
ของตนเองไดรับมอบหมาย พรอมระบุแหลงที่มา ในชีวิตประจ�ำวันและเป็นพื้นฐำนของกำรใช้ภำษำไทยเพื่อกำรสื่อสำรต่อไป แต่ในระดับชั้นมัธยมศึกษำ
ของขอมูล จากนั้นครูสุมเรียกชื่อนักเรียนอธิบาย ปีที่ ๒ นี้ จะศึกษำค�ำยืมจำกภำษำต่ำงประเทศที่ส�ำคัญๆ ได้แก่ ภำษำบำลี - สันสกฤต ภำษำจีน
ความรูเกี่ยวกับคํายืมภาษาบาลี สันสกฤต ภำษำเขมร ภำษำอังกฤษ ภำษำฝรั่งเศส ภำษำชวำ และภำษำพม่ำ รวมทั้งสิ้น ๗ ภำษำ ดังนี้
ผานขอคําถามของครู ๑) ค�าทีย่ มื มาจากภาษาบาลี - สันสกฤต ภำษำไทยมีคำ� ทีย่ มื มำจำกภำษำบำลีและสันสกฤต
• มีวิธีการอยางไรในการแยกแยะคํายืม อยู่มำก ส่วนใหญ่จะใช้ในด้ำนที่เกี่ยวกับศำสนำ วรรณคดี วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี
ภาษาสันสกฤตออกจากคํายืมภาษาอื่นๆ รวมทั้งใช้ในค�ำสุภำพและค�ำศัพท์ทั่วไป ค�ำที่มำจำกภำษำบำลี สันสกฤต มีหลักกำรสังเกต ดังนี้
(แนวตอบ มีวิธีการแยกแยะ ดังนี้ ๑.๑) เป็นค�าที่มีหลายพยางค์ ส่วนมำกใช้เป็นค�ำนำม ค�ำกริยำ และค�ำวิเศษณ์ เช่น
• คํายืมภาษาสันสกฤตไมเครงครัดในเรื่อง บิดำ มำรดำ ภรรยำ กรุณำ อนุเครำะห์ สถำปนำ เมตตำ พยำยำม
ตัวสะกดตัวตาม และมีพยัญชนะเพิ่มจาก ๑.๒) เป็นค�าที่มีตัวสะกดแตกต่างไปจากค�าไทยแท้ และมักมีตัวกำรันต์ปรำกฏอยู่ เช่น
ภาษาบาลี 2 ตัว ไดแก ศ และ ษ แม่กง ➔ องค์ รงค์ สงฆ์ วงศ์ หงส์
• คํายืมภาษาสันสกฤตใชสระ 14 ตัว คือ
แม่กน ➔ พล กร บุญ สวรรค์ มนต์
อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ไอ เอา ฤ ฤๅ
แม่กม ➔ พิมพ์ อำรมณ์ อภิรมย์ คัมภีร์ มัชฌิม
ฦ ฦๅ
แม่กก ➔ สุข เมฆ อัคร ทุกข์ พักตร์
• พยัญชนะ ฑ ปรากฏใชเฉพาะคํายืมภาษา
สันสกฤต แม่กด ➔ ยศ รัฐ บำท ฤทธิ์ พจน์
• คํายืมภาษาสันสกฤตใชรูป รร (ร หัน) แม่กบ ➔ นพ โลภ บำป กำพย์ กษำปณ์
และมักใชรูปพยัญชนะ /-ร/ ประกอบกับ ๑.๓) เป็นค�าที่ประสมด้วยพยัญชนะ ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฤ ฬ ค�ำบำลี สันสกฤต
พยัญชนะอื่น) ใช้อักษรครบตำมจ�ำนวนอักษรในภำษำของตน ทั้งที่เขียนง่ำยและยำก ซึ่งต่ำงจำกค�ำไทยแท้ เช่น
• มีวิธีการอยางไรในการแยกแยะคํายืม ฆำต มัชฌิม สัญญำ กุฎี โกฏิ วุฒิ เณร พุทธ โลภ เศรษฐี ฤดู จุฬำ
ภาษาบาลีออกจากคํายืมภาษาอื่นๆ ๑.๔) เป็นค�าที่ใช้พยัญชนะเหมือนกันซ้อนกัน ค�ำที่ยืมมำจำกภำษำบำลีมักใช้พยัญชนะ
(แนวตอบ มีวิธีการแยกแยะ ดังนี้ เหมือนกันซ้อนกัน เช่น สักกำระ บุคคล วิญญำณ เมตตำ นิพพำน บัลลังก์
• คํายืมภาษาบาลีใชหลักตัวสะกดตัวตาม ๑.๕) ค�าที่มีรูปวรรณยุกต์และมีไม้ไต่คู้ก�ากับอยู่ ไม่ใช่ค�ำที่มำจำกภำษำบำลี สันสกฤต
อยางเครงครัด เมื่อพยัญชนะแถวที่ 1 ตัวอย่าง ค�ำนำมภำษำบำลีและสันสกฤตที่ใช้ในภำษำไทย
สะกด พยัญชนะแถวที่ 1 หรือ 2 ตาม
พยัญชนะแถวที่ 3 สะกด พยัญชนะแถว
กี ฬ ำ นิ พ พำน หทั ย ปั ญ ญำ วั ต ถุ รั ฐ สำมั ญ อั จ ฉริ ย ะ อั ค คี วิ ท ยำ
ที่ 3 หรือ 4 ตาม พยัญชนะแถวที่ 5 สะกด
สังข์ พยัคฆ์ สมภำร สังคม บุปผำ วิลำส ปฏิมำ กรีฑำ ธรรม ภรรยำ อัศจรรย์
พยัญชนะแถวที่ 1 2 3 4 และ 5 ตาม
ไอศวรรย์ สวำมี ฤดี พฤกษำ ดรรชนี ปริศนำ พิศวำส ทฤษฎี พิสดำร สันติ
หากเศษวรรคสะกด เศษวรรคตัวเดิมตาม
ประณีต บุษบำ
• คํายืมภาษาบาลี ใชสระ 8 ตัว คือ อะ อา
อิ อี อุ อู เอ โอ
• พยัญชนะ ฬ ปรากฏใชเฉพาะคํายืมภาษา 118
บาลี
• คํายืมภาษาบาลีใชหนวยคําเติมหนา “ปฏิ”)
กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
ครูควรสรางความรู ความเขาใจเพิ่มเติมใหแกนักเรียนเกี่ยวกับการยืมคํา นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับการนําคํายืมภาษาบาลี สันสกฤต เขามาใชใน
(Borrowing Word) ซึ่งเปนปรากฏการณทางภาษา ที่ภาษาหนึ่งไดนําคําหรือลักษณะ ภาษาไทย ปรากฏในวงศัพทใดบาง นําคําศัพทที่รวบรวมไดมาจัดหมวดหมู
ทางภาษาของอีกภาษาหนึ่งไปใชในภาษาของตน โดยอาจยืมเสียง คํา หรือไวยากรณ นําเสนอในรูปแบบตารางบนปายนิเทศขนาดเล็ก
เมื่อยืมเขามาแลว ภาษาที่ถูกยืมจะถูกทําใหเปลี่ยนแปลงทางดานรูปคํา เสียง
และความหมาย เพื่อความสะดวกในการใชของผูรับหรือผูยืมภาษา การเปลี่ยนแปลง
ดานเสียงอาจเกิดขึ้นกับเสียงสระ พยัญชนะ การตัดคํา การเพิ่มเสียง เปนตน กิจกรรมทาทาย
สวนการเปลี่ยนแปลงดานความหมายจะเกิดขึ้น 3 ลักษณะ ดังนี้
1. ความหมายแคบเขา คือ ความหมายของคําเดิมที่ยืมมามีหลายความหมาย
แตเมื่อยืมเขามาใชกลับมีความหมายเฉพาะ นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงดานความหมายของคํายืมภาษา
2. ความหมายกวางออก คือ ความหมายของคําเดิมที่ยืมมามีความหมายเฉพาะ บาลี สันสกฤตในภาษาไทย เกิดการเปลีย่ นแปลงความหมายในลักษณะใด
แตเมื่อยืมเขามาใชกลับมีความหมายกวางออกไป ระหวาง “ความหมายคงเดิม” “ความหมายแคบเขา” “ความหมายกวางออก”
3. ความหมายยายที่ คือ คําเดิมที่ยืมมามีความหมายอยางหนึ่ง แตเมื่อยืม “ความหมายยายที่” หรือเกิดทุกกรณี พรอมยกตัวอยางประกอบ นําเสนอ
เขามาใชกลับมีความหมายอีกอยางหนึ่ง ในรูปแบบใบงานเฉพาะบุคคล

118 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่ 4-7 สงตัวแทนกลุมละ 2 คน
๒) ค�าทีย่ มื มาจากภาษาเขมร เขมรกับไทยมีพรมแดนติดต่อกันและมีกำรถ่ำยทอดวัฒนธรรม ออกมาอธิบายความรูในประเด็นที่กลุมของ
และภำษำกันมำช้ำนำน ทั้งทำงด้ำนกำรค้ำ กำรเมือง กำรสงครำม ศำสนำ วัฒนธรรม และพิธีกรรม ตนเองไดรับมอบหมาย พรอมระบุแหลงที่มา
ซึ่งท�ำให้มีค�ำยืมภำษำเขมรอยู่ในภำษำไทยทั้งค�ำสำมัญและรำชำศัพท์ เช่น ของขอมูล
ค�ำ ควำมหมำย ค�ำ ควำมหมำย 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
ชนะ ท�ำให้อีกฝ่ำยหนึ่งแพ้ เพลิง ไฟ
อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ
ลักษณะสําคัญของคํายืมภาษาตางประเทศ
เผด็จ ตัด, ขจัด, ขำด กังวล ห่วงใย, มีใจพะวงอยู่
โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการ
ส�ำเร็จ เสร็จ, แล้ว, บรรลุผล ผจญ ต่อสู้ สู้รบ สงครำม
ลักษณนำมเรียกหนังสือ
ฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ
อำหำรทีจ่ ะเอำไปกินระหว่ำง
ฉบับ
ต้นเดิมของหนังสือ
เสบียง เดินทำงไกล ตอบคําถาม
จะสังเกตเห็นว่ำค�ำทีย่ มื มำจำกภำษำเขมรมีตวั สะกดบำงตัวแตกต่ำงจำกค�ำไทยแท้ โดยค�ำทีย่ มื • นักเรียนมีวิธีการอยางไรในการแยกแยะ
มำจำกภำษำเขมรจะปรำกฏตัว จ ร ล ญ เป็นตัวสะกด เพรำะภำษำไทยรักษำรูปเดิมของค�ำไว้ แต่จะ คํายืมภาษาเขมรออกจากคํายืมภาษาอื่นๆ
ออกเสียงตำมแบบภำษำไทย นอกจำกนี้ค�ำที่ยืมมำจำกภำษำเขมรส่วนใหญ่ไม่ใช้รูปวรรณยุกต์ก�ำกับ (แนวตอบ คํายืมภาษาเขมรในภาษาไทย
มีลักษณะสําคัญที่สังเกตได ดังนี้
๓) ค� า ที่ ยื ม มาจากภาษาชวา ดิ น แดนชวำและไทยมี ค วำมสั ม พั น ธ์ กั น มำแต่ โ บรำณ
• คํายืมภาษาเขมรในภาษาไทยมีลักษณะ
กำรติดต่อค้ำขำย กำรเผยแผ่ศำสนำและวัฒนธรรมท�ำให้ไทยรับภำษำชวำมำใช้ในภำษำไทยด้วย
เปนคําโดด
เมื่อพระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัยทรงพระรำชนิพนธ์บทละครเรื่อง “อิเหนำ” จนได้รับ
• คํายืมภาษาเขมรมีตัวสะกดไมตรงกับ
ควำมนิยมอย่ำงแพร่หลำย ท�ำให้คนไทยคุ้นเคยกับชื่อตัวละคร และชื่อเรียกต่ำงๆ ตำมที่ปรำกฏในเรื่อง
ภาษาไทย ไดแก พยัญชนะ จ ญ ล ร ส
ค�ำที่ยืมมำจำกภำษำชวำจึงเป็นที่รู้จักแพร่หลำยในประเทศไทย เช่น • คํายืมภาษาเขมรไมมีรูปวรรณยุกตกํากับ
ค�ำ ควำมหมำย ค�ำ ควำมหมำย • คํายืมภาษาเขมรเปนคําแผลง โดยเติม
กริช มีิดปลำยแหลม มี ๒ คม ตุนำหงัน หมั้นไว้เพื่อแต่งงำน หนวยคําเติมหนา และหนวยคําเติมกลาง)
บุหลัน ดวงเดือน, พระจันทร์ ทุเรียน ชื่อต้นไม้ ผลขรุขระ รสหวำน
บุหรง นกยูง ซ่ำโบะ ผ้ำห่ม
เครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง ท�ำด้วย เทีย่ วป่ำ อำกำรทีด่ นั้ ด้นเดินไป
อังกะลุง มะงุมมะงำหรำ
ปล้องไม้ไผ่ ใช้เขย่ำ โดยไม่รู้ทิศทำง
จะสังเกตเห็นว่ำค�ำพืน้ ฐำนของภำษำชวำส่วนใหญ่เป็นค�ำ ๒ พยำงค์ แต่ภำษำไทยเป็นภำษำค�ำโดด
ค�ำพืน้ ฐำนในภำษำเป็นค�ำพยำงค์เดียว ภำษำชวำไม่มเี สียงพยัญชนะควบกล�ำ้ ส่วนภำษำไทยมีพยัญชนะ
หลำยเสียงที่สำมำรถควบกล�้ำกับพยัญชนะ ร, ล, ว ได้ นอกจำกนี้ภำษำชวำไม่ใช่ภำษำวรรณยุกต์
เมื่อระดับเสียงของค�ำเปลี่ยนไป ควำมหมำยของค�ำยังคงเดิม แต่ภำษำไทยเป็นภำษำวรรณยุกต์
กล่ำวคือ เสียงวรรณยุกต์มีส่วนก�ำหนดควำมหมำยของค�ำ

119

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
นักเรียนศึกษาเกีย่ วกับการใชคาํ ยืมภาษาเขมรในภาษาไทย ปรากฏ ครูควรใหนักเรียนรวมกันยกตัวอยางคํายืมภาษาเขมรจากวงศัพทตางๆ ที่
การใชในลักษณะใดบาง นําคําศัพทที่รวบรวมไดมาจัดหมวดหมูตาม นักเรียนพบเห็นในชีวิตประจําวัน และมอบหมายชิ้นงานยอยใหแกนักเรียน โดยให
ลักษณะการนํามาใช นําเสนอในรูปแบบตาราง พรอมคําอธิบาย ศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงดานความหมายของคํายืมภาษาเขมรเมือ่ นําเขา
มาใชในภาษาไทย บันทึกสาระสําคัญทีไ่ ดจากการสืบคนดวยตนเองลงสมุด

กิจกรรมทาทาย

นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงดานความหมายของคํายืม
ภาษาเขมรในภาษาไทย เกิดการเปลี่ยนแปลงความหมายในลักษณะใดบาง
พรอมยกตัวอยางประกอบ นําเสนอในรูปแบบใบงานเฉพาะบุคคล

คู่มือครู 119
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบายความรู
เกี่ยวกับลักษณะสําคัญของคํายืมภาษาตางประเทศ ๔) ค�าทีย่ มื มาจากภาษาจีน ไทยกับจีนมีควำมสัมพันธ์กนั ตัง้ แต่สมัยพ่อขุนรำมค�ำแหงมหำรำช
ที่พบในภาษาไทย ผานขอคําถามของครู พระองค์โปรดเกล้ำฯ ให้น�ำช่ำงจีนเข้ำมำท�ำเครื่องถ้วยชำม เรียกว่ำ “ชำมสังคโลก” มีเสียงเพี้ยนมำจำก
• คํายืมภาษาชวา มลายู มีลักษณะสําคัญ “สวรรคโลก” คนไทยและคนจีนติดต่อสื่อสำรกันมำนำนจนมีกำรยืมค�ำภำษำจีนมำใช้ ส่วนใหญ่เป็น
อยางไร ภำษำจีนแต้จิ๋วและภำษำจีนฮกเกี้ยน โดยค�ำภำษำจีนที่น�ำมำใช้ในภำษำไทย เช่น
(แนวตอบ มีลักษณะสําคัญ ดังนี้
ค�ำ ควำมหมำย ค�ำ ควำมหมำย
• คํายืมภาษาชวา มลายู สวนใหญเปน
พะโล้ ชื่ออำหำรชนิดหนึ่ง โละ ทิ้งเสีย, ใส่ลง
คําสองพยางค
• คํายืมภาษาชวา มลายู ไมมีเสียงพยัญชนะ เก๊ะ ลิ้นชัก เกี๊ยว อำหำรชนิดหนึ่ง (แป้งห่อหมูสับ)
ควบกลํ้า กุ๊ย คนเลว นักเลง แต๊ะเอีย เงินสมนำคุณ
• คํายืมภาษาชวา มลายู ไมมีรูปวรรณยุกต บะหมี่ อำหำรชนิดหนึ่ง เป็นเส้นๆ ก๋ง ปู่
กํากับ) จะเห็นว่ำค�ำที่ยืมมำจำกภำษำจีนส่วนใหญ่มักมีเสียงวรรณยุกต์ตรีหรือจัตวำซึ่งมีพยัญชนะต้น
• คํายืมภาษาอังกฤษ มีลักษณะสําคัญอยางไร เป็นอักษรกลำง นอกจำกนี้ค�ำส่วนใหญ่จะประสมด้วยสระเสียงสั้น เอียะ อัวะ
(แนวตอบ มีลักษณะสําคัญ ดังนี้ ๕) ค�าที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ กำรติดต่อค้ำขำย กำรทูตกับชนชำติตะวันตกตั้งแต่สมัย
• คํายืมภาษาอังกฤษเปนคําหลายพยางค กรุงศรีอยุธยำ จนปัจจุบันที่ผู้คนทั่วโลกสำมำรถติดต่อสื่อสำรกันได้อย่ำงไร้พรมแดน ดังนั้น ภำษำไทย
• คํายืมภาษาอังกฤษเมื่อรับเขามาใช
จึงรับเอำภำษำอังกฤษเข้ำมำเป็นส่วนหนึ่งของภำษำ เช่น
ในภาษาไทยจะไมเปลี่ยนแปลงรูปคํา
• คํายืมภาษาอังกฤษมีพยัญชนะควบกลํ้า ค�ำ ควำมหมำย ค�ำ ควำมหมำย
ที่ไมมีในภาษาไทย เชน /บล/ /บร/ /ดร/ ดรัมเมเยอร์ คทำกร คอมพิวเตอร์ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ
/ฟล/ /ฟร/ /ทร/) คอร์รัปชัน กำรฉ้อรำษฎร์บังหลวง แอร์คอนดิชัน เครื่องปรับอำกำศ
ไวโอลิน เครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง เซอร์เวย์ ส�ำรวจ
ขยายความเข้าใจ Expand ฟุตบอล ชื่อกีฬำชนิดหนึ่ง สตำร์ต เริ่มต้น
นักเรียนใชความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับลักษณะ จะเห็นว่ำค�ำที่ยืมมำจำกภำษำอังกฤษส่วนใหญ่เป็นค�ำหลำยพยำงค์ โดยที่ภำษำอังกฤษมี
สําคัญของคํายืมภาษาตางประเทศ ที่ปรากฏใชใน กำรเปลีย่ นแปลงรูปค�ำตำมลักษณะของไวยำกรณ์ เช่น violin เป็น violins (ไวโอลิน ๒ ตัวขึน้ ไป) แต่เมือ่
ภาษาไทย รวบรวมคํายืมภาษาบาลี สันสกฤต เขมร ไทยยืมเข้ำมำใช้จะไม่มีกำรเปลี่ยนแปลงรูปค�ำไปตำมลักษณะไวยำกรณ์ มีกำรปรับเสียงให้เข้ำกับระบบ
ชวา-มลายู จีน และภาษาอังกฤษ จากสื่อตางๆ เสียงในภำษำไทย เช่น Football ออกเสียงเป็น ฟุดบอน นอกจำกนี้ยังมีกำรใช้เสียงพยัญชนะที่ไม่มี
ที่พบในชีวิตประจําวัน ภาษาละ 20 คํา ระบุเหตุผล
ในภำษำไทย เช่น เสียงพยัญชนะควบ ดร ในค�ำว่ำ ดรัมเมเยอร์
วา เพราะเหตุใดคําที่รวบรวมมา จึงเปนคําที่ยืม
มาจากภาษานั้นๆ ระบุความหมายและวิเคราะหวา ๖) ค�าทีย่ มื มาจากภาษาฝรัง่ เศส ฝรัง่ เศสเป็นชนชำติยโุ รปทีเ่ ข้ำมำติดต่อค้ำขำยกับไทยตัง้ แต่
เมือ่ ยืมเขามาใชแลวไดมกี ารเปลีย่ นแปลงความหมาย สมัยกรุงศรีอยุธยำ ภำษำไทยจึงปรำกฏค�ำที่ยืมมำจำกภำษำฝรั่งเศสอยู่เป็นจ�ำนวนมำก เช่น
ไปจากเดิมหรือไม อยางไร นําเสนอในรูปแบบ
ใบงานเฉพาะบุคคล 120

เกร็ดแนะครู บูรณาการอาเซียน
ครูควรยกตัวอยางคํายืมภาษาชวา-มลายู ที่นํามาใชในวงศัพทตางๆ เมื่อ 10 ประเทศ ไดแก พมา ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร
ใหนักเรียนฟง เชน อินโดนีเซีย บูรไน ฟลิปปนส และไทย รวมเปนประชาคมอาเซียนในป 2558
• คําที่ใชเรียกชื่อพืช เชน กระดังงา ทุเรียน เปนตน จะกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ เชน ตลาดสินคาและบริการที่ใหญขึ้น
• คําที่ใชเรียกชื่อสัตว เชน กะพง กะปะ อุรังอุตัง เปนตน สงผลใหการแขงขันทางการตลาดสูงขึ้น นอกจากนี้ยังสงผลใหบุคลากรใน 8 สาขา
• คําที่ใชเรียกสิ่งของ สถานที่ เชน กริช มัสยิด เบตง เปนตน อาชีพ ไดแก วิศวกร แพทย พยาบาล นักบัญชี นักสํารวจ ทันตแพทย สถาปนิก
• คําเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม เชน ตุนาหงัน อังกะลุง เปนตน และกลุมธุรกิจดานการทองเที่ยว สามารถเขาไปประกอบอาชีพในประเทศกลุม
• คํากริยาบางคํา เชน ตะเบะ เปนตน อาเซียนได จากขอความขางตน ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา “ความเปลี่ยนแปลง
จากคําที่ครูยกตัวอยางใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับคํายืมภาษาชวา-มลายู เพิ่มเติม ดังกลาวมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงทางดานภาษาหรือไม อยางไร” พรอมกับ
เพื่อวิเคราะหวาเมื่อยืมเขามาใชในภาษาไทยแลว ไดถูกเปลี่ยนแปลงดานความหมาย ตอบคําถามวา “การมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับภาษาของชนชาติตางๆ
ไปในลักษณะใด บันทึกสาระสําคัญที่ไดจากการสืบคนดวยตนเองลงสมุด สงครู โดยเฉพาะประเทศในกลุมอาเซียน สามารถสนทนาไดเขาใจ จะกอใหเกิดประโยชน
ตอนักเรียนอยางไร” โดยเขียนเปนเรียงความ ความยาวไมนอยกวา 1 หนากระดาษ
A4 ครูคัดเลือกเรียงความที่เขียนไดดีจํานวน 10 เรื่อง นําไปติดที่ปายนิเทศ

120 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
1. ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน โดยให
ค�ำ ควำมหมำย นักเรียนเปนผูสรางองคความรูเบื้องตน
โก้เก๋ หรูหรำ ภูมิฐำน เกีย่ วกับประโยคดวยตนเอง ขออาสาสมัคร
คูปอง บัตรหรือตั๋ว ออกมาเขียนกรอบขอความทั้ง 2 กรอบ
บนกระดาน อานออกเสียงพรอมๆ กัน
ครัวซองต์ ขนมปังประเภทหนึ่ง
ใหเวลา 5 นาที สําหรับการบันทึกขอสังเกต
โชเฟอร์ คนขับรถยนต์
• ฉันกิน
๗) ค�าทีย่ มื มาจากภาษาพม่า แพร่หลำยเข้ำมำในภำษำไทย ผ่ำนกำรท�ำสงครำม กำรค้ำขำย • ทานผูมีเกียรติทั้งหลาย
และศิลปวัฒนธรรม เช่น
ค�ำ ควำมหมำย
• ฉันกินขาว
• ทานผูมีเกียรติทั้งหลายกรุณาฟงทางนี้
กะปิ (งำปิ) ของเค็มท�ำจำกกุ้งหมักเกลือโขลก
ส่วย กำรเก็บภำษีอำกรสมัยโบรำณ จากนั้นครูสุมเรียกชื่อนักเรียนระบุขอสังเกต
หม่อง ค�ำน�ำหน้ำชื่อผู้ชำยชำวพม่ำ (ในภำษำพม่ำ หมำยถึง น้อง) ของตน
(แนวตอบ ขอสังเกตของนักเรียนมีความ
๓ ประโยคในภาษาไทย แตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับพื้นฐาน หรือรองรอย
ความรูเดิมของแตละคน)
กำรสื่อสำรเพื่อท�ำควำมเข้ำใจระหว่ำงกัน หำกใช้เพียงค�ำพูดเป็นค�ำๆ หรือเพียงกลุ่มค�ำ หลังจากสุมเรียกชื่อไดจํานวนหนึ่ง ครูควร
อำจไม่สำมำรถสื่อควำมกันได้ครบถ้วนชัดเจน จ�ำเป็นต้องใช้ค�ำหลำยค�ำเรียงต่อกันเป็นประโยค จึงจะ ชี้แนะเพิ่มเติม ขอความที่บรรจุอยูในกรอบแรก
ได้ใจควำมแจ่มชัด ตรงตำมเจตนำของผู้ส่งสำร ไมใชประโยคเปนเพียงนามวลี สวนขอความ
๓.๑ ควำมหมำยของประโยค ที่บรรจุอยูในกรอบที่สองเปนประโยค เพราะ
ประกอบดวย นามวลีและกริยาวลี
ประโยค เกิดจำกค�ำหลำยๆ ค�ำ หรือวลีที่น�ำมำเรียงต่อกันอย่ำงเป็นระเบียบ เพื่อให้แต่ละค�ำ 2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่อตอบคําถาม
มีควำมสัมพันธ์กัน มีใจควำมสมบูรณ์ ประกอบไปด้วยนำมวลีและกริยำวลี ซึ่งแสดงให้รู้ว่ำใคร ท�ำอะไร • จากกรอบขอความที่ 2 สามารถระบุ
ที่ไหน เมื่อไร อย่ำงไร เช่น แม่ไปตลำด ต�ำรวจจับคนร้ำย เป็นต้น องคประกอบหรือโครงสรางของประโยคได
๓.๒ ส่วนประกอบของประโยค หรือไม อยางไร
(แนวตอบ สามารถระบุได ประโยค
ประโยคประกอบด้วยส่วนส�ำคัญ ๒ ส่วน คือ นามวลี ท�ำหน้ำที่เป็นภำคประธำน และกริยาวลี
ประกอบดวยสวนสําคัญ 2 สวน ไดแก
ท�ำหน้ำที่เป็นภำคแสดง ซึ่งประโยคอำจมีเพียงกริยำวลีได้แต่จะมีเฉพำะนำมวลีไม่ได้
นามวลีกับกริยาวลี)
ข้อควำมต่อไปนี้ไม่เป็นประโยค เพรำะมีเฉพำะนำมวลี • นักเรียนคิดวาขอความตอไปนี้
นักเรียนทุกคน

เปนประโยคหรือไม เพราะเหตุใด “กรุณา
คุณครูทั้งหลำย

ลุกขึ้น” “โปรดยืนตรงเคารพธงชาติ”
121
(แนวตอบ ขอความขางตนเปนประโยค
แมจะปรากฏเพียงกริยาวลี แตก็สามารถ
สื่อความได)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอความใดตอไปนี้เปนประโยค
การเรียนการสอนเกี่ยวกับประโยคในภาษาไทย เปาหมายสําคัญนอกจากนักเรียน
1. พอเหนื่อย
จะสามารถวิเคราะหโครงสรางของประโยคทั้งประโยคสามัญ ประโยครวม
2. ทานผูมีเกียรติทั้งหลาย
และประโยคซอนไดแลว นักเรียนจะตองเขียนสื่อสารโดยใชประโยคแตละชนิดได
3. คนไทยรุนใหมในทศวรรษนี้
ถูกตองตามโครงสราง
4. พวกเรานักเรียนโรงเรียนวัดไทรยอย
ในเบื้องตนควรใหนักเรียนไดทบทวนองคความรูเดิมของตนเองเกี่ยวกับ
วิเคราะหคําตอบ ประโยคที่ใชสื่อสารใหเขาใจกันในชีวิตประจําวัน ความหมาย องคประกอบหรือโครงสรางของประโยคกอน ครูควรทําใหการทบทวน
ประกอบดวยองคประกอบหรือโครงสรางสําคัญ 2 สวน ไดแก นามวลี ความรูของนักเรียนเปนไปโดยงาย ดวยวิธีการยกตัวอยางขอความหรือประโยคที่มี
และกริยาวลี ขอความที่จัดวาเปนประโยคจะตองประกอบดวยสองสวน เงื่อนไขแตกตางกัน เพื่อใหนักเรียนไดฝกทักษะการสังเกตเปรียบเทียบ เชน
ดังกลาวขางตน เพื่อสื่อความวามีอะไรเกิดขึ้น หรืออะไรมีสภาพเปนอยางไร อาจยกตัวอยางประโยค “ฉันดื่ม” กับ “ฉันดื่มนํ้า” เพื่อใหนักเรียนเปรียบเทียบวา
จากตัวเลือกในขอ 2., 3. และ 4. เปนขอความที่ประกอบเพียงนามวลี ขอความใดเปนประโยค จากนั้นจึงใหนักเรียนระบุวิธีการสังเกตของตนเอง ซึ่งเทากับ
ไมมีกริยาวลีเพื่อบอกสภาพ สวนคําตอบในขอ 1. มีลักษณะเปนประโยค เปนการทบทวนองคความรูเดิมเกี่ยวกับประโยค
เพราะประกอบดวยนามวลี “พอ” และกริยาวลี “เหนื่อย” ประกอบกัน
สื่อความหมายไดเขาใจ ดังนั้นจึงตอบขอ 1.

คู่มือครู 121
ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Elaborate Evaluate
ส�ารวจค้นหา Explore
1. นักเรียนจับคูกับเพื่อนตามความสมัครใจ 1
จากนั้นใหรวมกันสืบคนองคความรูเกี่ยวกับ ข้อควำมต่
2 อไปนีเ้ ป็นประโยค เพรำะประกอบด้วยกริยำวลีเพียงล�ำพัง หรื หรือประกอบด้วยนำมวลี
องคประกอบสําคัญหรือโครงสรางของประโยค กับกริยำวลี
เพิ่มเติมจากพื้นฐานหรือรองรอยความรูเดิม กรุณำนั่งลง

ของตนเอง บันทึกสาระสําคัญที่ไดจากการ ต้องสู้ต่อไป


สืบคน ลงสมุด เพื่อนําไปใชในกิจกรรมตอไป นักเรียนทุกคนนั่งลง


2. ครูทําสลากเทากับจํานวนคูของนักเรียน ๑) ภาคประธาน คือ ค�ำหรือกลุ่มค�ำที่ท�ำหน้ำที่เป็นผู้กระท�ำหรือผู้แสดง เป็นส่วนส�ำคัญ


โดยเขียนหมายเลข 1, 2, 3 และ 4 ในจํานวน ของประโยค ซึ่งภำคประธำนอำจมีบทขยำยที่เป็นค�ำหรือกลุ่มค�ำต่อท้ำยเพื่อท�ำให้ใจควำมของประโยค
เทาๆ กัน หรือเฉลี่ยตามความเหมาะสม ชัดเจนยิ่งขึ้น
พรอมระบุขอความในแตละหมายเลข จากนั้น ๒) ภาคแสดง คือ ค�ำหรือกลุ่มค�ำที่ประกอบด้วยบทกริยำ บทกรรม หรือส่วนเติมเต็ม
ใหตัวแทนของแตละคูออกมาจับสลากประเด็น บทกริยำท�ำหน้ำที่เป็นตัวกระท�ำหรือตัวแสดงของประธำน ส่วนบทกรรมท�ำหน้ำที่เป็นผู้ถูกกระท�ำ
สําหรับการสืบคนความรูรวมกัน ดังนี้ และส่วนเติมเต็มท�ำหน้ำที่เสริมใจควำมของประโยคให้สมบูรณ์
หมายเลข 1 ประโยคสามัญ
หมายเลข 2 ประโยครวม นำมวลี กริยำวลี
หมายเลข 3 ประโยคซอน ภำคประธำน ภำคแสดง
หมายเลข 4 ประโยคซึ่งแบงตามเจตนาของ - หิว
ผูพูด น้อง หิว
โดยแตละคูควรสืบคนขอมูลเกี่ยวกับโครงสราง
น้องของฉัน หิวมำก
ภายในของประโยคที่คูของตนเองไดรับ
น้องของฉัน หิวมำกจนตำลำย
มอบหมาย โดยสามารถสืบคนความรูไดจาก
ตําราวิชาการตางๆ เชน หนังสือบรรทัดฐาน พี่ชำย เป็นคนเรียนเก่ง
ภาษาไทย เลม 3 (ชนิดของคํา วลี ประโยค พี่ชำยของหน่อย เป็นคนเรียนเก่งที่สุดในชั้นเรียน
และสัมพันธสาร) พี่ชำยของหน่อยซึ่งเป็นเพื่อนของฉัน เป็นคนเรียนเก่งทีส่ ดุ ในชัน้ เรียนจนใครๆ ต่ำงชืน่ ชม

อธิบายความรู้ Explain จำกตำรำงจะเห็นว่ำ ประธำน คือ นำมวลีซึ่งอำจเป็นค�ำนำมค�ำเดียว หรือค�ำนำมกับส่วนขยำย


ท�ำหน้ำทีเ่ ป็นผูแ้ สดงอำกำร ส่วนภำคแสดง คือ กริยำวลีทแี่ สดงอำกำรของประธำน ซึง่ ภำคแสดงจะต้อง
1. นักเรียนแตละคูที่ศึกษาในประเด็นเดียวกัน มีค�ำกริยำปรำกฏเสมอและอำจมีหน่วยกรรม หน่วยเติมเต็ม หรือหน่วยขยำยด้วยก็ได้
เขากลุมใหญเพื่อรวมกันแลกเปลี่ยนขอมูล
ความรู ความเขาใจ ใหถูกตองตรงกันอีกครั้ง ๓.๓ ชนิดของประโยคแบ่งตำมโครงสร้ำง
จากนั้นลงมติสงตัวแทนคูที่มีขอมูลถูกตอง ประโยคในภำษำไทยถ้ำแบ่งตำมโครงสร้ำงจะแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด ได้แก่ ประโยคสำมัญ
มากที่สุด และมีทักษะในการถายทอด ประโยครวม และประโยคซ้อน ดังนี้
เปนตัวแทนออกมาอธิบายความรู
2. ตัวแทนนักเรียนกลุมที่ศึกษาในประเด็น 122
“ประโยคสามัญ” ออกมาอธิบายความรูให
เพื่อนๆ กลุมอื่น ฟงหนาชั้นเรียน
กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
1 นามวลี คือ วลีที่มีนามหรือกลุมนามเปนสวนหลัก มีสวนประกอบ 2 สวน ไดแก นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับสวนหลัก สวนขยายของนามวลี และหนาที่ของ
สวนหลัก กับ สวนขยาย สวนหลักของนามวลีอาจเปนคํานาม หรือกลุมคํานามก็ได นามวลีในประโยค โดยยกตัวอยางประโยคประกอบคําอธิบายใหครบถวน
แตจะตองปรากฏเสมอ สวนขยายอาจเปนคํา กลุมคํา หรือวลีก็ได แตไมจําเปนตอง ถูกตอง นําขอมูลมาอภิปรายรวมกันภายในชั้นเรียน
ปรากฏในประโยค นามวลีทําหนาที่ไดหลายประการในประโยค ไดแก เปนประธาน
เชน “นกพวกนี้กินแมลงเปนอาหาร” เปนกรรมของกริยา เชน “เขาชอบภาษาไทย”
เปนหนวยเติมเต็มของกริยา เชน “เขาหนาตาเหมือนพอ” เปนหนวยเสริมความ เชน
“พอกลับบาน”
กิจกรรมทาทาย
2 กริยาวลี คือ วลีที่มีหนวยกริยาเปนสวนประกอบหลัก ซึ่งกริยาวลีเปนองคประกอบ
ที่สําคัญที่สุดของประโยค สวนหลักของกริยาวลีอาจเปนเพียงคํากริยาคําเดียว นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับกริยาวลี เพื่อตอบคําถามวา “เพราะเหตุใด
หรือคํากริยาเรียงตอกันก็ได กริยาวลี จึงเปนองคประกอบที่สําคัญที่สุดในประโยค ประโยคยอย
และอนุประโยค” โดยแสดงตัวอยางประโยคประกอบคําอธิบายใหชัดเจน
นําขอมูลมาอภิปรายรวมกันภายในชั้นเรียน

122 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
๑) ประโยคสามัญ หรือประโยคพืน้ ฐาน หมำยถึง ประโยคทีป่ ระกอบด้วยนำมวลี ท�ำหน้ำที่ อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับประโยค
เป็นภำคประธำน กับกริยำวลีท�ำหน้ำที่เป็นภำคแสดง ไม่มีอนุประโยคเป็นส่วนขยำย และไม่มีค�ำเชื่อม สามัญ โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการ
กริยำ ค�ำเชื่อมกริยำวลี หรือค�ำเชื่อมประโยค ฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
ประโยคสำมัญแบ่งเป็น ๒ ชนิด คือ ประโยคสำมัญที่มีกริยำวลีเดียวและประโยคสำมัญ • สังเกตประโยคตอไปนี้ “หนอยถูกสุนัขกัด”
ที่มีกริยำวลีหลำยวลีเรียงกันโดยไม่มีค�ำเชื่อมกริยำวลี
“นองถูกดุ” “หิวขาวจังเลย” ประโยคที่
กําหนดใหมีลักษณะสําคัญที่โดดเดนอยางไร
๑.๑) ประโยคสามัญทีม่ กี ริยาวลีเดียว ซึง่ ในกริยำวลีจะมีคำ� กริยำเพียงค�ำเดียว เช่น
และเปนลักษณะของประโยคชนิดใด
สุนารีเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ เป็นประโยคสำมัญที่มีกริยำวลีเดียว คือ (แนวตอบ ประโยคทีก่ าํ หนดให มีองคประกอบ
“เป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษำปีท ี่ ๒” ค�ำกริยำ เป็น ใช้เป็นส่วนหลักของกริยำวลี แสดงสถำนะของสุนำรี หรือโครงสรางพื้นฐาน ประกอบดวย
ประธำนในประโยค นามวลี ซึ่งทําหนาที่เปนประธานของ
สายใจกินขนมอย่างเอร็ดอร่อย เป็นประโยคสำมัญที่มีกริยำวลีเดียว คือ “กินขนม ประโยค และกริยาวลีซึ่งทําหนาที่ภาคแสดง
อย่ำงเอร็ดอร่อย”ค�ำกริยำ กิน ใช้เป็นส่วนหลักของกริยำวลี แสดงอำกำรของสำยใจ ประธำนในประโยค โดยเปนลักษณะสําคัญของประโยคสามัญ
๑.๒) ประโยคสามัญทีม่ หี ลายกริยาวลี หมำยถึง ประโยคสำมัญทีม่ โี ครงสร้ำงกริยำเรียง ที่มีกริยาวลีเดียว)
หรือมีกริยำวลีหลำยกริยำวลีท�ำหน้ำที่เป็นภำคแสดงของประธำนเดียวกันหรือต่ำงประธำนกันก็ได้ • สังเกตประโยคตอไปนี้ “แอวกับนองกําลัง
แม้จะมีหลำยกริยำวลีแต่ประโยคจะไม่มีค�ำเชื่อมที่เชื่อมกริยำวลีเหล่ำนั้น สำมำรถแบ่งประโยคสำมัญ นั่งอานหนังสือนิทาน” “สมพรทําอาหาร
หลำยกริยำวลีตำมล�ำดับเหตุกำรณ์ได้ ดังนี้
กินเอง” “ตะปูเกี่ยวเสื้อขาดเปนรู” ประโยค
ทีก่ าํ หนดให มีโครงสรางเบือ้ งตนทีเ่ หมือนกัน
เหตุกำรณ์ในประโยคเกิดขึ้นพร้อมกัน เช่น
อยางไร และมีลาํ ดับเหตุการณตา งกันอยางไร
กุ๊กนั่งรับประทานอาหารในห้องครัว เป็นประโยคสำมัญที่มีหลำยกริยำวลี คือ (แนวตอบ ประโยคทั้งสามมีลักษณะที่
“นัง่ รับประทำนอำหำรในห้องครัว” ค�ำกริยำ นัง่ - รับประทำน ใช้เป็นส่วนหลักของกริยำวลี แสดงอำกำร เหมือนกัน คือ ประกอบดวยนามวลี ซึ่งทํา
ที่เกิดขึ้นพร้อมกันของกุ๊ก ประธำนในประโยค หนาทีเ่ ปนประธาน และกริยาวลี ซึง่ ทําหนาที่
เหตุกำรณ์ในประโยคเกิดขึ้นต่อเนื่อง หรือเกิดก่อน - หลัง ตำมล�ำดับ เช่น ภาคแสดงของประโยค ลักษณะของกริยาวลี
แม่เดินไปซื้อกับข้าวที่ตลาด เป็นประโยคสำมัญที่มีหลำยกริยำวลี คือ “เดินไปซื้อ ทั้ง 3 ประโยค มีโครงสรางกริยาเรียง หรือ
กับข้ำวที่ตลำด” ค�ำกริยำ เดิน - ไป - ซื้อ ใช้เป็นส่วนหลักของกริยำวลี แสดงอำกำรที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกัน มีกริยามากกวาหนึ่ง โดยที่ไมมีคําเชื่อมกริยา
ของแม่ ประธำนในประโยค ประโยคทั้งสามมีขอแตกตางกัน คือ
เหตุกำรณ์หลังเป็นผลของเหตุกำรณ์แรก เช่น ประโยคแรก เปนเหตุการณทเี่ กิดขึน้ พรอมกัน
สายสุ นี ย์ ลื่น หกล้ ม ก้ น กระแทกพื้ น เป็นประโยคสำมัญที่มีหลำยกริย ำวลี คือ
ประโยคที่สอง เปนเหตุการณที่เกิดขึ้นแบบ
ตอเนื่องกัน หรือตามลําดับกอน หลัง
“ลื่นหกล้มก้นกระแทกพื้น” ค�ำกริยำ ลื่น - หกล้ม - กระแทก ใช้เป็นส่วนหลักของกริยำวลี แสดงอำกำร
และประโยคที่สาม เหตุการณหลังเปนผล
ของสำยสุนีย์ ประธำนในประโยคที่ประสบเหตุกำรณ์ โดยเหตุกำรณ์หลักเป็นผลของเหตุกำรณ์แรก ของเหตุการณแรก)

123

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT O-NE T เกร็ดแนะครู
ประโยคหนึ่งๆ ซึ่งมีความซับซอน นักเรียนคิดวาความซับซอนนั้น เกิดขึ้น
ครูควรใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียนเกี่ยวกับการแบงชนิดของประโยค
ในสวนใดของประโยค และมีสาเหตุอันเนื่องมาจากสิ่งใด
ในภาษาไทย โดยใชเกณฑที่แตกตางกัน จะทําใหไดชนิดของประโยคที่แตกตางกัน
แนวตอบ การที่ประโยคหนึ่งๆ มีความซับซอนนั้น เกิดขึ้นจากประโยค ดังนี้
บางประโยค ไมชดั เจนเพียงพอทีจ่ ะใชสอื่ สารทําความเขาใจระหวางกัน ประโยค • การแบงชนิดของประโยคโดยยึดตามโครงสรางของประโยค พิจารณาลักษณะ
บางประโยคเพียงทําใหคสู อื่ สารรูว า เกิดอะไรขึน้ หรืออะไรมีสภาพเปนอยางไร สําคัญของสวนประกอบภายในประโยค ไดแก ประโยคสามัญ ประโยครวม
แตอาจไมชดั เจนเพียงพอ เชน “เกษตรกรเลีย้ งปลาในกระชัง” กับ “เกษตรกร และประโยคซอน
เลี้ยงปลาเศรษฐกิจ เชน ปลานิล ปลาทับทิม ในกระชัง” จะสังเกตเห็นวา • การแบงชนิดของประโยคยึดตามมาลาหรือพิจารณาจากคําที่แสดงความหมาย
ประโยคที่สองมีความชัดเจนกวาประโยคแรก โดยเพิ่มสวนขยายนามวลี โดยรวมของประโยค ไดแก ประโยคบอกเลา ประโยคคําถาม ประโยคคําสั่ง
“เศรษฐกิจ เชน ปลานิล ปลาทับทิม” มาขยายนามวลี “ปลา” ซึ่งเปน และประโยคปฏิเสธ
สวนหลักของนามวลี ทําหนาที่เปนกรรมในประโยค ดังนั้นความซับซอน • การแบงชนิดของประโยคตามเจตนาของผูพูด ไดแก ประโยคบอกใหทราบ
ของประโยคหนึ่งๆ จึงเกิดขึ้นกับ “โครงสราง” ของประโยค ประโยคเสนอแนะ ประโยคสั่ง ประโยคหาม ประโยคซอน ประโยคขู
ประโยคขอรอง ประโยคคาดคะเน และประโยคถาม

คู่มือครู 123
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ ๒) ประโยครวม  คือ  ประโยคย่อยตั้งแต่  ๒  ประโยคขึ้นไป  มารวมเป็นประโยคเดียวกัน 
ประโยครวม โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับ ประโยคย่อยสามารถเป็นได้ทั้งประโยคสามัญและประโยคซ้อน  โดยต้องปรากฏค�าเชื่อม  ได้แก่  และ
จากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ และก็ แต่ ทว่า แต่ทว่า หรือ ท�าหน้าที่เชื่อมประโยค เช่น
ตอบคําถาม ๒.๑) ประโยครวมที่เกิดจากประโยคสามัญรวมกับประโยคสามัญ เช่น
• สังเกตประโยคตอไปนี้ “วีณาเปนดารา         ต�ารวจและทหารเสียสละเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน  มาจากประโยคสามัญว่า 
และนักรอง” “สมภพไปเชียงใหมแตกัลยา ต�ารวจเสียสละเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน  และประโยคสามัญว่า  ทหารเสียสละเพื่อประโยชน์สุข
ไปลพบุรี” “เธอจะกินขนมหรือผลไม” ของประชาชน โดยใช้ค�าเชื่อม และ เชื่อมประโยคท�าให้มีเนื้อความคล้อยตามกัน
ประโยคทีก่ าํ หนดใหมลี กั ษณะสําคัญอยางไร ๒.๒) ประโยครวมที่เกิดจากประโยคสามัญรวมกับประโยคซ้อน เช่น
และเปนลักษณะของประโยคชนิดใด         หมอจะไปหาคนไข้หรือจะให้คนไข้มาหาหมอ มาจากประโยคสามัญว่า หมอจะไปหา
(แนวตอบ จากประโยคที่กําหนดใหพบวา คนไข้ และประโยคซ้อนว่า หมอจะให้คนไข้มาหาหมอ โดยใช้คา� เชือ่ ม หรือ เชือ่ มประโยค ท�าให้มเี นือ้ ความ
มีโครงสรางภายใน ประกอบดวยประโยค ต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง 1
ยอยตั้งแต 2 ประโยคขึ้นไปมารวมเปน ๒.๓) ประโยครวมที่เกิดจากประโยคซ้อนรวมกับประโยคสามัญ เช่น
ประโยคเดียวกัน ซึ่งเปนลักษณะสําคัญของ         ก๊อกน�้าที่รั่วนั้นซ่อมแล้วแต่น�้าก็ยังไหลซึมออกมา  มาจากประโยคซ้อนว่า  ก๊อกน�้า
ประโยครวม) ที่รั่วนั้นซ่อมแล้ว และประโยคสามัญว่า น�้าก็ยังไหลซึมออกมา โดยใช้ค�าเชื่อม แต่ เชื่อมประโยคท�าให้มี
• จากประโยคที่กําหนดใหนักเรียนมีวิธีการ เนื้อความขัดแย้งกัน
สังเกตอยางไร จึงสามารถระบุไดวา ๒.๔) ประโยครวมที่เกิดจากประโยคซ้อนและประโยคซ้อน เช่น
ประโยคนั้นๆ ประกอบดวยประโยคยอย         สุดารับประทานอาหารที่ปรุงไม่ถูกสุขลักษณะจึงเกิดอาการท้องร่วงจนไปโรงเรียน
2 ประโยค ไม่ได้  มาจากประโยคซ้อนว่า สุดารับประทานอาหารที่ปรุงไม่ถูกสุขลักษณะ และประโยคซ้อนว่า สุดา
เกิดอาการท้องร่วงจนไปโรงเรียนไม่ได้ โดยใช้คา� เชือ่ ม จึง เชือ่ มประโยคท�าให้มเี นือ้ ความเป็นเหตุเป็นผล
(แนวตอบ ประโยครวม คือประโยคที่ประกอบ
๓) ประโยคซ้อน หมายถึง  ประโยคที่ประกอบด้วยประโยคหลัก  (มุขยประโยค)  และ
ดวยประโยคยอยตั้งแต 2 ประโยคมารวมกัน
ประโยคย่อย  (อนุประโยค)  โดยประโยคหลัก  เป็นประโยคที่มีอีกประโยคหนึ่งมาซ้อน  อาจจะเป็น
ดังนัน้ ในประโยคจึงปรากฏคําเชือ่ มทีแ่ สดงถึง
ประธาน เป็นส่วนเติมเต็ม หรือเป็นส่วนขยายก็ได้ 
การรวมประโยค เชน “และ” “และก็” “แต”
    ประโยคย่อย  คือ  ประโยคที่ขึ้นต้นด้วยค�าเชื่อม  สามารถท�าหน้าที่เป็นได้ทั้งนามวลี  คือ 
“ทวา” “แตทวา” “หรือ”)
เป็นประธาน  กรรม  หน่วยเติมเต็ม  หรือส่วนขยายส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยค  หรือท�าหน้าที่ขยาย
กริยาวลี
       ๑. ประโยคซ้อนที่อนุประโยคท�าหน้าที่เป็นประธาน  เช่น
■ ที่คุณพูดเป็นเรื่องเข้าใจผิด
       ๒. ประโยคซ้อนที่อนุประโยคท�าหน้าที่เป็นกรรม เช่น
■   ผู้อ�านวยการบอกครูว่าพรุ่งนี้ให้นักเรียนน�าต้นไม้มาคนละ ๑ ต้น
       ๓. ประโยคซ้อนที่อนุประโยคท�าหน้าที่เป็นหน่วยเติมเต็ม เช่น
■   แม่ภูมิใจที่ลูกเป็นคนดี

124

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
เพื่อความรู ความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับคําเชื่อมสมภาค ครูควรยกตัวอยาง นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับประโยครวมที่มีประธาน กรรม หนวยเติมเต็ม
ประโยค แลวใหนักเรียนวิเคราะหวา คําใดเปนคําเชื่อมสมภาค และใชเชื่อมระหวาง หรือหนวยเสริมความเปนคนหรือสิ่งเดียวกัน เมื่อนํามาใชในการสื่อสาร
หนวยทางภาษาประเภทใด บันทึกสาระสําคัญลงสมุด มีวิธีการใชอยางไร โดยยกตัวอยางประโยคประกอบนําขอมูลมาอภิปราย
รวมกันภายในชั้นเรียน

นักเรียนควรรู
กิจกรรมทาทาย
1 ประโยครวม ลักษณะสําคัญของประโยครวม คือ ตองมีคาํ เชือ่ มระหวางประโยค
ยอยทั้ง 2 ประโยค ซึ่งในทางหลักภาษาไทย เรียกคําเชื่อมประเภทนี้วา “คําเชื่อม
สมภาค” คือ คําเชื่อมที่ใชเชื่อมหนวยทางภาษาตั้งแต 2 หนวยขึ้นไป รวมเขาเปน นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับประโยคยอยที่นํามาสรางเปนประโยครวม
หนวยทางภาษาเดียวกัน ซึ่งหนวยทางภาษาที่นํามาเชื่อมดวยคําเชื่อมสมภาคนั้น เปนประโยคยอยชนิดใดบาง โดยยกตัวอยางประโยคประกอบนําขอมูลมา
ตองเปนหนวยทางภาษาประเภทเดียวกัน เชน คํานามกับคํานาม คําสรรพนาม อภิปรายรวมกันภายในชั้นเรียน
กับคําสรรพนาม นามวลีกับนามวลี ประโยคยอยกับประโยคยอย เปนตน

124 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. ตัวแทนนักเรียนกลุมที่ศึกษาในประเด็น
๔. ประโยคซ้อนที่อนุประโยคท�ำหน้ำที่ขยำยนำม เช่น “ประโยครวม” และ “ประโยคซอน” ออกมา
■ ผู้ชำยที่ยืนหน้าตู้โทรศัพท์คือพี่ชำยของฉันเอง อธิบายความรูใหเพื่อนๆ กลุมอื่น ฟงหนา
๕. ประโยคซ้อนที่อนุประโยคท�ำหน้ำที่ขยำยกริยำ เช่น ชั้นเรียน
■ สุปรำณีอ่ำนหนังสือจนสายตาสั้น 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
๓.๑) ประโยคซ้อนที่มีนามานุประโยค นำมำนุประโยค คือ ประโยคย่อยที่ท�ำหน้ำที่เป็น ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับประโยคซอน
นำมวลี คือ สำมำรถท�ำหน้ำทีเ่ ป็นประธำน กรรม หน่วยเติมเต็ม หรือหน่วยเสริมควำม ซึง่ นำมำนุประโยค โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟง
จะใช้ค�ำว่ำ ที่ ที่ว่า ว่า ให้ เป็นค�ำเชื่อม เช่น บรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
บุษยาได้ยินชาคริตพูดว่าพรุ่งนี้จะสอบเก็บคะแนน ประโยคหลัก คือ “บุษษำได้ยิน • สังเกตประโยคตอไปนี้ “เราตองบอกนริศรา
ชำคริตพูด” มีประโยคย่อย “ว่ำพรุ่งนี้จะสอบเก็บคะแนน” ท�ำหน้ำที่เป็นส่วนเติมเต็ม วาประกิตจะไปรวมงานคืนนี้” ประโยคที่
๓.๒) ประโยคซ้อนทีม่ คี ณ ุ านุประโยค คุณำนุประโยค คอื ประโยคย่อยทีท่ ำ� หน้ำทีข่ ยำยนำม กําหนดมีลักษณะสําคัญอยางไร และเปน
ที่อยู่หน้ำอนุประโยค ซึ่งคุณำนุประโยคจะใช้ค�ำว่ำ ที่ ซึ่ง อัน เป็นค�ำเชื่อมและเป็นประธำนของ ลักษณะของประโยคชนิดใด
อนุประโยคนั้น เช่น (แนวตอบ ประโยคที่กําหนด เปนประโยค
ดารารัตน์หญิงสาวซึ่งเกิดมาบนกองเงินกองทองฝันอยากประกอบอาชีพครู ที่ประกอบดวยประโยคหลัก ซึ่งมีประโยคยอย
ประโยคหลัก คือ “ดำรำรัตน์ฝนั อยำกประกอบอำชีพครู” มีประโยคย่อย “ซึง่ เกิดมำบนกองเงินกองทอง” อีกประโยคหนึ่งซอนอยู เปนลักษณะสําคัญ
ท�ำหน้ำที่ขยำยค�ำนำม ดำรำรัตน์หญิงสำว ของประโยคซอน)
๓.๓) ประโยคซ้อนที่มีวิเศษณานุประโยค วิเศษณำนุประโยค คือ ประโยคย่อยที่ท�ำ • สังเกตความแตกตางของประโยคยอยจาก
หน้ำที่เหมือนวิเศษณ์วลี คือ ท�ำหน้ำที่ขยำยกริยำวลี ซึ่งวิเศษณำนุประโยคสำมำรถอยู่ได้ทั้งหน้ำและ
ประโยคซอนที่กําหนดให “ที่คุณเลามานั้น
หลังประโยคหลัก แต่เมื่ออยู่หน้ำประโยคหลัก มักใช้ค�ำว่ำ ก็ จึง เลย ถึง เป็นค�ำเชื่อมเสริมอยู่ในประโยค
ไมถูกตองทั้งหมด” “สุรียซึ่งเปนนักเรียน
หลักนั้นด้วย เช่น
ดีเดนของโรงเรียนไดรับพระราชทานทุน
เขาท�างานหามรุ่งหามค�่าซึ่งไม่ดีกับสุขภาพ ประโยคหลัก คือ “เขำท�ำงำนหำมรุ่ง
เลาเรียนหลวง” “เขาอานหนังสือหามรุง
หำมค�่ำ” มีประโยคย่อยคือ “ซึ่งไม่ดีต่อสุขภำพ” ท�ำหน้ำที่ขยำยกริยำวลี หำมรุ่งหำมค�่ำ
หามคํ่าจนญาติตองหามสงโรงพยาบาล”
ค�ำเชื่อมวิเศษณำนุประโยคสำมำรถแบ่งกลุ่มได้ ดังนี้
แตละประโยคมีประโยคยอยลักษณะอยางไร
๑. ค�ำเชื่อมวิเศษณำนุประโยคบอกเวลำ ได้แก่ เมื่อ ขณะที่ ก่อน หลัง หลังจำกที่
แต่ ตั้งแต่ เช่น
(แนวตอบ ประโยคแรก “ที่คุณเลามานั้น”
แม่นั่งพักผ่อนหลังจากที่ท�ากับข้าวเสร็จ ประโยคย่อย คือ แม่ท�ำกัับข้ำวเสร็จ มี เปนประโยคยอยชนิด นามานุประโยค
“หลังจำกที่” เป็นค�ำเชื่อมบอกเวลำ เพราะทําหนาที่ไดเชนเดียวกับคํานาม
๒. ค�ำเชื่อมวิเศษณำนุประโยคบอกเหตุ ได้แก่ เพรำะ เนื่องจำก เช่น คือเปนประธานของกริยาวลี
คุณยายปวดน่องเพราะเดินขึ้นบันไดสูง ประโยคย่อย คือ ยำยเดินขึ้นบันไดสูง มี ประโยคที่สอง “ซึ่งเปนนักเรียนดีเดน
“เพรำะ” เป็นค�ำเชื่อมบอกเหตุ ของโรงเรียน” เปนประโยคยอยชนิด
๓. ค�ำเชื่อมวิเศษณำนุประโยคบอกผล ได้แก่ จน กระทั่ง จนกระทั่ง เช่น คุณานุประโยค ทําหนาที่ขยายนาม ที่อยู
เขาอ้วนจนเดินไม่ไหว ประโยคย่อย คือ เขำเดินไม่ไหว มี “จน” เป็นค�ำเชือ่ มบอกผล ขางหนา คือคําวา “สุรีย”
ประโยคที่สาม “จนญาติตองหามสง
125 โรงพยาบาล” เปนประโยคยอยชนิดวิเศษณา
นุประโยค ทําหนาที่ขยายกริยาวลี)

ขอสอบ O-NET
ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับการวิเคราะหโครงสรางประโยคความรวม เกร็ดแนะครู
ขอใดไมเปนประโยคความรวม ครูควรมอบหมายชิ้นงานยอยใหแกนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับคําเชื่อม
1. ผูใหญลีมาหามาลินีเพราะคิดถึงมาก วิเศษณานุประโยค ซึ่งมีอยูดวยกันหลายกลุม ไดแก คําเชื่อมวิเศษณานุประโยค
2. ผูใหญลีมาหามาลินีหลังจากสึกแลว บอกเวลา คําเชื่อมวิเศษณานุประโยคบอกเหตุ คําเชื่อมวิเศษณานุประโยคบอกผล
3. ผูใหญลีมาหามาลินีเลยไปทํานาสาย คําเชื่อมวิเศษณานุประโยคบอกความมุงหมาย คําเชื่อมวิเศษณานุประโยคบอกเงื่อนไข
4. ผูใหญลีมาหามาลินีซึ่งกําลังเลี้ยงไก คําเชื่อมวิเศษณานุประโยคบอกความขัดแยง ระบุคําเชื่อมกลุมนั้นๆ พรอมแสดง
วิเคราะหคําตอบ ประโยครวม คือ ประโยคยอยตั้งแต 2 ประโยคขึ้นไป ตัวอยางประโยคประกอบคําอธิบาย หรือครูอาจอธิบายความรูประเด็นนี้เองภายใน
มารวมเขาเปนประโยคเดียวกัน โดยมีคําเชื่อมทําหนาที่เชื่อมประโยคทั้งสอง ชั้นเรียน แลวใหนักเรียนมีสวนรวมในการยกตัวอยางประโยค บันทึกสาระสําคัญ
หากนักเรียนลองแยกประโยคในขอ 1. จะได “ผูใหญลีมาหามาลินี” “ผูใหญลี พรอมรูปประโยคที่ถูกตองลงสมุด สงครู
คิดถึงมาลินีมาก” ขอ 2. จะได “ผูใหญลีมาหามาลินี” “ผูใหญลีสึกแลว” ขอ 3.
จะได “ผูใหญลีมาหามาลินี” “ผูใหญลีไปทํานาสาย” ขอ 4. จะได “ผูใหญลี
มาหามาลินี” “มาลินีกําลังเลี้ยงไก” จากการแยกประโยคขางตน จะเห็นวา มุม IT
ประโยคในขอ 1., 2. และ 3. ประธานคนเดียวแสดงกริยา 2 กริยา สวนขอ 4.
มีประธาน 2 ประธาน ตางแสดงกริยาในแตละประโยค ดังนั้นจึงตอบขอ 4. นักเรียนสามารถคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยคไดจากเว็บไซต http://www.
gotoknow.org/blogs/posts/314521?
คู่มือครู 125
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. ตัวแทนนักเรียนกลุมที่ศึกษาในประเด็น
“ประโยคซึ่งแบงตามเจตนาของผูพูด” ออกมา ๔. ค�ำเชื่อมวิเศษณำนุประโยคบอกควำมมุ่งหมำย ได้แก่ เพื่อ เช่น
อธิบายความรูใหเพื่อนๆ กลุมอื่นฟง คุณแม่ทา� งานหนักเพือ่ หาเงินมาเลีย้ งดูลกู ประโยคย่อย คือ คุณแม่หำเงินมำเลีย้ งลูก
หนาชั้นเรียน มี “เพื่อ” เป็นค�ำเชื่อมบอกควำมมุ่งหมำย
2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย ๕. ค�ำเชื่อมวิเศษณำนุประโยคบอกเงื่อนไข ได้แก่ ถ้ำ หำก หำกว่ำ ถ้ำหำกว่ำ เช่น
ความรูแ บบโตตอบรอบวง ผานขอคําถามของครู ถ้าเขามาช้า ฉันจะไประยองคนเดียว ประโยคย่อย คือ เขำมำช้ำ มี “ถ้ำ” เป็นค�ำเชือ่ ม
• สังเกตประโยคตอไปนี้ “คุณไมนั่งลงหรือ” บอกเงื่อนไข
“อากาศรอนจังเลย” “ขับรถภาษาอะไรกัน” ๖. ค�ำเชื่อมวิเศษณำนุประโยคบอกควำมขัดแย้ง ได้แก่ ทั้งที่ แม้ว่ำ เช่น
ประโยคที่กําหนดใหมีลักษณะอยางไร แม้วา่ การจราจรจะติดขัด เขาก็ยงั มาถึงโรงเรียนตรงเวลา ประโยคย่อย คือ กำรจรำจร
(แนวตอบ ประโยคทั้ง 3 ประโยคขางตน ติดขัด มี “แม้ว่ำ” เป็นค�ำเชื่อมบอกควำมขัดแย้ง
เปนประโยคที่ใชสื่อสารในชีวิตประจําวัน
ซึ่งบางครั้งเจตนาของผูพูดอาจไมสอดคลอง
๓.๔ ชนิดของประโยคแบ่งตำมเจตนำ
กับรูปประโยค โดยประโยคแรก รูปประโยค กำรแบ่งประโยคตำมเจตนำของผู้ส่งสำรเป็นกำรแสดงให้เห็นควำมรู้สึก ควำมต้องกำร
ที่ปรากฏเปนรูปประโยคถาม แตผูพูดใชใน กำรแบ่งประโยคตำมเจตนำ สำมำรถแบ่งได้ ดังนี้
เจตนาที่ตองการจะเชื้อเชิญคูสนทนา ประโยค ๑) ประโยคบอกให้ทราบ คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องกำรบอกเล่ำหรืออธิบำยเรื่องรำวต่ำงๆ
ที่สอง รูปประโยคที่ปรากฏเปนรูปประโยค ให้ผู้ฟังทรำบ เช่น
บอกเลา แตผูพูดใชในเจตนาสั่ง หรือขอรอง ■ แม่ชอบท�ำแกงเขียวหวำนลูกชิ้นปลำกรำย
โดยอาจอยูในบริบทที่คูสนทนา กําลังสนทนา ■ พ่อไม่ชอบรับประทำนอำหำรที่ปรุงจำกเนื้อวัว
กันอยูในสถานที่หนึ่ง แลวผูพูดรูสึกรอน ■ ใครๆ ก็ชอบรับประทำนอำหำรฝีมือคุณยำย
ตองการใหคูสนทนาชวยเปดพัดลม หรือเปด ๒) ประโยคเสนอแนะ คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องกำรเสนอแนะเรื่องต่ำงๆ อำจปรำกฏค�ำกริยำ
หนาตาง แตอาจไมกลากลาวเจตนานัน้ โดยตรง ลอง ดู ค�ำช่วยกริยำ ควร ค�ำลงท้ำย นะ ซิ เป็นต้น เช่น
จึงใชประโยคดังกลาวเพื่อใหคูสนทนาตีความ ■ เธอควรเรียนรู้ด้วยตนเองก่อนขอควำมช่วยเหลือจำกคนอื่นนะ
สวนประโยคที่สาม รูปประโยคเปนประโยค ■ ลองไปนั่งตรงนั้นซิ เก้ำอี้ดูนุ่มมำก
คําถาม แตผูพูดใชในเจตนาเพื่อตําหนิ) ๓) ประโยคค�าสั่ง คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องกำรให้ผู้ฟังปฏิบัติตำม มักปรำกฏค�ำว่ำ จง ต้อง
• จากการใชรูปประโยคขางตน นักเรียนคิดวา น�ำหน้ำ เช่น
การสื่อสารระหวางผูพูดกับผูฟงจะสมบูรณ ■ ต้องท่องค�ำศัพท์วันละ ๑๐ ค�ำ กลำงวันนีร้ บั ประทำนไปรับประทำนก๋วยเตีย๋ วกัน

สื่อความเขาใจไดถูกตองตรงกัน จะตอง ■ จงเลือกค�ำตอบที่ถูกต้องที่สุด เธอไปห้องสมุดกับฉันเถอะ


อาศัยสิ่งใด ■ นั่งลง
(แนวตอบ ผูฟงจะตองอาศัยทักษะการตีความ ๔) ประโยคห้าม คือ ประโยคที่ผู้พูดสั่งห้ำมไม่ให้กระท�ำ มักปรำกฏค�ำว่ำ อย่า ห้าม หรือ
ผานสีหนา ทาทาง และนํ้าเสียงของผูพูด อำจลงท้ำยว่ำ นะ เช่น
เพราะในบางครั้งรูปประโยคที่ผูพูดสื่อสาร ■ ห้ำมส่งเสียงดัง อย่ำขับรถเร็วนะ

ออกมา อาจไมตรงกับเจตนาที่แทจริง
กลาวคือ ใชรูปประโยคอยางหนึ่ง แตมีเจตนา 126
อยางหนึ่ง)

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ประโยคในขอใดตอไปนี้ มีโครงสรางภายในแตกตางจากขออื่น
เพื่อใหความรู ความเขาใจของนักเรียนมีความครอบคลุมในประเด็นเกี่ยวกับ
1. ปรีชากินอาหารซึ่งแมของเขาเปนคนปรุง
การแบงชนิดของประโยค ซึ่งในหนังสือเรียนภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
2. ที่เขาทํามาทั้งหมดไมมีความหมายกับใครเลย
เลมนี้ ไดอธิบายรายละเอียดการแบงชนิดของประโยค โดยยึดหลักเกณฑ 2 ประการ คือ
3. เสื้อที่พีระสวมอยูตัดเย็บโดยชางประจําตัวของเขา
โครงสราง และเจตนาของผูพูด ดังนั้นครูจึงควรเพิ่มเติมความรูใหแกนักเรียนเกี่ยวกับ
4. ลําดวนซื้อพวงมาลัยซึ่งขายอยูที่สี่แยกมไหสวรรย
ชนิดของประโยคที่แบงตามมาลา ซึ่งมี 4 ประเภท ดังนี้
1. ประโยคบอกเลา คือ ประโยคที่มีเนื้อความบอกเลาเรื่องราวตางๆ ไมมีคําปฏิเสธ วิเคราะหคําตอบ จากตัวเลือกในแตละขอเปนประโยคซอนทั้งหมด แตมี
แสดงคําถาม ขอรอง หรือสั่ง อยูหนึ่งประโยคที่มีโครงสรางภายในตางไปจากขออื่น โดยตัวเลือกในขอ 1.,
2. ประโยคคําถาม คือ ประโยคที่มีคําแสดงคําถามปรากฏอยู เชน ใคร อะไร ไหน 3. และ 4. เปนประโยคซอนที่มีอนุประโยคชนิด คุณานุประโยคซอนอยู
ที่ไหน เมื่อไร โดยทําหนาที่ขยายคํานามซึ่งอยูขางหนา สวนขอ 2. เปนประโยคซอนที่มี
3. ประโยคคําสัง่ คือ ประโยคทีใ่ ชสงั่ หรือขอรองใหผหู นึง่ ผูใ ดทําอยางใดอยางหนึง่ ให อนุประโยคชนิด นามานุประโยคซอนอยู โดยทําหนาที่เปนประธานของ
4. ประโยคปฏิเสธ จะปรากฏถอยคํา “มิใช” “ไมได” ในประโยค ซึ่งประโยคบอกเลา กริยาวลี ดังนั้นจึงตอบขอ 2.
ประโยคคําถาม หรือประโยคคําสั่งที่มีคําปฏิเสธปรากฎอยู จะเปนประโยคปฏิเสธ
เชน ประโยคบอกปฏิเสธ ประโยคคําถามปฏิเสธ

126 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
๕) ประโยคชักชวน คือ ประโยคที่แสดงเจตนาชักชวนให้ผู้ฟังคล้อยตาม ท�าตามที่ผู้พูดพูด อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการ
อาจปรากฏค�าว่า กัน เถอะ นะ เถอะนะ เช่น วิเคราะหโครงสรางประโยค ผานขอคําถามของครู
เราเดินไปกันเถอะ
■ ■ เธอไปดูหนังกับฉันนะ • จากตารางวิเคราะหโครงสรางประโยคที่ครู
กลางวันนี้ไปรับประทานก๋วยเตี๋ยวกัน
■ ■ เธอไปห้องสมุดกับฉันเถอะนะ เขียนบนกระดาน หากนักเรียนจะตองใช
๖) ประโยคเงื่อนไข คือ ประโยคที่ผู้พูดมีเจตนาชักจูงให้ผู้ฟังท�าตาม โดยบอกผลของการไม่ ตารางดังกลาว วิเคราะหโครงสรางประโยค
กระท�าตามที่ผู้พูดพูดไว้ด้วย อาจปรากฏค�าเชื่อมว่า ถ้า หาก เช่น จะสามารถทําไดหรือไม และตองมีความรู
ถ้าเธอยังไม่หยุดคุย ครูจะไม่ให้ไปพักกลางวัน

เบื้องตนในเรื่องใด รวมถึงมีวิธีการอยางไร
หากงานไม่เสร็จไม่ต้องกลับบ้าน

(แนวตอบ ตารางดังกลาวสามารถใชวิเคราะห
๗) ประโยคขอร้อง คือ ประโยคทีผ่ พู้ ดู ต้องการให้ผฟู้ งั ช่วยกระท�าสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ให้ อาจปรากฏ โครงสรางประโยคได โดยผูวิเคราะหตองมี
ค�าว่า ช่วย กรุณา วาน โปรด ด้วย ที หน่อย เถอะ นะ เช่น
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับโครงสรางประโยค
ซึ่งประกอบดวยนามวลี ทําหนาที่เปน
ช่วยหยิบหนังสือบนชั้นให้หน่อยนะ

ภาคประธานในประโยค เปนผูแสดงกิริยา
โปรดปิดเครื่องมือสื่อสารก่อนชมภาพยนตร์ด้วยนะคะ
อาการหรือสภาพตางๆ และกริยาวลีซึ่ง

วานซื้อมะนาวให้ป้าทีเถอะ
ทําหนาที่เปนภาคแสดงในประโยค จะตองมี

กรุณาถอดรองเท้าก่อนเข้าโบสถ์ด้วย

คํากริยาปรากฏเสมอ โดยอาจมีหนวยกรรม
๘) ประโยคคาดคะเน คือ ประโยคที่ผู้พูดแสดงการคาดหมายต่อสิ่งที่ก�าลังจะเกิดขึ้นหรือ หนวยเติมเต็มหรือหนวยขยายปรากฏก็ได
เกิดขึ้นแล้ว อาจปรากฏค�าว่า คง อาจ ท่าจะ เห็นจะ น่ากลัว กระมัง ละซิ เช่น การวิเคราะหโครงสรางประโยคมีวิธีการ
น้องฟ้าคงกลับถึงบ้านแล้ว
■ ■ปีนี้น่ากลัวจะแล้งหนักกว่าปีก่อน เปนลําดับขั้น ดังนี้
วันนี้อาจกลับเย็นหน่อย
■ ■ฝนท่าจะตกอีกนาน • แยกสวนประกอบเบื้องตนของประโยค
นอนตื่นสายอีกละซิ
■ ■เห็นจะท้องเสียเพราะรับประทานอาหารสุกๆ ดิบๆ ออกเปนนามวลีกับกริยาวลี
คุณปู่ของโยมไม่ออกมาตักบาตรท่าจะล้มป่วยอีกกระมัง
■ • พิจารณาสวนของนามวลี แลวแยก
๙) ประโยคถาม คือ ประโยคที่ผู้พูดต้องการถามผู้ฟัง ในประโยคจะปรากฏค�าแสดงค�าถาม ระหวางสวนหลักกับสวนขยายของนามวลี
ใคร อะไร ที่ไหน อย่างไร ท�าไม เมื่อไร เท่าไร เช่น • พิจารณาสวนของกริยาวลี แลวแยก
ใครหยิบหนังสือของฉันไป
■ ■เธอพูดว่าอะไร ระหวางคํากริยาหลัก หนวยกรรม
ท�าไมท้องฟ้าตอนเย็นจึงเป็นสีส้ม คุณพ่อจะไปเที่ยวที่ไหน
■ ■ • พิจารณาหนวยกรรมเพื่อแยกระหวาง
แกงส้มมีวิธีการท�าอย่างไร
■ ■คุณยายจะมาเมื่อไร สวนหลักและสวนขยายของหนวยกรรม
ของชิ้นนี้ราคาเท่าไร

• พิจารณาสวนขยายของหนวยกรรม)
การเรียงร้อยถ้อยคÓให้เป็นประโยคเป็นสิง่ สÓคัญในกระบวนการสือ่ สาร ผูใ้ ช้ภาษาจึง • จากตารางดังกลาว นักเรียนสามารถ
ควรศึกษาโครงสร้างประโยค ได้แก่ ประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อน ตลอดจน บอกชนิดของประโยคโดยยึดจากโครงสราง
หน้าทีข่ องประโยค เพือ่ จะได้ใช้ภาษาสือ่ สารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่ปรากฏไดหรือไม และคือประโยคชนิดใด
(แนวตอบ ได ประโยคชนิดนั้น คือ
127 ประโยคซอน)

ขอสอบ O-NET
ขอสอบป ’52 ออกเกีย่ วกับการวิเคราะหชนิด โครงสรางและเจตนาของประโยค เกร็ดแนะครู
ประโยค “เงียบๆ หนอยไดไหม” เปน “(1) ประโยคชนิดใด” ตารางวิเคราะหโครงสรางประโยคดานลางนี้ ไวสําหรับครูเขียนใหนักเรียนดู
“(2) ละสวนใดของประโยค” “(3) แสดงเจตนาอะไรในการสื่อสาร” บนกระดาน เพื่อตอบคําถามในกระบวนการอธิบายความรู หนา 127
กลุมที่ 1 กลุมที่ 2 กลุมที่ 3
นามวลี กริยาวลี
(1) ชนิดของประโยค (2) ละสวนใดของ (3) แสดงเจตนาอะไร
ประโยค ในการสื่อสาร ภาคประธาน ภาคแสดง
ประโยคความเดียว ประธาน แจงใหทราบ นกกระยางตัวนั้น กินปลาซึ่งอาศัยอยูในหนองนํ้าเดียวกัน
ประโยคความซอน กรรม ถามใหตอบ นก ตัวนั้น กินปลาซึ่งอาศัยอยูในหนองนํ้าเดียวกัน
ประโยคความรวม กริยา ถามใหเลือก กระยาง กิน ปลาซึ่งอาศัยอยูในหนองนํ้าเดียวกัน
ประโยคความรวมซับซอน ประธานและกรรม ถามใหตอบรับ-ปฏิเสธ ปลา ซึ่งอาศัยอยูในหนองนํ้าเดียวกัน
ประโยคไมสมบูรณ ประธานและกริยา บอกใหทํา
ซึ่งอาศัยอยูในหนองนํ้า เดียวกัน
วิเคราะหคําตอบ ประโยค “เงียบๆ หนอยไดไหม” เปนลักษณะการใช
ประโยคในชีวิตประจําวันที่จะละสวนใดสวนหนึ่งของประโยค โดยที่ประโยคนี้
เปนประโยคความเดียว ละสวนกรรมของประโยค และมีเจตนาบอกใหทํา
คู่มือครู 127
ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand Evaluate
Engaae Expore Explain
ขยายความเข้าใจ Expand
1. นักเรียนคนหาขอความจากสื่อตางๆ ที่พบ
ในชีวิตประจําวัน นํามาวิเคราะหโดยใชตาราง
การวิเคราะหโครงสรางประโยค ซึ่งครูเคย
นําเสนอไวในกระบวนการขัน้ อธิบายความรู
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
หนา 127 จากนั้นใหระบุชนิดของประโยค
๑. กำรสร้ำงค�ำในภำษำไทยเกิดขึ้นเพรำะเหตุใด จงอธิบำย
ประเภทละ 10 ประโยค โดยนักเรียนตองอางอิง
๒. เหตุใดจึงมีกำรยืมค�ำภำษำต่ำงประเทศมำใช้ในภำษำไทยและภำษำต่ำงประเทศที่มีกำรยืมมำนั้น
แหลงที่มาของขอความทีน่ าํ มาวิเคราะห ได้แก่ภำษำใดบ้ำง
ตามความเปนจริง นําเสนอในรูปแบบใบงาน ๓. ประโยครวมต่ำงจำกประโยคซ้อนอย่ำงไร
เฉพาะบุคคล ๔. จงระบุว่ำประโยคที่ก�ำหนดเป็นประโยคชนิดใด
2. นักเรียนแตงประโยคดวยตนเอง ประเภทละ ๑) คนท�ำชั่วย่อมไม่ได้รับผลดี
5 ประโยค บันทึกลงสมุด สงครูพรอมกับ ๒) คุณจะไปเที่ยวเชียงใหม่หรือไม่
ใบงานเฉพาะบุคคล ๓) พ่อจะไปล�ำปำงแต่แม่จะไปล�ำพูน
๔) เธอชอบเรียนวิชำภำษำไทยหรือภำษำอังกฤษ
ตรวจสอบผล Evaluate ๕) อนงค์อยู่โรงเรียนซึ่งอยู่ติดกับบ้ำนของเธอ

1. ครูตรวจสอบตารางการวิเคราะหโครงสราง
ประโยคของนักเรียน โดยพิจารณาวาสามารถ
แยกสวนประกอบ หรือโครงสรางภายในของ
ประโยค และระบุชนิดของประโยคนั้นๆ
กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้
ไดถูกตองหรือไม กิจกรรมที่ ๑ ให้นักเรียนเลือกเพลงที่ชื่นชอบมำ ๑ เพลง แล้วจ�ำแนกว่ำมีค�ำประสม
2. ครูตรวจสอบประโยคที่นักเรียนแตงดวยตนเอง ค�ำซ�้ำ ค�ำซ้อน หรือค�ำสมำสอยู่ในเพลงประเภทละกี่ค�ำ พร้อมอธิบำย
โดยพิจารณาวา ประโยคนั้นๆ มีโครงสราง วิธีกำรสร้ำงค�ำของแต่ละค�ำให้ชัดเจน
ที่ถูกตองหรือไม กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนค้นหำค�ำยืมภำษำต่ำงประเทศจำกพจนำนุกรม จ�ำนวน ๑๐ ค�ำ
3. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู น�ำมำจัดท�ำเป็นบัตรค�ำยืม แล้วรวบรวมไปจัดป้ำยนิเทศ
กิจกรรมที่ ๓ ให้นกั เรียนแต่ละกล่มุ ช่วยกันแต่งประโยคสำมัญ ประโยครวม และประโยคซ้อน
มำอย่ำงละ ๓ ประโยค แล้วน�ำประโยคที่แต่งมำเรียบเรียงเป็นนิทำนสั้นๆ
หลักฐานแสดงผลการเรียนรู ๑ เรื่อง จำกนั้นน�ำมำเล่ำให้เพื่อนๆ ฟังหน้ำชั้นเรียน

1. ตารางวิเคราะหโครงสรางประโยค ประเภทละ
10 ประโยค รวมทั้งสิ้น 30 ประโยค
2. ประโยคที่แตงดวยตนเอง ประเภทละ
5 ประโยค รวมทั้งสิ้น 15 ประโยค

128

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. การสรางคําในภาษาไทย เปนวิธีการหนึ่งที่ทําใหมีคําใชเพิ่มมากขึ้นในภาษาไทย ดังนั้นสาเหตุที่ทําใหตองมีการสรางคํา คือ คําดั้งเดิมที่ใชสื่อสารกันในชีวิตประจําวัน
มีไมเพียงพอสําหรับการสื่อสาร
2. สาเหตุที่ตองยืมคําภาษาตางประเทศเขามาใชในภาษาไทย มีหลายประการ เชน ความสัมพันธทางดานภูมิศาสตร ประวัติศาสตร ชาติพันธุ การแลกรับวัฒนธรรม
ประเพณี หรือเทคโนโลยีตางๆ ซึ่งคํายืมภาษาตางประเทศที่ยืมเขามาใชในภาษาไทย เชน ภาษาบาลี สันสกฤต ภาษาเขมร ภาษาชวา-มลายู ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ
เปนตน
3. ประโยครวมมีโครงสรางที่แตกตางจากประโยคซอน คือ ประโยครวมเปนประโยคที่เกิดจากการนําประโยคยอยตั้งแต 2 ประโยคขึ้นไปมารวมกัน โดยปรากฏคําเชื่อม
สวนประโยคซอน คือ ประโยคหลักซึ่งมีประโยคอีกประโยคหนึ่งซอนอยู
4. ประโยคแรก “คนทําชั่วยอมไมไดรับผลดี” หากจําแนกตามเจตนาของผูพูดจะเปนประโยคบอกเลา แตถาพิจารณาตามโครงสรางจะเปนประโยคซอน
ประโยคที่สอง “คุณจะไปเที่ยวเชียงใหมหรือไม” หากจําแนกตามเจตนาของผูพูดจะเปนประโยคคําถาม แตถาพิจารณาตามโครงสรางจะเปนประโยครวม
ประโยคที่สาม “พอจะไปลําปางแตแมจะไปลําพูน” หากจําแนกตามเจตนาของผูพูดจะเปนประโยคบอกเลา แตถาพิจารณาตามโครงสรางจะเปนประโยครวม
ซึ่งปรากฏคําเชื่อมในประโยคคือคําวา “แต” ประโยคที่สี่ “เธอชอบเรียนวิชาภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ” หากจําแนกตามเจตนาของผูพูดจะเปนประโยคคําถาม
แตถาพิจารณาตามโครงสรางของประโยคจะเปนประโยครวม ซึ่งปรากฏคําเชื่อมคือคําวา “หรือ” ประโยคที่หา “อนงคเรียนหนังสือในโรงเรียนซึ่งอยูติดกับบานของเธอ”
หากจําแนกตามเจตนาของผูพูดจะเปนประโยคบอกเลา แตถาพิจารณาตามโครงสรางจะเปนประโยคซอนที่มีอนุประโยคชนิดคุณานุประโยค “ซึ่งอยูติดกับบานของเธอ”
ทําหนาที่ขยายคํานามที่อยูขางหนา คือคําวา “โรงเรียน”

128 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
สามารถใชคําราชาศัพทไดถูกตองเหมาะสม
กับฐานะของบุคคลแตละระดับ

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ใฝเรียนรู
3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ Engage

หน่วยที่ ò ครูนําเขาสูหนวยการเรียนรู ดวยวิธีการ


ตั้งคําถาม เพื่อกระตุนทักษะการคิด
• การเรียนรูเกี่ยวกับคําราชาศัพทใหเขาใจ
อยางถองแท นับเปนหนาที่ของปวงชน
ค�ำรำชำศัพท์ ชาวไทย อยางไร
ตัวชี้วัด ก ารใชคําราชาศัพทเปนระเบียบ
(แนวตอบ การศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับ
คําราชาศัพทใหเขาใจจนสามารถ ฟงรูเรื่อง
ท ๔.๑ ม.๒/๔ แบบแผนการใชภาษาไทยทีส่ อดคลองกับ
■ ใชคําราชาศัพท วัฒนธรรมไทย เปนการแสดงซึ่งความ เขียน และพูดสื่อสารไดถูกตอง นับเปน
เคารพเทิดทูนในสถาบันพระมหากษัตริย หนาที่สําคัญประการหนึ่งของปวงชน
สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง นอกจากนี้ สังคมไทยยังยกยองใหเกียรติ ชาวไทย เพราะเปนวิธีแสดงออกซึ่งความ
บุคคลในแตละระดับโดยแสดงผานการใช
■ คําราชาศัพท
ถอยคําทีเ่ หมาะสมกับพระสงฆหรือสุภาพชน
สํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ และแสดง
ดังนั้น การรูจ กั เลือกใชคําในระดับตางๆ ได ความจงรักภักดี)
อยางเหมาะสมกับบุคคลจึงเปนการอนุรักษ
วัฒนธรรมทางภาษาใหคงอยูตอไป

129

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู คําราชาศัพท เปาหมายสําคัญคือ นักเรียน
มีความรู ความเขาใจในหลักเกณฑการใชคําราชาศัพทใหถูกตองตามพระอิสริยยศ
จนสามารถนําไปใชไดจริงในชีวิตประจําวัน เชน การฟงขาวพระราชสํานักเขาใจ
การกราบบังคมทูลดวยการเขียน หรือดวยวาจาไดถูกตอง
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรออกแบบการเรียนการสอนโดยใหนักเรียน
เปนผูสืบคนความรูดวยตนเองโดยใชวิธีการจับกลุมยอยๆ จากนั้นครูควรรวบรวม
ขาวในพระราชสํานักมาใหนักเรียนเปรียบเทียบ เพื่อวิเคราะหความแตกตางระหวาง
คําราชาศัพทที่ใชสําหรับพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ โดยใชความรู
ความเขาใจ ที่ไดรับจากการสืบคนรวมกับเพื่อนเปนฐานขอมูล
การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยฝกทักษะการจําแนกประเภทและทักษะการ
นําความรูไปใชใหแกนักเรียน

คู่มือครู 129
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Elaborate Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน โดยขอ
อาสาสมัคร อานออกเสียงขอความตอไปนี้ ๑ ที่มาของคÓราชาศั พท์
ใหเพื่อนๆ ฟง 1
ค�คาราชาศัพท์ แปลควำมหมำยได้ว่ำ “ถ้อยค�ำที่ใช้ส�ำหรับพระรำชำ” ซึ่งต่อมำหมำยรวมถึง
ประเทศไทยมีพระมหากษัตริยเปนพระประมุข ค�ำที่ใช้กับพระภิกษุสงฆ์ ข้ำรำชกำร และสุภำพชนด้วย จำกศิลำจำรึกหลักที่ ๑ ของพ่อขุนรำมค�ำแหง
มาแตโบราณจนถึงปจจุบนั ทรงทํานุบาํ รุงบานเมือง มหำรำช ปรำกฏกำรใช้ค�ำรำชำศัพท์ซึ่งแสดงให้เห็นว่ำคนไทยมีค�ำรำชำศัพท์ใช้ตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย
บําบัดทุกข บํารุงสุขของอาณาประชาราษฎรดวย เป็นรำชธำนีและปรำกฏหลักฐำนว่ำมีกำรใช้ค�ำรำชำศัพท์มำกขึ้น ในสมัยสมเด็จพระรำมำธิบดีที่ ๑
ทศพิธราชธรรม และขัตติยวัตร ขัตติยธรรม (อู่ทอง)
พระมหากรุณาธิคุณดังกลาวทําใหพระมหากษัตริย 2
ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนำถได้ ถได้มีกฎมณเฑียรบำลที่ระบุถึงกำรใช้
ก ค�ำรำชำศัพท์อย่ำงเป็น
ทรงเปนศูนยรวมจิตใจของปวงชนชาวไทยตลอดมา
ลำยลักษณ์อกั ษรขึน้ ค�ำรำชำศัพท์จงึ เป็นถ้อยค�ำทีเ่ กิดขึน้ หลังจำกทีบ่ ำ้ นเมืองเปลีย่ นระบอบกำรปกครอง
บรรพชนไทยเคารพสักการะพระมหากษัตริยและ
จำกระบอบพ่อกับลูกมำเป็นแบบเทวรำชำ ที่มีควำมเชื่อว่ำกษัตริย์ คือ สมมติเทพ ท�ำให้มีกำรสร้ำงค�ำ
ตองการแสดงออกวาเทิดทูนพระประมุขของชาติ
ไวสูงสุด จึงคิดถอยคําที่ควรคาแกพระเกียรติมาใช ขึ้นใหม่ เพื่อแสดงควำมแตกต่ำงระหว่ำงกษัตริย์ซึ่งเป็นผู้ปกครองประเทศกับประชำชนทั่วไป
เปนคําราชาศัพทในการกราบบังคมทูลพระกรุณา ดังนั้น ค�ำรำชำศัพท์ จึงเป็นระเบียบของภำษำที่ต้องใช้ให้เหมำะสมกับระดับชั้นของบุคคลและ
ใหตา งจากถอยคําทีส่ ามัญชนพูด คําราชาศัพท กำรใช้ ถ้ อ ยค� ำ ส� ำ หรั บ พระมหำกษั ต ริ ย์ พระบรมวงศำนุ ว งศ์ ถื อ เป็ น กำรแสดงควำมจงรั ก ภั ก ดี
ไดกําหนดใชเปนแบบแผนสืบตอกันมา ถือเปน รวมถึงบุคคลชั้นผู้ใหญ่ที่พึงยกย่องนับถือตำมควำมเหมำะสมด้วย
วัฒนธรรมทางภาษาอันเปนเอกลักษณอยางหนึ่ง
ของชาติ ๒ ประโยชน์ของการเรียนคÓราชาศัพท์
บุคคลในสังคมมีระดับลดหลั่นกันตำมชำติวุฒิ คุณวุฒิ วัยวุฒิ คนไทยมีนิสัยสุภำพ อ่อนน้อม
จากนั้นตั้งคําถามกับนักเรียนวา ยกย่องให้เกียรติผอู้ นื่ กำรใช้ภำษำจึงต้องเลือกใช้คำ� ให้เหมำะสมกับฐำนะของบุคคล กำรใช้คำ� รำชำศัพท์
• ขอความดังกลาว แสดงใหเห็นที่มาของ จึงแสดงให้เห็นว่ำคนไทยมีวฒ ั นธรรมทำงภำษำทีส่ อดคล้องกับวัฒนธรรมอันดีของชำติ ดังนัน้ จึงควรศึกษำ
คําราชาศัพทหรือไม อยางไร เรือ่ งค�ำรำชำศัพท์และใช้ให้ถกู ต้อง ซึง่ กำรเรียนเรือ่ งค�ำรำชำศัพท์มปี ระโยชน์ ดังนี้
(แนวตอบ ขอความดังกลาวสะทอนใหเห็นที่มา ๑) ช่วยสืบทอดและรักษามรดกทางวัฒนธรรมของชาติ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรที่คนไทย
ของคําราชาศัพท โดยคําราชาศัพทที่กําหนด มีพระมหำกษัตริย์เป็นประมุขของชำติ มีพระพุทธศำสนำเป็นศำสนำประจ�ำชำติ มีกำรเคำรพยกย่อง
ใชในปจจุบันเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากความ ให้เกียรติซึ่งกันและกัน กำรใช้ค�ำรำชำศัพท์และค�ำสุภำพจึงแสดงถึงควำมเจริญรุ่งเรืองทำงวัฒนธรรม
จงรักภักดี การเคารพเทิดทูนที่ปวงชนชาวไทย ที่ควรภำคภูมิใจ
มีตอพระมหากษัตริย จึงตองใชถอยคําที่ตาง ๒) ช่วยให้เข้าใจภาษาที่ปรากฏในสื่อต่างๆ เช่น ข่ำว นวนิยำย บทประพันธ์ วรรณคดี
ไปจากสามัญชน)
กวีนิพนธ์ต่ำงๆ เป็นต้น
• การเรียนรูเกี่ยวกับคําราชาศัพทมีประโยชน
๓) ช่วยให้ใช้ภาษาในการสือ่ สารได้ถกู ต้องเหมาะสม ผูท้ ใี่ ช้ภำษำสือ่ สำรได้ถกู ต้องเหมำะสม
ตอชีวิตประจําวันของนักเรียนอยางไร
(แนวตอบ การเรียนรูเกี่ยวกับคําราชาศัพทชวย ย่อมได้รับกำรชื่นชมและเกิดควำมมั่นใจในกำรติดต่อสื่อสำร
ทําใหสามารถฟง เขียนหรือพูดคําราชาศัพท ๔) ช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพที่ดีแก่ตนเอง ท�ำให้เข้ำสังคมได้อย่ำงมั่นใจ กำรติดต่อสื่อสำร
ไดถูกตอง เหมาะสม เสริมสรางบุคลิกภาพ มีประสิทธิผล
ทางภาษาใหแกตนเอง อีกทั้งยังชวยสืบทอด
130
และรักษามรดกทางวัฒนธรรมของชาติให
คงอยูตอไป)

นักเรียนควรรู บูรณาการอาเซียน
1 คําราชาศัพท คําที่นํามาประกอบเปนคําราชาศัพทในภาษาไทย สวนใหญเปน ประเทศสมาชิกอาเซียนมีความหลากหลายและความคลายคลึงกัน ทั้งดาน
คําที่ยืมมาจากภาษาอื่น ไดแก ภาษาบาลี สันสกฤต เขมร และคําไทยรุนเกา สภาพภูมิศาสตร การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยตาง
คําราชาศัพทโดยสวนใหญเปนคําประสม ประกอบขึ้นจากคําตั้งแตสองคําขึ้นไป มีการแลกรับวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน รวมถึงการใชคําราชาศัพท ซึ่งประเทศไทย
และกําหนดใหใชแตกตางกันตามพระอิสริยยศ สาเหตุที่นําคําในภาษาเขมร ไดรับอิทธิพลมาจากชนชาติเขมร หรือประเทศกัมพูชาในปจจุบัน อันเนื่องมาจาก
มาประกอบเปนคําราชาศัพทนั้น นักปราชญทางประวัติศาสตรและภาษา กลาววา ในอดีตประเทศไทยใชระบอบการปกครองเชนเดียวกับประเทศกัมพูชา คือ ระบอบ
“เปนการเทิดพระเกียรติพระมหากษัตริยในฐานะทรงเปนผูปกครองแผนดิน” สมบูรณาญาสิทธิราชย พระมหากษัตริยทรงดํารงสถานะเปนสมมติเทพ
สวนการใชคําในภาษาบาลี สันสกฤต เปนเพราะคําทั้งสองเปนคําทางพระพุทธศาสนา ใหนักเรียนจัดทําสมุดภาพพระราชประวัติสังเขปขององคพระประมุขของ
ซึ่งถือวาเปนคําสูง จึงนํามาใชประกอบเปนคําราชาศัพท ประเทศสมาชิกอาเซียน 4 ประเทศ ไดแก ไทย กัมพูชา มาเลเซีย และบรูไน
2 กฎมณเฑียรบาล ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถไดระบุพระราชกําหนดเกี่ยวกับ รวบรวมคําราชาศัพทที่เกี่ยวของกับสถาบันกษัตริย จํานวนอยางนอย 50 คํา
ถอยคําที่จะใชกราบทูล คําที่ใชเรียกสิ่งของเครื่องใช และวิธีใชคํารับสําหรับกราบ พรอมคําอธิบาย แลวนําสงครู
บังคมทูลกับพระมหากษัตริยโดยเฉพาะ

130 คู่มือครู
ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expand Evaluate
ส�ารวจค้นหา Explore
นักเรียนจับคูกับเพื่อนตามความสมัครใจ
๓ คÓราชาศัพท์สÓหรับบุคคลต่างๆ จากนั้นใหรวมกันสืบคนความรูในประเด็นหลักการ
ใชคาํ ราชาศัพทใหถกู ตองตามพระอิสริยยศ รวมถึง
๓.๑ ค�ำรำชำศัพท์สำ� หรับพระมหำกษัตริย ์ พระบรมวงศำนุวงศ์ ขอควรคํานึงในการใช โดยสามารถสืบคนความรู
๑) ค�ำนำมรำชำศัพท์ ค�ำที่บัญญัติขึ้นใช้โดยเฉพำะ หรือบำงค�ำอำจน�ำมำจำกค�ำนำมสำมัญ ไดจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เขาถึงได และมีความ
โดยใช้ค�ำอื่นประกอบข้ำงหน้ำหรือข้ำงหลัง เพื่อให้พิเศษกว่ำค�ำธรรมดำทั่วไป ดังนี้ นาเชื่อถือ เชน หนังสือราชาศัพท ของสํานักงาน
๑.๑) ค�ำนำมทีเ่ ป็นสิง่ ส�ำคัญอันควรยกย่อง ใช้ค�ำว่ำ “พระบรมอรรครำช” “พระบรม เสริมสรางเอกลักษณของชาติ สํานักงานปลัด
มหำรำช” “พระบรมมหำ” “พระบรมรำช” “พระบรม” “พระอัครรำช” “พระอัคร” “พระมหำ” สํานักนายกรัฐมนตรี หรือจากหนังสือเรียน
น�ำหน้ำ เช่น พระบรมอรรครำชบรรพบุรษุ พระบรมมหำรำชวัง พระบรมมหำชนก พระบรมรำชโองกำร ภาษาไทย หนา 131-133 บันทึกขอมูล ความรู
พระบรมรำชวงศ์ พระบรมรำชูปถัมภ์ พระบรมรำชำนุเครำะห์ พระบรมรำโชวำท พระบรมรำชินี ที่เปนประโยชนลงสมุด เพื่อใชสําหรับกิจกรรม
พระบรมเดชำนุภำพ พระบรมรำชำนุสรณ์ พระบรมฉำยำลักษณ์ พระบรมโอรสำธิรำช พระอัครรำชเทวี ตอไป
พระอัครมเหสี พระมหำปรำสำท พระมหำกรุณำธิคุณ พระมหำมงคล 1
๑.๒) ค�ำนำมที่เป็นสิ่งส�ำคัญรองลงมำ หรืือที่ประสงค์จะมิให้ปนกับเจ้ำนำยอื่นๆ หรือ
อธิบายความรู้ Explain
ไม่ประสงค์จะให้รู้สึกว่ำส�ำคัญดังข้อต้น ให้ใช้ค�ำว่ำ “พระรำช” ประกอบข้ำงหน้ำ เช่น พระรำชวัง นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
พระรำชนิเวศน์ พระรำชอ�ำนำจ พระรำชวงศ์ พระรำชประสงค์ พระรำชด�ำริ พระรำชด�ำรัส พระรำชทำน อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ
พระรำชปรำรภ พระรำชทรัพย์ พระรำชอุทิศ คําราชาศัพท โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับ
๑.๓) ค�ำนำมทีเ่ ป็นสิง่ สำมัญทัว่ ไป ไม่ได้แยกใช้ตำมล�ำดับชัน้ ให้ใช้คำ� ว่ำ “พระ” น�ำหน้ำ จากการสืบคนรวมกับเพื่อน เปนขอมูลเบื้องตน
เช่น สําหรับตอบคําถาม
พระหัตถ์ หมำยถึง มือ • นักเรียนสํารวจตนเองเกี่ยวกับการรับฟง
พระกร หมำยถึง แขน และชมขาวในพระราชสํานัก วิเคราะหวา
พระเสโท หมำยถึง เหงื่อ ความรูใดที่ทําใหสามารถแปลความขาวๆ
พระเขนย หมำยถึง หมอน นั้นไดเขาใจ ยกตัวอยางประกอบคําอธิบาย
ซึ่งบำงค�ำจะใช้ค�ำว่ำ “หลวง” หรือ “ต้น” ประกอบที่ท้ำยค�ำหลัก เช่น
(แนวตอบ ความรูเกี่ยวกับความหมายของ
คําราชาศัพท กลาวคือ คําราชาศัพทบาง
เครื่องต้น หมำยถึง อำหำร, เครื่องแต่งตัวในพระรำชพิธี
คําประกอบขึ้นจากคํานาม โดยทั่วไปแลว
ช้ำงต้น หมำยถึง ช้ำงพระที่นั่ง
เติมหนวยคําเติมหนา ทําใหสามารถแปล
เรือหลวง หมำยถึง เรือที่ขึ้นระวำงเป็นของหลวง
ความหมายได เชน ทรงบําเพ็ญพระราช-
๒) ค�ำกริยำรำชำศัพท์ ค�ำทีบ่ ญั ญัตขิ นึ้ ใช้โดยเฉพำะ หรือบำงค�ำอำจน�ำมำจำกค�ำกริยำสำมัญ กุศล ปรากฏการใชคําราชาศัพท ไดแก
โดยใช้ค�ำอื่นประกอบข้ำงหน้ำหรือข้ำงหลัง เพื่อให้พิเศษกว่ำค�ำธรรมดำทั่วไป ดังนี้ ทรงบําเพ็ญ พระราชกุศล โดยสามารถแปล
๒.๑) กริยำทีเ่ ป็นรำชำศัพท์ในตัวเอง ซึง่ ส่วนมำกเป็นค�ำทีย่ มื มำจำกภำษำบำลี สันสกฤต ความหมายได ดังนี้ ทรงบําเพ็ญ หมายถึง
หรือภำษำเขมร เช่น กริ้ว (โกรธ) ตรัส (พูด) โปรด (ชอบ รัก เอ็นดู) เสด็จ (เดินทำง) เสวย (กิน) เป็นต้น ทํา พระราชกุศล หมายถึง บุญ)
131

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดเปนความสําคัญของการรูคําราชาศัพท
ครูควรสรางความรู ความเขาใจเพิ่มเติมใหแกนักเรียนเกี่ยวกับการใช “ทรง”
1. มีความรูมากกวาผูอื่น
เปนกริยานุเคราะห หรือหนวยคําเติมหนาประกอบคําสามัญ ไดแก คํากริยา
2. ดัดแปลงคําศัพทไดตามตองการ
และคํานาม ใหเปนคํากริยาราชาศัพท เชน ทรงถาม ทรงยืน ทรงถือ ทรงเรือ
3. ออกเสียงภาษาไทยไดอยางถูกตอง
ทรงมา เมื่อเปนคํากริยาราชาศัพทแลว “ทรง” จะมีความหมายตามเนื้อความ
4. สืบทอดและรักษามรดกทางวัฒนธรรม
คําที่ตามหลัง เชน ทรงมา หมายถึง ขี่มา
วิเคราะหคําตอบ ภาษาไทยเปนภาษามีระดับ ซึ่งนับเปนเอกลักษณทาง
ภาษาที่แตกตางจากภาษาอื่น ดังนั้นการเรียนรูและทําความเขาใจ จึงถือเปน
การดํารงเอกลักษณและรักษาสืบทอดวัฒนธรรมทางภาษาวิธีหนึ่ง นักเรียนควรรู
ดังนั้นจึงตอบขอ 4.
1 เจานายอื่นๆ หมายถึง พระบรมวงศานุวงศองคอื่นๆ ซึ่งในการเขียนพระนาม
เจานาย จะตองลงสามานยนามบอกเครือญาติ และสามานยนามบอกชั้นเจานายกอน
ไดแก เจาฟา พระองคเจา หมอมเจา และเจานายที่มีพระอิสริยยศตางกรมอีก 7 ชั้น
แลวจึงตามดวยพระนาม หากทรงยศทางทหารหรือพลเรือน จะเขียนพระนามบอกยศ
ในเบื้องตน
คู่มือครู 131
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนจับคูก บั เพือ่ นโดยใชคเู ดิม เลือกอานขาว
ในพระราชสํานัก แลวเปรียบเทียบขอแตกตางเพื่อ ๒.๒) การประสมกริยาขึ้นเป็นค�าราชาศัพท์ เช่น เสด็จพระรำชสมภพ (เกิด) ทรง
สรุปหลักเกณฑการใชคําราชาศัพท พระประชวร (ป่วย) 1
โดยครูชี้นําใหนักเรียนสังเกตคําราชาศัพท ๒.๓) การใช้ “เสด็จ”” น�ำหน้ำค�ำที่เป็นกริยำสำมัญหรือกริยำรำชำศัพท์ โดยใช้ “เสด็จ”
ที่เหมือนกันในขาวนั้นๆ น�ำหน้ำเพื่อท�ำให้เป็นกริยำรำชำศัพท์ เช่น เสด็จประพำส เสด็จกลับ เสด็จไป เสด็จมำ เป็นต้น
(แนวตอบ การใชหนวยคําเติมหนาเมื่อตอง โดยควำมหมำยส�ำคัญจะอยู่ที่กริยำค�ำหลัง
ประกอบคําราชาศัพท จะผันแปรตามพระอิสริยยศ
๒.๔) การใช้ “ทรง” น�ำหน้ำค�ำกริยำสำมัญให้เป็นกริยำรำชำศัพท์ เช่น ทรงฟัง ทรงยินดี
โดยสามารถสรุปเปนหลักเกณฑ ไดดังนี้
ทรงชุบเลีย้ ง เป็นต้น แต่จะใช้ “ทรง” น�ำหน้ำค�ำกริยำทีเ่ ป็นรำชำศัพท์อยูแ่ ล้วให้เป็น ทรงประชวร ทรงเสวย
• คํานามราชาศัพทที่ใชสําหรับพระมหากษัตริย
เมื่อประกอบคําจะใชหนวยคําเติมหนา “พระ ไม่ได้เป็นอันขำด นอกจำกนี้ “ทรง” ยังใช้น�ำหน้ำนำมรำชำศัพท์เพื่อให้เป็นกริยำวลีรำชำศัพท์ เช่น
บรมราช” หรือ “พระบรม” เชน พระบรม- ทรงพระกรุณำ ทรงพระประชวร แต่จะใช้ “ทรง” น�ำหน้ำกริยำที่มีนำมรำชำศัพท์ต่อท้ำยไม่ได้ เช่น
ราชวโรกาส คํานามราชาศัพทที่ใชสําหรับ ทรงมีพระมหำกรุณำ อย่ำงนี้ ไม่ถูกต้องให้ใช้ว่ำ ทรงพระมหำกรุณำ หรือมีพระมหำกรุณำ
พระบรมราชินีนาถ พระบรมโอรสาธิราช เมื่อ ๓) ค�าสรรพนามราชาศัพท์ เป็นค�ำรำชำศัพท์ทใี่ ช้แทนชือ่ ซึง่ จ�ำแนกใช้ตำมชัน้ หรือฐำนะของ
ประกอบคําจะใชหนวยคําเติมหนา “พระราช” บุคคลที่มีฐำนันดรศักดิ์ ต่ำงกันตำมประเพณีนิยมซึ่งบัญญัติไว้ เช่น ข้ำพระพุทธเจ้ำ เกล้ำกระหม่อมฉัน
เชน พระราชวโรกาส สวนคําราชาศัพทที่ใช ใต้ฝ่ำละอองธุลีพระบำท
สําหรับพระราชวงศระดับชั้นสมเด็จเจาฟา, ค�ำรำชำศัพท์ส�ำหรับพระมหำกษัตริย์และพระบรมวงศำนุวงศ์ที่ควรศึกษำ มีดังนี้
พระบรมวงศเธอ พระองคเจา, พระเจาวรวงศเธอ ๓.๑) หมวดเครื่องราชกกุธภัณฑ์และเครื่องราชูปโภค เครื่องรำชกกุธภััณฑ์ คือ เครื่อง
พระองคเจา, พระวรวงศเธอ พระองคเจา เมื่อ
ประกอบพระบรมรำชอิสริยยศของพระมหำกษัตริย ์ ส่วนเครือ่ งเบญจรำชกกุธภัณฑ์ คือ เครือ่ งประกอบ
ประกอบคําจะใชหนวยคําเติมหนา “พระ” เชน
พระบรมรำชอิสริยยศของพระมหำกษัตริย ์ มี ๕ สิง่ ได้แก่ พระมหำพิชยั มงกุฎ (เครือ่ งสวมศีรษะ) พระแสง
พระวโรกาส)
ขรรค์ชัยศรี (ดำบ) ธำรพระกรชัยพฤกษ์ (ไม้เท้ำ) พัดวำลวิชนี พระแส้จำมรี (แส้) และฉลองพระบำท
เชิงงอน (รองเท้ำ) เครื่องรำชูปโภค คือ เครื่องใช้ตำมปกติของพระมหำกษัตริย์เป็นเครื่องประกอบ
พระรำชอิสริยยศที่ใช้ตั้งแต่งในงำนพระรำชพิธี เช่น พระสุพรรณรำช (กระโถนใหญ่)
๓.๒) หมวดขัตติยตระกูล เช่น
ค�ำรำชำศัพท์ ค�ำสำมัญ
สมเด็จพระเจ้ำลูกเธอ ลูกสำวที่เป็นสมเด็จเจ้ำฟ้ำของพระมหำกษัตริย์
สมเด็จพระเจ้ำหลำนเธอ หลำนชำย หลำนสำวที่เป็นสมเด็จเจ้ำฟ้ำของพระมหำกษัตริย์
พระสุณิสำ ลูกสะใภ้ของพระมหำกษัตริย์ถึงพระองค์เจ้ำ

132

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
คําวา “ทรง” ในขอใด เมื่อแปลเปนคําสามัญแลวมีความหมายแตกตางจาก
ครูควรใหขอสังเกตแกนักเรียนเกี่ยวกับคําราชาศัพท “พระราชดํารัส”
ขออื่น
“พระราชกระแส” “พระดํารัส” “รับสั่ง” “ตรัส” “ดํารัส” โดยกลาววา “พระราชดํารัส”
“พระราชกระแส” ใชแกพระมหากษัตริย สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรม- 1. ทรงกีฬา
ราชินี สมเด็จพระบรมราชชนก สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จ 2. ทรงเรือใบ
พระบรมโอรสาธิราช “พระดํารัส” “รับสั่ง” “ตรัส” ใชแกพระราชวงศชั้นสมเด็จเจาฟา 3. ทรงดนตรี
และพระองคเจา 4. ทรงธรรม
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1., 2. และขอ 3. คําวา “ทรง” มีความหมายวา เลน
สวนขอ 4. คําวา “ทรง” มีความหมายวา ฟง ดังนั้นจึงตอบขอ 4.
นักเรียนควรรู
1 การใช “เสด็จ” ยังสามารถใชนําหนาคํานามราชาศัพทเพื่อประกอบใหเปน
คํากริยาราชาศัพท เชน เสด็จพระราชดําเนิน เมื่อจะนํามาใชในประโยคตองเติมคํา
ซึ่งแสดงใจความสําคัญไวขางหลัง เชน เสด็จพระราชดําเนินเยือนตางประเทศ
หากไมเติมจะทําใหสื่อความไดไมสมบูรณ

132 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนจับคูกับเพื่อนโดยใชคูเดิม เลือกอาน
๓.๓) หมวดอวัยวะ เช่น ขาวในพระราชสํานัก แลวเปรียบเทียบขอแตกตาง
ค�ำรำชำศัพท์ ค�ำสำมัญ ค�ำรำชำศัพท์ ค�ำสำมัญ
เพื่อสรุปหลักเกณฑการใชคําราชาศัพท
โดยครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา
พระโอษฐ์ ปำก พระทนต์ ฟัน
• จากขาวพระราชสํานักที่อานสามารถ
พระขนง, พระภมู คิ้ว พระนลำฏ หน้ำผำก
สังเกตหลักเกณฑการประกอบคํากริยา
พระเพลำ ขำ, ตัก พระบำท เท้ำ
พระนำสิก, พระนำสำ จมูก พระชิวหำ ลิ้น
ราชาศัพทไดอยางไร
พระเศียร หัว พระศอ คอ
(แนวตอบ คํากริยาราชาศัพท คือคําที่บัญญัติ
พระหัตถ์ มือ
ขึ้นโดยเฉพาะ เชน กริ้ว โปรด เสวย
พระกรรณ หู, ใบหู
ทอดพระเนตร หรือบางคําอาจประกอบขึ้น
พระกัจฉะ รักแร้ พระชำนุ เข่ำ
จากคํากริยาสามัญ โดยใช “ทรง” เปนกริยา
๓.๔) หมวดค�ากริยา เช่น นุเคราะห หรือกริยาชวย เชน ทรงฟง
ค�ำรำชำศัพท์ ค�ำสำมัญ ค�ำรำชำศัพท์ ค�ำสำมัญ ทรงเปลี่ยน ทรงจุด)
ประทับ นั่ง, อยู่ ทรงยืน ยืน • การจะเขียนหรือพูดคําราชาศัพทใหถูกตอง
ทรงถำม, ตรัสถำม ถำม เสวย กิน
ควรมีความรูในเรื่องใดบาง
ทอดพระเนตร ดู ตรัส พูด (แนวตอบ ควรมีความรูในเรื่องลําดับชั้น
ทรงช้ำง ขี่ช้ำง ทรงพระสรวล หัวเรำะ พระบรมวงศานุวงศ วิธีการประกอบ
รับสั่ง สั่ง ทรงพระอักษร อ่ำนหนังสือ คําราชาศัพท การใชคําขึ้นตน คําสรรพนาม
ทรงพระด�ำเนิน เดิน ช�ำระพระหัตถ์ ล้ำงมือ คํารับ คําลงทาย สําหรับการกราบบังคมทูล
พระรำชทำน ให้ โปรด ชอบ, รัก, เอ็นดู
กราบทูล และทูล รวมถึงขอควรระวัง
ในการใช ทั้งการพูดและการเขียน)
๓.๕) หมวดเครื่องอุปโภค เช่น
ค�ำรำชำศัพท์ ค�ำสำมัญ ค�ำรำชำศัพท์ ค�ำสำมัญ
ฉลองพระบำท รองเท้ำ พระมำลำ หมวก
ทองพระกร ก�ำไล พระธ�ำมรงค์ แหวน
พระสุพรรณรำช กระโถนใหญ่ พระสุพรรณศรี กระโถนเล็ก
ลำดพระบำท พรมทำงเดิน พระตะพำบ, พระเต้ำ คนโทน�้ำ
พระเก้ำอี้ เก้ำอี้ พระเขนย หมอนหนุน
พระรำชบรรจถรณ์ ที่นอน พระวิสูตร ม่ำน
ฉลองพระองค์ เครือ่ งแต่งกำย พระสนับเพลำ กำงเกง

133

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
คําราชาศัพทในขอใดมีที่มาแตกตางจากขออื่น
ครูหาขาวในพระราชสํานัก ใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหขอแตกตางการใชคําวา
1. พระกราม 2. พระหัตถ
“ทูลเกลาฯ” และ “นอมเกลาฯ”
3. พระบรมราโชวาท 4. พระบรมราชชนนี
ขอแตกตางที่สรุปไดคือ ทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย...ใชกับของที่ยกใหได
วิเคราะหคําตอบ วิธีการพิจารณาขอสอบขอนี้ ใหพิจารณาจากที่มาของ สวนนอมเกลานอมกระหมอมถวาย...ใชกับของที่ยกขึ้นใหไมได และสิ่งที่เปน
คําที่นํามาประกอบเปนคําราชาศัพท ซึ่งคําที่นํามาประกอบเปนคําราชาศัพท นามธรรม
ในภาษาไทย สวนใหญเปนคํายืมภาษาเขมร บาลี สันสกฤต แตถงึ อยางไร
ก็ตามไดปรากฏคําราชาศัพททปี่ ระกอบขึน้ จากคําไทย คือ พระกราม พระเตา
พระรากขวัญ และพระยอด คําวาพระหัตถ พระบรมราโชวาท และพระบรม
ราชชนนี ประกอบขึ้นจากคํายืมภาษาบาลี และบัญญัติใชสําหรับ
พระมหากษัตริย ดังนั้นจึงตอบขอ 1.

คู่มือครู 133
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา
Engage Explore อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explain Elaborate Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน ดวยวิธีการ
ชวนนักเรียนสนทนาในประเด็นหลักปฏิบัติชาวพุทธ ๓.๒ ค�ำศัพท์เฉพำะส�ำหรับพระภิกษุสงฆ์
และสํารวจตนเองเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเปน พระภิกษุสงฆ์ เป็นบุคคลซึ่งได้รับกำรนับถือจำกบุคคลทั่วไป กำรใช้ถ้อยค�ำส�ำหรับพระภิกษุ
พุทธมามกะ จากนั้นตั้งคําถามวา จึงมีกำรก�ำหนดใช้เฉพำะ เพือ่ เป็นกำรแสดงถึงควำมเคำรพนับถือและยกย่องพระสงฆ์ กำรพู รพูดกับพระสงฆ์
1
• นักเรียนคิดวาการเปนพุทธมามกะที่ดีควรมี จะต้องมีสัมมำคำรวะ ส�ำรวม ไม่ใช้ถ้อยค�ำที่ไม่สุภำพ ผู้พูดจ�ำเป็นต้องเข้ำใจสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ด้วย
แนวทางปฏิบัติตนอยางไร จึงจะสำมำรถพูดได้ถูกต้อง
(แนวตอบ พุทธมามกะ หมายถึง ผูถือ ๑) ค�าทีพ่ ระสงฆ์ใช้ มีดงั นี้
พระพุทธเจาวาเปนของเรา หรือผูรับเอา ค�ำสรรพนำมบุรุษที่ ๑ ค�ำสรรพนำมบุรุษที่ ๒ ค�ำขำนรับ
พระพุทธเจาเปนของตน การประกาศตนวา
อำตมำ: ใช้กับฆรำวำสทั่วไป มหำบพิตร: ใช้กับพระมหำกษัตริย์ ขอถวำยพระพร: ใช้กับพระมหำ-
เปนพุทธมามกะ คือ การประกาศตนวาเปน กษัตริย์ และพระรำชวงศ์
ผูยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา ดังนั้น อำตมำภำพ: ใช้กับพระรำชวงศ์ บพิตร: ใช้กับพระรำชวงศ์ เจริญพร: ใช้กับฆรำวำสทั่วไป
เมื่อประกาศตนเชนนี้แลว จึงควรปฏิบัติตน ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้ำขึ้นไป และใน
ใหสมกับเปนพุทธมามกะดวยการยึด งำนพิธีกำร
พระรัตนตรัยเปนที่ตั้ง ทําความดีละเวน เกล้ำกระผม: ใช้กับพระภิกษุ โยม: ใช้กับบิดำ มำรดำ ครับ, ขอรับ: ใช้กับพระภิกษุ
ความชั่ว รักษากาย วาจา ใจ ใหพนจาก ด้วยกัน ที่เป็นพระอุปัชฌำย์ ญำติผู้ใหญ่ที่มีอำวุโสสูงกว่ำ ด้วยกันโดยทั่วๆ ไป
ความชั่วทั้งปวง การทําความดี การปฏิบัติตน หรือที่ด�ำรงสมณศักดิ์สูงกว่ำ
ตอพระสงฆ ผูเปนหนึ่งในพระรัตนตรัย ใหมี ผม, กระผม: ใช้กับพระภิกษุ คุณ, เธอ: ใช้กับฆรำวำสทั่วไป
ความเหมาะสมทั้งกาย วาจา และใจ รวมถึง ด้วยกันโดยทั่วๆ ไป
การใชคําสําหรับพระภิกษุสงฆไดถูกตอง ๒) ค�าทีใ่ ช้กบั พระสงฆ์ แบ่งเป็นหมวด เช่น
และเหมาะสม) หมวดค�ำนำม เช่น
กุฏิ เรือน หรือตึกส�ำหรับพระสงฆ์ใช้อยู่อำศัย
ส�ารวจค้นหา Explore กำสำวพัสตร์ ผ้ำย้อมฝำด หรือผ้ำเหลืองพระ
นักเรียนจับคูกับเพื่อนตามความสมัครใจ ครูทํา อำบัติ โทษที่เกิดจำกกำรล่วงละเมิดข้อห้ำมแห่งภิกษุ
สลากเทากับจํานวนคูทั้งหมดของนักเรียน โดยเขียน ตำลปัตร พัดใบตำล มีด้ำมยำว ส�ำหรับพระสงฆ์ใช้ในพิธีกรรม เช่น ในเวลำให้ศีล
หมายเลข 1 และ 2 ในจํานวนเทาๆ กัน หรือเฉลี่ย ปัจจุบันอนุโลมพัดที่ท�ำด้วยผ้ำว่ำตำลปัตรเช่นกัน
ตามความเหมาะสม พรอมระบุขอความในแตละ หมวดค�ำกริยำ เช่น
หมายเลข ดังนี้ จ�ำพรรษำ อยู่ประจ�ำที่วัดเป็นเวลำ ๓ เดือน ในฤดูฝน
หมายเลข 1 คําสุภาพสําหรับพระภิกษุ สงฆ นมัสกำร กำรแสดงควำมอ่อนน้อมด้วยกำรไหว้
หมายเลข 2 คําสุภาพสําหรับบุคคลทั่วไป อำรำธนำ กำรเชื้อเชิญ เช่น อำรำธนำให้แสดงธรรมเทศนำ
แตละคูสงตัวแทนออกมาจับสลาก โดยสามารถ
นิมนต์ กำรเชื้อเชิญ เช่น นิมนต์ไปฉันเพลที่บ้ำน
สืบคนความรูไดจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เขาถึงได
และมีความนาเชื่อถือ 134

นักเรียนควรรู
1 สมณศักดิ์ของพระสงฆ การเลือกใชถอยคําเพื่อสื่อสารกับพระภิกษุ สงฆ ไมวาจะดวยวิธีการเขียนหรือสนทนา ตองใชใหถูกตอง
สมเด็จพระสังฆราช
ตามสมณศักดิ์ของพระสงฆที่สื่อสารดวย ดังนั้นการมีความรู
ความเขาใจ เกี่ยวกับสมณศักดิ์ของพระภิกษุ สงฆ จึงสงผล
สมเด็จพระราชาคณะ
ตอการเลือกใชถอยคํา เชน การใชคําสรรพนาม คํากริยา
พระราชาคณะเจาคณะรอง
คําขึน้ ตน คําลงทาย คําขานรับ ซึง่ สมณศักดิข์ องพระภิกษุ สงฆ
พระราชาคณะชั้นธรรม
สามารถแสดงไดดังพีระมิด
พระราชาคณะชั้นเทพ
พระราชาคณะชั้นราช
พระราชาคณะชั้นสามัญ
พระครู
พระสงฆที่เปนเปรียญ
พระสงฆที่มีตําแหนงตางๆ
พระอนุจรหรือพระสงฆโดยทั่วไป
สามเณร

134 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนออกมาอธิบายความรู
๓.๓ ค�ำสุภำพส�ำหรับบุคคลทัว่ ไป ที่ไดจากการสืบคนรวมกับคูของตนเอง
ค�ำศัพท์ส�ำหรับบุคคลทั่วไปหรือสุภำพชนเรียกว่ำ ค�าสุภาพ เป็นค�ำที่ใช้สื่อสำรเพื่อให้เกิด โดยสุมเรียกประเด็นละไมตํ่ากวา 5 คน
ควำมสุภำพถูกต้องตำมกำลเทศะและบุคคล ไม่ใช้ค�ำหยำบ ค�ำผวน และค�ำคะนอง ค�ำสุภำพจึงช่วย จากนั้นใหบันทึกขอมูลที่เปนประโยชน ลงสมุด
ให้กำรสื่อสำรรำบรื่นและเกิดควำมเข้ำใจได้อย่ำงถูกต้องเหมำะสม 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
ค�ำสุภำพส�ำหรับบุคคลทั่วไปที่ควรศึกษำ มีดังนี้ อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ
คําสุภาพสําหรับพระภิกษุ สงฆ และคําสุภาพ
ค�ำสุภำพ ค�ำสำมัญ
สําหรับบุคคลทั่วไป โดยใชความรู ความเขาใจ
รับประทำน กิน
ที่ไดรับจากการฟง เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ
ทรำบ รู้ ตอบคําถาม
สวมหมวก ใส่หมวก • การสื่อสารกับพระภิกษุ สงฆ ใหถูกตอง
คลอดบุตร คลอดลูก เหมาะสมทั้งดานการสนทนาและการเขียน
ต้องกำร อยำก นักเรียนตองมีความรู ความเขาใจ
น�ำมำ เอำมำ ในเรื่องใดบาง
จ�ำคุก ติดคุก (แนวตอบ ตองมีความรู ดังตอไปนี้
ผึ่งแดด ตำกแดด • ลําดับชั้นสมณศักดิ์ของพระภิกษุ สงฆ
ถึงแก่กรรม ตำย (เมื่อสิ้นอำยุขัย) • การใชคําสรรพนามบุรุษที่ 1 สรรพนาม
เสียชีวิต ตำย (ด้วยสำเหตุอื่น) บุรุษที่ 2 และสรรพนามบุรุษที่ 3 การใช
ศีรษะ หัว คํากริยา คําขึ้นตน ลงทายใหเหมาะสม
แพทย์ หมอ แกสมณศักดิ์)
วณิพก ขอทำน (ที่ร้องเพลงแลกเงิน) • นักเรียนคิดวา การมีความรู ความเขาใจ
ขนมสอดไส้ ขนมใส่ไส้ เกี่ยวกับคําสุภาพ มีประโยชนตอชีวิต
กล้วยเปลือกบำง, กล้วยกระ กล้วยไข่ ประจําวันในดานใด และอยางไร
ถั่วเพำะ ถั่วงอก (แนวตอบ การมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ
ไม้ตีพริก สำก คําสุภาพ มีประโยชนตอชีวิตประจําวัน
โค วัว ในดานการสื่อสาร กลาวคือ ทําใหสามารถ
กระบือ ควำย พูดหรือเขียนสื่อสารไดถูกตอง เหมาะสม
สุนัข หมำ กับกาลเทศะ และบุคคล เพิ่มบุคลิกภาพ
สุกร หมู ทางภาษา สรางความศรัทธา และความ
เท้ำ ตีน นาเชื่อถือตอผูที่สื่อสารดวย)
รำกดิน ไส้เดือน

135

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดไมใชประโยชนของคําสุภาพ
ครูควรชี้แนะเพิ่มเติมใหแกนักเรียนเกี่ยวกับประโยชนของการศึกษาเรื่อง
1. ใชเพื่อแสดงกาลเทศะ
คําสุภาพวานอกจากจะทําใหสามารถใชถอยคําไดถูกตองตามกาลเทศะและโอกาส
2 ชวยแสดงภูมิของผูพูด
แลว ยังเปนเครื่องมือที่ชวยฝกอบรมจิตใจใหผูศึกษาเปนคนประณีตในการใชภาษา
3. เปนการใหเกียรติแกบุคคล
และชวยใหมวี งศัพทกวางขวางลึกซึง้ ซึง่ ถือเปนการเพิม่ พูนทักษะทางภาษาอีกทางหนึง่
4. ชวยหลีกเลี่ยงการใชถอยคําหยาบคาย
วิเคราะหคําตอบ คําสุภาพเปนคําทีส่ อื่ สารเพือ่ ใหเกิดความถูกตองตาม
กาลเทศะ ระหวางสุภาพชน โดยตองไมเปนคําหยาบ คําผวน คําคะนอง
ดังนั้นจึงตอบขอ 2.

คู่มือครู 135
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
1. นักเรียนรวบรวมขาวในพระราชสํานักจํานวน
1
20 ขาว นํามาวิเคราะหหลักเกณฑการประกอบ วัฒนธรรมไทยที่เป็นเอกลักษณ์ประการหนึ่ง คือ การเคารพยกย่องให้เกียรติผ้อู ่น ื
คําราชาศัพท พรอมเขียนคําอธิบายวาใช ความนอบน้อม ถ่อมตน โดยแสดงผ่านการใช้ภาษาในการสื่อสาร ดั 2 งจะเห็นได้จาก
ไดถูกตอง เหมาะสมกับพระอิสริยยศหรือไม การมีคÓราชาศัพท์ใช้เฉพาะกับพระมหากษัตริย ์ พระบรมวงศานุวงศ์ แสดงถึงความเคารพ
อยางไร นําเสนอในรูปแบบใบงานเฉพาะบุคคล เทิดทูนสูงสุดของคนไทย นอกจากนีย้ งั มีการใช้คÓเฉพาะสÓหรับพระสงฆ์ทส่ี ะท้อนให้เห็น
2. นักเรียนแตละคู ใชความรู ความเขาใจ ความเคารพ รวมถึงสุภาพชนที่ใช้คÓสุภาพสื่อสารกัน การสื่อสารโดยคÓนึงถึงวัฒนธรรม
ทํากิจกรรม ดังตอไปนี้ นอกจากจะสือ่ สารได้ประสบผลสÓเร็จแล้วยังจะได้รบั การยกย่อง ชืน่ ชมจากผูอ้ น่ื อีกด้วย
• คูที่ศึกษาในประเด็นคําสุภาพสําหรับ
พระภิกษุ สงฆ รวมกันสมมติสถานการณ
เขียนบทสนทนา ระหวางบุคคลทั่วไปกับ
พระภิกษุ สงฆ โดยเลือกใชถอยคําให
ถูกตองตามลําดับสมณศักดิ์ จํานวนไมตาํ่ กวา
3 สถานการณ และรวบรวมรูปแบบการใช
คําสรรพนาม คํากริยา คําขึ้นตน คําลงทาย
สําหรับการสนทนาและการเขียน รวมถึง
คําศัพทที่ใชสําหรับพระภิกษุ สงฆ จํานวน
ไมตํ่ากวา 20 คํา นําเสนอในรูปแบบตาราง
• คูที่ศึกษาในประเด็นคําสุภาพสําหรับบุคคล
ทั่วไป รวมกันจัดทําสมุดภาพขนาด A4
รวบรวมคําสุภาพทีป่ รากฏใชในชีวติ ประจําวัน
จํานวนไมตํ่ากวา 40 คํา พรอมหา
หรือสรางสรรคภาพประกอบดวยตนเอง

136

บูรณาการเชื่อมสาระ
นักเรียนควรรู คําสุภาพสําหรับพระภิกษุสงฆ สามารถบูรณาการไดกับเรื่องการเขียน
จดหมายกิจธุระ ในกลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย วิชาหลักภาษาและการใช
1 วัฒนธรรมไทย เปนสิ่งดีงามที่คนไทยสรางขึ้นมาตั้งแตบรรพบุรุษ และไดใช
ภาษา โดยครูมอบหมายชิ้นงานยอยใหแกนักเรียน สมมติสถานการณใหตนเอง
หลอหลอมใหคนไทยทุกหมูเหลา ทั่วทุกภูมิภาคเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ประชาชนใน
เปนประธานชมรมพุทธศาสตร เขียนจดหมายนิมนตพระภิกษุสงฆมาเปน
ชาติไดยึดถือปฏิบัติเพื่อเปนแนวทางการดําเนินชีวิต เกิดความภาคภูมิใจ โดยสามารถ
วิทยากรบรรยายในหัวขอ “หัวใจชาวพุทธ” โดยเลือกใชรูปแบบจดหมายที่
จําแนกวัฒนธรรมไทยที่โดดเดนไดเปน 3 กลุม ไดแก วัฒนธรรมที่เกี่ยวของกับ
ถูกตอง คํานึงถึงการใชถอยคํา เพื่อบรรจุลงในเนื้อความใหมีความเหมาะสม
พระมหากษัตริย วัฒนธรรมที่เกี่ยวของกับศาสนา และวัฒนธรรมที่เกี่ยวของกับอาชีพ
ตามลําดับสมณศักดิ์ จาหนาซองใหเรียบรอย แตไมตองบรรจุจดหมายลงซอง
2 คําราชาศัพทใชเฉพาะกับพระมหากษัตริย พระบรมวงศานุวงศ มีขอควรคํานึง นําสงครู ผลที่ไดรับจากการปฏิบัติกิจกรรมบูรณาการ จะชวยฝกทักษะการใช
ในการใช ดังนี้ ถอยคําเพื่อสื่อสารกับพระภิกษุสงฆ ใหแกนักเรียน
• ผูใชตองใชใหถูกตองตามเหตุผล
• ผูใชจะตองใชใหถูกตองตามแบบแผนของไวยากรณไทย ไมควรลอกเลียน
สํานวนภาษาตางประเทศ
• การใชคําราชาศัพท จะตองยึดตามแบบแผนที่ทางราชการ ไดแก
สํานักพระราชวัง สํานักราชเลขาธิการ กําหนดไวในขณะนั้น จะใชตาม
ดุลยพินิจของตนเองหรือผูหนึ่งผูใดไมได

136 คู่มือครู
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engaae Expore Explain Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
1. ครูตรวจสอบผลงานของนักเรียนโดยพิจารณา
• ใบงานเฉพาะบุคคล ใหพิจารณาวาวิเคราะห
หลักเกณฑการประกอบคําราชาศัพทได
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
ถูกตองหรือไม จากขาวในพระราชสํานัก
ที่รวบรวมจากสื่อตางๆ ในชีวิตประจําวัน
๑. กำรศึกษำค�ำรำชำศัพท์มีควำมส�ำคัญอย่ำงไร และเกิดประโยชน์ในชีวิตประจ�ำวันหรือไม่ อย่ำงไร • บทสนทนาระหวางบุคคลทั่วไปกับพระภิกษุ
๒. ค�ำรำชำศัพท์แบ่งตำมฐำนะของบุคคลได้กี่ประเภท อะไรบ้ำง
๓. กำรใช้ค�ำสุภำพในกำรสื่อสำรระหว่ำงบุคคลก่อให้เกิดผลดีอย่ำงไร
สงฆ ใหพิจารณาวาสามารถใชคําขึ้นตน
๔. จงอธิบำยวิธีกำรใช้ค�ำนำมรำชำศัพท์ พร้อมยกตัวอย่ำงประกอบ คําศัพทเฉพาะ คํากริยา คําสรรพนาม
๕. จงอธิบำยวิธีกำรใช้ค�ำกริยำรำชำศัพท์ พร้อมยกตัวอย่ำงประกอบ คําลงทาย สําหรับการสนทนาไดถูกตอง
หรือไม และรวมถึงพิจารณาความถูกตอง
ของตารางแสดงรูปแบบการใชคําสรรพนาม
คํากริยา คําขึ้นตน คําลงทาย สําหรับ
การสนทนา และการเขียนสื่อสารกับ
พระภิกษุสงฆ
• สมุดรวบรวมคําสุภาพ ใหพิจารณา
ความถูกตองของคํา การเปรียบเทียบใหเห็น
ระหวางคําสุภาพกับคําสามัญ รูปแบบการ
กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้ นําเสนอ ความสวยงามของภาพประกอบ
2. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู
กิจกรรมที่ ๑ ให้นักเรียนช่วยกันรวบรวมค�ำนำมรำชำศัพท์ในหมวดร่ำงกำยให้ได้มำกที่สุด
จำกนั้นจัดท�ำเป็นพจนำนุกรมค�ำนำมรำชำศัพท์ประจ�ำชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนรวบรวมค�ำรำชำศัพท์จำกหนังสือพิมพ์ แล้ววิเครำะห์ว่ำ หลักฐานแสดงผลการเรียนรู
ค�ำรำชำศัพท์ที่พบใช้ถูกต้องหรือไม่ พร้อมบอกควำมหมำย
และจัดหมวดหมู่ค�ำรำชำศัพท์ 1. ใบงานเฉพาะบุคคลวิเคราะหหลักเกณฑ
กิจกรรมที่ ๓ นักเรียนแบ่งกลุ่ม ช่วยกันแต่งประโยคที่มีค�ำรำชำศัพท์ กลุ่มละ การประกอบคําราชาศัพทจากขาวในพระราช-
๑๐ - ๑๕ ประโยค จำกนั้นให้นักเรียนในชั้นเรียนช่วยกันตรวจสอบ สํานักที่รวบรวมดวยตนเอง จํานวน 20 ขาว
ควำมถูกต้อง 2. บทสนทนาระหวางบุคคลทัว่ ไปกับพระภิกษุสงฆ
จํานวนไมตํ่ากวา 3 สถานการณ
3. ตารางแสดงรูปแบบการใชคําสรรพนาม
คํากริยา คําขึ้นตน คําลงทาย สําหรับการ
สนทนาและการเขียนสื่อสารกับพระภิกษุสงฆ
4. สมุดรวบรวมคําสุภาพจํานวนไมตํ่ากวา 40 คํา
พรอมภาพประกอบ
137

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. การศึกษาคําราชาศัพทมีประโยชนตอชีวิตประจําวัน ทั้งในการรับสารและสงสาร ทําใหสามารถสื่อสารทําความเขาใจกับผูอื่นไดถูกตอง ชวยเสริมสรางบุคลิกภาพ
ทางภาษา และยังเปนการอนุรักษ สืบทอด วัฒนธรรมทางภาษาใหคงอยูตอไป
2. สามารถแบงตามพระอิสริยยศได ดังนี้ ลําดับที่ 1 คําที่ใชสําหรับพระมหากษัตริย ลําดับที่ 2 คําที่ใชสําหรับสมเด็จพระบรมราชินีนาถ, สมเด็จพระราชชนนี,
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ลําดับที่ 3 คําที่ใชสําหรับสมเด็จเจาฟา ลําดับที่ 4 คําที่ใชสําหรับพระบรมวงศเธอ พระองคเจา
พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจา, พระวรวงศเธอ พระองคเจา ลําดับที่ 5 คําที่ใชสําหรับหมอมเจา
3. การใชคําสุภาพในการสื่อสารนอกจากจะชวยสรางความสัมพันธอันดีระหวางคูสื่อสาร กลาวคือ ชวยใหผูฟงรูสึกถึงการใหเกียรติ เปนมิตร ทําใหการสื่อสารราบรื่นแลว
ยังชวยเสริมบุคลิกภาพของผูใชภาษา แสดงใหเห็นถึงการเปนผูรูจักกาลเทศะและมีมารยาทอีกดวย
4. คํานามราชาศัพทที่ใชสําหรับพระมหากษัตริยจะใชหนวยคําเติมหนา “พระบรมราช” หรือ “พระบรม” คํานามราชาศัพทที่ใชสําหรับพระบรมราชินีนาถ
พระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร จะใชหนวยคําเติมหนา “พระราช” คํานามราชาศัพทที่ใชสําหรับพระบรมวงศานุวงศในระดับชั้นสมเด็จ
เจาฟา, พระบรมวงศเธอ พระองคเจา, พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจา, พระวรวงศเธอ พระองคเจา จะใชหนวยคําเติมหนา “พระ” นอกจากนี้คํานามราชาศัพท
ที่เปนสิ่งสามัญไมถือวาสําคัญ ไมจําเปนตองแยกใหเห็นวาใชเฉพาะสําหรับพระมหากษัตริย จะใชหนวยคําเติมหนา “พระ” เชน พระหัตถ พระกร
5. คํากริยาราชาศัพท คือ คําที่บัญญัติขึ้นโดยเฉพาะ เชน กริ้ว โปรด เสด็จ เสวย ทอดพระเนตร หรือบางคําอาจประกอบขึ้นจาก คํากริยาสามัญ โดยใช “ทรง”
เปนกริยานุเคราะห หรือกริยาชวย เชน ทรงฟง ทรงเปลี่ยน นอกจากนี้ยังใชทรงนําหนาคํานามราชาศัพทใหเปนกริยาราชาศัพท เชน ทรงพระกรุณา

คู่มือครู 137
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
สามารถแตงบทรอยกรองประเภทกลอนสุภาพ
หรือกลอนแปดโดยคํานึงถึงความถูกตอง
ของฉันทลักษณ และความไพเราะอันเนื่องมาจาก
การเลือกสรรคํา

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. มีวินัย
2. ใฝเรียนรู
3. รักความเปนไทย

กระตุน้ ความสนใจ Engage


ครูนําเขาสูหนวยการเรียนรู ดวยวิธีการ
ตั้งคําถามเพื่อกระตุนทักษะการคิด
หน่วยที่ ó
• นักเรียนคิดวา ความแตกตางระหวาง กำรแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน
งานเขียนประเภทรอยแกวกับรอยกรอง
คืออะไร
ตัวชี้วัด ร อยกรองประเภทกลอน เปน
ท ๔.๑ ม.๒/๓ ร อ ยกรองที่ นั บ ได ว  า แพร ห ลายที่ สุ ด
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ■ แตงบทรอยกรอง และเชื่ อ กั น ว า เป น ของไทยแท ๆ ไม ไ ด
ไดอยางอิสระ ทําใหไดคําตอบที่หลากหลาย ดัดแปลงจากคําประพันธของชนชาติอื่น
ใหอยูในดุลยพินิจของครูและชี้แนะเพิ่มเติม) คําประพันธประเภทกลอนแตงกันมาตัง้ แต
สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยแพรหลายและเฟอ งฟู
• การแตงบทรอยกรอง ใหมีความสมบูรณแบบ ■ แตงบทรอยกรองประเภทกลอน ในรัชสมัยพระเจาอยูหัวบรมโกศ ดังเห็นได
ในความคิดเห็นของนักเรียนควรมีลักษณะ จากวรรณคดีทแี่ ตงเปนกลอน เชน บทละคร
สําคัญอยางไร เรื่องอิเหนาและดาหลัง เพลงยาวเจาฟากุง
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
ไดอยางอิสระ โดยใชพื้นฐานและรองรอย
ความรูเดิมของตนเอง เปนขอมูลเบื้องตน 138
สําหรับการตอบคําถาม)

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู การแตงบทรอยกรองประเภทกลอน ครูควร
ชี้แนะแกนักเรียนวา การแตงบทรอยกรองไมใชเปนเรื่องของความสามารถพิเศษ
สิ่งสําคัญที่สุดอยูที่การฝกฝน เปาหมายสําคัญของหนวยการเรียนรูนี้ คือ นักเรียน
สามารถแตงบทรอยกรองประเภทกลอนสุภาพ หรือกลอนแปดได
การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรออกแบบการเรียนการสอน โดยใหนักเรียนเปน
ผูคนควาความรูเกี่ยวกับฉันทลักษณของกลอนแตละประเภทและศิลปะแหงการประพันธ
ใหเกิดความเขาใจอยางถองแทดวยตนเอง จนสามารถฝกปฏิบัติไดจริง รวมถึงรวมกัน
กําหนดเกณฑเพื่อใชประเมินผลงานของตนเอง และเพื่อนๆ ในชั้นเรียน
การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยฝกทักษะการสังเคราะห ทักษะการคิด
สรางสรรคและทักษะการประเมินใหแกนักเรียน เปนพื้นฐานเพื่อนําไปปรับใชในชีวิต
ประจําวันของตนเองตอไป

138 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา
Engage Explore อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอน ดวยวิธีการ
๑ ÅѡɳТͧ¡Å͹ ตั้งคําถามเพื่อกระตุนทักษะการคิด
กลอน เป็นบทร้อยกรองประเภทหนึ่งที่มีควำมแตกต่ำงจำกควำมเรียงร้อยแก้ว เนื่องด้วยมี • นักเรียนคิดวา เพราะเหตุใดบทรอยกรอง
ประเภทกลอนจึงเหมาะสมสําหรับผูที่เริ่มฝก
กำรบังคับคณะหรือจ�ำนวนบท จ�ำนวนบำท จ�ำนวนค�ำภำยในวรรค รวมถึงสัมผัสและเสียงวรรณยุกต์
แตงบทรอยกรอง
ซึ่งบทร้อยกรองประเภทกลอนแบ่งได้หลำยประเภทโดยมีชื่อเรียกแตกต่ำงกันไป เช่น กลอนบทละคร
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
กลอนสักวำ กลอนเสภำ กลอนดอกสร้อย โดยใช้อ่ำนและฟังเพื่อควำมเพลิดเพลิน ไดอยางอิสระ ทําใหไดคําตอบที่หลากหลาย)
กลอนเป็นบทร้อยกรองที่ได้รับควำมนิยมอย่ำงแพร่หลำย ทั้งในด้ำนผู้แต่งและผู้อ่ำน เพรำะมี หลังจบการเรียนการสอนในหนวยการเรียนรูนี้
กำรเรียบเรียงถ้อยค�ำที่คล้องจองกัน เมื่ออ่ำนแล้วจึงเกิดควำมรู้สึกไพเรำะ เพลิดเพลิน และจดจ�ำได้ง่ำย ควรถามคําถามนี้อีกครั้ง เพื่อตรวจสอบวานักเรียน
มีความรู ความเขาใจ ที่ถูกตองเกี่ยวกับลักษณะ
๒ ¡ÒÃᵋ§¡Å͹ÊØÀÒ¾ สําคัญของบทรอยกรองประเภทกลอนหรือไม
กลอนสุภำพเป็นร้อยกรองที่มีวิธีกำรแต่งค่อนข้ำงง่ำย เหมำะกับผู้เริ่มต้นแต่งค�ำประพันธ์ อยางไร
มีฉันทลักษณ์ ดังนี้
๒.๑ ลักษณะบังคับของกลอนสุภาพ
ส�ารวจค้นหา Explore
๑) คณะ บทหนึง่ มี ๒ ค�ำกลอน หรือ ๔ วรรค วรรคหนึง่ ๆ มี ๗ - ๙ ค�ำ ส่วนมำกนิยมให้ม ี ๘ ค�ำ ครูทําสลากเทากับจํานวนนักเรียนในชั้นเรียน
 
  
  
     
   
  
  
  
 โดยเขียนหมายเลข 1-8 ในจํานวนเทาๆ กัน
1 2 หรือเฉลี่ยตามความเหมาะสม พรอมระบุขอความ
   (วรรคสดั (วรรคสดับ บำงต�ำรำเรียกว่ำวรรคสลับ) (วรรครับ)
                 
ในแตละหมายเลข จากนั้นใหแตละคนออกมา
3         
4        
จับสลากประเด็นสําหรับการสืบคนความรู ดังนี้
   (วรรครอง) (วรรครอง) (วรรคส่ง)
หมายเลข 1 กลอนแปด
วรรคที่ ๑ เรียกว่ำ วรรคสดับ วรรคที่ ๒ เรียกว่ำ วรรครับ วรรคที่ ๓ เรียกว่ำ วรรครอง และ
หมายเลข 2 กลอนบทละคร
วรรคที่ ๔ เรียกว่ำ วรรคส่ง หมายเลข 3 กลอนเสภา
กำรแต่งกลอนสุภำพเรือ่ งหนึง่ จะมีควำมยำวกีบ่ ทก็ได้ แต่ตอ้ งแต่งให้ครบบท คือ ต้องจบลง หมายเลข 4 กลอนสักวา
ที่วรรคส่งเท่ำนั้น หมายเลข 5 กลอนดอกสรอย
๒) สัมผัส หมำยถึง ค�ำคล้องจองกัน ซึง่ กำรใช้คำ� สัมผัสจะช่วยท�ำให้บทร้อยกรองมีทว่ งท�ำนอง หมายเลข 6 กลอนนิทาน
เสียงที่ร้อยเรียงเกี่ยวเนื่อง ท�ำให้เกิดเสียงเสนำะที่ไพเรำะน่ำฟัง สัมผัสแบ่งออกเป็น หมายเลข 7 กลอนเพลงยาว
สัมผัสใน เป็นสัมผัสที่อยู่ภำยในวรรค ช่วยท�ำให้บทร้อยกรองมีควำมไพเรำะ แต่ไม่ถือเป็น หมายเลข 8 กลอนนิราศ
ข้อบังคับ สัมผัสในมีทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร นักเรียนที่จับสลากไดหมายเลขเหมือนกันให
สัมผั สนอก เป็นสัมผัสระหว่ำงวรรคและระหว่ำงบท โดยค�ำที่บังคับจะมีสัมผัสสระ อยูกลุมเดียวกัน รวมกันสืบคนความรูใหครอบคลุม
คล้องจองกัน ถือเป็นสัมผัสบังคับ ประเด็น ตอไปนี้
• ฉันทลักษณ
13๙ • ลักษณะนิยมการบรรจุเนื้อความ

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดมีความเกี่ยวของกับการแตงบทรอยกรองนอยที่สุด
1 วรรคสดับ วรรคขึ้นตนของบทรอยกรองประเภทกลอนสุภาพ โดยคําสุดทาย
1. ฉันทลักษณ
ของวรรคสามารถใชไดทุกเสียง แตไมนิยมใชเสียงสามัญ
2. บรรยากาศ
3. การเลือกสรรคํา 2 วรรครับ ทําหนาที่รับสัมผัสจากวรรคสดับและสงสัมผัสไปยังวรรครอง
4. แนวคิดและจินตนาการ โดยคําสุดทายของวรรครับนิยมใชเสียงจัตวา ไมนิยมใชเสียงสามัญ
วิเคราะหคําตอบ การแตงบทรอยกรอง ผูแตงจะตองมีคุณสมบัติ 3 วรรครอง ทําหนาที่รับสัมผัสจากวรรครับ และสงสัมผัสไปยังวรรคสง
หรือมีความรู ความเขาใจ เกีย่ วกับฉันทลักษณของบทรอยกรองแตละประเภท โดยคําสุดทายของวรรครองนิยมใชเสียงสามัญและตรี
เพือ่ ใหสามารถแตงไดถกู ตองทัง้ จํานวนคํา วรรค และตําแหนงสัมผัสทีก่ าํ หนด 4 วรรคสง ทําหนาที่รับสัมผัสจากวรรครอง และสงสัมผัสไปยังคําสุดทายของ
ไวตามรูปแบบ มีจินตนาการ ความคิดสรางสรรคในการถายทอดเนื้อหาที่เปน วรรครับในบทตอไป โดยคําสุดทายของวรรคสงนิยมใชเสียงสามัญ ไมนิยมใชเสียง
ประโยชนตอผูรับสาร และมีความสามารถในการสรรถอยคําที่มีความไพเราะ จัตวา
ทั้งดานเสียงและความหมาย เพื่อถายทอดแนวคิด จากตัวเลือกที่กําหนด
สิ่งที่มีความเกี่ยวของกับการแตงบทรอยกรองนอยที่สุด คือ บรรยากาศ
ดังนั้นจึงตอบขอ 2.

คู่มือครู 139
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่ 1 สงตัวแทน 2 คน ออกมา
อธิบายความรูในประเด็นที่กลุมของตนเอง สัมผัสระหว่างวรรค ค �ำสุดท้ำยของวรรคสดับสัมผัสกับค�ำที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรครับ
ไดรบั มอบหมาย พรอมระบุแหลงทีม่ าของขอมูล ค�ำสุดท้ำยของวรรครับสัมผัสกับค�ำสุดท้ำยของวรรครอง
2. ครูสมุ เรียกชือ่ นักเรียนเพือ่ อธิบายความรูเ กีย่ วกับ ค�ำสุดท้ำยของวรรครองสัมผัสกับค�ำที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคส่ง
ฉันทลักษณของกลอนแปด สัมผัสระหว่างบท ค�ำสุดท้ำยของวรรคส่งสัมผัสกับค�ำสุดท้ำยของวรรครับในบทต่อไป
(แนวตอบ กลอนแปด หรือกลอนสุภาพ หนึ่งบท แผนผังและตัวอย่างกลอนสุภาพ (กลอนแปด)
ประกอบดวย 4 วรรค ไดแก วรรคสดับ
วรรครับ วรรครอง และวรรคสง โดยมีสัมผัส
บังคับหรือสัมผัสนอก จํานวน 4 แหง ไดแก (วรรคสดับ)  
  
  
  
    
  
  
  
 (วรรครับ)
คําสุดทายของวรรคสดับ สัมผัสกับคําที่ 3  (วรรครอง)
    
  
  
  
   
  
  
  
 (วรรคส่ง)
หรือ 5 ของวรรครับ คําสุดทายของวรรครับ
สัมผัสกับคําสุดทายของวรรครอง คําสุดทาย      
  
  
  
    
  
  
  
 สัมผัสเชื่อม
ระหว่ำงบท
ของวรรครองสัมผัสกับคําที่ 3 หรือ 5 ของ     
  
  
  
    
  
  
   
 
วรรคสง หากมีการแตงตอมากกวาหนึ่งบท
ไดกําหนดสัมผัสระหวางบทไว ดังนี้ คําสุดทาย
ของบทแรกจะสงสัมผัสไปยังคําสุดทายของ
วรรครับในบทตอไป) กลอนสุภำพแปดค�ำประจ�ำบ่อน อ่ำนสำมตอนทุกวรรคประจักษ์แถลง
(บทที่ ๑)
3. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย ตอนต้นสำมตอนสองสองแสดง ตอนสำมแจ้งสำมค�ำครบจ�ำนวน
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับกลอนสุภาพ
• การแตงกลอนสุภาพ ไมไดมีการบังคับใช ก�ำหนดบทระยะกะสัมผัส ให้ฟำดฟัดชัดควำมตำมกระสวน
(บทที่ ๒)
เสียงวรรณยุกตที่คําสุดทายของแตละวรรค วำงจังหวะกะท�ำนองต้องกระบวน จึงจะชวนฟังเสนำะเพรำะจับใจ
แตเพราะเหตุใด กวีจึงนิยมใหคําสุดทายของ
วรรคสดับใชเสียงเอก โท ตรี หรือจัตวา 1
คําสุดทายของวรรครับใชเสียงจัตวา ๓) เสียงวรรณยุกต์ กำรประพันธ์กลอนสุภำพไม่ได้มีกำรบังคับใช้เสียงวรรณยุกต์ แต่
กวีนิยมใช้เสียงวรรณยุกต์ในต�ำแหน่งของกลอนสุภำพ เพื่อกำรอ่ำนรับรสเสนำะของกลอน ดังนั้น
คําสุดทายของวรรครองใชเสียงสามัญ หรือตรี
กวีจึงนิยมก�ำหนดเสียงวรรณยุกต์ในค�ำสุดท้ำยของแต่ละวรรค ดังนี้
คําสุดทายของวรรคสงใชเสียงสามัญ หรือตรี
วรรคสดับ ค�ำสุดท้ำยใช้ได้ทุกเสียง ไม่นิยมใช้เสียงสำมัญ เพรำะถือว่ำเรียบและเบำเกินไป
(แนวตอบ เพือ่ ใหการอานออกเสียงในแตละครัง้ วรรครับ ค�ำสุดท้ำยนิยมใช้เสียงจัตวำ ไม่นิยมใช้เสียงสำมัญและเสียงตรี
เกิดเสียงเสนาะ ไดรับรสไพเราะ เกิดชวง วรรครอง ค�ำสุดท้ำยนิยมใช้เสียงสำมัญและเสียงตรี ไม่นยิ มใช้เสียงเอก เสียงโท เสียงจัตวำ
จังหวะที่เหมาะสม) วรรคส่ง ค�ำสุดท้ำยใช้ได้ทุกเสียง แต่ไม่นิยมใช้เสียงจัตวำ
4. นักเรียนรวมกันสรุปลงความคิดเห็นวา วิธีจ�ำกำรก�ำหนดเสียงวรรณยุกต์ในค�ำสุดท้ำย ควรจ�ำกลอนที่ดีไว้สัก ๘ วรรค แล้วจึง
แหลงขอมูลของเพื่อนๆ กลุมที่ 1 มีความ พิจำรณำเสียงที่ห้ำมและที่นิยมจำกกลอนนั้นจะสะดวกยิ่งขึ้น
นาเชื่อถือหรือไม เพราะเหตุใด
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น 140
ไดอยางอิสระ ครูควรชี้แนะเพิ่มเติม)

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
เสียงวรรณยุกตของคําสุดทายในวรรครับตรงกับขอใด
ครูควรจัดกิจกรรมยอยภายในชั้นเรียน โดยยกตัวอยางกลอนสุภาพที่มีความไพเราะ
ทางดานเสียงมาอานใหนักเรียนฟงหรือขออาสาสมัคร จากนั้นใหรวมกันวิเคราะหวา 1. เสียงโท
เสียงวรรณยุกตของคําสุดทายในแตละวรรคคือเสียงวรรณยุกตใด เชน 2. เสียงตรี
สรวงสวรรคชั้นกวีรุจีรัตน ผองประภัสรพลอยหาวพราวเวหา 3. เสียงจัตวา
พริ้งไพเราะเสนาะกรรณวัณณา สมสมญาแหงสวรรคชั้นกวี 4. เสียงสามัญ
วิเคราะหคําตอบ ฉันทลักษณของกลอนไมไดกําหนดขอบังคับเกี่ยวกับ
การใชเสียงวรรณยุกตในคําสุดทายของแตละวรรค แตโดยทั่วไปผูแตง
นักเรียนควรรู มักนิยมใชเสียงวรรณยุกตที่คําสุดทายของแตละวรรค ดังตอไปนี้ คําสุดทาย
1 เสียงวรรณยุกต ในอดีตผูที่มีความสามารถในการแตงบทรอยกรองจะแตง ของวรรคสดับนิยมใชเสียงเอก โท ตรี จัตวา คําสุดทายของวรรครับนิยม
วรรณคดีเพื่อการฟงเปนสําคัญ เพราะคนไทยสวนใหญยังไมรูหนังสือ การแตง ใชเสียงจัตวา คําสุดทายของวรรครองนิยมใชเสียงสามัญ หรือตรี คําสุดทาย
วรรณคดีที่มีเสียงวรรณยุกตที่ไพเราะ เหมาะสม จะชวยทําใหผูฟงเกิดอารมณความ ของวรรคสงนิยมใชเสียงสามัญ หรือตรี ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหเกิดเสียงเสนาะ ชวงจังหวะ
รูสึกประทับใจ ซาบซึ้ง สงผลใหจดจําเนื้อหาสาระของเรื่องนั้นๆ และรับอรรถรส ที่เหมาะสม ไพเราะ ขณะที่อานออกเสียง ดังนั้นจึงตอบขอ 3.
จากการฟงไดมากยิ่งขึ้น

140 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่ 2 และ 3 สงตัวแทนกลุมละ
๒.๒ ประเภทของกลอนสุภาพ 2 คน ออกมาอธิบายความรูในประเด็นที่กลุม
กลอนสุภำพหรือกลอนแปด แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ กลอนขับร้องและกลอนเพลง ของตนเองไดรับมอบหมาย พรอมระบุแหลง
โดยกลอนขับร้องแบ่งย่อยออกเป็นกลอนบทละคร กลอนเสภำ กลอนสักวำ และกลอนดอกสร้อย ที่มาของขอมูล
ส่วนกลอนเพลงแบ่งออกเป็นกลอนนิรำศ กลอนหก และกลอนเพลงยำว 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน
แผนภูมิกลอนสุภาพ (กลอนแปด) อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ
กลอนสุภาพ กลอนบทละครและกลอนเสภา โดยใชความรู
ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟงบรรยาย
เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม
กลอนขับร้อง กลอนเพลง • กลอนบทละครมีลักษณะฉันทลักษณ
1
กลอนบทละคร กลอนนิรำศ เชนเดียวกับกลอนแปด แตมีลักษณะสําคัญ
กลอนเสภำ กลอนหก ที่แตกตางกันอยางไร
กลอนสักวำ กลอนเพลงยำว (แนวตอบ กลอนบทละครจะคํานึงถึงคํารอง
กลอนดอกสร้อย หรือเนื้อความเปนสําคัญในการบรรจุคํา
๑) กลอนบทละคร เป็นกลอนที่แต่งขึ้นส�ำหรับแสดงละคร มีลักษณะบังคับเช่นเดียวกับ ลงในแตละวรรค และการขึ้นตนบท
กลอนสุภำพ นิยมแต่งวรรคละ ๖ - ๙ ค�ำ โดยค�ำนึงถึงค�ำร้องเป็น2ส�ำคัญ และมีล3ักษณะเฉพำะของ กลาวคือ กลอนบทละครจะขึ้นตนบทดวย
” “บัดนั้น” เช่น
ค�ำขึ้นต้นบท โดยขึ้นต้นบทด้วยค�ำว่ำ “มาจะกล่าวบทไป” “เมื่อนั้น” และ “บั คําเฉพาะ “เมื่อนั้น” “บัดนั้น”)
• ความเหมาะสมของจํานวนคําภายในวรรค
เมื่อนั้น  
   
  
  
  
 ของกลอนเสภามีลักษณะสําคัญอยางไร
(แนวตอบ จํานวนคําภายในวรรคของ
   
  
  
  
    
  
  
  

กลอนเสภาขึ้นอยูกับเนื้อความที่ตองการ
   
  
  
  
    
  
  
  
 บรรยาย และความสะดวกในการเอื้อนเสียง
ของผูขับเสภา)
   
  
  
  
    
  
  
   
 
3. นักเรียนรวมกันสรุปลงความคิดเห็นวา
แหลงขอมูลของเพื่อนๆ กลุมที่ 2 และ 3
เมื่อนั้น วำยุบุตรวุฒิไกรใจหำญ
มีความนาเชื่อถือหรือไม เพราะเหตุใด
ยิ้มแล้วจึงตอบพจมำน ค�ำเจ้ำขำนนี้คมนัก
(รามเกียรติ์: พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
ไดอยางอิสระ ครูควรชี้แนะเพิ่มเติม)
๒) กลอนเสภา แต่งขึ้นส�ำหรับขับเสภำโดยมีกรับขยับเป็นจังหวะ เรียกว่ำ ขับเสภำ และเมื่อ
เริ่ ม ต้ น ข้ อ ควำมใหม่ ให้ ขึ้ น ต้ น ด้ ว ยค� ำ ว่ ำ “ครานั้ น ” ไว้ ต ้ น กลอนวรรคแรก จ� ำ นวนค� ำ ในวรรค
ไม่กำ� หนดตำยตัวขึน้ อยูก่ บั เนือ้ ควำมทีต่ อ้ งกำรบรรยำยและควำมเหมำะสมของกำรเอือ้ นเสียงประกอบ
กำรขับเสภำ เช่น
141

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
นักเรียนรวบรวมวรรณคดีเรื่องที่ประพันธดวยกลอนบทละคร ตามกําลัง 1 กลอนบทละคร อาจใสบทบอกเพลงหนาพาทยไวดานลางของกลอน
ความสามารถในการสืบคน จากนั้นใหวิเคราะหเกี่ยวกับลักษณะสําคัญ เชน 2 คํา เชิด หมายถึง เนื้อความมี 2 คํากลอน หรือ 4 วรรค และใชเพลงเชิด
ของกลอนบทละคร รูปแบบการใชคําขึ้นตนบท พรอมยกตัวอยางประกอบ เปนเพลงหนาพาทยบอกกิริยา อาการของตัวละคร เชน
นําเสนอบทวิเคราะหในรูปแบบใบงานเฉพาะบุคคล “พลางคะนึงถึงระเดนบุษบา พระราชาเศราจิตพิศวง
กําสรดระทดระทวยองค ใหเรงรัดจัตุรงครีบมาฯ”
ฯ 2 คํา ฯ เชิด
กิจกรรมทาทาย 2 เมื่อนั้น เปนคําขึ้นตนในกลอนบทละคร จะใชเมื่อกลอนบทนั้นๆ เนื้อความ
กลาวถึงตัวละครที่เปนตัวเจาหรือเปนตัวเอกในตอนนั้นๆ
3 บัดนั้น เปนคําขึ้นตนในกลอนบทละคร จะใชเมื่อกลอนบทนั้นๆ เปนเรื่องราว
นักเรียนรวบรวมวรรณคดีเรื่องที่ประพันธดวยกลอนเสภา ตามกําลัง
ของตัวละครที่ไมใชเปนตัวเจาหรือไมไดเปนตัวเอกในตอนนั้นๆ
ความสามารถในการสืบคน จากนั้นใหวิเคราะหเกี่ยวกับลักษณะของ
เนื้อความที่ปรากฏในกลอนเสภา พรอมยกตัวอยางประกอบ นําเสนอ
บทวิเคราะหในรูปแบบใบงานเฉพาะบุคคล

คู่มือครู 141
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่ 4-8 สงตัวแทนกลุมละ 2 คน
ออกมาอธิบายความรูในประเด็นที่กลุม
ของตนเองไดรับมอบหมาย พรอมระบุ ครำนั้น 
  
  
    
  
  
  

แหลงที่มาของขอมูล
   
  
  
  
    
  
  
  

2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย
ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับกลอนสักวา      
  
  
  
   
  
  
  

กลอนดอกสรอย กลอนนิทาน กลอนเพลงยาว
   
  
  
  
    
  
  
   
 
และกลอนนิราศ โดยใชความรู ความเขาใจ
ที่ไดรับจากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตน
สําหรับตอบคําถาม ครำนั้นขุนแผนแสนสนิท คอยท่ำช้ำผิดหำมำไม่
• กลอนสักวา ซึ่งแตเดิมใชเลนเปนกลอนสด เยื้องย่ำงตำมนำงเข้ำห้องใน สลดใจสงสำรวันทองนัก
โตตอบกันในเรื่องตางๆ นั้น แสดงใหเห็น (เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน: พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย)
ลักษณะนิสัยของคนไทย อยางไร ๓) กลอนสักวา แต่เดิมใช้เล่นเป็นกลอนสดโต้ตอบกัน สำมำรถเล่นโต้ตอบกันในเรื่องใดก็ได้
(แนวตอบ สะทอนใหเห็นวาคนไทยเปนคน โดยจ�ำนวนค�ำในวรรคขึ้นอยู่กับเนื้อควำม แต่นิยมใช้ ๖ - ๙ ค�ำ สัมผัสเหมือนกลอนสุภำพแต่สำมำรถ
เจาบทเจากลอน มีปฏิภาณไหวพริบในเรื่อง ยืดหยุ่นค�ำสัมผัสได้ ปัจจุบันนิยมแต่งกลอนสักวำเป็น ๔ ค�ำกลอน หรือ ๘ วรรค โดยขึ้นต้นวรรคสดับ
สํานวนภาษา และรวมถึงการใชถอยคําที่มี บำทแรกว่ำ “สักวา” จบวรรคส่งของบำทสุดท้ำยว่ำ “เอย” ถ้ำจะแต่งต่อไปอีกให้ขนึ้ บทใหม่โดยทีส่ มั ผัส
ความไพเราะ คมคาย) ไม่จ�ำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับบทต้น เช่น
• กลอนดอกสรอย มีลักษณะสําคัญในการ
ขึ้นตนบทอยางไร
สักวำ 
  
  
    
  
  
  

(แนวตอบ ขึ้นตนบทโดยใชคํา 4 คํา ซํ้าคําตั้ง
2 คํา แลวแทรกคําวา “เอย” ตรงกลาง เชน    
  
  
  
    
  
  
  

“ไกเอยไกแกว” “เด็กเอยเด็กนอย” เปนตน)
   
  
  
  
   
  
  
  

• กลอนนิทาน มีลักษณะสําคัญที่แตกตาง
จากกลอนสุภาพประเภทอื่นๆ อยางไร    
  
  
  
   
  
  
  เอย
 
(แนวตอบ มีวิธีการขึ้นตนบท 2 แบบ คือ
ขึ้นตนดวยวรรครับ หรือวรรคสดับก็ได สักวำหวำนอื่นมีหมื่นแสน ไม่เหมือนแม้นพจมำนที่หวำนหอม
แตเมื่อจบบทจะตองใชคําวา “เอย”
กลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพะยอม อำจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลม
เปนคําสุดทายของวรรคสงในบทสุดทาย)
แม้นล้อลำมหยำมหยำบไม่ปลำบปลื้ม ดังดูดดื่มบอระเพ็ดต้องเข็ดขม
3. นักเรียนรวมกันสรุปลงความคิดเห็นวา
แหลงขอมูลของเพื่อนๆ แตละกลุมมีความ ผู้ดีไพร่ไม่ประกอบชอบอำรมณ์ ใครฟังลมเมินหน้ำระอำเอย
นาเชื่อถือหรือไม เพราะเหตุใด (สักวา: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ)
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น
ไดอยางอิสระ ครูควรชี้แนะเพิ่มเติม) 142

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว NT O-NE T

ขอใดเรียงลําดับหมายเลขของคําที่ตองเติมลงในชองวางไดถูกตอง
ครูควรชี้แนะเพิ่มเติมใหแกนักเรียน ผูที่แตงบทรอยกรองไดกับแตงบทรอยกรอง
1. รอง 2. สักวา 3. แสงดาว 4. หมอง
เปนนั้น แตกตางกัน ผูที่แตงบทรอยกรองได จะแตงบทรอยกรองไดถูกตองตาม
..........ดาวจระเขก็เหหก ศีรษะตกหันหางขึ้นกลางหาว
ฉันทลักษณ มีจํานวนคํา วรรค และสัมผัสถูกตอง ครบถวน สวนผูที่แตงเปน คือ
เปนคืนแรมแจมแจงดวย.......... นํ้าคางพราวปรายโปรยโรยละออง
นอกจากจะสามารถแตงบทรอยกรองไดถูกตองตามฉันทลักษณแลว ยังมีความรูในเชิง
ลมเรื่อยเรื่อยเฉื่อยฉิวตองผิวเนื้อ ความหนาวเหลือทานทนกมล..........
ศิลปะแหงการประพันธ สามารถเลือกสรรถอยคําที่มีความไพเราะ ทั้งดานเสียง
สกุณาดุเหวาก็เรา.......... ดูแสงทองจับฟาขอลาเอย
และความหมายมาบรรจุลงในแตละวรรคของบทรอยกรองไดอยางสมบูรณ ทําให
1. 2 4 1 3 2. 2 3 1 4
ผูรับสารมีโอกาสไดเห็น ไดยิน ไดสัมผัส หรือรับรูตรงกับวัตถุประสงคของผูแตง
3. 2 3 4 1 4. 2 4 3 1
นอกจากนี้ผูแตงบทรอยกรองยังตองมีความรูในเรื่องขนบแหงการประพันธ คือ
ตองรูวาบทรอยกรองประเภทใดเหมาะที่จะบรรจุเนื้อความอยางไร หากมีความรู วิเคราะหคําตอบ กลอนสักวา มีลักษณะฉันทลักษณสัมผัสระหวางวรรค
ความเขาใจที่ถองแทในเรื่องดังกลาวขางตน ก็จะทําใหบทรอยกรองที่แตงขึ้นดวยตนเอง ระหวางบท เชนเดียวกับกลอนแปด แตมีลักษณะสําคัญที่แตกตางคือ จะขึ้น
ในแตละครั้งมีความถูกตองตามฉันทลักษณ ไพเราะ งดงามดวยศิลปะแหงการประพันธ ตนบทดวยคําวา “สักวา” จากตัวเลือกในขอ 1. ตัดทิ้งไมพิจารณาเพราะ
คําสุดทายของวรรครับไมสัมผัสกับคําสุดทายของวรรครอง ขอ 2. ตัดทิ้ง
ไมพิจารณาเพราะถึงแมคําจะสงสัมผัสกันถูกตองแตอานแลวไมสื่อความ
ขอ 4. ตัดทิ้งไมพิจารณา เพราะไมมีสัมผัสระหวางบท ดังนั้นจึงตอบขอ 3.
142 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
ครูตั้งคําถามกับนักเรียนเพื่อสรางความรู
๔) กลอนดอกสร้อย นิยมแต่งเป็น ๔ ค�ำกลอน หรือ ๘ วรรค จ�ำนวนค�ำในวรรคขึ้นอยู่กับ ความเขาใจ ทีถ่ กู ตองเกีย่ วกับการแตงบทรอยกรอง
เนื้อควำมที่ต้องกำรบรรยำย สำมำรถใช้ได้ตั้งแต่ ๖ - ๘ ค�ำ มีกำรรับส่งสัมผัสเหมือนกลอนสุภำพ กลอน • ผูที่จะแตงบทรอยกรองไดไพเราะ และมี
ดอกสร้อยมีลกั ษณะเด่น คือ วรรคสดับ ขึน้ ต้นบทจะใช้ ๔ ค�ำ โดยให้คำ� ที ่ ๑ และ ๓ เป็นค�ำเดียวกัน ความถูกตอง สมบูรณ ควรมีคณ ุ สมบัติ
แล้วแทรกค�ำว่ำ “เอ๋ย” ไว้ตรงกลำง เช่น ไก่เอ๋ยไก่แก้ว เด็กเอ๋ยเด็กน้อย และจบบำทที ่ ๔ ด้วยค�ำว่ำ “เอย” อยางไร
(แนวตอบ ผูที่จะแตงบทรอยกรองไดถึงพรอม
 
เอ๋ย 
    
  
  
  
 ทั้งดานความถูกตองและความไพเราะ ควรมี
คุณสมบัติ ดังนี้
   
  
  
  
    
  
  
  
 • มีความรู ความเขาใจในฉันทลักษณของ
   
  
  
  
   
  
  
  
 บทรอยกรองแตละประเภทอยางถองแท
• มีความรู ความเขาใจในขนบแหง
   
  
  
  
   
  
  
  เอย
  การประพันธ หรือลักษณะนิยมการบรรจุ
๕) กลอนนิทาน เป็นกำรใช้ค�ำกลอนแต่งเป็นเรื่อง อำจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ำ กลอนนิยำย เนื้อความ
จ�ำนวนค�ำและสัมผัสเหมือนกลอนสุภำพ แต่มีวิธีขึ้นต้น ๒ แบบ คือ ขึ้นต้นด้วยวรรคสดับหรือวรรครับ • มีความรู ความเขาใจในศิลปะแหง
ก็ได้ เมื่อจบเรื่องใช้ค�ำว่ำ “เอย” ในวรรคส่งของบทสุดท้ำย การประพันธหรือการเลือกสรรถอยคํา
ที่ใหเสียงไพเราะ ในขณะเดียวกับที่
      
  
  
  
 สามารถสื่อความไดครบถวน ตรงประเด็น
และมีความลึกซึ้ง
   
  
  
  
    
  
  
  
 • มีจินตนาการหรือความคิดที่กวางไกล
   
  
  
  
   
  
  
  
 อันไดมาจากการอาน การฟง และการดู)
   
  
  
  
   
  
  
  เอย
 

จักกล่ำวอดีตนิทำนแต่ปำงก่อน
เมื่อครั้งองค์สมเด็จพระชินวร ยังสังวรแสวงหำโพธิญำณ
.......................................................................... ถึงท่ำใส่แพแล้วลอยเอยฯ
(กากีค�ากลอน: เจ้าพระยาพระคลัง (หน))

๖) กลอนเพลงยาว กำรแต่งเพลงยำวสำมำรถแต่งได้ยำวเท่ำใดก็ได้ตำมเนื้อควำมที่กวี
ต้องกำรพรรณนำ มักมีเนื้อหำเชิงเกี้ยวพำรำสีร�ำพึงร�ำพันถึงควำมรักหรือพลำดรัก โดยจ�ำนวนค�ำ
ในวรรคใช้ได้ตั้งแต่ ๗ - ๙ ค�ำ มีสัมผัสเหมือนกลอนสุภำพ กลอนเพลงยำวจะขึ้นต้นเรื่องบทแรกด้วย
วรรครับและเมื่อจบเรื่องใช้ค�ำว่ำ “เอย” เป็นค�ำสุดท้ำยของวรรคส่งในบทสุดท้ำย เช่น
ได้ยลพักตร์ลักลอบประโลมขวัญ
143

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
นักเรียนอานวรรณคดีทป่ี ระพันธดว ยบทรอยกรองประเภทกลอนดอกสรอย เพื่อใหนักเรียนมีความพรอมสําหรับการแตงบทรอยกรองดวยตนเอง ครูควรให
จากนัน้ ใหวเิ คราะหลกั ษณะการบรรจุเนื้อความ ลักษณะการดําเนินเรื่อง องคความรูเกี่ยวกับการเลือกใชคําเพื่อบรรจุลงในบทรอยกรอง โดยเริ่มชี้แนะวา
นําขอมูลมาอภิปรายรวมกันภายในชั้นเรียน ในขั้นแรกนักเรียนจะตองเลือกใชคําใหมีสัมผัสคลองจองตามที่ฉันทลักษณ
กําหนด แตหากนักเรียนมีคลังคําอยูเปนจํานวนมากซึ่งเกิดจากการอาน ฟง และดู
อยางสมํ่าเสมอ ก็จะทําใหนักเรียนสามารถหลากคํา หรือหาคําที่เปนภาษากวีมา
บรรจุลงในบทรอยกรองของตนเองได โดยคํานึงถึงสัมผัสตามที่ฉันทลักษณกําหนด
กิจกรรมทาทาย และความหมายที่ตรงกับเจตนาเปนสําคัญ ซึ่งจะทําใหบทรอยกรองของนักเรียน
มีความไพเราะ และทรงคุณคา
ครูมอบหมายหรือจัดกิจกรรมยอยในชั้นเรียนใหนักเรียนรวมกันหลากคําที่ครู
นักเรียนรวบรวมวรรณคดีเรื่องที่ประพันธดวยกลอนเพลงยาว จากนั้น กําหนดใหเปนภาษากวี เชน ปา-พงพนา-อรัญ ทองฟา-นภา-อาภา-โพยม เปนตน
ใหวิเคราะหลักษณะเนื้อความของกลอนเพลงยาว แลวตั้งขอสังเกตเกี่ยวกับ เมื่อสิ้นสุดกิจกรรมใหนักเรียนบันทึกภาษากวีเหลานี้ลงสมุด เพื่อนําไปใชสําหรับ
ขนบหรือลักษณะนิยมในการประพันธกลอนเพลงยาว สรุปผลการวิเคราะห กิจกรรมตอๆ ไป
ในรูปแบบใบงานเฉพาะบุคคล

คู่มือครู 143
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
1. นักเรียนทบทวนและหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
รายละเอียดของการแตงบทรอยกรองประเภท       
  
  
  

กลอนสุภาพหรือกลอนแปดใหมีความไพเราะ
ยิ่งขึ้น จากนั้นใหแตงบทรอยกรองประเภท    
  
  
  
    
  
  
  

กลอนแปดจํานวนไมตํ่ากวา 2 บท โดยนักเรียน    
  
  
  
   
  
  
  

เปนผูก าํ หนดแนวคิดทีต่ อ งการสือ่ สารดวยตนเอง เอย
   
  
  
  
   
  
  
  
และเพื่อใหเนื้อความของบทรอยกรองมีความ
สมบูรณ ใหนักเรียนรางแนวคิดเปนรอยแกว ได้ยลพักตร์ลักลอบประโลมขวัญ
กอนการแตง โดยแนบมาพรอมกับบทรอยกรอง นวลละอองผ่องศรีฉวีวรรณ ดั่งบุหลันลอยฟ้ำนภำลัย
สงครู งำมองค์งำมทรงบรรจงจิต เมื่อแย้มเยื้อนเตือนจิตให้พิสมัย
2. นักเรียนใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการ ...
กระดำษเขียนลำยลักษณ์อักษรสนอง พี่เทียบแทนแผ่นทองจ�ำลองสำร
ฟงบรรยายของเพื่อนๆ แตละกลุม และรวมถึง แม้นหยั่งเห็นใจจริงอย่ำนิ่งนำน จงพจมำนให้ประจักษ์เรื่องรักเอย
พื้นฐานหรือรองรอยความรูเดิมของตนเอง (เพลงยาวความเก่า ประชุมเพลงยาวภาคที่ ๙)
รวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมินผลงาน
๗) กลอนนิราศ มีลักษณะกำรแต่งเหมือนกับกลอนเพลงยำว คือ ขึ้นต้นด้วยวรรครับ
การแตงบทรอยกรองประเภทกลอนสุภาพ
กลอนนิรำศจะเน้นเนื้อหำที่เกี่ยวข้องกับกำรเดินทำง เพรำะนิรำศ หมำยถึง กำรจำกไป แต่บำงเรื่องก็
ของตนเอง รวมถึงเพือ่ นๆ ในชัน้ เรียน และใช ไม่ได้กล่ำวถึงกำรเดินทำง เช่น นิรำศเดือน
เปนแนวทางปรับปรุง แกไขในครั้งตอๆ ไป
(แนวตอบ เกณฑควรครอบคลุม ดังตอไปนี้       
  
  
  

• มีฉันทลักษณที่สมบูรณและถูกตอง    
  
  
  
    
  
  
  

• นําศิลปะแหงการประพันธ การเลือกสรร
ถอยคํามาใชไดสอดคลองเหมาะสมกับ    
  
  
  
   
  
  
  

เนื้อความ    
  
  
  
   
  
  
  เอย
 
• ใชถอยคําถูกระดับเหมาะสมกับเนื้อความ
• ถอยคําที่บรรจุลงในเนื้อความ มีลักษณะ โอ้สังเวชวำสนำนิจจำเอ๋ย
เปนภาษากวี จะมีคู่มิได้อยู่ประคองเชย ต้องละเลยดวงใจไว้ไกลตำ
• สะทอนแนวคิดที่ลุมลึก หรือจินตนาการ ................................................................. ให้ชื่นใจเหมือนแต่หลังมั่งเถิดเอยฯ
ที่กวางไกลอันเปนประโยชนตอผูอาน ผูฟง (นิราศเมืองแกลง: สุนทรภู่)
• ลําดับความหรือสื่อความไดครบถวน การประพันธ์บทร้อยกรองถือเป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นของชาติไทย  แสดงถึง
ตามเจตนา) สุนทรียะทางภาษา  การประพันธ์บทร้อยกรองประเภทกลอนแสดงให้เห็นถึงความเป็น
คําตอบของนักเรียนอาจนอกเหนือไปจาก “นักเลงกลอน”  ของคนไทยได้เป็นอย่างดี  เพราะการใช้คÓเพื่อสร้างสัมผัสทÓให้ได้รบั รส
ประเด็นขางตน ใหอยูดุลยพินิจของครู ไพเราะทางวรรณศิลป์  นอกจากนีก้ ารอ่านบทกลอนยังช่วยจรรโลงจิตใจผู้อ่านให้เกิดความ
เพลิดเพลินและได้รับข้อคิดความรู้จากบทกลอนที่อ่าน
144

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
วิธีการสอนนักเรียนแตงบทรอยกรองใหประสบความสําเร็จ ควรยึดหลักปฏิบัติ นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับฉันทลักษณและลักษณะสําคัญของกลอน
3ส. ไดแก สอนใหรู สอนใหคิด สอนใหปฏิบัติ โดยเริ่มจากสอนใหรูเกี่ยวกับฉันทลักษณ ดอกสรอย จากนั้นใหแตงกลอนดอกสรอย ความยาวไมเกิน 2 บท
และศิลปะแหงการประพันธ สอนใหคิด คือสอนใหตั้งประเด็นเกี่ยวกับเรื่องราว โดยนําเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการเก็บออม ลงสมุด
หรือเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัว สิ่งใดดี สิ่งใดไมดี สิ่งใดเปนบทเรียน เพื่อฝก
ทักษะการคิด การแสดงทรรศนะของตนเองซึ่งมีความจําเปนตอการสรางสรรคงานเขียน
ประการสุดทายคือ สอนใหปฏิบัติ ครูควรใหคําแนะนําแกนักเรียนวากอนการแตง
บทรอยกรองเพื่อใหสามารถถายทอดแนวคิดไดครบถวน ควรที่จะรางเนื้อหาสาระ
กิจกรรมทาทาย
ในรูปแบบรอยแกวที่มีใจความสมบูรณกอน เพราะหากนักเรียนละเลยที่จะปฏิบัติตาม
ขั้นตอน ก็จะทําใหบทรอยกรองอยูในขอบขาย “พายเรือวนอยูในอาง” เปนรอยกรอง นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับฉันทลักษณและลักษณะสําคัญของกลอนนิทาน
ที่ไมมีจุดเริ่มตน ไมมีการดําเนินเรื่อง ไมมีจุดจบ และที่สําคัญคือ ไมสื่อความ เพราะ จากนัน้ ใหเรียบเรียงนิทานในลักษณะความเรียงรอยแกว โดยนําเสนอแนวคิด
บทรอยกรองที่ดีบทหนึ่งๆ จะตองมีความถึงพรอมทั้งดานรูปแบบ ภาษา และแนวคิด เกี่ยวกับผลของความเพียรพยายาม แลวนํามาผูกเรื่องเปนกลอนนิทาน
ไมจํากัดจํานวนบท ลงสมุด

144 คู่มือครู
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engaae Expore Explain Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนออกมาอานออกเสียงบทรอยกรอง
ประเภทกลอนแปดที่ตนเองแตงขึ้น พรอมระบุ
แรงบันดาลใจหรือแนวคิดของบทรอยกรอง
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
2. นักเรียนในชั้นเรียนรวมกันลงคะแนนเสียง
ตัดสินวาบทรอยกรองประเภทกลอนแปด
๑. กลอนสุภำพแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้ำง ของเพื่อนคนใดมีความโดดเดนมากที่สุด
๒. นักเรียนคิดว่ำสัมผัสในมีควำมส�ำคัญต่อกำรแต่งค�ำประพันธ์หรือไม่ เพรำะเหตุใด
๓. กลอนนิทำน กลอนเพลงยำว และกลอนนิรำศ มีควำมเหมือนและแตกต่ำงกันอย่ำงไร
สงตัวแทนออกมาประกาศผลหนาชั้นเรียน
๔. เพรำะเหตุใดจึงเรียกค�ำประพันธ์ประเภทกลอนสุภำพว่ำกลอนแปดหรือกลอนตลำด ครูสุมเรียกชื่อเพื่อใหระบุผลการประเมิน
๕. นักเรียนรู้จักวรรณคดีเรื่องที่แต่งด้วยค�ำประพันธ์ประเภทกลอนเรื่องใดบ้ำง ยกตัวอย่ำง ของตนเอง ซึ่งอาจไมตรงกับมติของหองก็ได
อย่ำงน้อย ๕ เรื่อง โดยแต่ละเรื่องต้องแต่งโดยใช้กลอนต่ำงประเภทกัน โดยใหระบุเหตุผล เพื่อเปนการตรวจสอบ
ทักษะการประเมินของนักเรียนอีกชั้นหนึ่ง
3. ครูตรวจสอบบทรอยกรองที่นักเรียนนําสง
พรอมแบบรางรอยแกว โดยยึดหลักเกณฑ
เดียวกับที่นักเรียนรวมกันกําหนดภายใต
คําแนะนําของครู เขียนขอเสนอแนะหรือ
ขอควรปรับปรุงลงในผลงานของนักเรียน
เปนรายบุคคล แลวสงคืน
กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้ 4. เมื่อสงผลงานคืนใหแกนักเรียน หากมีเวลา
เพียงพอ หรือตองการพัฒนาศักยภาพของ
กิจกรรมที่ ๑ นักเรียนแต่งค�ำประพันธ์ประเภทกลอนในหัวข้อที่ตนเองสนใจ จ�ำนวน ๒ บท นักเรียน ครูอาจใหนักเรียนแกไขบทรอยกรอง
จำกนั้นให้น�ำเสนอผลงำนหน้ำชั้นเรียน ของตนเองตามขอเสนอแนะของครู หรือทบทวน
กิจกรรมที่ ๒ นักเรียนแบ่งกลุ่มช่วยกันแต่งค�ำประพันธ์ในหัวข้อ “ควำมสำมัคคี พิจารณาการใชถอยคํา การใชภาษา ลักษณะ
ของคนไทย” จ�ำนวน ๔ บท จำกนั้นน�ำมำจัดป้ำยนิเทศ การสัมผัส แลวสงครูอีกครั้ง ตรวจสอบผล
จนกระทั่งทักษะของนักเรียนมีการพัฒนา
5. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู
บทรอยกรองประเภทกลอนแปด จํานวน
ไมตํ่ากวา 2 บท

145

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. กลอนสุภาพ แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก กลอนขับรองและกลอนเพลงยาว โดยที่กลอนขับรอง แบงออกเปน กลอนบทละคร กลอนเสภา กลอนสักวา
และกลอนดอกสรอย สวนกลอนเพลงยาว แบงออกเปน กลอนนิราศ กลอนนิทาน และกลอนเพลงยาว
2. สัมผัสใน มีความสําคัญตอการแตงบทรอยกรอง แมวาจะไมไดกําหนดใหเปนสัมผัสบังคับเชนเดียวกับสัมผัสนอก แตหากผูแตงสามารถเลือกสรรถอยคําที่มีความ
คลองจองกันใหเกิดขึ้นภายในวรรคเปนคูๆ เกิดเปนสัมผัสภายในวรรค ก็จะทําใหบทรอยกรองบทนั้นๆ มีความไพเราะมากยิ่งขึ้น อานแลวไดเสียงเสนาะ ชวงจังหวะ
ที่ไพเราะ เหมาะสม
3. กลอนนิทานจะขึ้นตนบทดวยวรรคสดับหรือวรรครับก็ได แตกลอนเพลงยาวและกลอนนิราศจะขึ้นตนบทดวยวรรครับ การพิจารณาวากลอนทั้ง 3 ประเภท
มีความแตกตางกันอยางไร ตองพิจารณาที่เนื้อความเปนหลัก โดยที่กลอนนิทานมีลักษณะเนื้อความเปนเรื่องเลาอันเนื่องมาจากจินตนาการของผูแตง กลอนเพลงยาว
มักมีเนื้อความครํ่าครวญเกี่ยวกับความรัก สวนกลอนนิราศมักมีเนื้อความเกี่ยวกับการเดินทางไกล แลวนําเรื่องราวไปผูกกับคนรักหรือความคิดถึงที่มีตอคนรักเมื่อยาม
ตองไกลกันเพราะระยะทาง
4. สาเหตุที่เรียกกลอนประเภทนี้วากลอนแปดหรือกลอนตลาด เปนเพราะจํานวนคําที่ใชบรรจุลงในแตละวรรค โดยสวนใหญจะอยูที่จํานวน 8 คํา สวนคําวา
กลอนตลาดนั้นเกิดขึ้นเพราะเปนกลอนที่ใชคําพื้นๆ ไมใชศัพทสูง เพื่อใหผูฟงที่เปนชาวบาน ชาวตลาดมีโอกาสไดอาน ไดฟง
5. วรรณคดีเรื่องที่ประพันธดวยบทรอยกรองประเภทกลอนมีเปนจํานวนมาก เชน พระอภัยมณี รามเกียรติ์ เสภาเรื่อง ขุนชาง ขุนแผน เพลงยาวถวายโอวาท
กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา เปนตน

คู่มือครู 145
กระตุ้นความสนใจ ส�ำรวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Elaborate Evaluate

บรรณานุกรม
กองเทพ เคลือบพณิชกุล. ๒๕๔๒. การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพมหำนคร: โอเดียนสโตร์.
กุสุมำ รักษมณี. ๒๕๓๔. สีสันวรรณกรรม. กรุงเทพมหำนคร: ศยำม.
กุสุมำ รักษมณี และคณะ. ๒๕๓๑. สังกัปภาษา ๑. กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
. ๒๕๓๑. ทักษะสื่อสาร ๑. กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
. ๒๕๓๑. ทักษะสื่อสาร ๒. กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
กุหลำบ มัลลิกะมำส และวิพุธ โสภวงศ์. ๒๕๔๒. การเขียน ๑. กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
เจือ สตะเวทิน. ๒๕๒๒. ต�ารับวรรณคดี. กรุงเทพมหำนคร: อนงค์ศิลป์กำรพิมพ์.
ฐะปะนีย์ นำครทรรพ. ๒๕๔๓. การเขียน ๒. กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
. ๒๕๔๕. การสอนภาษาไทยขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหำนคร: ศูนย์ส่งเสริมวิชำกำร.
. ๒๕๒๘. บันไดหลักภาษา ๑. กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
. ๒๕๔๒. บันไดหลักภาษา ๒. กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
. ๒๕๔๒. บันไดหลักภาษา ๓. กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
ฐะปะนีย์ นำครทรรพ และคณะ. ๒๕๔๒. ภาษาสุนทร ๑. กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
นววรรณ พันธุเมธำ. ๒๕๒๗. ไวยากรณ์ไทย. กรุงเทพมหำนคร: รุ่งเรืองสำส์นกำรพิมพ์.
บรรจบ พันธุเมธำ. ๒๕๓๔. ลักษณะภาษาไทย. กรุงเทพมหำนคร: คุรุสภำลำดพร้ำว.
ณรงค์ มั่นเศรษฐวิทย์. ๒๕๔๐. ภาษากับการพัฒนาความคิด. กรุงเทพมหำนคร: โอเดียนสโตร์.
ผจงวำด พูลแก้ว. ๒๕๔๗. แบบฝึกทักษะฟัง พูด อ่าน เขียน. กรุงเทพมหำนคร: สุวีริยำสำส์น.
ภำษำไทย, สถำบัน. ๒๕๔๕. บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม ๑. กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลำดพร้ำว.
. ๒๕๕๒. บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม ๓. กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลำดพร้ำว.
รำชบัณฑิตยสถำน. ๒๕๕๒. พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย. กรุงเทพมหำนคร: ยูเนียน อุลตร้ำไวโอเล็ต.
. ๒๕๕๖. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๕๔. กรุงเทพมหำนคร: ศิริวัฒนำ
อินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด มหำชน.
รำชบัณฑิตยสภำ, ส�ำนักงำน. ๒๕๖๓. ราชาศัพท์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร
รามาธิบดีศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในโอกาสพระราชพิธบี รมราชาภิเษก
พุทธศักราช ๒๕๖๒. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหำนคร: ธนอรุณกำรพิมพ์.
เลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ, ส�ำนักงำน. ๒๕๕๒. ครูดที ฉี่ นั ประทับใจ. กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์.
วนิดำ จันทรุจิรำกร. ๒๕๔๓. อินเทอร์เน็ต มิติใหม่ของการสื่อสาร. กรุงเทพมหำนคร: เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น.
วำสนำ บุญสม. ๒๕๓๙. กลอนสัมผัสใจได้อย่างไร. กรุงเทพมหำนคร: ลินคอร์น โปรโมชั่น.
วิจิตร อำวะกุล. ๒๕๔๐. เพื่อการพูดการฟังและการประชุมที่ดี. กรุงเทพมหำนคร: โอเดียนสโตร์.
วิเชียร เกษประทุม. ๒๕๔๑. โวหารในวรรณคดีไทย. กรุงเทพมหำนคร: พัฒนำศึกษำ.
สนิท ตั้งทวี. ๒๕๓๖. อ่านไทย. กรุงเทพมหำนคร: โอเดียนสโตร์.
สุวิทย์ มูลค�ำ. ๒๕๔๕. ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ. กรุงเทพมหำนคร: ภำพพิมพ์.
เสริมสร้ำงเอกลักษณ์ของชำติ, ส�ำนักงำน. ๒๕๕๓. ราชาศัพท์. กรุงเทพมหำนคร: ด่ำนสุทธำกำรพิมพ์.
อัจฉรำ ชีวพันธ์. ๒๕๔๔. อ่านสนุก - ปลุกส�านึก. กรุงเทพมหำนคร: จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย.
146

146 คู่มือครู
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Expand Evaluate

เอกสารเสริม
คÓราชาศัพท์
ศัพท์บัญญัติที่แยกใช้ตามชั้นบุคคล
ค�านามราชาศัพท์
ค�ำสำมัญ รำชำศัพท์ ใช้แก่
ค�ำพูดทักทำย พระรำชด�ำรัสปฏิสันถำร พระมหำกษัตริย์
สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
สมเด็จพระบรมรำชินี
สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๑
พระด�ำรัสปฏิสันถำร พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้ำ
จดหมำย พระรำชหัตถเลขำ, พระมหำกษัตริย์
ลำยพระรำชหัตถเลขำ (โบ)
พระรำชหัตถเลขำ สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
สมเด็จพระบรมรำชินี
สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๒
ลำยพระหัตถ์ พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
วันเกิด วันพระบรมรำชสมภพ พระมหำกษัตริย์
วันพระรำชสมภพ สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
สมเด็จพระบรมรำชินี
สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๓
วันประสูติ พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ

๑, ๒, ๓ ในรัชกำลปัจจุบัน หมำยถึง สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี

เอกสารเสริม 11

เกร็ดแนะครู
ครูควรชี้แนะหลักการเบื้องตนสําหรับการใชคําราชาศัพทวา นักเรียนตองมี
ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับลําดับพระราชวงศ ความรูเกี่ยวกับการประกอบ
คําราชาศัพท เพื่อใหประกอบคําราชาศัพทไดถูกตองตามพระราชอิสริยยศ
นอกจากนี้ยังควรสังเกตการใชคําราชาศัพทจากขาวในพระราชสํานัก
ก็จะเพิ่มพูนความรูใหแกตนเองไดอีกทางหนึ่ง

คู่มือครู 147
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Elaborate Evaluate

กริยำ รำชำศัพท์ ใช้แก่


วันคล้ำยวันเกิด วันคล้ำยวันพระบรมรำชสมภพ พระมหำกษัตริย์
วันคล้ำยวันพระรำชสมภพ สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
สมเด็จพระบรมรำชินี
สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๑
วันคล้ำยวันประสูติ พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ

กริยาราชาศัพท์
ค�ำสำมัญ รำชำศัพท์ ใช้แก่
กิน, รับประทำน เสวย พระมหำกษัตริย์ จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
เกิด ทรงพระรำชสมภพ, พระมหำกษัตริย์
มีพระบรมรำชสมภพ,
เสด็จพระรำชสมภพ
ทรงพระรำชสมภพ, สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
มีพระรำชสมภพ, สมเด็จพระบรมรำชินี
เสด็จพระรำชสมภพ สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๒
ประสูติ พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
ต้องกำร ต้องพระรำชประสงค์ พระมหำกษัตริย์
สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
สมเด็จพระบรมรำชินี
สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๓
ต้องพระประสงค์ พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้ำ
๑, ๒, ๓ ในรัชกำลปัจจุบัน หมำยถึง สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี

เอกสารเสริม 2

ขอสอบเนน การคิด
แนว NT O-NE T

ขอใดประกอบคําราชาศัพทผิดทั้ง 2 คํา
1. ทรงดนตรี ทรงมา
2. ทรงโปรด ทรงมา
3. ทรงพระอักษร ทรงพระราชดําเนิน
4. ทรงพระราชทาน ทรงทอดพระเนตร
วิเคราะหคําตอบ การประกอบคําราชาศัพทขึ้นใช โดยใชคําวา “ทรง”
เปนกริยานุเคราะหหรือกริยาชวย คําวา “ทรง” จะมีความหมายคลอยตาม
คําที่ตามมาขางหลัง ขอ 1. ประกอบคําราชาศัพทไดถูกตองทั้ง 2 คํา ขอ 2.
ประกอบคําราชาศัพทผดิ 1 คํา ทีถ่ กู ตอง ตองใชคาํ วา “โปรด” ขอ 3. ประกอบ
คําราชาศัพทผิด 1 คํา ที่ถูกตอง ตองใชคําวา “เสด็จพระราชดําเนิน” ขอ 4.
ประกอบคําราชาศัพทผิดทั้ง 2 คํา ที่ถูกตอง ตองใชคําวา “พระราชทาน”
และ “ทอดพระเนตร” เพราะการประกอบคําราชาศัพทจะไมใชคําวา “ทรง”
นําหนาคํากริยาซึ่งบัญญัติใหเปนคําราชาศัพทอยูแ ลว ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

148 คู่มือครู
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Expand Evaluate

กริยำ รำชำศัพท์ ใช้แก่


แต่ง (หนังสือ, ทรงพระรำชนิพนธ์ พระมหำกษัตริย์
ค�ำประพันธ์, สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
เนือ้ ร้อง, ท�ำนอง สมเด็จพระบรมรำชินี
เพลง ฯลฯ) สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๑
ทรงพระนิพนธ์ พระบรมวงศ์ตั้งแต่ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้ำ
ทรงนิพนธ์ พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
ทักทำย, ทรงพระรำชปฏิสันถำร, พระมหำกษัตริย์
พูดทักทำย มีพระรำชปฏิสันถำร สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
สมเด็จพระบรมรำชินี
สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๒
ทรงพระปฏิสันถำร, พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
มีพระปฏิสันถำร จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้ำ
ตรัสทักทำย, ทรงทักทำย พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
มีอำยุ...ปี ทรงเจริญพระชนมพรรษำ... พระมหำกษัตริย์
พรรษำ, สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ และ
เจริญพระชนมำยุ...พรรษำ, สมเด็จพระบรมรำชินี
มีพระชนมำยุ...พรรษำ
เจริญพระชนมำยุ...พรรษำ, สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
มีพระชนมำยุ...พรรษำ พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๓
เจริญพระชันษำ...ปี, พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
มีพระชันษำ...ปี จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
เรียน, เขียน, อ่ำน ทรงพระอักษร พระมหำกษัตริย์ จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
สั่ง มีพระรำชกระแส, พระมหำกษัตริย์
มีพระรำชกระแสรับสั่ง,
มีพระรำชด�ำรัสสั่ง
มีพระรำชเสำวนีย์, สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
มีพระรำชด�ำรัสสั่ง สมเด็จพระบรมรำชินี

๑, ๒, ๓ ในรัชกำลปัจจุบัน หมำยถึง สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี

เอกสารเสริม 3

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T
คําราชาศัพทในขอใดกําหนดใหใชเฉพาะพระมหากษัตริยทั้ง 2 คํา
1. พระโอสถ พระราชภาระ
2. พระบรมศพ ลายพระราชหัตถ
3. พระกระยาหาร พระราชหัตถเลขา
4. พระบรมรูปปน พระบรมฉายาลักษณ
วิเคราะหคําตอบ คําราชาศัพทคําวา “พระราชภาระ” “พระราชหัตถเลขา”
และ “ลายพระราชหัตถ” เปนคําราชาศัพทที่ใชแก พระมหากษัตริย จนถึง
พระบรมวงศ ที่ ไ ด รั บ พระราชทานสั ป ตปฎลเศวตฉั ต รประกอบพระราช
อิสริยยศ คําราชาศัพทคําวา “พระโอสถ” และ “พระกระยาหาร” เปน
คําราชาศัพทที่ใชแก พระมหากษัตริย จนถึงพระอนุวงศชั้นพระองคเจา และ
คําราชาศัพทคําวา “พระบรมรูปปน” “พระบรมฉายาลักษณ” และ “พระบรมศพ”
เปนคําราชาศัพทที่ใชเฉพาะพระมหากษัตริย ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

คู่มือครู 149
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Elaborate Evaluate

ค�ำสำมัญ รำชำศัพท์ ใช้แก่


สั่ง มีพระรำชบัณฑูร, สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
มีพระรำชด�ำรัสสั่ง
มีพระรำชบัญชำ, พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎลเศวตฉัตร
มีพระรำชด�ำรัสสั่ง ประกอบพระรำชอิสริยยศ๑
มีพระด�ำรัสสั่ง, มีรับสั่ง พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้ำ
มีรับสั่ง พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
สั่งให้เข้ำเฝ้ำ โปรดเกล้ำโปรดกระหม่อมให้ พระมหำกษัตริย์
เข้ำเฝ้ำทูลละอองธุลีพระบำท สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
โปรดเกล้ำโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระบรมรำชิน๒ี
เข้ำเฝ้ำทูลละอองพระบำท สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๓
รับสั่งให้เข้ำเฝ้ำ, พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
รับสั่งให้เฝ้ำ จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ

๑, ๓ ในรัชกำลปัจจุบัน หมำยถึง สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี


๒ ตำมประกำศเรือ่ ง การถวายพระเกียรติยศ สมเด็จพระนางเจ้าสุทดิ า พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ประกำศ ณ วันที่ ๘
พฤษภำคม พุทธศักรำช ๒๕๖๒ ดังปรำกฏในรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๑๗ ข ๙ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๔ พระบำทสมเด็จ
พระวชิรเกล้ำเจ้ำอยู่หัวทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำโปรดกระหม่อมให้ใช้รำชำศัพท์และค�ำกรำบบังคมทูลพระกรุณำถวำยพระเกียรติยศแก่
สมเด็จพระนำงเจ้ำสุทดิ ำ พัชรสุธำพิมลลักษณ พระบรมรำชินี เสมอด้วยค�ำรำชำศัพท์และค�ำกรำบบังคมทูลพระกรุณำสมเด็จพระเจ้ำอยูห่ วั
ทุกประกำร
หำกพิจำรณำเทียบใช้รำชำศัพท์ของค�ำว่ำ “ขออนุญำตเข้ำพบ” ให้สอดคล้องกับค�ำขึน้ ต้นและสรรพนำมที่ใช้กรำบบังคมทูลใน
ประกำศดังกล่ำว ซึง่ ใช้วำ่ “ขอพระรำชทำนกรำบบังคมทูลพระกรุณำทรงทรำบฝ่ำละอองธุลพี ระบำท” สรรพนำมบุรษุ ที่ ๑ ใช้วำ่ “ข้ำพระพุทธเจ้ำ”
สรรพนำมบุรษุ ที่ ๒ ใช้วำ่ “ใต้ฝำ่ ละอองธุลพี ระบำท” รำชำศัพท์คำ� ว่ำ “สัง่ ให้เข้ำเฝ้ำ” ทีใ่ ช้แก่สมเด็จพระนำงเจ้ำสุทดิ ำ พัชรสุธำพิมลลักษณ
พระบรมรำชินี ใช้ว่ำ “โปรดเกล้ำโปรดกระหม่อมให้เข้ำเฝ้ำทูลละอองธุลีพระบำท”

เอกสารเสริม 4

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T
“พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวใหปริญญาบัตรแกนิสิตที่สําเร็จการศึกษา”
ขอใดถูกตอง
1. ทรงมอบ
2. ประทาน
3. พระราชทาน
4. ทรงพระราชทาน
วิเคราะหคําตอบ คําราชาศัพทที่มีความหมายวา “ให” แลวบัญญัติใหใชแก
พระมหากษัตริย คือคําวา “พระราชทาน” ซึ่งเปนคํากริยาราชาศัพทอยูแลว
จึงไมจําเปนตองมี “ทรง” นําหนา ดังนั้นจึงตอบขอ 3.

150 คู่มือครู
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Expand Evaluate

ศัพท์บัญญัติส�าหรับผู้น้อยที่ใช้แก่บุคคลชั้นต่างๆ
ค�ำสำมัญ รำชำศัพท์ ใช้แก่
ขออนุญำตเข้ำพบ ขอพระรำชทำนพระบรม- พระมหำกษัตริย์
รำชวโรกำสเข้ำเฝ้ำทูล
ละอองธุลีพระบำท
ขอพระรำชทำนพระรำชวโรกำส สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
เข้ำเฝ้ำทูลละอองธุลีพระบำท
ขอพระรำชทำนพระรำชวโรกำส สมเด็จพระบรมรำชิน๑ี
เข้ำเฝ้ำทูลละอองพระบำท สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๒
ขอพระรำชทำนพระวโรกำส พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
เข้ำเฝ้ำ
ขอประทำนพระวโรกำสเข้ำเฝ้ำ พระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้ำ
พระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้ำ
ขอประทำนพระอนุญำตเข้ำเฝ้ำ พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ

๑ ตำมประกำศเรือ่ ง การถวายพระเกียรติยศ สมเด็จพระนางเจ้าสุทดิ า พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ประกำศ ณ วันที่ ๘


พฤษภำคม พุทธศักรำช ๒๕๖๒ ดังปรำกฏในรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๑๗ ข หน้ำ ๔ ๙ พฤษภำคม ๒๕๖๒ พระบำทสมเด็จ
พระวชิรเกล้ำเจ้ำอยู่หัวทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำโปรดกระหม่อมให้ใช้รำชำศัพท์และค�ำกรำบบังคมทูลพระกรุณำถวำยพระเกียรติยศแก่
สมเด็จพระนำงเจ้ำสุทดิ ำ พัชรสุธำพิมลลักษณ พระบรมรำชินี เสมอด้วยค�ำรำชำศัพท์และค�ำกรำบบังคมทูลพระกรุณำสมเด็จพระเจ้ำอยูห่ วั
ทุกประกำร
หำกพิจำรณำเทียบใช้รำชำศัพท์ของค�ำว่ำ “ขออนุญำตเข้ำพบ” ให้สอดคล้องกับค�ำขึน้ ต้นและสรรพนำมที่ใช้กรำบบังคมทูลใน
ประกำศดังกล่ำว ซึง่ ใช้วำ่ “ขอพระรำชทำนกรำบบังคมทูลพระกรุณำทรงทรำบฝ่ำละอองธุลพี ระบำท” สรรพนำมบุรษุ ที่ ๑ ใช้วำ่ “ข้ำพระพุทธเจ้ำ”
สรรพนำมบุรษุ ที่ ๒ ใช้วำ่ “ใต้ฝำ่ ละอองธุลพี ระบำท” รำชำศัพท์คำ� ว่ำ “ขออนุญำตเข้ำพบ” ทีใ่ ช้แก่สมเด็จพระนำงเจ้ำสุทดิ ำ พัชรสุธำพิมลลักษณ
พระบรมรำชินี ใช้ว่ำ “ขอพระรำชทำนพระรำชวโรกำสเข้ำเฝ้ำทูลละอองธุลีพระบำท”
๒ ในรัชกำลปัจจุบัน หมำยถึง สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี

เอกสารเสริม 5

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T
ขอใดกลาวถูกตอง
1. “ขอประทานพระวโรกาสเขาเฝา” ใชแก พระราชโอรสพระราชธิดาของ
พระมหากษัตริย
2. “ขอพระราชทานพระราชวโรกาสเขาเฝาทูลละอองพระบาท” ใชแก สมเด็จ
พระบรมราชินีในรัชกาลปจจุบัน
3. “ขอประทานพระอนุญาตเขาเฝา” ใชแก พระอนุวงศชั้นพระองคเจา จนถึง
พระอนุวงศชั้นหมอมเจา
4. “ขอพระราชทานพระวโรกาสเขาเฝา” ใชแก พระองคเจาสิริภาจุฑาภรณ
วิเคราะหคําตอบ ขอ 2 คําวา “ขออนุญาตเขาพบ” ที่ใชแก สมเด็จพระบรม
ราชินีในรัชกาลปจจุบัน ใชวา “ขอพระราชทานพระราชวโรกาสเขาเฝาทูล
ละอองธุลีพระบาท” ขอ 3. “ขอประทานพระอนุญาตเขาเฝา” ใชเฉพาะ
พระอนุวงศชั้นหมอมเจา ขอ 4. “ขอพระราชทานพระวโรกาสเขาเฝา” ใชแก
พระบรมวงศชั้นสมเด็จเจาฟา และคําวา “ขออนุญาตเขาพบ” ที่ใชแก
พระองคเจาสิริภาจุฑาภรณ ตองใชวา “ขอประทานพระวโรกาสเขาเฝา”
ดังนั้นจึงตอบขอ 1.
คู่มือครู 151
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Elaborate Evaluate

ค�ำสำมัญ รำชำศัพท์ ใช้แก่


(ขออนุญำต) ให้ ขอพระรำชทำนทูลเกล้ำ พระมหำกษัตริย์
(สิง่ ของเล็ก หรือ ทูลกระหม่อมถวำย สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
ของที่ยกได้) สมเด็จพระบรมรำชินี
สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๑
ขอพระรำชทำนถวำย พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
ขอประทำนถวำย พระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
(ขออนุญำต) ให้ ขอพระรำชทำนน้อมเกล้ำ พระมหำกษัตริย์
(สิง่ ของใหญ่ หรือ น้อมกระหม่อมถวำย สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
ของที่ยกขึ้นให้ สมเด็จพระบรมรำชินี
ไม่ได้) สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๒
ขอพระรำชทำนถวำย พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
ขอประทำนถวำย พระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
(ขออนุญำต) ให้ ขอพระรำชทำนถวำย พระมหำกษัตริย์
(สิ่งที่เป็น สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
นำมธรรม สมเด็จพระบรมรำชินี
เช่น ชีวิต สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
ค�ำอธิบำย) พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๓
และพระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
ขอประทำนถวำย พระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ

๑, ๒, ๓ ในรัชกำลปัจจุบัน หมำยถึง สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี

เอกสารเสริม 6

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T
ขอใดเปนคําขึ้นตนที่ใชสําหรับการกราบบังคมทูลดวยวาจาแกพระมหากษัตริย
1. ขอพระราชทานกราบบังคมทูลทราบฝาละอองพระบาท
2. ขอเดชะฝาละอองธุลีพระบาทปกเกลาปกกระหมอม
3. ขอพระราชทานกราบทูลทราบฝาพระบาท
4. ขอประทานกราบทูลทราบฝาพระบาท
วิเคราะหคําตอบ ขอ 2. เปนคําขึ้นตนที่ใชสําหรับการกราบบังคมทูลดวย
วาจาแกพระมหากษัตริยและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ขอ 3. เปนคําขึ้นตน
ที่ใชสําหรับการกราบทูลดวยวาจาแกพระบรมวงศชั้นสมเด็จเจาฟา ขอ 4.
เปนคําขึน้ ตนทีใ่ ชสาํ หรับการกราบทูลดวยวาจาแกพระบรมวงศชนั้ พระองคเจา
ขอ 1. เปนคําขึ้นตนที่ใชสําหรับการกราบบังคมทูลดวยวาจาแกสมเด็จ
พระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และ
พระบรมวงศทไี่ ดรบั พระราชทานสัปตปฎลเศวตฉัตรประกอบพระราชอิสริยยศ
ดังนั้นจึงตอบขอ 2.

152 คู่มือครู
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Expand Evaluate

กริยำ รำชำศัพท์ ใช้แก่


บอก กรำบบังคมทูล, พระมหำกษัตริย์
กรำบบังคมทูลพระกรุณำ
กรำบบังคมทูล สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
สมเด็จพระบรมรำชิน๑ี
สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๒
กรำบทูล พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
จนถึงพระวรวงศ์เธอ (ที่ทรงกรม)
ทูล พระวรวงศ์เธอ (ที่มิได้ทรงกรม)
และพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
รำยงำน กรำบบังคมทูลรำยงำน (แด่) พระมหำกษัตริย์
สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
สมเด็จพระบรมรำชินี
สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๓
กรำบทูลรำยงำน (แด่) พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้ำ
ทูลรำยงำน (แด่) พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ

๑ ตำมประกำศเรือ่ ง การถวายพระเกียรติยศ สมเด็จพระนางเจ้าสุทดิ า พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ประกำศ ณ วันที่ ๘


พฤษภำคม พุทธศักรำช ๒๕๖๒ ดังปรำกฏในรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๑๗ ข ๙ พฤษภำคม ๒๕๖๒ หน้ำ ๔ พระบำทสมเด็จ
พระวชิรเกล้ำเจ้ำอยู่หัวทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำโปรดกระหม่อมให้ใช้รำชำศัพท์และค�ำกรำบบังคมทูลพระกรุณำถวำยพระเกียรติยศแก่
สมเด็จพระนำงเจ้ำสุทดิ ำ พัชรสุธำพิมลลักษณ พระบรมรำชินี เสมอด้วยค�ำรำชำศัพท์และค�ำกรำบบังคมทูลพระกรุณำสมเด็จพระเจ้ำอยูห่ วั
ทุกประกำร รำชำศัพท์คำ� ว่ำ “บอก, รำยงำน” ทีใ่ ช้แก่สมเด็จพระนำงเจ้ำสุทดิ ำ พัชรสุธำพิมลลักษณ พระบรมรำชินี ใช้วำ่ “กรำบบังคมทูล,
กรำบบังคมทูลพระกรุณำ”
๒, ๓ ในรัชกำลปัจจุบัน หมำยถึง สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี

เอกสารเสริม 7

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T
ขอใดเปนสรรพนามบุรุษที่ 2 ซึ่งกําหนดใหใชสําหรับการกราบบังคมทูล
ดวยวาจาแกสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร
1. ใตฝาละอองธุลีพระบาท
2. ใตฝาละอองพระบาท
3. ใตฝาพระบาท
4. ฝาพระบาท
วิเคราะหคําตอบ คําสรรพนามบุรุษที่ 2 ซึ่งกําหนดใหใชสําหรับกราบบังคม
ทูลดวยวาจาแกสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร คือคําวา
“ใตฝาละอองพระบาท” ขอ 1. “ใตฝาละอองธุลีพระบาท” ใชสําหรับกราบ
บังคมทูลแกพระมหากษัตริยและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ขอ 3. ใชสําหรับ
กราบทูลแกพระบรมวงศชั้นสมเด็จเจาฟา ขอ 4. ใชสําหรับกราบทูลแก
พระอนุวงศชั้นพระองคเจา และพระอนุวงศชั้นหมอมเจา ดังนั้นจึงตอบ
ขอ 2.

คู่มือครู 153
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engaae Expore Explain Elaborate Evaluate

ค�ำสำมัญ รำชำศัพท์ ใช้แก่


ให้ (สิ่งของเล็กหรือ ทูลเกล้ำทูลกระหม่อมถวำย (แด่) พระมหำกษัตริย์
ของที่ยกได้) สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
สมเด็จพระบรมรำชินี
สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๑
ถวำย (แด่) พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
ให้ (สิง่ ของใหญ่หรือ น้อมเกล้ำน้อมกระหม่อมถวำย (แด่) พระมหำกษัตริย์
ของที่ยกขึ้นให้ สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
ไม่ได้) สมเด็จพระบรมรำชินี
สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สยำมมกุฎรำชกุมำร
พระบรมวงศ์ที่ได้รับพระรำชทำนสัปตปฎล
เศวตฉัตรประกอบพระรำชอิสริยยศ๒
ถวำย (แด่) พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้ำฟ้ำ
จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
ให้ (สิ่งที่เป็น ถวำย (แด่) พระมหำกษัตริย์ จนถึงพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ำ
นำมธรรม เช่น
ชีวิต ค�ำอธิบำย)

๑, ๒ ในรัชกำลปัจจุบัน หมำยถึง สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี

เอกสารเสริม 8

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T
ขอใดใชสรรพนามบุรุษที่ 2 แตกตางจากขออื่น
1. หมอมเจา
2. สมเด็จเจาฟา
3. พระเจาหลานเธอ พระองคเจา
4. พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจา
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1., 3. และ 4. ใชสรรพนามบุรุษที่ 2 วา “ฝาพระบาท”
สวนขอ 2. ใชวา “ใตฝา พระบาท” ดังนัน้ จึงตอบขอ 2.

154 คู่มือครู
สร้างอนาคตเด็กไทย
ด้วยนวัตกรรมการเรียนรูร
้ ะดับโลก

>> ราคาเล่มนักเรียนโปรดดูจากใบสัง
่ ซือ
้ ของ อจท.
คู่มือครู นร.ภาษาไทย หลักภาษาฯ ม.2

บริษท
ั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
8 858649 121301
โทร. 0 2622 2999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย)
ID Line : @aksornkrumattayom www.aksorn.com อักษรเจริญทัศน์ อจท. 350.-
ราคานีเ้ ป็นของฉบับคูม
่ อ
ื ครูเท่านัน

You might also like