You are on page 1of 20

เอกสารประกอบการเรียนการสอน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
เรื่อง เลขยกกำลัง
รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 รหัส ค21101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ครูสุพัฒพงศ์ พรหมสวรรค์
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน

ชื่อ ........................................................................

เลขที่ ................ ชั้น ม.1/...............


ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง |2

กิจกรรมที่ 3.1 ตัดก่อนแล้วค่อยคิด


ถ้าตัดกระดาษ A4 หนึ่งแผ่น โดยตัดแบ่งเป็นสามส่วนให้เท่ากัน จากนั้นนับแผ่นกระดาษที่ตัดได้
ทำเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ ดังภาพ

เริ่มต้น ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3

คำสั่งกิจกรรม

ให้นักเรียนทดลองตัดกระดาษดังภาพเพื่อตอบคำถามต่อไปนี้

1. จากการตัดครั้งที่ 1 จนถึงครั้งที่ 5 จะได้กระดาษครั้งละกี่แผ่น

ครั้งที่ 1 2 3 4 5
จำนวนกระดาษ

2. จากการตัดครั้งที่ 10 จะได้กระดาษทั้งหมดกี่แผ่น ..................................

3. จากการตัดครั้งที่ n จะได้กระดาษทั้งหมดกี่แผ่น ....................................


ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง |3

เลขยกกำลัง
บทนิยามเลขยกกำลัง

ส่วนประกอบของเลขยกกำลัง

n
1. จงเติมคำลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
a
เลขยกกำลัง ฐาน เลขชี้กำลัง อ่านว่า
63
−24
4
( −2 )
7
( 0.06 )
8
 2
5
 
6
(a + b)

( )
9
m2

NOTE:
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง |4

การเขียนเลขยกกำลัง
จะเขียนเลขชี้กำลังไว้ด้านบนเยื้องไปทางขวาของฐาน เช่น 25 สำหรับเลขชี้กำลังที่เป็น 1 จะไม่นิยม
เขียน เนื่องจากแสดงถึงจำนวนนั้นตัวเดียวอยู่แล้ว เช่น 21 จะนิยมเขียนเพียง 2 เท่านั้นโดยไม่มีเลขชี้กำลัง
หากฐานของเลขยกกำลังเป็นจำนวนลบ ทศนิยม หรือเศษส่วนนิยมเขียนไว้ในวงเล็บ
การเขียนเลขยกกำลังยังสามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของจำนวนที่เป็นฐานตามจำนวนเลขชี้กำลัง
ที่ปรากฏ
ตัวอย่างเช่น
3
( −5)  ( −5)  ( −5) = ( −5) หรือ ( −5)3 = ( −5)  ( −5)  ( −5)
5 5
( 0.3)  ( 0.3)  ( 0.3)  ( 0.3)  ( 0.3) = ( 0.3) หรือ ( 0.3) = ( 0.3)  ( 0.3)  ( 0.3)  ( 0.3)  ( 0.3)
4 4
1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
     =   หรือ   =     
6 6 6 6 6 6 6 6 6 6

2. จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำลัง

1) 2  2  2  2  2  2 = ....................

2) ( −8 )  ( −8 )  ( −8 )  ( −8 ) = ....................

3) ( xy )  ( xy )  ( xy ) = ....................
4) ( 0.3)  ( 0.3)  ( 0.3)  ( 0.3)  ( 0.3)  ( 0.3) = ....................
 4  4  4  4  4  4  4
5)  − 3    − 3    − 3    − 3    − 3    − 3    − 3  = ....................
             

3. จงเปลี่ยนเลขยกกำลังต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปการคูณ
เลขยกกำลัง รูปการคูณ
51
03
−24
4
( −2 )
7
( 0.06 )
5
 3
5
 
( − x )6
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง |5

กิจกรรมชวนคิดที่ 3.2 หาค่าของเลขยกกำลัง


การหาค่าของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเต็มบวก
เลขยกกำลังเป็นสัญลักษณ์แทนจำนวน เมื่อต้องการทราบว่าเลขยกกำลังนั้นแทนด้วยจำนวนใด เราจะ
เขียนเลขยกกำลังนั้นให้อยู่ในรูปการคูณของจำนวนที่เป็นฐานแล้วหาผลคูณของจำนวนเหล่านั้น
ตัวอย่างเช่น

23 = 2  2  2 54 = 5  5  5  5 93 = 9  9  9

=8 = 625 = 729

การหาค่าของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเต็มลบ
❖ การหาค่าของ ( −a )n เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวกคู่ ค่าของเลขยกกำลังจะมีค่าเป็นจำนวน

.......................................

ชวนคิด 1
( −2 ) = ( −2 )  ( −2 )  ( −2 )  ( −2 )
4

= ..........

และ 24 = 2  2  2  2
= ..........

นั่นคือ ( −2 )4  2 4 ในกรณีที่ n เป็นจำนวนเต็มบวกคู่


❖ การหาค่าของ ( −a )n เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวกคี่ ค่าของเลขยกกำลังจะมีค่าเป็นจำนวน

.......................................

ชวนคิด 2
( −2 ) = ( −2 )  ( −2 )  ( −2 )
3

= ..........

และ 23 = 2  2  2
= ..........
นั่นคือ ( −2 )3  23 ในกรณีที่ n เป็นจำนวนเต็มบวกคี่
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง |6

ชวนคิด 3
นักเรียนคิดว่า
1. ( −2 )n กับ − ( 2 )n จะมีค่าเท่ากัน เมื่อ n เป็นจำนวนใด
2. ( −2 )n กับ − ( 2 )n จะมีค่าไม่เท่ากัน เมื่อ n เป็นจำนวนใด

4. จงหาค่าของเลขยกกำลังที่กำหนดให้

1) 101 = ............................................... 2) ( −1)5 = ...............................................

= ............................................... = ...............................................

3) 73 = ............................................... 4) − ( 3)4 = ...............................................

= ............................................... = ...............................................

5) 203 = ............................................... 6) ( −30)2 = ...............................................

= ............................................... = ...............................................
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง |7

การหาค่าของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นทศนิยม
เมื่อต้องการทราบว่าเลขยกกำลังนั้นแทนด้วยทศนิยมใด เราจะเขียนเลขยกกำลังนั้นให้อยู่ในรูป
การคูณของทศนิยมที่เป็นฐานแล้วหาผลคูณของทศนิยมเหล่านั้น
ตัวอย่างเช่น

( −0.2 ) = ( −0.2 )  ( −0.2 )  ( −0.2 )  ( −0.2 ) ( −0.2 ) = ( −0.2 )  ( −0.2 )  ( −0.2 )


4 3

= 0.0016 = −0.008

5. จงหาค่าของเลขยกกำลังที่กำหนดให้

1) ( 0.01)3 = ............................................... 2) ( 0.6 )4 = ...............................................

= ............................................... = ...............................................

3) ( −1.5)2 = ............................................... 4) − (3.2)2 =..............................................

= ............................................... = .............................................

การหาค่าของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นเศษส่วน
เมื่อต้องการทราบว่าเลขยกกำลังนั้นแทนด้วยเศษส่วนใด เราจะเขียนเลขยกกำลังนั้นให้อยู่ในรูป
การคูณของเศษส่วนที่เป็นฐานแล้วหาผลคูณของเศษส่วนเหล่านั้น
ตัวอย่างเช่น
4 3
 1  1  1  1  1  2  2  2  2
 −  =  −  −  −  −   −  =  −  −  − 
 2  2  2  2  2  3  3  3  3
1 8
= =−
16 27

6. จงหาค่าของเลขยกกำลังที่กำหนดให้
5 4
1 2
1)   = ............................................... 2)   = ...............................................
2 5

= ............................................... = ...............................................
3 2
 5
3) −  = ............................................... 4) −  − 1  = ..........................................
 4  10 

= ............................................... = ..........................................
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง |8

แบบฝึกหัดเสริมทักษะ
1. จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังมากกว่า 1
1) 256 2) 1,000,000

3) −1024 4) 0.027

2. จงหาจำนวนเต็มที่เติมลงใน  แล้วทำให้ประโยคเป็นจริง
4
1)  = 625 2) 0.4 = 0.0256

3. จงหาค่าของจำนวนต่อไปนี้
3 + ( 2 − 5)
2

1) ( −3)(1 + 2 ) 2
2)
24
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง |9

4. ถ้าแหนชนิดหนึ่งเพิ่มจำนวนของตัวเองเป็นสองเท่าทุก ๆ สัปดาห์ ปุ๊กได้แหนชนิดนี้มาจากเพื่อน 3 ต้น และ


ลอยไว้ในอ่างปลา เมื่อครบ 4 สัปดาห์ ปุ๊กจะมีแหนอย่างมากที่สุดกี่ต้น

5. ข้อความต่อไปนี้เป็นจริงหรือไม่ เพราะเหตุใด
1) เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก ถ้า n เพิม่ ขึ้น แล้ว ( −2 ) จะเพิ่มขึ้นด้วย
n

วิธีคิด ตอบ

2) ถ้า a เป็นจำนวนเต็ม และ n เป็นจำนวนเต็มบวกที่เป็นจำนวนคู่ แล้ว a n จะเป็นจำนวนเต็มบวก


หรือศูนย์เสมอ
วิธีคิด ตอบ
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง | 10

ใบกิจกรรม 3.3 สำรวจการคูณเลขยกกำลัง


คำสั่งกิจกรรม
1. ให้นักเรียนเติมตารางต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
ผลคูณในรูป เลขชี้กำลัง เลขชี้กำลัง เลขชี้กำลัง
การคูณเลขยกกำลัง เขียนการคูณเลขยกกำลังโดยใช้บทนิยาม
เลขยกกำลัง ของตัวตั้ง ของตัวคูณ ของผลคูณ

23  22

34  33

2
( −5 )  ( − 5 )
5 4
( −7 )  ( − 7 )
3
( 0.2 )  ( 0.2 )
4 2
( 3.6 )  ( 3.6 )
1 1
 2  2 
   

5 2
 4  4
 3   3 
   

n2  n4 เมื่อ n
เป็ นจำนวนใด ๆ

2. จากตาราง ให้นักเรียนสังเกตและสร้างข้อความคาดการณ์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเลขชี้กำลังของ
ทั้งตัวตั้ง ตัวคูณ และผลคูณ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง | 11

สรุปหลักการคูณเลขยกกำลัง
เมื่อ a เป็นจำนวนใด ๆ และ m, n เป็นจำนวนเต็มบวก

am x an = ……………………………………………………………

แบบฝึกหัดการคูณเลขยกกำลัง
ข้อ การคูณเลขยกกำลัง การหาผลคูณที่ใช้สมบัติการคูณ

1. 35  38 35  38 = 35+8 = 313

2. 73  ( −7 )
9

3. 6
( −2 ) ( −2 )
7

4. 4
(1.2 ) (1.2 )
3

5. 2
( 0.01) ( 0.01)
3

6. 1
4
2
2 ( 0.5)
 

7. 343 49

8. ( −27 )  729

9. 3m 3n เมื่อ m และ n เป็น


จำนวนเต็มบวก

10. xm xn เมื่อ x  0 , m และ

n เป็นจำนวนเต็มบวก
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง | 12

ใบกิจกรรม 3.4 สำรวจการหารเลขยกกำลัง


m
กำหนดให้ am  an หรือ a n เมื่อ a เป็นจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับ 0
a
และ m, n เป็นจำนวนเต็มบวก
กรณีที่ 1 : สมบัติการหารเลขยกกำลังเมือ่ m > n
คำสั่งกิจกรรม
1. ให้นักเรียนเติมตารางต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
ผลหารในรูป เลขชี้กำลัง เลขชี้กำลัง เลขชี้กำลัง
การหารเลขยกกำลัง เขียนการหารเลขยกกำลังโดยใช้บทนิยาม
เลขยกกำลัง ของตัวตั้ง ของตัวหาร ของผลหาร
58 5 5 5 5 5 5 5 5
5 5 56 8 2 6
52
39
38
6
( −7 )
3
( −7 )
5
( 0.2 )
0.2
7
( 4.1)
4
( 4.1)
n4
เมื่อ n เป็น
n2
จำนวนใด ๆ และ
n0

2. จากตาราง ให้นักเรียนสังเกตและสร้างข้อความคาดการณ์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเลขชี้กำลังของ
ทั้งตัวตั้ง ตัวหาร และผลหาร

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง | 13

กรณีที่ 2 : สมบัติการหารเลขยกกำลังเมือ่ m = n
คำสั่งกิจกรรม
1. ให้นักเรียนเติมตารางต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
ผลหารใน
เลขชี้กำลัง เลขชี้กำลัง เลขชี้กำลัง
การหารเลขยกกำลัง เขียนการหารเลขยกกำลังโดยใช้บทนิยาม รูปเลขยก
ของตัวตั้ง ของตัวหาร ของผลหาร
กำลัง

53  53 5 5 5
= .......... 50 3 3 0
5 5 5

26  26

4 4
( −6)  ( −6)

5 5
( 0.89 )  ( 0.89 )

2 2
1 1
 3  3
   

B7  B7 เมื่อ B

เป็นจำนวนใด ๆ และ

B0

2. จากตาราง ให้นักเรียนสังเกตและสร้างข้อความคาดการณ์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเลขชี้กำลังของ
ทั้งตัวตั้ง ตัวหาร และผลหาร

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง | 14

กรณีที่ 3 : สมบัติการหารเลขยกกำลังเมือ่ m < n


คำสั่งกิจกรรม
1. ให้นักเรียนเติมตารางต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
ผลหารในรูป เลขชี้กำลัง เลขชี้กำลัง เลขชี้กำลัง
การหารเลขยกกำลัง เขียนการหารเลขยกกำลังโดยใช้บทนิยาม
เลขยกกำลัง ของตัวตั้ง ของตัวหาร ของผลหาร

54  57 5 5 5 5
5 5 5 5 5 5 5
= .......... 5− 3 3 3 0

24  26

2 4
( −3)  ( −3)

5
( 0.83)  ( 0.83)

2 7
1 1
 6   6 
   

C 2  C 9 เมื่อ C

เป็นจำนวนใด ๆ และ

C0

2. จากตาราง ให้นักเรียนสังเกตและสร้างข้อความคาดการณ์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเลขชี้กำลังของ
ทั้งตัวตั้ง ตัวหาร และผลหาร

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง | 15

แบบฝึกหัดเสริมทักษะ
1. จงเขียนผลคูณของ 8  23  24 ให้อยู่ในรูปเลขยกกำลัง

( )( )
2. จงหาผลลัพธ์ของ m2  m  m3  m5 เมื่อ m  0

35  3−7
3. จงหาผลลัพธ์ของ
0
( −3)

4. น้ำตกไนแอการามีปริมาณน้ำที่ไหลผ่านขอบหน้าผาโดยเฉลี่ยประมาณวันละ 7 1010 ลิตร จงหาว่าต้อง


ใช้เวลาประมาณกี่วัน น้ำจึงจะไหลผ่านขอบหน้าผาได้ 1012 ลิตร
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง | 16

ใบกิจกรรม 3.5 สัญกรณ์วิทยาศาสตร์

สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (Scientific Notation) เป็นการเขียนจำนวนในรูปการณ์คูณที่มี


เลขยกกำลังซึ่งมีฐานเป็นสิบ และมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม โดยมีรูปทั่วไปคือ
......................................... เมื่อ .........................................................................

การเขียนจำนวนทีม่ ีค่ามาก ๆ ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์


คำสั่งกิจกรรม: 1. ให้นักเรียนยกตัวอย่างจำนวนที่มีค่ามากที่สุดเท่าที่นักเรียนรู้จัก (เป็นสิ่งรอบตัวนักเรียน)
พร้อมทั้งบอกด้วยว่า จำนวนดังกล่าวคืออะไร มาจากเหตุการณ์หรือสถานการณ์ใด
2. ให้นักเรียนเขียนจำนวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์

การเขียนจำนวนทีม่ ีค่าน้อย ๆ ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์


คำสั่งกิจกรรม: 1. ให้นักเรียนยกตัวอย่างจำนวนที่มีค่าน้อยที่สุดเท่าที่นักเรียนรู้จัก (เป็นสิ่งรอบตัวนักเรียน)
พร้อมทั้งบอกด้วยว่า จำนวนดังกล่าวคืออะไร มาจากเหตุการณ์หรือสถานการณ์ใด
2. ให้นักเรียนเขียนจำนวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง | 17

แบบฝึกหัดสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
1. จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
1.1 โลกมีรูปร่างใกล้เคียงกับทรงกลมและมีรัศมียาวประมาณ 6,380,000 เมตร
................................................................................................................................................................

1.2 แสงสีแดงมีความยาวคลื่นประมาณ 0.00000064 เมตร

................................................................................................................................................................
2. ประมาณกันว่าในปี ค.ศ. 2050 โลกจะมีประชากรประมาณ 9,600,000,000 คน ถ้าพื้นโลกส่วนที่เป็นที่อยู่
อาศัยได้มีพื้นที่ประมาณ 15 107 ตารางกิโลเมตร จงหาความหนาแน่นของประชากรโลกโดยเฉลี่ยต่อพื้นที่
1 ตารางกิโลเมตรโดยประมาณ

3. โดยเฉลี่ยแล้วสมองของคนหนักประมาณ 2 10−2 เท่าของน้ำหนักตัว จงหาว่าสมองของนักเรียนหนัก


ประมาณเท่าใด
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง | 18

กิจกรรมท้ายบท 3.6: รหัสลับ ภาพปริศนา


กำหนดให้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ A, G, I J, S และ W ในความสัมพันธ์ต่อไปนี้แทนเลขโดด 0 ถึง 9 ที่แตกต่าง
กัน
I +I = II

IS = SI

IG = GJ − J

I S
J=
A

G−I =
1
W

จงเติมตัวเลขที่แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษนั้นลงในตาราง
J I G S A W

แล้วระบายสีลงในช่องว่างตารางต่อไปนี้ที่มีตัวเลขเหล่านั้นทุกช่อง เพื่อหาภาพปริศนาคือภาพใด
ใ บ กิ จ ก ร ร ม บ ท ที่ 3 เ ล ข ย ก ก ำ ลั ง | 19

You might also like