You are on page 1of 8

แผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานค21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เวลา 1 ชั่วโมง
...................................................................................................................................................................

สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต

มาตรฐานค1.3 ใช้นิพจน์สมการและอสมการอธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กาหนดให้

ตัวชี้วัด ค.1.3 ม.1/1 เข้าใจและใช้สมบัตขิ องการเท่ากันและสมบัตขิ องจานวนเพื่อวิเคราะห์และ


แก้ปญั หาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระสาคัญ
สมบัตขิ องการเท่ากัน
สมบัติสมมาตร (symmetric property)
ถ้า a = b แล้ว b = a เมื่อ a และ b แทนจานวนใดๆ
สมบัติถ่ายทอด (transitive property)
ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c เมื่อ a , b และ c แทนจานวนใดๆ
สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวก (additive property of equality)
ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c เมื่อ a , b และ c แทนจานวนใดๆ
สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณ (multiplicative property of equality)
ถ้า a = b แล้ว ac = bc เมือ่ a , b และ c แทนจานวนใดๆ
จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถบอกสมบัติของการเท่ากันได้
กระบวนการจัดการเรียนรู้
3 4
1. ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่าบางสมการเช่น x − 8 = ใช้การหาคาตอบของสมการโดยวิธีลองแทน
5 7
ค่าตัวแปรอาจไม่สะดวกเพราะอาจต้องใช้เวลามากและมีโอกาสผิดพลาดในการคานวณสูงเราสามารถที่จะ
แก้ปัญหาดังกล่าวรวมถึงสามารถหาคาตอบได้รวดเร็วแม่นยาและถูกต้องได้โดยใช้สมบัติของจานวนและสมบัติ
ของการเท่ากันมาช่วยในการแก้สมการ
2. ครูแนะนาสมบัติของการเท่ากันที่จะใช้ในการแก้สมการโดยครูเริ่มให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างดังนี้
1) ถ้า x = 20 แล้วจะสรุปว่า 20 = x
2) ถ้า -2a = 15 แล้วจะสรุปว่า 15 = -2a
3) ถ้า 2x + 7 = x + 3 แล้วจะสรุปว่า x + 3 = 2x + 7
สมบัตินี้เรียกว่า สมบัติสมมาตร(symmetric property) กล่าวคือ
ถ้า a = b แล้ว b = a เมื่อ a และ b แทนจานวนใดๆ
ครูให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างต่อไป ดังนี้
1) ถ้า 4 = 3 + 1 และ 3 + 1 = 2 + 2 แล้วจะสรุปว่า 4 = 2 + 2
2) ถ้า 2 x 3 = 3 x 2 และ 3 x 2 = 6 แล้วจะสรุปว่า 2 x 3 = 6
3) ถ้า a = b และ b = 8 แล้วจะสรุปว่า a = 8
สมบัตินี้เรียกว่า สมบัติถ่ายทอด (transitive property)
ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c เมื่อ a , b และ c แทนจานวนใดๆ
3. ครูให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างต่อไป โดยใช้เครื่องคานวณวิทยาศาสตร์ CASIO รุ่น fx-991EX
ClassWiz ดังนี้
1) ถ้า 63 = 18 แล้วหากลองนาจานวนมาบวกเข้าทั้งสองข้างของสมการ

หากนา 24 มาบวกเข้าทั้งสองข้างของสมการ ผลลัพธ์ที่ได้คือ 42 เท่ากัน


ดังนั้น ถ้า 63 = 18 แล้ว (63) + 24 = 18 + 24
หากนา −6 มาบวกเข้าทั้งสองข้างของสมการ

ผลลัพธ์ที่ได้คือ 12 เท่ากัน
ดังนั้น ถ้า 63 = 18 แล้ว (63) + ( −6) = 18 + ( −6)
2) ถ้า 172  4 = 43 แล้วหากนา −62 มาบวกเข้าทั้งสองข้างของสมการ

ผลลัพธ์ที่ได้คือ −19 เท่ากัน


ดังนั้น ถ้า 172  4 = 43 แล้ว (172  4) + ( −62) = 43 + ( −62)
แล้วนักเรียนจับคู่กันทาใบกิจกรรมที่ 1 ตรวจสอบสมบัติการเท่ากันเกี่ยวกับการบวกแล้วครูให้นักเรียนอภิปราย
สังเกตความสัมพันธ์ของจานวน แล้วช่วยกันสรุปความสัมพันธ์ลงในใบกิจกรรมที่ 1 ว่า ถ้ามีจานวนสอง
จานวนเท่ากัน เมื่อนาจานวนอีกจานวนหนึ่งมาบวก แต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น แล้วผลลัพธ์จะเท่ากัน
สมบัตินี้เรียกว่า สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวก (additive property of equality)
ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c เมื่อ a , b และ c แทนจานวนใดๆ
ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติม กรณีที่สมการมีตัวแปร เช่น
3) ถ้า x + 7 = 11 แล้ว ( x + 7) +14 = 11 +14
4) ถ้า x = y แล้ว x + ( −11) = y + ( −11)
ครูย้าให้นักเรียนสังเกตว่า จานวนที่นามาบวกกับแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น อาจจะเป็นจานวนบวกหรือจานวน
ลบก็ได้ ในกรณีที่บวกด้วยจานวนลบ มีความหมายเหมือนกับนาจานวนบวกมาลบออกจากจานวนทั้งสองข้าง
ของสมการ เช่น
ถ้า a = b แล้ว a + ( −13) = b + ( −13) หรือ a −13 = b −13
(ขั้นสารวจ , ขั้นหาความสัมพันธ์)
4. ครูให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างต่อไป โดยใช้เครื่องคานวณวิทยาศาสตร์ CASIO รุ่น fx-991EX
ClassWiz ดังนี้
1) ถ้า 19 + 28 = 47 หากนา 4 มาคูณเข้าทั้งสองข้างของสมการ

ผลลัพธ์ที่ได้คือ 188 เท่ากัน


ดังนั้น ถ้า 19 + 28 = 47 แล้ว (19 + 28) 4 = 474

2) ถ้า 22 + 35 = 57 หากนา −8 มาคูณเข้าทั้งสองข้างของสมการ

ผลลัพธ์ที่ได้คือ −456 เท่ากัน


ดังนั้น ถ้า 22 + 35 = 57 แล้ว (22 + 35) ( −8) = 57( −8)
3
3) ถ้า 95 − 25 = 70 หากนา มาคูณเข้าทั้งสองข้างของสมการ
14
ผลลัพธ์ที่ได้คือ 15 เท่ากัน
3 3
ดังนั้น ถ้า 95 − 25 = 70 แล้ว (95 − 25)  = 70 
14 14
5. ครูให้นักเรียนจับคู่กันทาใบกิจกรรมที่ 2 และร่วมกันสังเกตและอภิปรายเพื่อสร้างข้อความ
คาดการณ์เกี่ยวกับสมบัติการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณ แล้วร่วมกันสรุปความสัมพันธ์ลงในใบกิจกรรมที่ 2
ถ้ามีจานวนสองจานวนเท่ากัน เมื่อนาจานวนอีกจานวนหนึ่งมาคูณ แต่ละจานวนที่เท่ากัน
นั้น แล้วผลลัพธ์จะเท่ากัน
สมบัตินี้เรียกว่า สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณ (multiplicative property of equality)
ถ้า a = b แล้ว ac = bc เมื่อ a , b และ c แทนจานวนใดๆ
ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติม กรณีที่สมการมีตัวแปร เช่น
4) ถ้า x = 11 แล้ว 4x = (4 )11
4 4
5) ถ้า n + 1 = 8 แล้ว (n + 1) = ( 8)
7 7
ครูย้าให้นักเรียนสังเกตว่า จานวนที่นามาคูณกับแต่ละจานวนที่เท่ากันนั้น อาจจะเป็นจานวนเต็มหรือเศษส่วน
ก็ได้ ในกรณีที่คูณด้วยส่วนกลับของจานวนเต็ม มีความหมายเหมือนกับนาจานวนเต็มนั้นมาหารจานวนทั้งสอง
ข้างของสมการ เช่น
1 1 a b
ถ้า a = b แล้ว  a =  b หรือ = (ขั้นสารวจ, ขั้นหาความสัมพันธ์)
5 5 5 5
6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติของการเท่ากัน แล้วสรุปเกีย่ วกับสมบัติของการเท่ากัน ซึ่งได้แก่
สมบัติสมมาตร (symmetric property) สมบัติถ่ายทอด (transitive property) สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวก
(additive property of equality)
และสมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณ (multiplicative property of equality)
สาหรับสมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวกครูควรเน้นว่าจานวนที่นามาบวกทั้งสองข้างของสมการ
อาจเป็นจานวนบวกหรือจานวนลบก็ได้
สาหรับสมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณครูควรเน้นว่าจานวนที่นามาคูณทั้งสองข้างของสมการ
อาจเป็นจานวนเต็มหรือเศษส่วนก็ได้
7. ครูให้นักเรียนจับคู่ทาแบบฝึกทักษะที่ 1 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของการเท่ากัน
แล้วครูและนักเรียนร่วมกันเฉลย จากนั้นให้นักเรียนใช้เครื่องคานวณวิทยาศาสตร์ตรวจสอบความถูกต้อง (ขั้น
ฝึกทักษะ)
8. ครูให้นักเรียนช่วยกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของการเท่ากัน อีกครั้ง

สื่อการเรียนรู้
1. เครื่องคานวณวิทยาศาสตร์ CASIO fx-991 EX Classwiz
2. ใบกิจกรรมที่1, 2
3. แบบฝึกทักษะที่ 1

การวัดผล/ประเมินผล
1. ประเมินจากการทาใบกิจกรรมที่1, 2
2. ประเมินผลจากการทาแบบฝึกทักษะที่ 1
3. ประเมินจากการตอบคาถามของนักเรียน
ใบกิจกรรมที่ 1
ตรวจสอบการเท่ากันเกี่ยวกับการบวก

คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในตารางให้สมบูรณ์โดยใช้เครื่องคานวณวิทยาศาสตร์ CASIO รุ่น fx-991EX


ClassWiz

ข้อที่ จานวน

1. 47 + 11 58
บวกด้วย 35 ทั้งสองข้าง 47 +11 + 35 = _______ 58 + 35 = ________
2. 128 − 32 96
บวกด้วย 55ทั้งสองข้าง 128 − 32 + 55 = _______ 96_____ = ________
3. 2518 450
บวกด้วย −47 ทั้งสองข้าง 2518 + ( −47) = ______ __________ = _____

4. 125 32 _________

บวกด้วย −137 ทั้งสองข้าง ______________ = _______ ______________ = _______

5. 8, 670  34 _________

บวกด้วย 246 ทั้งสองข้าง ______________ = _______ ______________ = _______

ข้อความคาดการณ์เกี่ยวกับสมบัติการเท่ากัน
............................................................................................................................. ......
............................................................................................................................. ......
............................................................................................................................. ......
ใบกิจกรรมที่ 2
ตรวจสอบการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณ

คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงไปในตารางให้สมบูรณ์ โดยใช้เครื่องคานวณวิทยาศาสตร์ CASIO รุ่น fx-


991EX ClassWiz

ข้อที่ จานวน

1. 47 + 11 58
คูณด้วย 35 ทั้งสองข้าง (47 +11) 35 = _______ 5835 = ________
2. 128 − 32 96
คูณด้วย 55ทั้งสองข้าง (128 − 32) 55 = _______ 96_____ = ________
3. 2518 450

คูณด้วย −
2
25
ทั้งสองข้าง (2518)  − ( ) 2
25
=
__________ = _____

______

4. 125 32 _________
3 ______________ = _______ ______________ = _______
คูณด้วย ทั้งสองข้าง
100
5. 8, 670  34 _________
5 ______________ = _______ ______________ = _______
คูณด้วย − ทั้งสองข้าง
17

สรุปความสัมพันธ์
............................................................................................................................. ......
............................................................................................................................. ......
.............................................................................................................................
แบบฝึกทักษะที่ 1 ......
คาชี้แจง จงเติมคาตอบที่ถูกต้องลงในช่องว่าง

1. ให้ x = 18 และ 18 = y + 2 ดังนั้น_______ = y + 2


โดยใช้สมบัติ______________________________

2. ให้ m = 5(2n +1) ดังนั้น 5(2n + 1) = ___________


โดยใช้สมบัติ______________________________

3. ให้ t 2 = 25 ดังนั้น t 2 − 4 = ___________________


โดยใช้สมบัติ______________________________

4. ให้ p − 4 = −12 ดังนั้น p − 4 + 4 = _____________


โดยใช้สมบัติ______________________________

5. ให้ 5y − 7 = 29 ดังนั้น____________ = 36
โดยใช้สมบัติ______________________________

6. ให้ 3x + 7 = 62 ดังนั้น 62 = ______________


โดยใช้สมบัติ______________________________

7. ให้ −23r = 4 ดังนั้น___________ = 8


โดยใช้สมบัติ______________________________

8. ให้ p = 4(q − 3) และ 4(q − 3) = 2r ดังนั้น_____ = 2r


โดยใช้สมบัติ______________________________

1 1
9. ให้ −2m − = ดังนั้น −2m = _____________
2 2
โดยใช้สมบัติ______________________________

10. ให้ 15 = 15x ดังนั้น__________ = x


โดยใช้สมบัติ______________________________

You might also like