You are on page 1of 14

0

วิชา การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น 1
รหัสวิชา ง 30204
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 นิพจน์และตัวดาเนินการ

สาระการเรี ยนรู้
1. ตัวดาเนินการ (Operator)
2. ตัวถูกดาเนินการ (Operand)
3. นิพจน์ (Expression)
4. เครื่ องหมายและตัวดาเนินการทางคณิ ตศาสตร์
5. การเปลี่ยนชนิดข้อมูล

ผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวัง

มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวดาเนินการและตัวถูกดาเนินการ นิพจน์ เครื่ องหมายทาง


คณิ ตศาสตร์ และการเปลี่ยนชนิดข้อมูลในภาษาซีเพื่อการเขียนโปรแกรมได้

จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. บอกประวัติความเป็ นมา และลักษณะของภาษา C ได้
2. สามารถค้นหาและดาวน์โหลดโปรแกรมภาษา C ได้
3. สามารถใช้งานโปรแกรมภาษา C ได้
1

ใบความรู้ที่ 3 เรื่ อง นิพจน์ และตัวดาเนินการ


จัดทาโดย นายศรัณย์ภัทร กาญจนาคม

เมื่อรู ้จกั วิธีการเตรี ยมข้อมูลพร้อมทั้งการสร้างตัวแปรสาหรับเก็บข้อมูลขึ้นมาแล้ว ต่อไปจะ


เป็ นการนาข้อมูลเหล่านั้นมาดาเนินการ (Operator) โดยการดาเนินการอาจจะหมายถึง การนาข้อมูลมา
คานวณทางคณิ ตศาสตร์ ตรรกศาสตร์ หรื อเปรี ยบเทียบ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมา ดังที่จะได้เรี ยนรู ้กนั ใน
บทนี้

ตัวดาเนินการ (Operator)
ตัวดาเนินการ คือ เครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์พิเศษที่ใช้ในการดาเนินการทางคณิ ตศาสตร์ การ
ดาเนินการทางตรรกศาสตร์ หรื ออื่น ๆ

ตัวถูกดาเนินการ (Operand)
ข้อมูลที่ทางานกับตัวดาเนินการจะเรี ยกว่า ตัวถูกดาเนินการ ตัวดาเนิ นการบางตัวจะใช้ตวั ถูก
ดาเนินการเพียงตัวเดียว ขณะที่ตวั ดาเนินการบางตัวจะต้องใช้ตวั ถูกดาเนินการถึง 2 ตัว และตัวดาเนินการ
จะใช้ประกอบกับตัวถูกดาเนิ นการในการสร้างนิพจน์

นิพจน์ (Expression)
นิพจน์ หมายถึง การนาค่าคงที่ หรื อตัวแปร มาสัมพันธ์กนั โดยใช้ตวั ดาเนิ นการทาง
คณิ ตศาสตร์ เป็ นตัวเชื่อม ตัวอย่างเช่น
ตัวอย่าง
count + 1
ตัวถูกดาเนินการตัวที่ 1 (ตัวแปร) ตัวดาเนินการ ตัวถูกดาเนินการตัวที่ 2 (ค่าคงที่)

ดังนั้น นิพจน์ในภาษา C เป็ นการนาข้อมูลและตัวแปรในภาษา C มาดาเนินการด้วยเครื่ องหมาย


ทางคณิ ตศาสตร์ ตรรกศาสตร์ หรื อเครื่ องหมายมาเปรี ยบเทียบในภาษา C เป็ นตัวสั่งงาน
2

เครื่ องหมายและตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์
ในภาษาซีมีตวั ดาเนินการ (Operator) อยูห่ ลายประเภท ซึ่งตัวดาเนินการเหล่านี้สามารถ
นามาสร้างเป็ นนิพจน์ได้ อันได้แก่
1. ตัวดาเนินการทางคณิ ตศาสตร์ (Arithmetic Operator)
2. ตัวดาเนินการยูนารี (Unary Operator)
3. ตัวดาเนินการเชิงสัมพันธ์ (Relational Operator)
4. ตัวดาเนินการเชิงตรรกะ (Logical Operator)

1. ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operator)


การดาเนิ นการพื้นฐานที่สุดในชีวติ ประจาวันและในการเขียนโปรแกรมก็คือ การคานวณทาง
คณิ ตศาสตร์ ซึ่ งถือได้วา่ เป็ นการดาเนิ นการที่ตอ้ งกระทาอยูบ่ ่อยครั้ง โดยเครื่ องหมายที่ใช้ในการคานวณ
ทางคณิ ตศาสตร์ในภาษา C มีดงั นี้

ตัวดาเนินการ ความหมาย
+ บวก (addition)
- ลบ (subtraction)
* คูณ (multiplication)
/ หาร(division)
% หารเอาเศษ (Modulo)

ตัวอย่าง ถ้ากาหนดให้ตวั แปร x และ y เก็บค่าจานวนเต็มเท่ากับ 15 และ 9 ตามลาดับ ผลลัพธ์


ที่ได้คือ
z=x+y ผลลัพธ์ที่ได้คือ ตัวแปร z มีค่าเท่ากับ 24
z=x-y ผลลัพธ์ที่ได้คือ ตัวแปร z มีค่าเท่ากับ 6
z=x*y ผลลัพธ์ที่ได้คือ ตัวแปร z มีค่าเท่ากับ 135
z=x/y ผลลัพธ์ที่ได้คือ ตัวแปร z มีค่าเท่ากับ 1
z=x%y ผลลัพธ์ที่ได้คือ ตัวแปร z มีค่าเท่ากับ 6
3

2. ตัวดาเนินการยูนารี (Unary Operator)


ตัวดาเนิ นการยูนารี จะใช้กบั ตัวถู กดาเนิ นการเพียงตัวเดี ยว ปกติจะอยู่หน้าตัวถู กดาเนิ นการ แต่
บางครั้งก็อาจอยู่หลังตัวถู กดาเนิ นการ ตัวดาเนิ นการยูนารี ที่รู้จกั กันดี คือ ตัวดาเนิ นการยูนารี ลบ นัน่ ก็คือ
เครื่ องหมายลบที่นามาใช้นาหน้าค่าตัวเลข หรื อนาหน้าค่าตัวแปร ซึ่ งจะส่ งผลให้ค่าถูกเปลี่ยนเป็ นค่าติดลบ
โดยทันที เช่น -10 , -x
ตัวอย่าง ถ้ากาหนดให้ตวั แปร x และ y เก็บค่าจานวนเต็มเท่ากับ 10 และ 2 ตามลาดับ ผลลัพธ์
ที่ได้คือ
z=x+y ผลลัพธ์ที่ได้คือ ตัวแปร z มีค่าเท่ากับ 12
z=-x+y ผลลัพธ์ที่ได้คือ ตัวแปร z มีค่าเท่ากับ -8
z=-x*y ผลลัพธ์ที่ได้คือ ตัวแปร z มีค่าเท่ากับ -20
z=x- -y ผลลัพธ์ที่ได้คือ ตัวแปร z มีค่าเท่ากับ 12

กิจกรรมเสริมทักษะ

ให้นกั เรี ยนทดลองเขียนโปรแกรมทดสอบนิพจน์ยนู ารี ต่อไปนี้ สังเกตผลลัพธ์ที่ได้


1 #include <stdio.h>
2 #include <conio.h>
3 main ( )
4 {
5 int a=10 , b=2;
6 printf("a=10 , b=2 \n \n");
7 printf("-a+b = %d \n ", -a+b);
8 printf("-a*b = %d \n ", -a*b); รู ปภาพ แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการทางานของ
9 printf("a--b = %d \n ", a- -b); โปรแกรม ex04_1.exe
10 getche( );
11 }

นอกจากนั้นยังมีตวั ดาเนินการยูนารี ที่ใช้มาก ก็คือ ตัวดาเนิ นการเพิ่มค่าหรื อ ลดค่า ซึ่งการใช้


เครื่ องหมายทางคณิ ตศาสตร์ ประเภทของการเพิ่มค่าลดค่าลงที่ละหนึ่ง สามารถใช้ได้ดงั แสดงในตาราง

ตัวดาเนินการ ความหมาย
++ เพิ่มค่าขึ้นอีกหนึ่ง (increment)
-- ลดค่าลงอีกหนึ่ง (decrement)
4

การเขียนยูนารี แบบเพิ่มค่าหรื อลดค่า ต้ องระวัง ลาดับก่อนหลังของเครื่ องหมายให้ดี ในการ


กาหนดเครื่ องหมายยูนารี แบบเพิ่มค่าหรื อลดค่า สามารถกาหนดได้ 2 รู ปแบบคือ
แบบที่ 1 เครื่ องหมายอยูข่ า้ งหน้า
ตัวอย่าง z = ++x
หมายถึง เพิ่มค่าให้กบั ตัวแปร x อีก 1 ก่อนที่กาหนดค่าให้กบั ตัวแปร z

แบบที่ 2 เครื่ องหมายอยูข่ า้ งหลัง

ตัวอย่าง z = x++
หมายถึง กาหนดค่าของตัวแปร x ให้กบั ตัวแปร z ก่อนที่จะเพิ่มค่า
ให้กบั ตัวแปร x อีก 1

กิจกรรมเสริมทักษะ

ให้นกั เรี ยนทดลองเขียนโปรแกรมทดสอบนิพจน์ยนู ารี ต่อไปนี้ สังเกตผลลัพธ์ที่ได้


1 #include <stdio.h>
2 #include <conio.h>
3 int x=5 , y=5 , z=0;
4 main( )
5 {
6 z=++x;
7 printf(“z = %d \n”, z);
8 printf(“x = %d\ n”, x);
9 z=y++;
10 printf(“z = %d \n”, z); รู ปภาพ แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการทางานของ
11 printf(“y = %d\ n”, y); โปรแกรมex04_2.exe
12 getch( );
13 }
5

นอกจากนี้แล้วยังมีตวั ดาเนินการอีกประเภทหนึ่งคือ ประเภทลดรู ป ซึ่ งเรี ยกว่า Compound


Assignment ซึ่ งได้แก่ตวั ดาเนินการต่อไปนี้
ตัวดาเนินการ ตัวอย่าง ความหมายเหมือนกัน
+= a+ =b; a= a+b;
-= a- = b; a= a-b;
*= a* = b; a= a*b;
/= a/ = b; a= a/b;
%= a% = b; a= a% b;

ตัวอย่าง บวกแบบลดรู ป
z += 5; หรื ออีกความหมาย คือ z=z+5;

หมายถึง บวกค่าในตัวแปร z กับ 5 แล้วนาผลลัพธ์กลับไปเก็บไว้ที่ตวั แปร z


อีกครั้ง

ตัวอย่าง ลบแบบลดรู ป
z -= 2; หรื ออีกความหมาย คือ z=z+x;

หมายถึง ลบค่าในตัวแปร z ด้วย 2 แล้วนาผลลัพธ์กลับไปเก็บไว้ที่ตวั แปร z


อีกครั้ง

ตัวอย่าง คูณแบบลดรู ป
z *= x; หรื ออีกความหมาย คือ z=z*x;

หมายถึง คูณค่าในตัวแปร z กับค่าในตัวแปร x แล้วนาผลลัพธ์กลับไปเก็บ


ไว้ที่ตวั แปร z อีกครั้ง

ตัวอย่าง หารแบบลดรู ป
z /= 4; หรื ออีกความหมาย คือ z=z/x;

หมายถึง หารค่าในตัวแปร z ด้วย 4 แล้วนาผลลัพธ์กลับไปเก็บไว้ที่ตวั แปร z


อีกครั้ง
6

ตัวอย่าง หารเอาเศษแบบลดรู ป
z %= x; หรื ออีกความหมาย คือ z=z%x;

หมายถึง หารค่าในตัวแปร z กับค่าในตัวแปร x แล้วผลลัพธ์ที่ได้จากการหาร


กลับไปเก็บไว้ที่ตวั แปร z อีกครั้ง

3. ตัวดาเนินการเชิงสั มพันธ์ (Relational Operator)


ตัวดาเนินการเชิงสัมพันธ์ เป็ นเครื่ องหมายที่ใช้ในการเปรี ยบเทียบ ตัดสิ นใจ และผลของการ
เปรี ยบเทียบเป็ นได้ 2 กรณี คือ เป็ นจริ ง (True) หรื อ เป็ นเท็จ (False) ถ้าเป็ นจริ งจะให้ค่าเป็ น 1 และถ้า
เป็ นเท็จ จะให้ค่าเป็ น 0 ตัวดาเนินการเชิงสัมพันธ์ที่ใช้มีดงั นี้

ตัวดาเนินการ ความหมาย ตัวอย่าง


< น้อยกว่า a<b
<= น้อยกว่าเท่ากับ a<= b
> มากกว่า a>= b
>= มากกว่าเท่ากับ a >= b
== เท่ากับ a == b
!= ไม่เท่ากับ a != b

ส่ วนใหญ่แล้วการดาเนิ นการเปรี ยบเทียบจะทางานร่ วมกับการดาเนิ นการอื่น ๆ เช่น เปรี ยบเทียบ


จากการคานวณทางคณิ ตศาสตร์ หรื อเปรี ยบเที ยบเพื่อกาหนดเงื่ อนไขร่ วมกับการทางานของโปรแกรม
โครงสร้างแบบเลือกทา (Selection) หรื อแบบทาซ้ า เช่น ในร่ วมกับคาสั่ง if หรื อคาสั่ง while เป็ นต้น
ตัวอย่าง ถ้า a , b และ c เป็ นตัวแปรจานวนเต็มมีค่าเป็ น 10 , 20 และ 30 ตามลาดับ เมื่อกาหนด
รู ปแบบการทางานดังในตาราง

ตัวดาเนินการ ผล ค่ าทีไ่ ด้
a<b จริ ง 1
(b+c)>(a+50) เท็จ 0
c!=30 เท็จ 0
c==20 จริ ง 1
7

กิจกรรมเสริมทักษะ

ให้นกั เรี ยนทดลองเขียนโปรแกรมทดสอบนิพจน์ยนู ารี ต่อไปนี้ สังเกตผลลัพธ์ที่ได้

1 #include <stdio.h>
2 #include <conio.h>
3 main( )
4 {
5 printf(“10 > 5 = %d\n”,10 > 5);
6 printf(“10 < 5 =%d\n”,10 < 5);
7 getch( );
รู ปภาพ แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการทางานของ
8 }
โปรแกรมex04_3.exe

4. ตัวดาเนินการเชิงตรรกะ (Logical Operator)


ตัวดาเนิ นการทางตรรกะ เป็ นเครื่ องหมายที่ใช้ในการเปรี ยบเทียบตัดสิ นใจ โดยเอาเงื่อนไข
ตั้งแต่ 2 เงื่อนไขขึ้นไปมาเปรี ยบเทียบกัน ผลของการเปรี ยบเทียบเป็ นได้ 2 กรณี เป็ นจริ ง (True) หรื อ เป็ น
เท็จ (False) ถ้าเป็ นจริ งจะให้ค่าเป็ น 1 และถ้าเป็ นเท็จ จะให้ค่าเป็ น 0 ตัวดาเนินการทางตรรกะที่ใช้มีดงั นี้

ตัวดาเนินการ ความหมาย
&& และ (and)
|| หรื อ (or)
! ปฏิเสธ (not)
โดยผลลัพธ์สามารถแสดงเป็ นตารางแสดงการเปรี ยบเทียบผลลัพธ์ของการเปรี ยบเทียบ
ตัดสิ นใจได้ดงั นี้
ตัวเปรี ยบเทียบ ผลลัพธ์
a b a && b a || b !a
T T T T F
T F F T F
F F F T T
F F F F T
8

กิจกรรมเสริมทักษะ

ให้นกั เรี ยนทดลองเขียนโปรแกรมทดสอบนิพจน์ยนู ารี ต่อไปนี้ สังเกตผลลัพธ์ที่ได้

1 #include <stdio.h>
2 #include <conio.h>
3 main( )
4 {
5 int score=85;
6 printf(“%d\n”,score>=80 && score<90);
7 printf(“%d\n”,score< 80 || score>50);
8 printf(“%d\n”,score==80); รู ปภาพ แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการทางานของ
getch( );
โปรแกรม ex04_4.exe
}

ตัวดาเนินการกับความสาคัญ
ตัว ด าเนิ น การแต่ ล ะตัว มี ล าดับ ความส าคัญ ก่ อ นหลัง ที่ แ ตกต่ า งกัน โดยการประมวลผล
จะกระทากับตัวดาเนินการที่มีลาดับความสาคัญสู งก่อน แต่ถา้ กรณี ที่มีลาดับความสาคัญเท่ากัน ตามปกติ
จะกระทากับตัวดาเนินการที่พบก่อนนัน่ เอง และต่อไปนี้เป็ นลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการพื้นฐาน

ลาดับความสาคัญ ตัวดาเนินการ ความหมาย


1 () เครื่ องหมายวงเล็บ
2 ++,-- ตัวดาเนินการเพิ่มค่า/ลดค่า
3 -, ! ยูนารี ลบ และตรรกะ not
4 *, / , % คูณ หาร โมดูลสั
5 +,- บวก ลบ
ตัวอย่าง การคานวณนิพจน์ สามารถลาดับการคานวณ ได้ดงั นี้
โจทย์ ans = 2+ 8 / 4 -12 / 3 + 8*2
= 2 + 8 / 4 - 12 / 3 + 8*2
= 2 + 2 - 4 + 16
ans = 16
9

ท้ายสุ ดผลลัพธ์ที่ได้ก็คือ 8 อย่างไรก็ตามการคานวณสามารถเขียนให้ดูง่ายขึ้น และเพื่อป้ องกัน


การคานวณที่ผิดพลาดได้ ด้วยการใช้เครื่ องหมาย ( ) กากับ โดยการคานวณจะกระทาในแต่ละวงเล็บให้
เสร็ จก่อน
ตัวอย่าง
income = salary + (ot * rate) + commission - tax

การเปลีย่ นชนิดข้ อมูล


ในภาษา C ยังมีตวั ดาเนิ นการที่เรี ยกว่า การแคสต์ (Casting) เพื่อแปลงชนิดข้อมูลจากชนิดหนึ่ง
มาเป็ นอีกชนิดหนึ่งได้ วิธีทา คือ ให้ระบุชนิดข้อมูลที่ตอ้ งการภายในเครื่ องหมายวงเล็บ หน้านิพจน์ที่
ต้องการ

กิจกรรมเสริมทักษะ

ให้นกั เรี ยนทดลองเขียนโปรแกรมทดสอบการเปลี่ยนชนิ ดข้อมูลต่อไปนี้ แล้วสังเกตผลลัพธ์ที่ได้

1 #include <stdio.h>
2 #include <conio.h>
3 float x = 20;
4 int ans;
5 main( )
6 {
7 ans = (int) x / 5;
8 printf(“ans = %d\n”,ans);
9 getch( ); รู ปภาพ แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการทางานของโปรแกรม ex04_5.exe
10 }
10

การเขียนโปรแกรมคานวณ
เราสามารถคานวณหาผลลัพธ์ของนิพจน์คณิ ตศาสตร์ ดว้ ยการเขียนโปรแกรมภาษาซี ตัวอย่าง
ต่อไปนี้ เป็ นการแสดงลาดับการประมวลผลทางคณิ ตศาสตร์ ของนิพจน์ต่าง ๆ
ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรมคานวณหาพื้นที่รูปสี่ เหลี่ยม ให้นกั เรี ยนทดลองเขียนโปรแกรม
ทดสอบการเปลี่ยนชนิดข้อมูลต่อไปนี้ แล้วสังเกตผลลัพธ์ที่ได้
1 #include <stdio.h>
2 #include <conio.h>
3 int x,y,sum;
4 main()
5 {
6 printf("Enter The Length is : ");
7 scanf ("%d", &x);
8 printf("Enter The Width is : "); รู ปภาพ แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการทางานของ
9 scanf ("%d", &y); โปรแกรม ex04_6.exe
10 sum = x*y;
11 printf("The area is : %d", sum);
12 getche( );
}
11

กิจกรรมเสริมทักษะ

ให้นกั เรี ยนทดลองเขียนโปรแกรมทดสอบการเปลี่ยนชนิ ดข้อมูลต่อไปนี้ แล้วสังเกตผลลัพธ์ที่ได้

1 #include <stdio.h>
2 #include <conio.h>
3 main( )
4 {
5 int a,b,c,d,e;
6 a=(3+4)*5;
7 b=3+4*5;
8 c=(2+7)*4%10;
9 d=2+7*4%10;
10 e=10+2*8/4*3-5;
11 printf("(3 + 4) * 5 =%d\n", a); รู ปภาพ แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการทางานของ
12 printf("3 + 4 * 5 =%d\n", b); โปรแกรม ex04_7.exe
13 printf("(2 + 7) * 4 % 10 =%d\n", c);
14 printf("(2 + 7) * 4 % 10 =%d\n", d);
15 printf("10 + 2 * 8 / 4 * 3- 5 =%d\n", e);
16 getch();
17 }
12

กิจกรรมท้ ายบทเรียน

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่ อง นิพจน์ และตัวดาเนินการ

ชื่อ ชั้น ม. / เลขที่

จุดประสงค์ 1. สามารถสร้างนิพจน์ทางคณิ ตศาสตร์ ได้อย่างถูกต้อง


คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนตอบคาถามต่อไปนี้
1. จงแปลงนิพจน์ทางคณิ ตศาสตร์ ต่อไปนี้ให้เป็ นนิพจน์ภาษา C
1) 4x2+y2-2y เขียนอยูใ่ นรู ปนิพจน์
2) 2x6 y เขียนอยูใ่ นรู ปนิพจน์
x2
3) เขียนอยูใ่ นรู ปนิพจน์
x2  4

4) 2x+3y+12 เขียนอยูใ่ นรู ปนิพจน์


5) c2= a2+b2 เขียนอยูใ่ นรู ปนิพจน์
6) y=ax2+bx+c เขียนอยูใ่ นรู ปนิพจน์
7) s=3(k+1) เขียนอยูใ่ นรู ปนิพจน์
8) a=4ac+b เขียนอยูใ่ นรู ปนิพจน์
9) y=x5z เขียนอยูใ่ นรู ปนิพจน์
10) z= 6y  12 +x เขียนอยูใ่ นรู ปนิพจน์

จุดประสงค์ 2. อธิ บายรายละเอียดของชนิดตัวดาเนิ นการต่าง ๆ ในภาษาซี ได้


2. จงหาค่าตัวแปร x จากนิพจน์ต่อไปนี้ โดยกาหนดให้ a = 2 , b = 3 , c = 4 , d = 5 , e = 6
1) x=a+e/f*c x มีค่าเท่ากับ
2) x = (f – e) * (c / a) x มีค่าเท่ากับ
3) x=a*d/a+e/b x มีค่าเท่ากับ
4) x=a*(d/(a+e))/b x มีค่าเท่ากับ
5) x=a*b–c+e*d x มีค่าเท่ากับ
13

จุดประสงค์ 3. สามารถนาตัวดาเนินการชนิ ดต่าง ๆ ไปใช้งานกับนิพจน์ได้อย่างถูกต้อง


3. จงหาผลลัพธ์การดาเนินการทางคณิ ตศาสตร์ ของนิพจน์ต่อไปนี้ โดยกาหนดตัวแปรให้ดงั นี้
int x=4;
float y=-1.2;
char z=”A”;
1) (x < y) || (z >= y) ผลลัพธ์ที่ได้ คือ
2) (y * 100) && (x <= z) ผลลัพธ์ที่ได้ คือ
3) (z>x) ||( x < y) && (y <= x) ผลลัพธ์ที่ได้ คือ
4) (x * y) && (z>y) || (y < x) ผลลัพธ์ที่ได้ คือ
5) (y == z) || (x > y) ผลลัพธ์ที่ได้ คือ

จุดประสงค์ 4. บอกลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการได้
4. จงเขียนนิพจน์ทางคณิ ตศาสตร์ ต่อไปนี้ ให้อยูใ่ นรู ปนิพจน์ที่ถูกต้องตามหลักการของภาษา C โดยให้
ใส่ วงเล็บเพื่อจัดลาดับการทางานที่ถูกต้องด้วย
1) a2 + b 2 ผลลัพธ์ที่ได้ คือ
2) a2 + bc /d ผลลัพธ์ที่ได้ คือ
3) a + b / ++cd ผลลัพธ์ที่ได้ คือ
4) a mod b + c / d2 ผลลัพธ์ที่ได้ คือ
5) b/cd++a ผลลัพธ์ที่ได้ คือ

You might also like