You are on page 1of 36

คำนำ

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ เรื่อง ฟังก์ชัน ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการการจัด


กิจกรรมการเรียนรู้ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ ศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้ได้ด้วย
ตนเอง

หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนและนักเรียนที่ได้นาไปใช้ใน
การจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพและบรรลุผลการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

นางนงเยาว์ พีรฉัตรปกรณ์
สำรบำญ

เรื่ อง หน้า
คาแนะนาสาหรับครูผู้สอน 1
คาแนะนาสาหรับนักเรียน 2
ผลการเรียนรู้ 3
แบบทดสอบก่อนเรียน 4
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 7
ใบความรู้ ที่ 1 8
แบบฝึกทักษะที่ 1 12
ใบความรู้ ที่ 2 14
แบบฝึกทักษะที่ 2 15
ใบความรู้ ที่ 3 17
แบบฝึกทักษะที่ 3 19
เฉลยแบบฝึกทักษะ ที่ 1 21
เฉลยแบบฝึกทักษะ ที่ 2 24
เฉลยแบบฝึกทักษะ ที่ 3 27
แบบทดสอบหลังเรียน 30
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 33
1

คำแนะนำสำหรับครูผู้สอน

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ เรื่อง ฟังก์ชัน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ เป็น


แบบฝึกที่มุ่งพัฒนาให้นักเรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาในบทเรียนได้ง่ายขึ้น และเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ของครู ในการนาแบบฝึกทักษะไปใช้ ครูผู้สอนต้องดาเนินการดังนี้
1. ศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาในบทเรียน แผนการจัดการเรียนรู้และแบบฝึกทักษะซึ่งแบบ
ฝึกทักษะมีส่วนประกอบดังนี้
1.1 คาแนะนาสาหรับครูผู้สอน
1.2 คาแนะนาสาหรับนักเรียน
1.3 ผลการเรียนรู้
1.4 แบบทดสอบก่อนเรียน
1.5 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
1.6 ใบความรู้
1.7 แบบฝึกทักษะ
1.8 เฉลยแบบฝึกทักษะ
1.9 แบบทดสอบหลังเรียน
1.10 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
2. เตรียมการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้และใช้แบบฝึกทักษะตามแผนการจัดการเรียนรู้
4. หลังจากนักเรียนทาแบบทดสอบและแบบฝึกทักษะ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ครูต้องตรวจสอบคาตอบจาก
เฉลยแบบทดสอบและเฉลยแบบฝึกทักษะ และแจ้งให้นักเรียนทราบความก้าวหน้าทุกครั้ง
5. เวลาในการใช้แบบฝึกทักษะสามารถยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสมและความสามารถของผู้เรียน
2

คำแนะนำสำหรับนักเรียน

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ เรื่อง ฟังก์ชัน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ เป็น


แบบฝึกที่มุ่งพัฒนาให้นักเรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาในบทเรียนได้ง่ายขึ้น ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ซึ่งนักเรียนควรปฏิบัติดังนี้
1. ศึกษาคาชี้แจงให้เข้าใจก่อนจะเริ่มฝึกทักษะ
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความรู้เดิม
3. ส่งกระดาษคาตอบให้ครูผู้สอนตรวจสอบความถูกต้องและบันทึกผล
4. ทาแบบฝึกทักษะ เรื่องฟังก์ชัน โดยเริ่มจากการศึกษาเนื้อหาและตัวอย่างก่อนทาแบบฝึกทักษะ
5. นาแบบฝึกทักษะแต่ละแบบฝึกให้ครูผู้สอนตรวจสอบความถูกต้องประเมินผลให้คะแนนถ้าไม่ผ่านเกณฑ์
การประเมินให้นักเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาและทาแบบฝึกทักษะใหม่จนกว่าจะผ่านเกณฑ์การ
ประเมิน
6. เมื่อทาแบบฝึกทักษะครบทุกแบบฝึกแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
7. ส่งกระดาษคาตอบให้ครูผู้สอนตรวจและแจ้งผลการทดสอบ
8. บันทึกผลลงในตารางบันทึก เพื่อทราบผลการเรียนและพัฒนา
3

ผลกำรเรียนรู้

มำตรฐำนกำรเรียนรู้
ค 1.2 ม. 5/1 ใช้ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชันอธิบายสถานการณ์ที่กาหนด

จุดประสงค์กำรเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเรื่องฟังก์ชัน
2. หาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน และเขียนกราฟของฟังก์ชันได้
3. นาความรู้เรื่องความสัมพันธ์มาเชื่อมโยงกับความรู้เรื่องฟังก์ชันได้
4. ตั้งใจและรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
8

ใบควำมรู้ที่ 1 เรื่อง ฟังก์ชัน

พิจารณาความสัมพันธ์ของข้อมูล ต่อไปนี้
ข้อมูลเข้า ข้อมูลออก
การเติมน้ามันรถ ปริมาณน้ามันที่เติม จานวนเงินที่ต้องชาระ
การโดยสารรถไฟ ระยะทางที่เดินทาง ค่าโดยสารที่ต้องชาระ
การส่งพัสดุไปรษณีย์ น้าหนักของพัสดุ ค่าส่งพัสดุ
การขายสินค้า จานวนสินค้าที่ขายได้ กาไรที่ได้รับ

ในทางคณิตศาสตร์ จะเรียกความสัมพันธ์ระหว่างเซตของข้อมูลสองชุด โดยที่ข้อมูลเข้าตัวหนึ่งให้ข้อมูลออก


เพียงหนึ่งตัวว่า ฟังก์ชัน ( function) เรียกเซตของข้อมูลเข้าว่า โดเมน (Domain) และเรียกเซตของข้อมูลออก
ว่า เรนจ์ (Range)
การจับคู่ระหว่างสองสิ่งที่มีความสัมพันธ์กัน เขียนแทนด้วย คู่อันดับ ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกตัวหน้าและ
สมาชิกตัวหลัง เช่น คู่อันดับ ( a, b ) มี a เป็นสมาชิกตัวหน้า b เป็นสมาชิกตัวหลัง

นิยำม
ฟังก์ชัน คือ เซตของคู่อันดับใดๆ ถ้ามีสมาชิกตัวหน้าเหมือนกันแล้ว สมาชิกตัวหลังต้องเหมือนกัน
เซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับทั้งหมด เรียกว่า โดเมน ของฟังก์ชัน
เซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับทั้งหมด เรียกว่า เรนจ์ ของฟังก์ชัน
ถ้า f เป็นฟังก์ชัน โดเมนของ f เขียนแทนด้วย Df และเรนจ์ของ f เขียนแทนด้วย Rf
9
ตัวอย่างที่ 1 จากแผนภาพต่อไปนี้จงเขียนคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์และให้พิจารณาว่าความสัมพันธ์ใดเป็นฟังก์ชัน
1. ช่วงเวลา(นาฬิกา) อุณหภูมิ(องศาเซลเซียส)

9 30
10 31
11 32
12 r1
จะได้ r1 = {(9,30) , (10, 31), (11,32), (12, 32) }
จากความสัมพันธ์จะได้ว่า r1 เป็นฟังก์ชัน เพราะไม่มีสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับซ้ากันเลย

2. ความสูง( ซม) ชื่อเพื่อนในกลุ่ม

165
เจน
170 นุ่น
โบว์
175
เบลล่า
แมน
r2

จะได้ r2 = {(165,เจน) , (165, นุ่น), (170,โบว์), (175, เบลล่า), ( 175, แมน }


จากความสัมพันธ์จะได้ว่า r2 ไม่เป็นฟังก์ชัน เพราะมีสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับซ้ากัน
ตัวอย่างที่ 2 จงพิจารณาว่า ความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชัน หรือไม่
1) r1 = { (1,1) , (2,4), (3,9),( 4,16) }
2) r2 = { (1,-1) , (0,0), (1,1) }
วิธีทา 1) เนื่องจากคู่อันดับใน r1 ไม่มีสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับตัวใดที่จับคู่กับสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ
มากกว่า 1 ตัว
ดังนั้น r1 เป็นฟังก์ชัน
10
2) เนื่องจากคู่อันดับใน r2 มีสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับตัวใดที่จับคู่กับสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ
มากกว่า 1 ตัว นั่นคือ (1,-1) , (1,1)
ดังนั้น r2 ไม่เป็นฟังก์ชัน
ตัวอย่างที่ 3 จงพิจารณาว่า ความสัมพันธ์ที่กาหนดต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่

1) r1 = { (x, y)  y = x – 1 ) }
 2
2) r2 = (x, y) y = x + 4 
3) r = (x, y) y
3
2
=x 
วิธีทา 1) จาก y = x – 1 (ลองแทนค่า x เมื่อหาค่า y )
แทนค่า x = 1 จะได้ y= 1 – 1 = 0
แทนค่า x = -2 จะได้ y = -2 – 1 = -3
จะเห็นว่า เมื่อแทนค่า x หนึ่งค่าจะได้ค่า y เพียงค่าเดียว
ดังนั้น r1 เป็นฟังก์ชัน
2) จาก y= x2 + 4
แทนค่า x = 2 จะได้ y = 22 + 4 = 8
แทนค่า x = -1 จะได้ y = (-1)2 + 4= 5
จะเห็นว่า เมื่อแทนค่า x หนึ่งค่าจะได้ค่า y เพียงค่าเดียว
ดังนั้น r2 เป็นฟังก์ชัน

3) จาก y2 = x จะได้ y= x
แทนค่า x = 4 จะได้ y = 2 หรือ -2
แทนค่า x = 1 จะได้ y = 1 หรือ -1
จะเห็นว่า เมื่อแทนค่า x หนึ่งค่าจะได้ค่า y สองค่า
ดังนั้น r3 ไม่เป็นฟังก์ชัน
11

ตัวอย่างที่ 4 จงพิจารณาว่า ความสัมพันธ์ที่กาหนดต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่ โดยใช้กราฟ


1. y 2.
y

x x
0 0

3. y 4. y

0 x
x
0

วิธีทา ให้ลากเส้นตรงขนานกับแกน y และพิจารณาจานวนจุดที่เส้นตรงตัดเส้นกราฟ


1. y 2. y

x x
0 0

เป็นฟังก์ชัน เพราะ เส้นตรงตัดกราฟเพียงจุดเดียว ไม่เป็นฟังก์ชัน เพราะ เส้นตรงตัดกราฟหลายจุด


3. y 4. y

0 x x
0

ไม่เป็นฟังก์ชัน เพราะ เส้นตรงตัดกราฟสองจุด เป็นฟังก์ชัน เพราะ เส้นตรงตัดกราฟเพียงจุดเดียว


12
2
แบบฝึกทักษะที่ 1
เรื่อง ฟังก์ชัน

1. จงพิจารณาว่าเซตของคู่อันดับต่อไปนี้ เป็นฟังก์ชันหรือไม่
1.1 A = { (1,p), (3,p), (2,r) }
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
1.2 B = { (p,1), (p,3), (r,2) }
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
1.3 C = { (3,5), (4,6), (5,7), (6,8) }
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
1.4 D = { (0,-1), (0,1), (0,1) }
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. จงพิจารณาความสัมพันธ์ต่อไปนี้ ว่าเป็นฟังก์ชันหรือไม่
 2
2.1 E = (x, y) y = x + 7 
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
 2

2.2 F = (x, y) x = y + 4
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
13

2.3 G = (x, y) y = x + 10


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

2.4 H = (x, y) y = x + 4
2

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. จงพิจารณาว่า กราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่
3.1
y

x
0

3.2 y

x
0
14

ใบควำมรู้ที่ 2
เรื่อง กำรหำค่ำของฟังก์ชัน

ข้อตกลงเกี่ยวกับสัญลักษณ์ของฟังก์ชัน

ถ้า f เป็นฟังก์ชัน และ ( x, y )  f แล้วจะกล่าวว่า y เป็นค่าของฟังก์ชัน f ที่ x


และเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ y = f(x)
 f(x) อ่ำนว่ำ เอฟของเอ็กซ์ หรือ เอฟเอ็กซ์ 

เช่น กาหนด y = f(x) = 3x และ x = 1


จะได้ f(1) = 3(1) = 3
ดังนั้น ค่าของฟังก์ชัน f ที่ x = 1 คือ 3
กำรเขียนฟังก์ชันสำมำรถเขียนในรูปแบบบอกเงื่อนไขของสมำชิกในเซต โดยใช้คู่อันดับ (x , y)
แทนสมำชิกใดๆ ในเซต เช่น f = { (x , y) R x R  y = 3x }
ตัวอย่าง 5 กาหนด f(x) = 3x + 2 และ g(x) = 5x – 4 โดยที่ x เป็นจานวนจริงใดๆ จงหาค่าของ
1
1. f(x) 2. f(-5) 3. f( )
3
4. g(3) 5. 2g(7) 6. หาค่า x ที่ทา g(x) = 16
วิธีทา จาก f(x) = 3x + 2 และ g(x) = 5x – 4 จะได้
1. f(2) = 3(2) + 2 2. f(-5) = 3(-5) + 2
= 8 = - 13
1 1
3. f( ) = 3( ) + 2 4. g(3) = 5(3) - 4
3 3
= 3 = 11
5. 2g(7) = 2[5(7) – 4)] 6. จาก g(x) = 16
= 2(31) จะได้ 5x – 4 = 16
= 62 5x = 20
x=4
15

แบบฝึกทักษะที่ 2
เรื่อง กำรหำค่ำของฟังก์ชัน

1. กาหนดให้ f(x) = 5 - 2x โดยที่ x เป็นจานวนจริงใดๆ จงหาค่าของ


1.1 f(1) 1.2 f( - 2)
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
1.3 f(0) 1.4 f(3) + f(-3)
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
………………………………………………………….. …………………………………………………………………

2. กาหนดให้ x เป็นจานวนจริง และ f(x - 2) = x2 + 3x + 4 จงหาค่าของ


2.1 f(2) 2.2 f(4)
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………

2.3 f(4) – f(2) 2.4 f(-3) + f(1)


…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
………………………………………………………….. …………………………………………………………………
16
 1; x  1

3. ให้ f ( x)   x;1  x  3 จงหา
 2; x  3

3.1 f(-2) 3.2 f(0)
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………

1
3.3 f(1) 3.4 f( )
2
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………

3.5 f( 3 ) 3.6 f(9)


…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
3.7 f(3 + h) - f(3) เมื่อ h > 0
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………………… …………………………………………………………………
17

ใบควำมรู้ที่ 3
เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน

การหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน สามารถหาได้โดยนิยามของโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน
และการพิจารณาค่าของตัวแปร x กับตัวแปร y ในฟังก์ชัน

นิยำม โดเมนของฟังก์ชัน คือ เซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของฟังก์ชัน f เขียนแทนด้วย Df


เรนจ์ของฟังก์ชัน คือ เซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของฟังก์ชัน f เขียนแทนด้วย Rf

ตัวอย่างที่ 6 กาหนด f = { (2,7), (4,9), (6,11), (8,13) } จงหาโดเมน และ เรนจ์ ของฟังก์ชัน f
วิธีทา จาก f = { (2,7), (4,9), (6,11), (8,13) }
จะได้ Df = { 2, 4, 6, 8 }
Rf = { 7, 9, 11, 13 }

กำรหำโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน
1. การหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน เมื่อกาหนดฟังก์ชันแบบแจกแจงสมาชิก การหาโดเมน
และเรนจ์ของฟังก์ชัน จะอาศัยบทนิยามดังตัวอย่างที่ 6
2. การหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน เมื่อกาหนดฟังก์ชันแบบบอกเงื่อนไข สามารถหาได้ดังนี้
2.1 กำรหำโดเมน เพื่อความสะดวกจะเขียนฟังก์ชันให้อยู่ในรูป y = เทอมของ x
x +1
เช่น y = x2 + 1 , y =
x+2
หลังจากนั้นให้พิจารณาดูภายในเซตที่กาหนดให้ x แล้วหาค่า y โดยที่ y ต้องอยู่ภายใน
เซตที่กาหนด ให้ค่า x ของ x เหล่านั้นจะเป็นสมาชิกของโดเมน
ตัวอย่างที่ 7 กาหนดให้ f = { (x, y)  R x R y = 2x + 1 } จงหาโดเมนของ f
วิธีทา จาก y = 2x + 1
พบว่าทุกๆค่าของ x ที่เป็นจานวนจริง เราสามารถหาค่าของ y ที่เป็นจานวนจริงและ
สอดคล้องกับ f เสมอ
ดังนั้น Df = { x  x  R } = R
18
2.2 กำรหำเรนจ์ เพื่อความสะดวกจะเขียนฟังก์ชันให้อยู่ในรูป x = เทอมของ y แล้วพิจารณา
ค่า y โดยใช้หลักการเดียวกับการหาโดเมน

ตัวอย่างที่ 8 กาหนดให้ f = { (x, y)  R x R y = 2x + 1 } จงหาเรนจ์ของ f


วิธีทา จาก y = 2x + 1
2x = y – 1
y -1
x=
2
พิจารณา ค่า y จะพบว่า ทุก ๆ ค่าของ y ที่เป็นจริงสามารถหาค่า x ที่เป็นจานวนจริงและ
สอดคล้องกับสมการ

นั่นคือ Rf = { y  y  R } = R

ตัวอย่างที่ 9 กาหนดให้ f = { (x, y)  R x R  y = 4 – x2 } จงหาโดเมนและเรนจ์ของ f


วิธีทา หา โดเมน จาก y = 4 – x2
พบว่าทุกๆค่าของ x ที่เป็นจานวนจริง เราสามารถหาค่าของ y ที่เป็นจานวนจริงและ
สอดคล้องกับ f เสมอ
ดังนั้น Df = { x  x  R } = R
หาเรนจ์ จาก y = 4 – x2 เขียนให้อยู่ในรูป x = เทอมของ y ได้ดังนี้
จาก y = 4 – x2
x2 = 4 – y
x=± 4-y
นั่นคือ Rf = { y  y  และ y < 5 }
19

แบบฝึกทักษะที่ 3
เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน

1. กาหนดให้ f = { (1, 2), (2, 4), (3, 6), . . . , (12, 24) } จงหาโดเมนและเรนจ์ของ f
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. กาหนดให้ A = { -1 , 0, 1, 2, 3 } , B = { -1, 0, 2, 4, 6, 8 } และ f= { (x, y)  A x B y = 3x + 2 }
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. กาหนด f= { (x, y)  R x R  xy = 1 } จงหาโดเมนและเรนจ์ของ f
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. กาหนด f= { (x, y)  R x R  x + y2 = 9 } จงหาโดเมนและเรนจ์ของ f


……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
20
5. จงหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
5.1 f(x)  x 2  1
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
5.2 f(x)  x  7
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
1
5.3 f(x) 
2x  3
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
5.4 f(x)   x
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
21

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1
เรื่อง ฟังก์ชัน

1. จงพิจารณาว่าเซตของคู่อันดับต่อไปนี้ เป็นฟังก์ชันหรือไม่
1.1 A = { (1,p), (3,p), (2,r) }
เนื่องจากคู่อันดับใน A ไม่มีสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับตัวใดที่จับคู่กับสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ
มากกว่า 1 ตัว
ดังนั้น A เป็นฟังก์ชัน

1.2 B = { (p,1), (p,3), (r,2) }


เนื่องจากคู่อันดับใน B มีสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับตัวใดที่จับคู่กับสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ
มากกว่า 1 ตัว นั่นคือ (p,1) , (p,3)
ดังนั้น B ไม่เป็นฟังก์ชัน

1.3 C = { (3,5), (4,6), (5,7), (6,8) }


เนื่องจากคู่อันดับใน C ไม่มีสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับตัวใดที่จับคู่กับสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ
มากกว่า 1 ตัว
ดังนั้น C เป็นฟังก์ชัน

1.4 D = { (0,-1), (0,1), (0,1) }


เนื่องจากคู่อันดับใน D มีสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับตัวใดที่จับคู่กับสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ
มากกว่า 1 ตัว นั่นคือ (0,-1), (0,1), (0,1)
ดังนั้น D ไม่เป็นฟังก์ชัน
22

2. จงพิจารณาความสัมพันธ์ต่อไปนี้ ว่าเป็นฟังก์ชันหรือไม่

 2
2.1 E = (x, y) y = x + 7 
จาก y = x2 + 7
แทนค่า x = 2 จะได้ y = 22 + 7 = 11
แทนค่า x = -1 จะได้ y = (-1)2 + 7= 8
จะเห็นว่า เมื่อแทนค่า x หนึ่งค่าจะได้ค่า y เพียงค่าเดียว
ดังนั้น E เป็นฟังก์ชัน
 2
2.2 F = (x, y) x = y + 4 
จาก x = y2 + 4 จะได้ y   x  4
แทนค่า x = 8 จะได้ y = 2 และ -2
จะเห็นว่า เมื่อแทนค่า x หนึ่งค่าจะได้ค่า y สองค่า
ดังนั้น F ไม่เป็นฟังก์ชัน

2.3 G = (x, y) y = x + 10


จาก y = x + 10
แทนค่า x = 2 จะได้ y = 2 + 10 = 12
แทนค่า x = -1 จะได้ y = (-1) + 10 = 9
จะเห็นว่า เมื่อแทนค่า x หนึ่งค่าจะได้ค่า y เพียงค่าเดียว
ดังนั้น G เป็นฟังก์ชัน


2.4 H = (x, y) y = x + 4
2

จาก y2 = x + 4 จะได้ y   x  4
แทนค่า x = 5 จะได้ y = 3 และ -3
จะเห็นว่า เมื่อแทนค่า x หนึ่งค่าจะได้ค่า y สองค่า
ดังนั้น H ไม่เป็นฟังก์ชัน
23

3. จงพิจารณาว่า กราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่
3.1 เป็นฟังก์ชัน เพราะ เส้นตรงตัดกราฟเพียงจุดเดียว

x
0

3.2 ไม่เป็นฟังก์ชัน เพราะ เส้นตรงตัดกราฟมากกว่า 1 จุด

x
0
24

เฉลย แบบฝึกทักษะที่ 2
เรื่อง กำรหำค่ำของฟังก์ชัน

1. กาหนดให้ f(x) = 5 - 2x โดยที่ x เป็นจานวนจริงใดๆ จงหาค่าของ


1.1 f(1) 1.2 f( - 2)
จาก f(x) = 5 - 2x จาก f(x) = 5 - 2x
f(1) = 5 – 2(1) f(-2) = 5 – 2(-2)
=3 =9
1.3 f(0) 1.4 f(3) + f(-3)
จาก f(x) = 5 - 2x จาก f(x) = 5 - 2x
f(0) = 5 – 2(0) f(3) + f(-3) = [5 – 2(3)] + [5 - 2(-3)]
=5 = -1 + 11
= 10

2. กาหนดให้ x เป็นจานวนจริง และ f(x - 2) = x2 + 3x + 4 จงหาค่าของ


2.1 f(2)
จาก f(x - 2) = x2 + 3x + 4
แทนค่า x = 4 จะได้ f(4 - 2) = 42 + 3(4) + 4
f(2) = 32

2.2 f(4)
จาก f(x - 2) = x2 + 3x + 4
แทนค่า x = 6 จะได้ f(6 - 2) = 62 + 3(6) + 4
f(4) = 58
25

2.3 f(4) – f(2)


จาก f(4) = 58 และ f(2) = 32
ดังนั้น f(4) – f(2) = 58 – 32
= 26

2.4 f(-3) + f(1)


จาก f(x - 2) = x2 + 3x + 4
แทนค่า x = -1 จะได้ f(-1 - 2) = (-1)2 + 3(-1) + 4
f(-3) = 2
แทนค่า x = 3 จะได้ f( 3 - 2) = 32 + 3(3) + 4
f(1) = 22
ดังนั้น f(-3) + f(1) = 2 + 22
= 24

 1; x  1

3. ให้ f ( x)   x;1  x  3 จงหา
 2; x  3

3.1 f(-2) 3.2 f(0)


เนื่องจาก -2 < 1 เนื่องจาก 0 < 1
ดังนั้น f(-2) = 1 ดังนั้น f(0) = 1

1
3.3 f(1) 3.4 f( )
2
1
เนื่องจาก 1 = 1 เนื่องจาก <1
2
1
ดังนั้น f(1) = x ดังนั้น f( ) = 1
2
นั่นคือ f(1) = 1
26

3.5 f( 3 )

เนื่องจาก 1 ≤ 3 ≤3
ดังนั้น f( 3 ) = x
นั่นคือ f( 3 ) = 3

3.6 f(9)
เนื่องจาก 9 > 3
ดังนั้น f(9) = 2

3.7 f(3 + h) - f(3) เมื่อ h > 0


เนื่องจาก h > 0 จะได้ว่า 3 + h > 3
ดังนั้น f(3 + h) = 2
และ 1 ≤ 3 ≤ 3 จะได้ว่า f(3) = 3
นั่นคือ f(3 + h) - f(3) = 2 + 3
= 5
27

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 3
เรื่อง โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน

1. กาหนดให้ f = { (1, 2), (2, 4), (3, 6), . . . , (12, 24) } จงหาโดเมนและเรนจ์ของ f
จำก f = { (1, 2), (2, 4), (3, 6), . . . , (12, 24) }
Df = { 1, 2, 3, . . ., 12 }
Rf = { 2, 4, 6, . . ., 24 }

2. กาหนดให้ A = { -1 , 0, 1, 2, 3 } , B = { -1, 0, 2, 4, 6, 8 } และ f= { (x, y)  A x B y = 3x + 2 }


จำก y = 3x + 2 จะได้ f = { (-1,-1), (0, 2), (2, 8)}
Df = { -1, 0, 2 }
Rf = { -1 , 2, 8 }

3. กาหนด f= { (x, y)  R x R  xy = 1 } จงหาโดเมนและเรนจ์ของ f


1
จาก xy = 1 จะได้ y 
x
พบว่าทุกๆค่าของ x ที่เป็นจานวนจริง เราสามารถหาค่าของ y ที่เป็นจานวนจริงและสอดคล้องกับ f เสมอ ยกเว้น 0
ดังนั้น Df = { x  x  R และ x ≠ 0 }
1
จาก xy = 1 จะได้ x 
y
พบว่าทุกๆค่าของ y ที่เป็นจานวนจริง เราสามารถหาค่าของ x ที่เป็นจานวนจริงและสอดคล้องกับ f เสมอ ยกเว้น 0
ดังนั้น Rf = { y  y  R และ y ≠ 0 }
28

4. กาหนด f= { (x, y)  R x R  x2 + y = 9 } จงหาโดเมนและเรนจ์ของ f


จาก x2 + y = 9 จะได้ y  x 2  9
พบว่าทุกๆค่าของ x ที่เป็นจานวนจริง เราสามารถหาค่าของ y ที่เป็นจานวนจริงและสอดคล้องกับ f เสมอ
ดังนั้น Df = { x  x  R }
จาก x2 + y = 9 จะได้ x   9  y
พบว่าทุกๆค่าของ y ≤ 9 ที่เป็นจานวนจริง เราสามารถหาค่าของ x ที่เป็นจานวนจริงและสอดคล้องกับ f เสมอ
ดังนั้น Rf = { y  y  R และ y ≤ 9 }

5. จงหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
5.1 f(x)  x 2  1

5.2 f(x)  x  7
29
1
5.3 f(x) 
2x  3

5.4 f(x)   x
4

แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ฟังก์ชัน


คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ

1. ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็นไม่ฟังก์ชัน
ก. {(0,5), (1,6), (2,9)} ข. {(1,2), (2,3), (3,4)}
ค. {(4,2), (5,3), (6,4)} ง. {(1,1), (1,3), (2,5)}

2. ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็นฟังก์ชัน
ก. {(0,1), (0,2), (2,1), (1,3)} ข. {(0,2), (1,1), (2,2), (3,0)}
ค. {(1,1), (2,0), (2,3), (3,1)} ง. {(1,2), (0,3), (1,3), (2,2)}

3. ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็นฟังก์ชัน
ก. { (x,y)  y > 2x } ข. { (x,y)  x + y2 = 5 }
ค. { (x,y)  y = x } ง. { (x,y)  x = 7 }

4. กาหนด f(x) = 2x2 + 2x – 4 ข้อใดถูกต้อง


ก. f(0) = 0 ข. f(-1) = 4
ค. f(b+1) = 2b2 +6b - 4 ง. f(a) = 2a2 + 2a – 4

5. กาหนด f( x - 1 ) = x + 2 ดังนั้น f(0) มีค่าตรงกับข้อใด


ก. 3 ข. 4
ค. 5 ง. 6

6. จงหาค่าของ a เมื่อ จุด ( 1, -2 ) อยู่บนฟังก์ชัน f(x) = ax + 8


ก. 6 ข. – 6
ค. 10 ง. – 10
5

กำหนดให้ A = { -2, -1, 0, 1, 2 } , B = { 1, 2, 3, 4 } และ r = { (x, y)  A x B  y = x2 + 1 }


จำกข้อมูลใช้ตอบคำถำม ข้อ 7 - 9
7. จากข้อมูลข้างต้นข้อใดคือ r แบบแจกแจงสมาชิก
ก. r = {(-1 ,2), (0, 1), (1,2)} ข. r = {(-1,3), (1,1), (1,4)}
ค. r = {(-1,2), (1,1), (4,2)} ง. r = {(-1,2), (0,1) }

8. ข้อใดคือโดเมนของ r
ก. Dr={ -1, 1, 4 } ข. Dr= { -1, 1 }
ค. Dr= { -1, 0, 1 } ง. Dr= { -1, 0 }

9. ข้อใดคือเรนจ์ของ r
ก. Rr= { 2, 1, 2 } ข. Rr= { 2, 1 }
ค. Rr= { 2, 1, 4 } ง. Rr= { 2, 0 }

10. กาหนดให้ f ( x)  x  2 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

ก. Rf = {y y ≤0} ข. Rf = {y y ≥2}

ค. Df = {x x ≥2} ง. Df = {x x ≥0}


6

กระดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง ฟังก์ชัน

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ

ข้อที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
7

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง ฟังก์ชัน

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ

ข้อที่ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
30

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ฟังก์ชัน


คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ

1. ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็นไม่ฟังก์ชัน
ก. {(0,5), (1,6), (2,9)} ข. {(1,2), (2,3), (3,4)}
ค. {(4,2), (5,3), (6,4)} ง. {(1,1), (1,3), (2,5)}

2. ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็นฟังก์ชัน
ก. {(0,1), (0,2), (2,1), (1,3)} ข. {(0,2), (1,1), (2,2), (3,0)}
ค. {(1,1), (2,0), (2,3), (3,1)} ง. {(1,2), (0,3), (1,3), (2,2)}

3. ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็นฟังก์ชัน
ก. { (x,y)  y > 2x } ข. { (x,y)  x + y2 = 5 }
ค. { (x,y)  y = x } ง. { (x,y)  x = 7 }

4. กาหนด f(x) = 2x2 + 2x – 4 ข้อใดถูกต้อง


ก. f(0) = 0 ข. f(-1) = 4
ค. f(b+1) = 2b2 +6b - 4 ง. f(a) = 2a2 + 2a – 4

5. กาหนด f( x - 1 ) = x + 2 ดังนั้น f(0) มีค่าตรงกับข้อใด


ก. 3 ข. 4
ค. 5 ง. 6

6. จงหาค่าของ a เมื่อ จุด ( 1, -2 ) อยู่บนฟังก์ชัน f(x) = ax + 8


ก. 6 ข. – 6
ค. 10 ง. – 10
31

กำหนดให้ A = { -2, -1, 0, 1, 2 } , B = { 1, 2, 3, 4 } และ r = { (x, y)  A x B  y = x2 + 1 }


จำกข้อมูลใช้ตอบคำถำม ข้อ 7 - 9
7. จากข้อมูลข้างต้นข้อใดคือ r แบบแจกแจงสมาชิก
ก. r = {(-1 ,2), (0, 1), (1,2)} ข. r = {(-1,3), (1,1), (1,4)}
ค. r = {(-1,2), (1,1), (4,2)} ง. r = {(-1,2), (0,1) }

8. ข้อใดคือโดเมนของ r
ก. Dr={ -1, 1, 4 } ข. Dr= { -1, 1 }
ค. Dr= { -1, 0, 1 } ง. Dr= { -1, 0 }

9. ข้อใดคือเรนจ์ของ r
ก. Rr= { 2, 1, 2 } ข. Rr= { 2, 1 }
ค. Rr= { 2, 1, 4 } ง. Rr= { 2, 0 }

10. กาหนดให้ f ( x)  x  2 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

ก. Rf = {y y ≤0} ข. Rf = {y y ≥2}

ค. Df = {x x ≥2} ง. Df = {x x ≥0}


32

กระดำษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง ฟังก์ชัน

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ

ข้อที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
33

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง ฟังก์ชัน

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วทาเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ

ข้อที่ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
บรรณำนุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 กลุ่มสาระการ เรียนรู้


คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.
-----------------. คู่มือวัดผลประเมินผลคณิตศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2554.
-----------------. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตร แกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย,
2551 ก.
------------------. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551 ข.
------------------. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 กลุ่มสาระการ เรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว, 2554.
จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. Mini คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.4 – 6 เล่ม 2 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้น พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ.พัฒนา จากัด, 2554. ณรงค์ ปั้นนิ่ม. คู่มือเตรียม
สอบคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.4 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ ภูมิบัณฑิต, 2555.
ธนวัฒน์ สนทราพรพล. คณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 4 (4–6) เล่ม 2 สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์ Science Center, ม.ป.พ. ฝ่ายวิชาการ พีบีซี. ยอดคณิตศาสตร์ เรื่องฟังก์ชัน. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์ พีบีซี จากัด, 2554.
พิพัฒน์พงศ์ ศรีวิศร. คู่มือคณิตศาสตร์พื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ เดอะบุคส์ จากัด,
2553.
สมัย เหล่าวานิชย์ และพัวพรรณ เหล่าวานิชย์. Hi-ED’s Mathematics คณิตศาสตร์ ม.4-6 เล่ม 2 (รายวิชาพื้นฐาน
และเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง, 2554.

You might also like