You are on page 1of 82

เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 1

14
ลาดับและอนุกรม

01 ลาดับ
ความหมายของลาดับ

นิยาม ล าดับ (sequence) คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซต {1, 2, 3, …, n} หรือมีโดเมนเป็นเซตของ


จานวนเต็มบวก เรียกลาดับที่มีโดเมนเป็นเซต {1, 2, 3, …, n} ว่า ลาดับจากัด (finite sequence) และเรียก
ลาดับที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็มบวกว่า ลาดับอนันต์ (infinite sequence)

ในการเขียนล าดับ จะเขียนเฉพาะสมาชิกของเรนจ์เรียงกัน กล่าวคือ ถ้า a เป็นล าดับ ซึ่ ง a(1) = a1,
a(2) = a2, a(3) = a3, … , a(n) = an แล้วเรียก

a1 ว่า พจน์ที่ 1 ของลาดับ a2 ว่า พจน์ที่ 2 ของลาดับ

a3 ว่า พจน์ที่ 3 ของลาดับ … an ว่า พจน์ที่ n ของลาดับ หรือพจน์ทั่วไปของลาดับ

เรียกลาดับที่มีโดเมนเป็นเซต {1, 2, 3, …,n} ว่า ลาดับจากัด (finite sequence) และเรียกลาดับที่มีโดเมน


เป็นเซตของจานวนเต็มบวกว่า ลาดับอนันต์ (infinite sequence)
กรณี a เป็นลาดับจากัด เขียนแสดงลาดับด้วย a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n

กรณี a เป็นลาดับอนันต์ เขียนแสดงลาดับด้วย a1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,...

การศึกษาเรื่องลาดับต่อไปนี้จะกล่าวถึงเฉพาะลาดับซึ่งเรนจ์เป็นสับเซตของจานวนจริงเท่ากัน เรียกว่า ลาดับ


ของจานวนจริง

ตัวอย่าง1 จงตรวจสอบว่าลาดับต่อไปนี้เป็นลาดับจากัดหรือลาดับอนันต์
1. 2, 8, 14, 20 ล บจ ด 2. 7, 14, 21, …, 70 ล บจ ด
3. 6, 11, 16, …, 5n + 1 ล บจ ด 4. 32, 16, 1, …, 163−n , … ล บอ น

5. 25, 30, 35, …, 5n+20, … ล บอ น 6. 1, 2, 4, …, 2 n −1 , … ล บอ น

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก









ดั
นั
นั
นั
ดั
ดั
ดั
กั
กั
ดั
ดั
กั
ต์
ต์
ต์
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 2

การเขียนแสดงลาดับ
สามารถเขียนแสดงลาดับได้หลายรูปแบบ ดังต่อไปนี้
1. การเขียนแสดงลาดับโดยเขียนแจกแจงพจน์ของลาดับ
2. การเขียนแสดงลาดับโดยเขียนพจน์ทั่วไปของลาดับ

การเขียนแสดงลาดับโดยเขียนแจกแจงพจน์ของลาดับ
ถ้าลาดับที่พิจารณาเป็นลาดับจากัดและมีจานวนพจน์ไม่มากนัก วิธีการกาหนดหรือเขียนแทนลาดับจะใช้
วิธีการเขียนพจน์ทั้งหมดของลาดับ ตัวอย่างเช่น
1 2 3 4
1, 7, 13, 19, 26, 32 2, 4, 8, 16, 32, 64, 128, 256 , , ,
2 3 4 5

ในกรณีที่ลาดับที่พิจารณาเป็นลาดับอนันต์ จะเขียนเพียงพจน์แรก ๆ และใช้เครื่องหมาย … เพื่อละพจน์ต่อ ๆ


ไป โดยต้องเป็นที่เข้าใจตรงกันว่าพจน์ที่ละไว้หมายถึงอะไร เช่น
1, 3, 5, 7, 9, … 2, 4, 8, 16, 32, … 3, 8, 13, 18, …

กาหนดลาดับโดยเขียนพจน์เริ่มต้นจานวนหนึ่งพร้อมกับพจน์ทั่วไปของลาดับ
วิธีการนี้จะใช้กับลาดับจากัดที่มีพจน์จานวนมาก และลาดับอนันต์ ตัวอย่างเช่น
1, 7, 13, 19, …, 6n – 5, …, 595 2, 4, 8, 16, …, 2n, …, 4096

จากตัวอย่าง จะเห็นว่าทุกลาดับมีการเขียนแสดงพจน์ที่ n ของลาดับไว้อย่างชัดเจน การกาหนดเช่นนี้มี


ความสาคัญ เพราะหากไม่กาหนดพจน์ที่ n ไว้ เช่น จากลาดับ 3, 5, 7, … เมื่อต้องการหาพจน์ถัดไปจาก 7 ผู้
หาอาจมีมุมมองต่างกัน เช่น พจน์ถัดไปอาจเป็น 9 เพราะเป็นจานวนคี่ หรือพจน์ถัดไปอาจเป็น 11 เพราะเป็น
จานวนเฉพาะคี่ ดังนั้น ถ้าเป็นไปได้ ควรเขียนแสดงพจน์ที่ n ของลาดับด้วยทุกครั้ง

เพื่อความสะดวก สามารถกาหนดลาดับโดยเขียนเฉพาะพจน์ที่ n เช่น กาหนดลาดับชุดที่ 2 ให้เป็นลาดับ


an ที่มี a n = 2 n เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 3

ตัวอย่าง2 จงหาสี่พจน์แรกของลาดับที่ a n = 3n − 1

a1 = I = a2 = 5 =

a3 = & = a4 = 1 =

การเขียนแสดงลาดับโดยใช้ความสัมพันธ์เวียนเกิด
เมื่อกาหนดพจน์เริ่มต้นจานวนหนึ่งพร้อมกับสูตรการหาพจน์ถัดไปจากพจน์ก่อนหน้าจะเรียกการกาหนด
ลาดับด้วยวิธีการนี้ว่า การนิยามโดยใช้ความสัมพันธ์เวียนเกิด (recurrence relation)

ตัวอย่าง3 กาหนดลาดับ an ซึง่ a1 = 1, a2 = 1 และ a n = a n −1 + a n −2 เมื่อ n3


จงหาหกพจน์แรกของลาดับนี้
a1 = 1 a2 = I

a3 = a 3−1 + a·
2 −1
3- 2 = My + ap = 1+1 =2

a4 = ⑨3 + ag = 2) + 1 = 3

a5 = &4 + 9 3 = 3+ 2 = =

a6 = ag + a4 = 5 +3 = g

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน HW. ลาดับและอนุกรม| 4

แบบฝึกหัดที่ 1
· ·
1. จงตรวจสอบว่าลาดับต่อไปนี้เป็นลาดับจากัดหรือลาดับอนันต์
1. 12, 20, 28, … 2 2. 13, 15, 17, …, 51,… 2

3. –3, –11, –19 , … & 4. 3,15,63,..., 4n − 1 I

1 1 1 1 2
1
5. , , ,..., n ,... 2 6. 41 , 44 , 49 ,..., 4n
2 4 8 2

7. 25 − 1, 24 − 2, 23 − 3,..., 26−n − n,... &

2. จงหาสี่พจน์แรกของลาดับต่อไปนี้
1. a n = 3n − 2

1
a1 = 3011- 2 = I a2 = 3( 21- G =

a3 = 333) - 2 = + a4 = 3341- G = 1 0

.:: พจ แรก ของ า บ อ 1,


4,
7, 10
n
1
2. a n =  
2

a1 = ! #

a2 = ( )
#

= =
4

(3 11)
+

1. เ
a3 = = a4 = =

:: พจ แรก ของ ล น อ | # % " To


1 − ( −1) n
3. a n =
n
#11
a1 = -I = 2 a2 = 2 = ·

#
a3 = = &
a4 = #

= ·

3
:: นจ แรก ของ อ
2011,
ล น
0

4. a n = n(n − 1)(n − 2)

a1 = = ·
a2 = = ·

a3 = = เ a4 = = 24

::: นจ แรก ของ ล น อ 0,0,6,24


www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
คื
คั
ล่
คื
คื
คื



ต้
ต้
สี
สื่
ต้
น์
สี่
สื่
น์
น์
น์
เอกสารประกอบการสอน
HW. ลาดับและอนุกรม| 5

3. จงหาห้าพจน์แรกของลาดับ an ที่กาหนดโดยใช้ความสัมพันธ์เวียนเกิดต่อไปนี้
1. a1 = 0 และ a n = a n −1 + n − 1 เมื่อ n  2
+1 1
a2 = a, + I = =

a3 = = 1+ G
= 3
as + 2


a4 = ay + 3 = 3+ 8 =
10
a5 = Op + 4
= 6 + 4 =

:: าน จน แรก ของ ล บan


อ 1,
3,6,10 #

2. a1 = 2 และ a n = 3a n −1 เมื่อ n  2
a2 = 3 Ne - 1 = 3 ( 2) = เ

a3 = &13-1 = 4 (6) = 18

a4 = 344- 1 = 2 1183 =
54

3 ( 34) 162
a5 = 3
45- 1 = =
:: าพจ แรก ของ ล บ อ 6,18,34,162
3. a1 = 4 , a 2 = 5 และ a n = a n −1 + a n −2 เมื่อ n3

a2 = 5 = =
3+ 9
⑨3.1 + 43- 2
4
a3 = = =
a 4- 9+ S 14
a4 = 7 + 44- 2 = =
9 + 99- 2 ~3
a5 = 3- 7 = 1 4+ 9 =

:: าพจ แรก ของล บ อ 5,9,14,23


1 1
4. a1 = 4 , a 2 = 3 และ a n = − เมื่อ n3
a n −2 a n −1
3
a2 = = =

a3 = I az = 1- =
- +

12

ว' -El ↳
a4 = ว = =
-44 -
a5 = +- I
ay a4
=
- = #

:: าพจ แรก
ของ
นอ 3,
www.mathfirststep.com
รา
1,- คณิตศาสตร์ก้าวแรก
คื
คื
ตั
คื
คื
ดั



ท้
ตั่
ดั
ห้
ดั
ห้
ห้
น์
ดั
น์
น์
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 6

ลาดับเลขคณิต

นิยาม ลาดับเลขคณิต (arithmetic sequence) คือ ลาดับซึ่งมีผลต่างที่ได้จากการนาพจน์ที่ n + 1 ลบด้วย


พจน์ที่ n เป็นค่าคงตัวที่เท่ากัน ส าหรับทุกจ านวนเต็มบวก n และเรียกค่าคงตัวที่เป็นผลต่างนี้ว่า
ผลต่างร่วม (common difference) อาจเขียนแทนผลต่างร่วมด้วย d โดยที่ d = an+1 – an เมื่อ an
เป็นลาดับเลขคณิต

สูตร การหาพจน์ที่ n ของลาดับเลขคณิต


a n = a1 + (n − 1)d

เมื่อ a n แทนพจน์ที่ n ของลาดับเลขคณิต


a1 แทนพจน์ที่แรกของลาดับเลขคณิต
d แทนผลต่างร่วมของลาดับเลขคณิต

ตัวอย่าง4 กาหนดลาดับเลขคณิต 1, 4, 7, 10, 13, … จงหาพจน์ที่ 15 ของลาดับนี้


พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = 1 พจน์ที่สอง (a 2 ) =
4

ผลต่างร่วม (d) = 3 =

พจน์ทั่วไป (a n ) = 1 + In-13 = At 34- 3 = TH- 2

พจน์ที่ 15 (a15 ) = 3115) - 2 = 43

ตัวอย่าง5 ถ้าลาดับเลขคณิต a 4 = 15 และ a13 = 42 แล้วพจน์ที่ 32 มีค่าเท่าใด


พจน์ที่สี่ (a 4 ) = 15 พจน์ที่สิบสาม (a13 ) = 42
3
ผลต่างร่วม (d) = =

พจน์ทั่วไป (a n ) = 91 + ( 1- 113 = 6 + ( 3- 3) = 34 + 3 = 34+1)

พจน์ที่ 32 (a 32 ) = 99 =

Q any:
· action =

a,thield -G 4

G
48 : an + 231d - 3
www.mathfirststep.com G ②-
คณิตศาสตร์ก้าวแรก =

Il
27: ad ↓= 3k
A : 3 */
วิ
วิ
ที่
ที่
ธี
ธี
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 7

แบบฝึกหัดที่ 1 (ต่อ)
4. จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับเลขคณิตต่อไปนี้
1. – 2, 4, 10, …
4
พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = -2 พจน์ที่สอง (a 2 ) =

ผลต่างร่วม (d) = เ =

พจน์ทั่วไป (a n ) = on - 8 =

1 1 1
2. − , , ,...
6 6 2
- ↓

พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = พจน์ที่สอง (a 2 ) =

ผลต่างร่วม (d) = E= =

พจน์ทั่วไป (a n ) =
-th =
in -

27
3. 11, ,16,...
2
27
พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = 11 พจน์ที่สอง (a 2 ) =
E

ผลต่างร่วม (d)
·

= =

พจน์ทั่วไป (a n ) =
+1 =

4. 3,10,17,...

พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = 3 พจน์ที่สอง (a 2 ) = 1

ผลต่างร่วม (d) = = =

พจน์ทั่วไป (a n ) = 7 n- 4
=

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 8

5. กาหนดให้ลาดับในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นลาดับเลขคณิต จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. 3, 8, 13, … จงหาพจน์ที่ 15
3
พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = ผลต่างร่วม (d) = 5

พจน์ทั่วไป (a n ) = SU
-2 + = 5n- 2

พจน์ที่ 15 = a = 4
Is

2. 19, 12, 5, … จงหาพจน์ที่ 19

พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = 19 ผลต่างร่วม (d) = -

พจน์ทั่วไป (a n ) = - int 26 = 26 - TH

พจน์ที่ 19 - 107
= ·19 =

3. 18, 30, 42, … จงหาพจน์ที่ 30

พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = 10 ผลต่างร่วม (d) = 12

=a. +

/
พจน์ทั่วไป (a n ) = 1 2n + 6 =
11d ch-

พจน์ที่ 3อ
= 366 =
* 18 +1-(11 ( 14)
=18 + C18A-
14)
4. 81, 42, 3, … จงหาพจน์ที่ 127 =
122 + b
#
81
พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = ผลต่างร่วม (d) = -39

พจน์ทั่วไป = -394+120 = 120-39 ท


(a n )

พจน์ที่ 127 = -1832 =

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 9

6. กาหนดให้ลาดับในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นลาดับเลขคณิต จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. a1 = 6 และ d = –3 จงหาพจน์ที่ 12
พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = เ ผลต่างร่วม (d) =
-3

-3h+9
พจน์ทั่วไป (a n ) = = 9- 3R

พจน์ที่ 12 -27
= 912 =

2. a1 = −2 และ d = 6 จงหาพจน์ที่ 8
พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = -2 ผลต่างร่วม (d) = เ

พจน์ทั่วไป (a n ) = on- G =

พจน์ที่ ⑧ 4อ
= 9อ =

20
3. a12 = 3 และ a 20 = 43 จงหาพจน์ที่ 20
=

พจน์ที่ 12 = 3 พจน์ที่ 20 = 43

5
ผลต่างร่วม (d) = =

พจน์ทั่วไป (a n ) = SU- S7 =

30
พจน์ที่ = &20 = 93

4. a 5 = 8 และ a 9 = 0 จงหาพจน์ที่ 15

S 9 *
พจน์ที่ = พจน์ที่ =

ผลต่างร่วม (d) =
-2 =

พจน์ทั่วไป (a n ) = 18- 2R =
IS - 12
พจน์ที่ = ·15 =

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 10

7. ถ้า 39 และ 51 เป็นพจน์สองพจน์ของลาดับเลขคณิตที่มีพจน์อีกหนึ่งพจน์อยู่ระหว่างพจน์ทั้งสองนี้ จงหา


พจน์ที่อยู่ระหว่างพจน์ทั้งสองนี้
กานหนดให้ 39 ·2 51 เป็นลาดับเลขคณิต
% 39
พจน์ที่ = พจน์ที่ 3 = 1

ผลต่างร่วม (d) = เ =

พจน์ทั่วไป = 61 +33 =
(a n )

พจน์ที่ 2 = 4S =

8 จงหาว่าจานวนนับที่อยู่ระหว่าง 100 ถึง 1,000 ซึ่งหารด้วย 13 ลงตัว มีทั้งหมดกี่จานวน


พจน์ที่ % = 10 4
พจน์ที่ ท = 988

ผลต่างร่วม (d) = 13 = an: a 1+ ch- 17


d

พจน์ทั่วไป (a n ) = 134 + 97 = 988- 104 + CH- 13 13

988- 104+13 = 14 H
ให้ 100 < 134 + 91 < 1,000
⑧57 = 13M
" = 897=
69
จะได้ว่าจานวนนับ n เป็นสมาชิกในเซต 104, 117, ..., 988 13

.) ด * *D Ig 9เ
ดังนั้นมีจานวนนับที่อยู่ระหว่าง 100 ถึง 1000 ซึ่งหารด้วย 13 ลงตัวทั้งสิ้น 6 9 จ านวน
-> ~
= ~ -> ~
ap = 25,000, 21,000, 27,000, 28,000, 22,000, 30,000, 31,000- 2

· 9. สมศักดิ์ทางานที่บริษัทแห่งหนึ่งได้รับเงินเดือนเดือนละ 25,000 บาท และได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นปีละ


1,000 บาท จงหาว่าเมื่อสมศักดิ์ทางานได้ 6 ปี เขาจะได้รับเงินเดือนเดือนละเท่าใด

พจน์ที่ ↑ =
25,000 พจน์ที่ 2. 26,000
=

ผลต่างร่วม (d) =
1,000 =

พจน์ทั่วไป 2 10004 724009


(a n ) = 5,000+ (1- 13 1000 =
พจน์ที่ 7 = 100 ( 7) +24000 = 3) IDOO
&
/

เมื่อสมศักดิ์ทางานได้ 6 ปี เขาจะได้รับเงินเดือน 3 1,000 บาท ~

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ปิ
ปี
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 11

10. บริษัทขายรถยนต์แห่งหนึ่งรับซื้อรถยนต์คืนจากผู้ซื้อ โดยจะซื้อรถยนต์ที่ใช้แล้ว 1 ปีในราคาที่ต่ากว่าราคา


⑩ ที่บริษัทขาย 100,000 บาท สาหรับรถยนต์ที่ใช้แล้วเกิน 1 ปี ราคาซื้อคืนจะลดลงอีกปีละ 70,000 บาท
ถ้าซื้อรถยนต์จากบริษัทนี้มาในราคาหนึ่งล้านบาท จงหาว่าเมื่อใช้รถยนต์ไปแล้ว 5 ปี บริษัทจะรับซื้อ
รถยนต์คืนในราคาที่ต่ากว่าราคาที่ซื้อจากบริษัทเท่าใด
จะ :
การ น
· 2 ?

100,000 /
5
คา -
as
>

<

&- 10,000
45 - 100,000 + / 70,000

·380
#

9 บ ทจะ บ อ รถยน น ใน ราคา ก า ราคา


จากบ ท

11. ถ้าสามพจน์แรกของลาดับเลขคณิตคือ a, 6a + 2 และ 8a + 1 จงหา a และพจน์ทั่วไปของลาดับนี้




380,000 บาท


(68+2)-(A) = 180+1) - (60 + 2) ②15 - 1 #
On: G, + ( 4- 13 d
A2:6(- 1) + 2 = - 4

50 +2 = 15- 1
=- 1 + ( 1- 1) - 3
②3281- 1)+ 12 - 1

=- 1 2-
1- 3HF3
:: d= -3
=- 31+2 = 2- 3 ท
:พจ วไป ของ ล บ อ 2-
34

12. ถ้าผลบวกของสามพจน์แรกของลาดับเลขคณิตคือ 12 และผลบวกของกาลังสามของแต่ละพจน์ทั้งสาม


⑩ พจน์นี้คือ 408 จงหาพจน์ทั้วไปของลาดับนี้

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
บั
ปี
รั
ที่ต่
คั
ที่ซื้
นี้คื
ทั่

ริ
ห้

ริ
ดั
ษั
ซื้
น์
ษั
ต์
ว่
ปี
withat accessteat
a + + + + d)+(n
o ted) = 12

I
antd: 4

a. + Op + ag =
3 408
3 = 408
14- d)" + 43 + 14- d + ( d)
d)" = 344
14- d)" + / 4+

2 - 3 + 4 + 48dteed- d3 = 344
64- 48dtied 6

128+ 24d2 = 344

dt = 9
d= 3, 3

OnE7+( ne) - 3


1 + CH- 113
an = => F- 3U + 3
= 1 + 34- 3 =10- 3n
=

3 -2

.: พจ ง ของ ล
ใน

อ YU- และ
2

10- 34 A
นี้ถื
ต้

ทั้
น์
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 12

ลาดับเรขาคณิต

นิยาม ลาดับเรขาคณิต (geometric sequence) คือ ลาดับซึ่งมีอัตราส่วนของพจน์ที่ n + 1 ต่อพจนที่ n เป็น


ค่าคงตัวที่เท่ากัน สาหรับทุกจานวนเต็มบวก n และเรียกค่าคงตัวที่เป็นอัตราส่วนนี้ว่า อัตราส่วนร่วม
a n +1
(common ratio) อาจเขียนแทนอัตราส่วนร่วมด้วย r โดยที่ r= เมื่อ an เป็นลาดับเรขาคณิต
an

สูตร การหาพจน์ที่ n ของลาดับเรขาคณิต


a n = a1r n −1

เมื่อ a n แทนพจน์ที่ n ของลาดับเรขาคณิต


a1 แทนพจน์แรกของลาดับเรขาคณิต
r แทนอัตราส่ว่นร่วมของลาดับเรขาคณิต

ตัวอย่าง6 กาหนดลาดับเรขาคณิต 4, 20, 100, … จงหาพจน์ที่ 7 ของลาดับนี้


4
พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = พจน์ที่สอง (a 2 ) = 20

อัตราส่วนร่วม (r) = S =
1

พจน์ทั่วไป (a n ) = <4/ 1514 - =


พจน์ที่ 7 (a 7 ) = (41155- = (4115)

ตัวอย่าง7 ถ้าลาดับเรขาคณิต a 3 = 12 และ a 6 = 768 แล้วพจน์ที่ 5 มีค่าเท่าใด


768
พจน์ที่สาม (a 3 ) = 12 พจน์ที่หก (a 6 ) =

4
อัตราส่วนร่วม (r) = =

พจน์ทั่วไป (a n ) = Eleg"- =

พจน์ที่ 5 (a 5 ) = =(a) = 331 ( 4 =192


#

จารณา an

2 personal
จารณา หา.

/
าว : ";
for

dg = 12 a, 10) = 12

r" =
a, 12 - an =

· - al
www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
po = 1
ข่
พิ
พิ
เอกสารประกอบการสอน ↑W ลาดับและอนุกรม| 13

แบบฝึกหัดที่ 1 (ต่อ)
h

13. จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับเรขาคณิตต่อไปนี้ On = a, ph-

1. –3, –6, –12, …

พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) =
-

พจน์ที่สอง (a 2 ) = -อ

อัตราส่วนร่วม (r) = = 2
%

- 3 ท- I

พจน์ทั่วไป (a n ) = 2- 33( 2) =
-เ
:: พอ ฟ น ใน อ (- 3CC2 · A

5
2. 10, − 5, ,...
2

พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = พจน์ที่สอง (a 2 ) =
-

↑O

อัตราส่วนร่วม (r) = =
h-
พจน์ทั่วไป 105 11 12" = 2011,
C-
(a n ) = (100) - 1/ =
:: ผจน วไป อ
2-
206-)" *
1 5 25
3. , , ,...
4 4 4

พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) พจน์ที่สอง
#

= (a 2 ) =

อัตราส่วนร่วม (r) = 3 =

พจน์ทั่วไป (a n ) =
11925,"- =
(1) Sees") = - #

:. นอน วไป ด
*
5 5 10
4. , , ,...
6 3 3

พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) พจน์ที่สอง
·
·

= (a 2 ) =

อัตราส่วนร่วม (r) = 2
=

พจน์ทั่วไป 32" " ( an


(a n ) =
1) =
1.)
#

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
คื
คื
ร้
คิ
ทั่
ทั่
นั้
เอกสารประกอบการสอน HW ลาดับและอนุกรม| 14

14. จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับเรขาคณิตต่อไปนี้

1. −1, 2, −4,8,...
2
พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = พจน์ที่สอง (a 2 ) =
-

อัตราส่วนร่วม (r) = - 2 =
h
h- 1
พจน์ทั่วไป (a n ) = 1- 11- 21 = 3- 162- 21" c- ar" =1- 23
>

:: พจน วไป

2. 1, 7, 49, 343, …

#ม)" A

7
พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = % พจน์ที่สอง (a 2 ) =

อัตราส่วนร่วม (r) = & =

พจน์ทั่วไป (a n ) = zh- 1
= 277"
:: พจ วไป บ
In *

1 1
3. 3,1, , ,...
3 9
I
พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = 3 พจน์ที่สอง (a 2 ) =

อัตราส่วนร่วม (r)
#

= =

231) 1gh- 131 ) ( 1 =


1 9
พจน์ทั่วไป (a n ) = =

พอ พ ไอป

9) #
2 1 1
4. − , , − ,...
9 12 32
is
-

พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = พจน์ที่สอง (a 2 ) =
-

อัตราส่วนร่วม (r) = =
1

1) - gh- 19 -
พจน์ทั่วไป (a n ) = =

=(158) - "
=l)" #
วไป
:: น จน
www.mathfirststep.com
ด () (%)" # คณิตศาสตร์ก้าวแรก
คื
ชื่
มี
คิ
ทั่
ทั่
ทั่
น์
เอกสารประกอบการสอน HW. ลาดับและอนุกรม| 15

15. กาหนดให้ลาดับในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นลาดับเรขาคณิต จงตอบคาถามต่อไปนี้

1. 2, 4, 8, 16, … จงหาพจน์ที่ 9

2 2
พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = อัตราส่วนร่วม (r) =
--

พจน์ทั่วไป (a n ) = (26C26 =

พจน์ที่ 9 = (21) ม
&- 1
= 32132)
&
2 % =
316

9 #
:: พจน ของ น 512 #

า ด

2. 2, –10, 50, –250, … จงหาพจน์ที่ 11

2 -S
พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = อัตราส่วนร่วม (r) =
n -I

พจน์ทั่วไป (a n ) = 26- 56 =
·O
1อ

พจน์ที่ 11 = 23- 3) = 2156 #


11
:: พจ ขอ เ า วด
อ 2251 " #
1 1 1 1
3. , , , ,... จงหาพจน์ที่ 8
2 6 18 54
&

พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = อัตราส่วนร่วม (r) =


h-

พจน์ทั่วไป (a n ) = (6) ) A) =

(1) ( 3)
พจน์ที่ & = =
A
:: พจ ของ
8
ล น ด
อ IEJ65/ 7
#
4. 2, 2 3, 6,... จงหาพจน์ที่ 12

พจน์ที่หนึ่ง ( a1 ) = & อัตราส่วนร่วม (r) = #


ท-

พจน์ทั่วไป (a n ) = (2) ( 53) =

พจน์ที่ IG = (2668)" = aoy". B


A
:พอ พ 12 ของ ล น ด
อ25 -
35

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
นี้คื
ชุ
ตั
ล่
ที่
ที่
ซี้คื
ขู
ตั
ที่
ที่
ซีคื
ขู
ฟู้
คื
ล่


ต้
ต้
ส์
น์
น์
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 16
=16 U22

16. จงหาพจน์แรกของลาดับเรขาคณิตที่มีพจน์ที่ห้าเป็น 16 และมีอัตราส่วนร่วมเป็น 2

พจน์ทั่วไปของลาดับเรขาคณิต คือ an = a1r n −1


1

โจทย์กาหนดให้ พจน์ที่ 1 =
As = aggh-
&
16 =
=
· a, ( 2)

·
= a 1
=

1
1=
ดังนั้นพจน์แรกของลาดับเรขาคณิตเท่ากับ 1
%

17. จงหาอัตราส่วนร่วมของลาดับเรขาคณิตที่มี a 3 = 12 และ a 6 = 96

3 ⑥ 24 4 g
12 96

จาก On = a,pht จะ ไ d. =airs -0, O, = air-


a6 3 %
จะเห็นได้ว่า = 8

#เ
go =

a3
#

air 2 &
·31 ม


=
& 2
= 2

ดังนั้น อัตราส่วนร่วมของลาดับเรขาคณิต (r) เท่ากับ 2

A
=

18. ถ้าสามพจน์แรกของลาดับเรขาคณิต คือ a + 3, a + 20 และ a + 105


จงหา a และพจน์ทั่วไปของลาดับเรขาคณิตนี้
a + 105 888 - 85=
0
อัตราส่วนร่วม (r) = a + 20 =


a + 3
&โ a + 20 189 = 85
= -

trues
>
chain +
83
a =
201
2
ล &= (a + = =a + 100) ( a + 3)
=
al +
/ Goa + 100 = +1080 + 3 15

จะได้ a เท่ากับ & และสามพจน์แรกคือ


18+3), ( 85+20), ) + lost
#sch
68
ดังนั้น รูปทั่วไปของลาดับเรขาคณิตคือ
1, 2,

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ด้
ซึ่
มอ
#ฮา ก

บท ยาม
ล บ ฮา มอ ก charmonic senence

ล บ an สม า ล ของ
บ สวนก บ br · เ น า น เลย

ค ต

ENG ใ an =
3ท
เ นล บฮามอ by
ก = 2 · เ น

เ นแลนค ต
3M
soll ก หนด Da "
=


=
+
ก %

&

เ เลขค ต อ 1,21
ง นล นBy เ น

น ด ล น

d=

1 = ' ' .... เ นล บ ฮา มอ ก

sold จาก เ นล บเลขค ต


=>>

Bat #
... เ น

เลขค ต
,,,

จะ า

ed= = (
ง น ล ฮา
เ า 1 ชา... เ น
น มอ ต
นิ
ร์
นิ
ร์
กั
มี
ว่
คั
ต้
ล่
ลิ
นิ
ร์
ดั
ศั
ว่
ที่มีชุ
คื
นิ
ร์
ตั
ล่
ดั
นิ
ร์
ป็
ป็
ป็
ป็
ต้

ซึ่
ป็
ป็



ณิ




ต้

ณิ

ร้
บั
ก้

ลั
ดั
ติ
ดั
ดั
ดั
ต้
นิ
ต้
นั้
นั้
ด้
ป็
ณิ
ณิ
ณิ
ช้
ป็
Lurualewo avary otd aein
1 driualdsarhyein Tho 1A Qzb 9 M1 OA Q

塑 rnMualion 上 Niwahou Avoan


o MG11 Mg VhNapn

9innme b L
b
&
L
9
1m1 b
Ho ⑧b
On 0 Ch 1 d
I
mr1d d -®
L b ad 0un 上 021- 611 i

Mn M cx n 16 b slo MAY J
18 -= st- ad
id
fwAmin Oa
-8 -
3d
Qln b b 3d ⼄
l8 -1
E

9,1o b L
↓2 - f

Q I g

L
ne 岁n 來

Q
b

M s
q1n bs b d
18 NG
Ql式 b
o

0 上
b
osu 0n ⻛ 2

Clo Is 45
·asssN⼈⼊
52 2#
18C11 A S
CS 0A
2

NM⼈
riyAlny ewaonn wsolo
DMnaaiu log 3 1egy 1og loy
Sd IokAMdkir
Gannh

Avaunl nnin
mwaltw bn

N1
loqe loo A louy

1noIn 1o9x0 2

loga h
1o0 log 2
g1 loy 1og 4
M
log 1os 2 loo 1o
1n
1oy0 nog Q
e1
4 109,2 2109,2 1oy 2 qn1og 2 动d 1og NAtnun foikn
Q u4 1da6NN IVMOAn
⑨ใ an เ ลน บฮามอ ก ง a, =1 และ ds + & 2|

จง หา า เ นไปไ งหมด ของ ag

So tor
2+
2 , 2-

2a
นิ
ร์
ที่
ค่
ป็
ป็
ซึ่

ทั้
ดั
ห้
ด้
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 17

19. ใน พ.ศ. 2550 อาเภอหนึ่งมีประชากร 60,000 คน ถ้าประชากรในอาเภอนี้เพิ่มขึ้นปีละ 2% จงหาสูตร


การคานวณจานวนประชากรในแต่ละปี พร้อมทั้งหาจานวนประชากรใน พ.ศ. 2565

20. ในเมืองหนึ่งมีประชากรอาศัยอยู่ 100,000 คน ถ้าจานวนประชากรในเมืองนี้เพิ่มขึ้น 2% ทุกปี ในอีก 10


ปีข้างหน้า จะมีจานวนประชากรในเมืองนี้ประมาณกี่คน

1
21 ถังใบหนึ่งมีน้าอยู่ 5,832 ลิตร ถ้าใช้น้าในถังทุกวัน โดยในแต่ละวันใช้น้า ของปริมาณน้าที่มีอยู่ในถัง
3
เมื่อครบ 6 วัน จะมีน้าเหลืออยู่ในถังกี่ลิตร

22. เมื่อปล่อยลูกบอลที่ความสูง 2 เมตร จากระดับพื้นดิน แล้วในแต่ละครั้งที่ลูกบอลกระทบพื้นลูกบอลจะ


กระดอนขึ้น โดยความสูงของลูกบอลจากระดับพื้นดินจะลดลง 8% จงเขียนฟังก์ชันแสดงความสูงของลูก
บอล เมื่อลูกบอลกระทบพื้นไป n ครั้ง

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 18

02 ลิมิตของลาดับอนันต์
ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงสมบัติบางประการของลาดับ โดยจะพิจารณาพจน์ที่ n ของลาดับ เมื่อ n มีค่ามากขึ้น
โดยไม่มีที่สิ้นสุด a=

1 ag -
I

พิจารณากราฟของลาดับ an = n &

2
ag 2

ac 2 %

จากกราฟจะเห็นได้ว่า ถ้า n มากขึ้น โดยไม่มีที่สิ้นสุด แล้ว an ลดลงและเข้าใกล้ 0 แต่ไม่เท่ากับ 0

พิจารณากราฟของลาดับ an = 2

จากกราฟจะเห็นได้ว่า an เป็น 2 เสมอสาหรับทุกค่าของ n

หมายเหตุ กราฟของลาดับใช้เส้นประเพื่อแสดงให้เห็นแนวของจุดเท่านั้น เส้นประไม่ใช่ส่วนหนึ่งของกราฟ

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
มี
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 19
an = 14 / 2 O

( −1) str,
n

พิจารณากราฟของลาดับ = 1+ an =
1412 1
1+ 1
an
n
&


*

จากกราฟจะเห็นว่า แนวของจุดในกราฟจะเข้าใกล้เส้นทึบที่ปรากฎซึ่งหมายความว่า เมื่อ n มากขึ้นโดยไม่


มีที่สิ้นสุด พจน์ที่ n เข้าใกล้ 1 แต่ไม่เท่ากับ 1 ดังนั้นลาดับ a n = 1 + (−1) เป็นลาดับลู่เข้าและมีลิมิตเท่ากับ 1
n

เมื่อ n มากขึ้นโดยไม่มีที่สิ้นสุด และพจน์ที่ n เข้าใกล้หรือเท่ากับจานวนจริง L เพียงจานวนเดียวเท่านั้น


แล้วเรียก L ว่า ลิมิตของล าดับ ( limit of sequence) และกล่าวว่าลาดับนั้นมีลิมิตเท่ากับ L เรียกลาดับที่มี
ลิมิตนี้ว่า ลาดับลู่เข้า (convergent sequence)

พิจารณากราฟของลาดับ an = n
·

จากกราฟจะเห็นได้ว่า เมื่อ n มากขึ้นโดยไม่มีที่สิ้นสุด พจน์ที่ n ของลาดับจะมากขึ้นและไม่เข้าใกล้จานวน


ใดจานวนหนึ่ง จึงกล่าวว่า a n = n ไม่มีลิมิต เรียกลาดับอนันต์นี้ว่า ลาดับลู่ออก (divergent sequence)

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 20
as = ( &42 -1
a n = ( −1)
n +1
พิจารณากราฟของลาดับ
agz - I
as a
l

จากกราฟ เมื่อ n เป็นจานวนคี่ พจน์ที่ n เป็น 1 และเมื่อ n เป็นจานวนคู่ พจน์ที่ n เป็น -1 ดังนั้น เมื่อ n
มากขึ้นโดยไม่มีที่สิ้นสุด พจน์ที่ n ของล าดับนี้จึงไม่เข้าใกล้จานวนใดจ านวนหนึ่งเพียงจานวนเดียว ลาดับ
a n = ( −1)
n +1
จึงไม่มีลิมิต ดังนั้น ลาดับนี้จึงเป็นลาดับลู่ออก และจะเรียกลาดับลู่ออกที่มีลักษณะของกราะฟ
ขึ้นและลงสลับกันโดยไม่เข้าใกล้จานวนใดจานวนหนึ่งเช่นนี้ว่า ลาดับกวัดแกว่ง (oscillating sequence)

ข้อสรุปเกี่ยวกับลิมิตของลาดับ
1. ลาดับที่จะนามาพิจารณาลิมิตนั้นต้องเป็นลาดับอนันต์
2. ถ้ากล่าวว่า L เป็นลิมิตของลาดับที่มีพจน์ที่ n เป็น a n หมายถึง เมื่อ n มากขึ้นโดยไม่มีที่สิ้นสุด พจน์ที่ n
ของลาดับจะเข้าใกล้หรือเท่ากับจานวนจริง L เพียงจานวนเดียวเท่านั้น และเขียนแทนด้วนสัญลักษณ์
lim a n = L (อ่านว่า ลิมิตของลาดับ an เมื่อ n มากขึ้นโดยไม่มีที่สิ้นสุด เท่ากับ L)
n →

3. ลาดับอนันต์ที่มีลิมิตเรียกว่า ลาดับลู่เข้า ส่วนลาดับอนันต์ที่ไม่มีลิมิตเรียกว่า ลาดับลู่ออก


4. การพิจารณาว่าลาดับใดจะมีลิมิตหรือไม่นั้น อาจทาได้โดยการเขียนกราฟของลาดับ เมื่อ n มากขึ้นโดยไม่
มีที่สิ้นสุด

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 21

tran =
timana like
ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตของลาดับ

1. ให้ r เป็นจานวนจริงใด ๆ จะได้ว่า


#และ
1
n
lim
r
=0
n →
lim n r
n →
หาค่าไม่ได้
/
&
-
2. ให้ r เป็นจานวนจริง ถ้า | r | < 1
% ถ้า
แล้ว lim r n = 0
n →
~
| r | > 1 แล้ว lim r n หาค่าไม่ได้
n →

ให้ a n , bn , t n เป็นลาดับของจานวนจริง A, B เป็นจานวนจริง และ c เป็นค่าคงตัวใด ๆ โดยที่ lim a n = A


n →

และ lim b n = B จะได้ว่า in


Erlim
dimin = apt
n → 2 =2

1. ถ้า tn = c แล้ว lim t n = lim c = c


n → n →
2. lim ca n = c lim a n = cA
n → n →
lim ( 3+ ns =
time 3 + lim n
3. lim ( a n + b n ) = lim a n + lim b n = A + B 4. lim ( a n − b n ) = lim a n − lim b n = A − B
we

n → n → n → n → n → n →

5. lim ( a n  b b ) = lim a n  lim b n = AB Limn = man


=

7.
n → n → n →

a  nlim an A
6. ถ้า bn  0 ทุกจานวนเต็มบวก n และ B0 แล้ว lim  n
n → b
 = →
=
 n  nlim
→
bn B

ตัวอย่าง8 จงหาลิมิตของลาดับ a n = 10

จาก an = 18

จะได้ lim a n = lim 1อ


n →
n -> *

ดังนั้น lim a n
n →
= 1 g เพราะ ลิมิตของค่าคงที่
:ห ล บเ า

12
ตัวอย่าง9 จงหาลิมิตของลาดับ an =
n 12

slimfit ) =

จาก an =

จะได้ lim a n
n →
=
Lim ( 1) - 1610 1 =

ดังนั้น lim a n
n →
= · เพราะ ต
เ า 8/ เ าใก อ

:: น เ า

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
คู่
ลิ
สู่
ลู่
ตั
ช้
ข้
ช้
มิ

ข้
ล่
ดั

สู่
ล้
to
Not
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 22
him at หา น ไ
3 − 2n
ตัวอย่าง10 จงหาลิมิตของลาดับ an =
4n

" - him
จาก an =

จะได้ lim a n
n →
= as
n + ม

lim 4
=
=
oghno =
ดังนั้น lim a n
n →
= -

เ นล
*เพราะ บ เ า

8 + 5n − 2n 2
ตัวอย่าง11 จงหาลิมิตของลาดับ an =
3n 3 + 4n 2

จาก an =
#+ - - -
3 +

=
= ·อ ·

จะได้ lim s+ limc-


lim a n
n →
=
no ล we
lim #
n
=
him
neล
3 +
I'm
·

ดังนั้น lim a n = ·+ 0- 0 = · เ นล บ เ า
n →
3+ G

n2 n3
ตัวอย่าง12 จงหาลิมิตของลาดับ an = %− 2
n +1 n − 3
~
~ =\
=- abo
จาก an = เ -3) - ว
ท+ 1)
= +11 ( 2- 3C
a) ->
can
i= nt- sy- n"- =
-หะ =
ms- 3hth? - 3 n"+ht- sh - 3 1+ 1

limanfindthe time -not


I
จะได้
comelimite
lim a n =

(
n →
lim
2
= พ ท

ดังนั้น lim a n
n →
= -I =- 1 ล บเ า

เ า/
Ex 15 จ เทา ต ของ เ น an = 1 ล
บ ออก
ล น ออก
EV
www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
คู่
ผู้
กั
ที
ตั
ลู่
กั
ลิ
ลิสิ
คู่
กั
สู่
ลู่
ข้
ป็

ช้

ค้

ข้
ที

ช้

ด้
ดั
ต้
กิ
ป็
!- Slim (
ของ ว อน ตอน ส ปส. ห า วแปร
ว เศษ
① ก -

ของ
บเ า

sh" =

At
=

there =
time
3
วน MOU เ า
@ ก ของ เศษ > ว 0 ล บ

lim
1= 1=
0
Er

ผ ว วน
เก ษ
@ ก ของ ว >
ไ ใ3 ออก

a lim 3 = ทา
กา
E
ดี
ตั
รี
ก่
ตั
ตั
ลู
กั
ลู่
กั
ส่
ตั
ตั
รี
ตั
ส่
คู่
ข้

ช้
รี

นั
น้
ห้
ม้
ตั
คั
ดี
รี
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 23

แบบฝึกหัดที่ 2
1. จงใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับลิมิตของลาดับเพื่อตรวจสอบว่าลาดับเป็นลาดับลู่เข้าหรือลู่ พร้อมหาค่าลิมิตในข้อนั้น
1. a n = 3

3
จาก an =

จะได้ lim a n = lim 3


n → ก - @

ดังนั้น lim a n
n →
= 3 ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา
2. a n = −5

จาก an =
~

จะได้ lim a n = tim- 5


n →
nea

ดังนั้น lim a n
n →
= - I ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา
3. a n = n

จาก an = M
↳Mo
จะได้ lim a n = lim บ
n →
no ม

ดังนั้น lim a n
n →
= ·
ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ ออก
4. a n = 2n 3 − 3n 2

จาก an = 2n' - sn

จะได้ lim a n = lim can" - เท


n → >ม

= liman" - lim sat


ดังนั้น lim a n = · ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ อ อก
n → &

Himtr = 0/ limpie &

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
ลู่
ล่
ลู่
ข้
ข้
เอกสารประกอบการสอน①Limited
to

piacere so
ลาดับและอนุกรม| 24

2. จงใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับลิมิตของลาดับเพื่อตรวจสอบว่าลาดับเป็นลาดับลู่เข้าหรือลู่ พร้อมหาค่าลิมิตในข้อนั้น

&
1
1. a n =
n
#

จาก an =
·

จะได้ lim a n
n →
=
I'm t

ดังนั้น lim a n
n →
= · ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เ า
8
2. a n =
n +3

จาก an = ↳

จะได้ lim a n
n →
=
alimons to

ดังนั้น lim a n
n →
= &(0) = 0 ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา
1
3. a n = 4 +
n

จาก an = 4 +

จะได้ lim a n = I'm


14+
1

n → n - *
·

= lim 4) + lim
n+ @ neม

ดังนั้น lim a n
n →
= &
ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เ า
7
4. a n =
n

จาก an = อ
จะได้ lim a n
n →
=
efim) = 7 COC

ดังนั้น lim a n
n →
= · ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
ลู่
ลู่
ลู่
ข้
ข้
ข้
ข้
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 25

3. จงใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับลิมิตของลาดับเพื่อตรวจสอบว่าลาดับเป็นลาดับลู่เข้าหรือลู่ พร้อมหาค่าลิมิตในข้อนั้น
n

1. a n = 2
n + 2n

จาก an = -" + =
=
=

จะได้ lim a n
n →
=

=
lim ( ... , ) = = = =
ดังนั้น lim a n
n →
= · ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา
2. a n =
6n 2 + 5n
เ +sn #+
3n 3 − 5n 2 =

3 -
in" - Int
จาก an =

=
=

จะได้ lim a n
n →
=
tim( * tc) = 098 = =
=

ดังนั้น lim a n
n →
= · ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา
3. a n =
4 − 8n
n2 −1 1 - 8ท =
#- ท
nt- 1
I -

จาก an =

=
=

จะได้ lim a n
n →
=

=
lim Inner = = = = =
ดังนั้น lim a n
n →
= · ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
ลู่
ลู่
ข้
ข้
ข้
ท่
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 26

4. จงใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับลิมิตของลาดับเพื่อตรวจสอบว่าลาดับเป็นลาดับลู่เข้าหรือลู่ พร้อมหาค่าลิมิตในข้อนั้น
4n − 6
1. a n = #

9n + 4
· :
จาก an =

=
=

จะได้ lim a n
n →
=

=
lim. ( )
ดังนั้น lim a n
n →
= #
ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา
7n 2
2. a n = 7
9n 2 − 1

จาก an =
9 -
a
=
=

จะได้ lim a n =
Lim ( atte)" 7
=

n →
a- o
=

ดังนั้น lim a n
n →
= · ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา
9n 3 − 3n 2
3. a n = 3
8n − 5n − 1

จาก an = 9 -

=
8-
Gers
=

จะได้ lim a n
n →
=
line( - no nodo =

ดังนั้น lim a n
n →
= % ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
ลู่
ลู่
ข้
ข้
ข้
ที
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 27

5. จงใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับลิมิตของลาดับเพื่อตรวจสอบว่าลาดับเป็นลาดับลู่เข้าหรือลู่ พร้อมหาค่าลิมิตในข้อนั้น
4n 2 − 1
1. a n =
2n − 4

จาก an = &- ม
= -ม
=

จะได้ lim a n
n →
=

=
lim ci ha a = = = = m า
( ไ

ดังนั้น lim a n
n →
= ·
ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ ออก
8n − 1
2. a n =
9n + 4
8- 1

จาก an =
a +
1

=
=

จะได้
#im)" ) " ... -
lim a n = G
n →
-

ดังนั้น lim a n
n →
= · ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา
2n 3 − n 2
3. a n = 2-
3n 3 + n

จาก an = 3+
e
=

จะได้ lim a n
n →
=

= lim ( ) = = =
n - ม

ดังนั้น lim a n
n →
= &
ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา
3

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
คู่
ลู่
ข้
ม่
ข้
มี
ท่
มา

ห า
เอกสารประกอบการสอน ทบ.
อ ง
2 ลาดับและอนุกรม| 28

=> ; li >
6. จงใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับลิมิตของลาดับเพื่อตรวจสอบว่าลาดับเป็นลาดับลู่เข้าหรือลู่ พร้อมหาค่าลิมิตในข้อนั้น
n
s
3
1. a n =  
5

#
จาก a = n เ องจาก timo = 0; lul > l

if (
จะได้ lim a n
n →
=
pim ( 3 = 0;
=

ดังนั้น lim a n
n →
= · ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา
n
 2
2. a n =  − 
 3

ameme
จาก a เ = องจาก เทu"
n = 0; lokal
1312 1
จะได้ lim a n
n →
=
lim 7- 8gn =
0
1
=

ดังนั้น lim a n
n →
= · ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา
n
5
3. a n =  
3

*จากเ a องจาก
= lim n
= หา

ไ ไ (NC; Irb>1

จะได้ lim a n
n →
=
lim ( Inlet หา า ไ ไ 15

ดังนั้น lim a n
n →
= · ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ ออก
n
 7
4. a n =  − 
 2
เ องจาก lim = หา
ไ ไ (NC; PrII
*
จาก a n

=
n - D

ไ ไ
จะได้ lim a n
n →
=
lim. IgM = หา า SEK

ดังนั้น lim a n
n →
= · ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ ออก
www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ข้
ลู่
ลู่
ข้
ลู่
ข้
ลู่


ข้
นื่
ข้
นื่
ม่
ม่
ม่
ม่
ด้
ด้
ด้
ด้
น้
ว่
นื่
นื่
ว่
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 29

7. จงใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับลิมิตของลาดับเพื่อตรวจสอบว่าลาดับเป็นลาดับลู่เข้าหรือลู่ พร้อมหาค่าลิมิตในข้อนั้น
3n +1
1. a n = n − 2 5. 3
5
3.
จาก an = I2 ·

จะได้ lim a n
n →
= 184333)
im 1 = slim
=

ดังนั้น lim a n
n →
= · ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา

matteries,aforitslikethis
M
2n −1 + 3
2. a n =
3n + 2

จาก an =

จะได้ lim a n
n →
=

ดังนั้น lim a n = 0 +O = 0 ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เ า


n →

II)
ท- 1

Anti +
3 5+
5n +1 + 3n −1 5 3)
3. a n = n +1 n −1
=>

2 +5
↳" + Ba =(212) +
จาก a
=> n =

Itecise
ไ liman
จะ
n - @
=
lim
=

จะได้

* mopter
lim a n =
n →

l i m o
e f
spo
=

ดังนั้น lim a n
n →
= ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ

25

== = 3253 =
ง น lim an =5 + fy COL

noo
230) + f
ของ
ต ล เ น
บ า บ
www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เา
ล่
ลู่
ดั
ลิ
คั
ลู่
กั
ล่
ข้
ข้
ป็

ข้
ด้
มิ
นั้
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 30

8. จงใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับลิมิตของลาดับเพื่อตรวจสอบว่าลาดับเป็นลาดับลู่เข้าหรือลู่ พร้อมหาค่าลิมิตในข้อนั้น
ne- Len- SShHIL = A -
1. a n =
n
n +1
n −1

n
=

nCท+1 (
Theis an e
จาก an =
!Inter
: =

arefo
=

จะได้ lim a n
n →
=
dimo (, ) - timienthe
=

ดังนั้น lim a n
n →
= อ ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา
#
-

n −1 #
2. a n =
= ·-
2

n + n +1 #

=Free ↓
จาก an =

Tom . . .
-ม
and m
=
=
·
( Lim On=. NO
to
=
1
1

1+ 1

M จะได้ lim a n
n →
=

=
n + ม

time" #1 -int
=> t

ดังนั้น lim a n = & ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เ า


n →

n +1
3. a n =
n + 2 n +1

จาก an = -= 1 + #
-
+

= ·

จะได้ lim a n = lim


1 + #
=him 1 +
him.
n →
พอ ล
lim 1+
= -1+2 ก
no . 2 in timent e

ดังนั้น lim a n
n →
=
#cos ลิมิตของลาดับเป็นลาดับ เา

=# 1 A
www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
ล่
ลู่
ข้
ข้
ข้
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 31

03 อนุกรม
ถ้า a1, a 2 , a 3 ,...,a n เป็นลาดับจากัดที่มี n พจน์ จะเรียกการเขียนแสดงการบวกของพจน์ทุกพจน์ของ
ลาดับในรูป a1 + a 2 + a 3 + ... + a n ว่า อนุกรมจากัด (finite series) ในทานองเดียวกัน
ให้ S1 = a1
S2 = a1 + a 2

Sn = a1 + a 2 + a 3 + ... + a n
เรียก Sn ว่า ผลบวกย่อย (partial sum) n พจน์แรกของอนุกรม เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก

อนุกรมเลขคณิต

อนุกรมที่ได้จากลาดับเลขคณิต เรียกว่า อนุกรมเลขคณิต (arithmetic series) โดยมีสูตรการคานวณ


ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต (Sn ) ทีม่ ผี ลต่างร่วมเป็น d คือ
n
Sn = (a1 + a n ) หรือ Sn = n (2a1 + (n −1)d)
2 2

an an
ตัวอย่าง13 จงหาผลบวก 7 พจน์แรกของอนุกรมที่ได้จากลาดับเลขคณิต 7, 15, 23, … ↳
3)

พจน์ที่ 1 = 7 พจน์ที่ 2 = 15

ผลต่างร่วม (d) = an- U, = 15- 7 = &

พจน์ที่ =
= as + in- 11 d = 7 + ( 618) = 55

ผลบวก 7 พจน์แรก = ⑤
ท =I ca, + an =
217
Sy = EC2+551 =

ตัวอย่าง14 จงหาผลบวกของอนุกรมเลขคณิต 5 + 8 + 11 + … + 107 >หา Sn C

*พจน์a1
ที่ = ⑤
*พจน์Pa
ที่ = 8

ผลต่างร่วม (d) = 8- 5 = ·

that there easi


isan
area
⑨commmmmmmend
My
พจน์ที่ an =
=- 3 + Ch- 1173
ดังนั้น n =
107
ผลบวก พจน์แรก =
mmmmmmm =
102 =34 - 3

งง C10 102
# (

#S =
=
35

·
www.mathfirststep.com
In =
· คณิตศาสตร์·
ก้าวแรก
1,960 #
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 32

แบบฝึกหัดที่ 3
1. จงหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต เมื่อกาหนดให้
1. n = 4, a1 = 3 และ d = 2
n
สูตร ผลบวก n พจน์แรก Sn = (2a1 + (n − 1)d)
2

ผลบวก
&
พจน์แรก 94 = :2 ( 3) +14-29K)
= 24

ตอบ ผลบวก 4 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตเท่ากับ 24

2. n = 11, a1 = −7 และ d = 3
I ( 291 + 4- 17d)
สูตร ผลบวก n พจน์แรก
ผลบวก 17 พจน์แรก {" =
&121-) + (11- 17 13))
= 88

ตอบ ผลบวก 11 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตเท่ากับ 8อ

3. n = 7, a1 = 9 และ a n = 29

สูตร ผลบวก n พจน์แรก Lantan)


ผลบวก 7 พจน์แรก Sy = E9+29 =
133

ตอบ ผลบวก 7 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตเท่ากับ 133

4. n = 9, a1 = −3 และ a n = 37

สูตร ผลบวก n พจน์แรก | Qn+ Qn)

ผลบวก &
พจน์แรก 59 = 8 1- 3 + 37) = 153

ตอบ ผลบวก 9 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตเท่ากับ 153.

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ดู
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 33

2. จงหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต เมื่อกาหนดให้


1. n = 20 และลาดับเลขคณิต คือ 5, 7, 9, …
พจน์ที่ 1 = & พจน์ที่ 2 =
&

7- S &
ผลต่างร่วม (d) = =

ผลบวก 20 พจน์แรก =
Sab= (275) + ( 9912 = 28
#

:15 ( 10420)

2. n = 60 และลาดับเลขคณิต คือ –2, 3, 8, 13, …


พจน์ที่ & =
-2 พจน์ที่ =
&

ผลต่างร่วม (d) = 3- 1-23 = S

8 -30
ผลบวก 60 พจน์แรก =
:(272) + ( 595) =

3. n = 75 และลาดับเลขคณิต คือ 2, –1, –4, –7,…


พจน์ที่ % = 2 พจน์ที่ 2 = -1

ผลต่างร่วม (d) = -1- 2 = .3


ชา น
ผลบวก 75 พจน์แรก =
S: RS23270194- 3 = - 8,175

1 3
4. n = 50 และลาดับเลขคณิต คือ ,1, , 2,...
2 2
1
พจน์ที่ 1
= พจน์ที่ 2 =

+-
ผลต่างร่วม (d) = = #

ผลบวก 50 พจน์แรก = =

iso lei7 + Hai


10 า
257
:2521 +
ง:
คณิตศาสตร์ก้าวแรก
www.mathfirststep.com
=I
1,245
ช่
ติ
มิ
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 34

3. จงหาผลบวกของอนุกรมเลขคณิตต่อไปนี้
1. 6 + 9 + 12 + 15 + … + 99
· ⑨
พจน์ที่ I = พจน์ที่ 2
=

ผลต่างร่วม (d) = 9- 6 = 3

d
พจน์ที่ # = a. + en- 13 ดังนั้น n = 3 G
9 9 6 + JM- 19336

< ผลบวก 50
·M พจน์แรก
92 - 6 =
=
34- 3
5ม =
#C 16+
999

1,680 #
n =
3 2 36 == 16( 103) =
2. (−7) + (−10) + (−13) + ... + (−109)

พจน์ที่ ↓ = -7 พจน์ที่ 2 = -IO

ผลต่างร่วม (d) = - 10- 1- 71


= -3

พจน์ที่ M = as + ch- 11 d ดังนั้น n = 105 = 33


5

#Medicine tell the


ผลบวก 50 พจน์แรก est
=
seaand
= -1+ -
->
C- 109)

-105 351- 381


34 #61 =
2 -

=ง
=

3. (−7) + (−4) + (−1) + 2 + ... +131 -


=- 2,030 #
พจน์ที่ & = - I พจน์ที่ 2 = -

ผลต่างร่วม (d) = -1- 1- 71 -


= 3

พจน์ที่ ท
= an + cn - 13 d ดังนั้น* n* = 173- 7 + 131

137 2 - 8 + Ch- 1333/

samments
ผลบวก 50 พจน์แรก = = =>>>
=
17( 124) =
141 = 17
ท =
=2,912
>

4. 1 + 3 + 5 + … + 199

พจน์ที่ I = I พจน์ที่ 2 = 3

ผลต่างร่วม (d) = 3- = &

· พจน์199
ที่ = 1 + Ch- 1) ( 2) ดังนั้น n = 100

ผลบวก*
50 พจน์แรก 1991) So ( 200) = 10,000
1 ขอ
=
%11+ =

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 35
&18 2 0 2a
y= 1 0

4. ลาดับเลขคณิตลาดับหนึ่งมีพจน์ที่ 10 คือ 20 และพจน์ที่ 5 คือ 10


จงหาผลบวกของพจน์ที่ 8 ถึงพจน์ที่ 15 58 - 13 Sis - Sa
=

* adatto
trascorrectiprolecess =
พจน์ที่ = พจน์ที่ = e

ผลต่างร่วม (d) = =
2146( 21) = 240
ผลบวกของพจน์ที่ 8 ถึงพจน์ที่ 15 = S15 − S7
=

12226+ su
8-G sc
; 10 = =
%===>
& =

2
ผลบวกของพจน์ที่ 8 ถึงพจน์ที่ 15 = &46 - 36 =
184 #
5. ทับทิมเริ่มออมเงินวันแรก 1 บาท วันที่สอง 2 บาท วันที่สาม 3 บาท
ถ้าทับทิมออมเงินเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนครบ 30 วัน ทับทิมจะมีเงินออมทั้งหมดเท่าใด

nnoroccasio
Porn
พจน์ที่ = พจน์ที่ =
13( 31 = 46
1812 + 291 =
ผลต่างร่วม (d) = =

ผลบวกของ 30 พจน์แรก = S
* 30

=
=> >
ทับทิมจะมีเงินออมทั้งหมด = 465

6. จัดแผ่นไม้ที่มีขนาดเท่ากันกองหนึ่งวางซ้อนกัน โดยเริ่มจากวางแผ่นไม้ในชั้นล่างเรียงตามแนวยาวชิดกัน
จานวน 30 แผ่น จากนั้นวางแผ่นไม้ในชั้นที่ 2 โดยให้กึ่งกลางตามด้านยาวของแผ่นไม้แต่ละแผ่นอยู่ตรงกับ
รอยต่อของแผ่นไม้แต่ละคู่ในชั้นแรก ทาเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนชั้นบนสุดมีแผ่นไม้ 5 แผ่น จงหาว่าแผ่นไม้กอง
=?
นี้มีกี่ชั้น และมีแผ่นไม้ทั้งหมดกี่แผ่น
=5 แ น &1
S 2?

&
2 3 m
ก ~

=28 ห อ
d=-1
29 แ น
#SET ::: A =
MT =

แ น 22301 + 2231 F11

=16 (
30

26
1+ ch- 13d
As a
i an =
S =30 + Ch- 1) 2- 1)
=13660 - 23/
-25 = - M + 1
= 13( 35 /
-26 = - ท
S 2 19
n = 26 2อ

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ผ่
ผ่
ผ่
ย่
·* จง หา ผลบวก ของ จ นวน
งแ 18 ง 482

18, 20, 21, . . . , 482


12
an = 18, 2, On = 482, he

/ 482)
13 (
ch- 11 d 18+
In
an = a, + 3,253 =
402 = 18+ Ch- 11 ( L)

464 = 14 - 2
=50.250
#

6=
ท = 133

จง หา ผล บอกของ จ นวน บอก 100 จ นวน แรก


·
1,3,5,..., a 1, d22, h= 100

d 199)
=100 (
an = an + ch- 12 1+


5
100
=- 1 + ( 100- 12( 2)

= 1 + 99241 =30 ( 200

My = 199
10,000 #
2

* จง ทา ผลบวก ของ จ นวนเ มบวก


จ นวน แรก

-

เ นพ ณ ของ 3
10 1 3=

3,6,9, ... a = 3,223, 12 20

/
Sao = 0 33+60(
an = an + ch-11

=- 3 + ( 19/ 03/ == 10( 63)

630
2

an = 3 + 57 = 60
#
คู่
ถึ
ที่
ยีสิ
ที่
หูคุ

ป็

ตั้



ต่
ต็
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 36

อนุกรมเรขาคณิต

อนุกรมที่ได้จากลาดับเรขาคณิต เรียกว่า อนุกรมเรขาคณิต (geometric series) โดยมีสูตรการคานวณ


ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต (Sn ) ที่มีอัตราส่วนร่วม r เมื่อ r  1 คือ
a1 (1 − r n )
Sn = ; ล บเรขาค ต an = a184- 1

1− r
·

5 an 2
1, V=
2

ตัวอย่าง15 จงหาผลบวก 8 พจน์แรกของอนุกรมที่ได้จากลาดับเรขาคณิต 1, 2, 4, 8, …


-

*พจน์an
ที่ = I
d
พจน์ที่ an = 2

อัตราส่วนร่วม = " =
#
= 2

ผลบวก 8 พจน์แรก 1218


= Sg = 11631- = 1- 25 6 =1

+- G -I - I
= 255
#
1 1 1
ตัวอย่าง16 จงหาผลบวกของอนุกรมเรขาคณิต 1 + + + ... +
2 4 256

M An
·

พจน์ที่ an = I พจน์ที่ am =

LensParis - "
#

อัตราส่วนร่วม = F E

· lio:
พจน์ที่ = ดังนั้น n =

ผลบวก พจน์แรก = =

+- ta
ตัวอย่าง17 กานดาตั้งใจจะออมเงินเพื่อซื้ออุปกรณ์กีฬา โดยวันแรกจะออมเงิน 20 บาท วันที่สอง 40 บาท =1

วันที่สาม 80 บาท เช่นนี้ไปเรื่อย ๆ เมื่อครบ 7 วัน กานดาจะมีเงินออมทั้งหมดเท่าใด


256
20, 40, 80, ... , 9,220,
R 2
2
1 2 =?, h27

จาก : terrace1281 = -
#

101- 10) =
2,340,0
#

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก

ดั
ณิ
2 1113 1-

+- ta
=

1 -
I

312
-

2- 1
-

#= 1412
=

-
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 37

แบบฝึกหัดที่ 3 (ต่อ)
7. จงหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต เมื่อกาหนดให้
1. n = 4, a1 = 3 และ r = 2
a1 (1 − r n ) accrt- 1(
สูตร ผลบวก n พจน์แรก Sn =
1− r
=

-เ

ผลบวก & พจน์แรก 32 -


3212 =
3 = 11 = 21
4
2- I

ตอบ ผลบวก 4 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตเท่ากับ 2


#

2. n = 7, a1 = 5 และ r = 4
ancr" - 1

สูตร ผลบวก n พจน์แรก Sn = V - 1

-14 -
ผลบวก % พจน์แรก & =
1 - 1
1
=> 535,461
=

ตอบ ผลบวก 7 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตเท่ากับ 27,305 =- 27,305


#

3. n = 11, a1 = −7 และ r = 3 asert - IC

5ต
=

สูตร ผลบวก n พจน์แรก -1

-1,146) =
7- 21188,537,

ผลบวก 11 พจน์แรก ⑤ = =
1
1

=- 620,011
ตอบ ผลบวก 11 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตเท่ากับ - 620,011
#

4. n = 14, a1 = −5 และ r = −2 cr" -


ily 1

สูตร ผลบวก n พจน์แรก Sn = V - 1

-5(- 2)- 1( 1- 513- 5,461


ผลบวก 14 พจน์แรก = =383)
=>
=
- 2- 1

ตอบ ผลบวก 14 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตเท่ากับ 27 305 =- 27,305


*

mmummnu
www.mathfirststep.com
Mammmmmmmm
คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 38

8. จงหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต เมื่อกาหนดให้


เรขาค ต
1. n = 9 และลาดับเลขคณิต
/
คือ 2, 6, 18, 54, …

·an
พจน์ที่ = 2
My
พจน์ที่ PC = เ

อัตราส่วนร่วม (r) = =* = 3 =
a -

ผลบวก 9 พจน์แรก = a = 1217 - 11 =


121719,682) =
19,682
3 เ #

เรขาค ต
64
2. n = 8 และลาดับเลขคณิต
- คือ 9,12,16, ,...
3

a
พจน์ที่ an = 9
a2
!2
พจน์ที่ = 1 2

อัตราส่วนร่วม (r)
*
#
=

= =

11 · ( 22 )
ผลบวก 8 พจน์แรก = So = 1919 - =

-I #

เรขาค ต
2 4 8
3. n = 10 และลาดับเลขคณิต
-
คือ , , ,...
3 9 27

#mi
พจน์ที่ ai Art
พจน์ที่ De
#
%

= = I
2

อัตราส่วนร่วม (r) = #: = ="


So = EC- 13) =
TECH
ผลบวก 10 พจน์แรก = SELL
E

1 - =

เรขาค ต
4. n = 9 และลาดับเลขคณิต
~
คือ −3, −15, −75,...

พจน์ที่
Mama, = MMM
พจน์ที่ a 2 = 1 5
- 1

อัตราส่วนร่วม (r) = =3 = 5 =

ผลบวก 9 พจน์แรก = Sa = 7- 363- 1) = 1- 39( 488,281)

5 -I
=-1,464,843

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ณิ
ณิ
ณิ
ณิ
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 39

9. จงหาผลบวกของอนุกรมเรขาคณิตต่อไปนี้
1. 9 + 27 + 81 + … + 729 an

=mm, a= Mens
พจน์ที่ พจน์ที่ 2= =
17

= 2 3
%

ห====
an

อัตราส่วหา
จารณา นร่วม = =
JrY- 1

⑤n =

=
พจน์ที่ =
ท- I
,r"
4 = 1- 1
--1
* 729 1
=
9336
ดังนั้น n =
n =

=on
5
ผลบวก พจน์แรก = = 3- 1
-I

=21 = 1,089
8I =
3

1
2. 4 + 2 + 1 + ... +
512

= canoes
that cancer not
พจน์ที่ = พจน์ที่ =

Pricel i ne
อัตราส่วนร่วม = =
-
พจน์ที่ =

ดังนั้น n =

ผลบวก พจน์แรก = =
#
·9
ท = 12
3. 1 + (−2) + 4 + ... + 256

·On
พจน์ที่ 2, พจน์ที่ = 2 - 22 -
2 =

=
อัตราส่วนร่วม = >
=

·
พจน์ที่ = 29 -2133 -
ดังนั้น n =

ผลบวก พจน์แรก =
* =

*
www.mathfirststep.com
=>
คณิตศาสตร์ก้าวแรก
พิ
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 40

10. มังกรตั้งใจจะออมเงินเพื่อซื้อหนังสือ โดยวันแรกออมเงิน 1 บาท วันที่สองออมเงิน 2 บาท วันที่สามออม


เงิน 4 บาท เป็นลาดับเรขาคณิตเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ เมื่อครบ 15 วัน มังกรจะมีเงินออมทั้งหมดเท่าใด
พจน์ทa
thunterี่ l = I prep
พจน์ที่ ag = 2

อัตราส่วนร่วม (r) = 2 =

ผลบวก 15 พจน์แรก = 3
1 S
=(12- 1)= " - 1

&-

3
11. ลาดับเรขาคณิตลาดับหนึ่งมีพจน์แรก คือ 160 และอัตราส่วนร่วม คือ ถ้าผลบวก n พจน์แรกของ
2
อนุกรมนี้ คือ 2,110 จงหา n

12. แบคทีเรียกลุ่มหนึ่งแบ่งเซลล์โดยมีจานวนเพิ่มขึ้น 20% ในแต่ละชั่วโมง ถ้า ณ ปัจจุบันมีแบคทีเรีย 1,000


เซลล์ จงหาสูตรที่ใช้ในการหาจานวนแบคทีเรียเมื่อเวลาผ่านไป t ชั่วโมง และเมื่อเวลาผ่านไป 10 ชั่วโมง
จะมีแบคทีเรียทั้งหมดเท่าใด

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 41

อนุกรมอนันต์
ถ้า a1, a 2 , a 3 ,...,a n ,... เป็นล าดับอนันต์ จะเรียกการเขียนแสดงการบวกในรูป a1 + a 2 + ... + a n + ...
ว่าอนุกรมอนันต์ (infinite series) เรียก a1 ว่า พจน์ที่ 1 ของอนุกรม เรียก a 2 ว่าพจน์ที่ 2 ของอนุกรม เรียก
a n ว่าพจน์ที่ n ของอนุกรม

นิยาม กาหนด a1 + a 2 + a 3 + ... + a n + ... เป็นอนุกรมอนันต์


ให้ S1 = a1
S2 = a1 + a 2
S3 = a1 + a 2 + a 3

Sn = a1 + a 2 + a 3 + ... + a n
เรียก Sn ว่า ผลบวกย่อย (partial sum) n พจน์แรกของอนุกรม เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก เรียกลาดับ
อนันต์ S1 , S2 , S3 ,...,Sn ,... ว่า ลาดับของผลบวกย่อยของอนุกรม (sequence of partial sums)

1 1 1 1
ตัวอย่าง18 จากอนุกรมอนันต์ + + + ... + n + ... จงหา lim Sn
2 4 8 2 n →

Star ·
#

พจน์ที่ an = พจน์ที่ ag =
#

อัตราส่วนร่วม (r) =
Its bet =
&

v =
a

ผลบวก n พจน์แรก = On = a111- r" ( = #((1- 31)" = 1-


11/
in =
+- ว

1 3 7 2n − 1
เราจะได้ลาดับของผลบวกย่อยของอนุกรมอนันต์เป็น , , ,..., n
2 4 8 2

เมื่อหาลิมิตของลาดับนี้ จะได้ lim Sn =


n → line ( 1 - ( 194) = lime - him
for
=
lim Sn = 1 - 0 = 1
n →

ผลบวกของอนุกรม คือ 1

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 42

นิยาม กาหนดอนุกรมอนันต์ a1 + a 2 + a 3 + ... + a n + ...


ให้ S1 , S2 , S3 ,...,Sn ,... เป็นลาดับของผลบวกย่อยของอนุกรมนี้
ถ้าลาดับ Sn เป็นลาดับลู่เข้า โดย lim Sn = S
n →
เมื่อ S เป็นจานวนจริง แล้วจะกล่าวว่าอนุกรม
เป็นอนุกรมลู่เข้า (convergent series) และเรียก S ว่าผลบวกของ
a1 + a 2 + a 3 + ... + a n + ...
อนุกรม ถ้าลาดับ Sn เป็นลาดับลู่ออก จะกล่าวว่า a1 + a 2 + a 3 + ... + a n + ... เป็นอนุกรมลู่ออก
(divergent series)

วิธีการพิจารณาอนุกรมเป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออกทาได้ดังนี้
1. พิจารณาลาดับของผลบวกย่อยของอนุกรม และหาสูตรทั่วไปของผลบวกย่อย n พจน์แรกของอนุกรม Sn
2. พิจารณาลิมิตของลาดับ Sn ถ้า lim Sn = S
n →
เมื่อ S เป็นจานวนจริง จะได้ว่าอนุกรมนั้นเป็นอนุกรมลู่เข้า
และมีผลบวกเท่ากับ S ถ้าลาดับนั้น Sn ไม่มีลิมิต จะได้ว่าอนุกรมนั้นเป็นอนุกรมลู่ออก

ตัวอย่าง19 อนุกรม 5 + 9 +13 + ... + (4n +1) + ... เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก


ถ้าลู่เข้าให้หาผลบวกของอนุกรม
จาก an = 4n+1 แสดงว่าลาดับนี้เป็นลาดับ เลขค ต 5,9,13, ..., 4M+
1

at = 5, 124, apedht
สูตรอนุกรม Su คือ ·Castan)

ดังนั้น Sn = 1 15+ Tant11 ) = ON) = 1+h = oh + and

lim Sn = lim ( sntan ( = ·


n →
new

ดังนั้น อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม ออก

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
ณิ
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 43

1 1 1 1
ตัวอย่าง20 อนุกรม + + + ... + n + ... เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก
3 9 27 3
ถ้าลู่เข้าให้หาผลบวกของอนุกรม
av =ชะ
+

M
จาก แสดงว่าลาดับนี้เป็นลาดับ เรขาค ต
t

an = 3

as II - r") an 2 +

สูตรอนุกรม 5ท คือ 1-ก ท


5 ( 1- 15)" (
ดังนั้น Sn = +-
= -" ) = (1- 5)
lim Sn
to home. I' - SII" ( &11-
= = 03 -
n →

ดังนั้น อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม เา มีผลบวกเท่ากับ


&#

ทฤษฎีบท กาหนดให้อนุกรมเรขาคณิตมี a1 เป็นพจน์แรก และ r เป็นอัตราส่วนร่วม


a1
ถ้า | r |  1 แล้วอนุกรมนี้เป็นอนุกรมลู่เข้า และมี เป็นผลบวกของอนุกรม
1− r
ถ้า | r |  1 แล้วอนุกรมนี้เป็นอนุกรมลู่ออก

n −1
3
ตัวอย่าง21 อนุกรม 16 + 12 + 9 + ... + 16   + ... เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก
4
ถ้าลู่เข้าให้หาผลบวกของอนุกรม -

จาก an = 16

อนุกรมนี้เป็นอนุกรม เรขาค ต โดยที่ a1 = 16 และ r = #

64
it :
ดังนั้น lim Sn
n →
= 1
=

ดังนั้น อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม· เา มีผลบวกเท่ากับ 64

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
ข้
ป้
สู่
ณิ
ณิ
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 44

แบบฝึกหัดที่ 3 (ต่อ)
13. จงหาล าดับของผลบวกย่อยของอนุกรมต่อไปนี้ หากอนุกรมใดบ้างเป็นอนุกรมลู่เข้า ให้หาผลบวกของ
อนุกรมด้วย
1. 2 + (−1) + (−4) + ... + (5 − 3n) + ...

จาก an = -3 ท แสดงว่าลาดับนี้เป็นลาดับ เลขค ต


23- suIS
สูตรอนุกรม Sy คือ
#Cartan
C =
132+
ดังนั้น and =- 3
Sn
17 -
= In-
30) =
lim) - (
&

3
lim Sn = = -
=
·
n →

↳ อ ·
ดังนั้น อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม อก มีผลบวกเท่ากับ

n −1
1 1 1 11
2. + + + ... +   + ...
2 6 18 23
1
จาก an =
#(19h- แสดงว่าลาดับนี้เป็นลาดับ ·Vlคณ O

· tentes there
plus is
สูตรอนุกรม คือ
ดังนั้น Sn = ผล พวก

lim Sn = =
n → #

ดังนั้น อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม เา มีผลบวกเท่ากับ #

n −1
9 27 3
3. 3 + + + ... + 3   + ...
2 4 2

37 sg4-
จาก an = แสดงว่าลาดับนี้เป็นลาดับ เรขาค ต

n = is "
สูตรอนุกรม คือ Intelli
I :
- # no

ดังA
/ นั้น Sn = ออก
lim Sn
We = =
n →

ดังนั้น อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม ออก มีผลบวกเท่ากับ ·

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
ล่
ลู่
ลู่
ข้
อี
ณิ
ณิ
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 45

14. จงหาล าดับของผลบวกย่อยของอนุกรมต่อไปนี้ หากอนุกรมใดบ้างเป็นอนุกรมลู่เข้า ให้หาผลบวกของ


อนุกรมด้วย

( −1)
n −1
1  1 1
1. +  −  + + ... + + ...
2  4 8 2n

จาก an = -114 - แสดงว่าลาดับนี้เป็นลาดับ เรขาค ต

="
·M I
สูตรอนุกรม
vr คือ
the

ดัMe
งนั้น Sn = Cute
FE) = ู < 1

lim Sn
~
n →
= ผลบวก 2 # =
rul"
ดังนั้น อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม เา มีผลบวกเท่ากับ ·

n −1
4 2
2. 3 + 2 + + ... + 3   + ...
3 3

จาก แสดงว่าลาดับนี้เป็นลาดับ เซ เค ต
an =
3) IgH-
สูตรอนุกรม คือ V =
j lrI</
~ o
I
ดังนั้น Sn =9

2
~ = ผล บอก 2 3 x 3

lim Sn
- = =
n →

เา
ดังนั้น อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม มีผลบวกเท่ากับ 9

n
1 1 1  1
3. − + − + ... +  −  + ...
10 100 1000  10 

จาก
(t)" แสดงว่าลาดับนี้เป็นลาดับ
an = เรขาค ต

สูตรอนุกรม คื&

-
=# * ) = to
ดัM
งนั้น Sn = Intel to at 21 เา

รก !
lim S = พอ บ =
+

~ n
n →
11
ดังนั้น อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม า มีผลบวกเท่ากับ I

11

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
ลู่
ณิ
ข่
ข้
ข้
ข้
ณิ
ณิ
ลู่
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 46

15. จงหาล าดับของผลบวกย่อยของอนุกรมต่อไปนี้ หากอนุกรมใดบ้างเป็นอนุกรมลู่เข้า ให้หาผลบวกของ


อนุกรมด้วย
1 5 25 1
1. + + + ... + (5n −1 ) + ...
2 2 2 2

จาก an = แสดงว่าลาดับนี้เป็นลาดับ
สูตรอนุกรม คือ
ดังนั้น Sn =

lim Sn = =
n →

ดังนั้น อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม ออก มีผลบวกเท่ากับ ·

n −1
2 4 8  2
2. 1 − + − + ... +  −  + ...
3 9 27  3

จาก an = แสดงว่าลาดับนี้เป็นลาดับ
สูตรอนุกรม คือ
ดังนั้น Sn =

lim Sn = =
n →

ดังนั้น อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม เา มีผลบวกเท่ากับ =

2 8 32 22n −1
3. + + + ... + n + ...
3 9 27 3

จาก an = แสดงว่าลาดับนี้เป็นลาดับ
สูตรอนุกรม คือ
ดังนั้น Sn =

lim Sn = =
n →

ดังนั้น อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม ออก มีผลบวกเท่ากับ ·

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
คู่
ลู่
สู่
ข้
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 47

16. จงหาผลบวกของอนุกรมต่อไปนี้

1.
4 + 1 8 + 1 16 + 1
+ +
2n −1 + 1เ

+ ... + n +1 + ...
+On
9 27 81 3

จาก an = 14 + + + . . . . #1 ... 1 + 1 + + + + + + "


ให้ bn = #+++ ... + rel
bn เป็นลาดับ โดยที่ b1 = และ rb =
#

ISUAGM
#

lim Sbn = ผล บอก =


#- Av
a

n → B

ให้ cn = +" + " " + t ~

จาก cn เป็นลาดับ เรขาค ต โดยที่ c1 = และ rc =

lim Scn
n →
= ผล บอก: =
#= 1 =

biri
ดังนั้น ผล บอก
#+ 1⑧ = 1 =
lim Sa n = by + ผล มาก
Cn =
n → I

อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม เา มีผลบวกเท่ากับ &

1+ 2 1+ 4 1+ 8 1 + 2n
2. + + + ... + n + ...
3 9 27 3

จาก an =

ให้ bn =

bn เป็นลาดับ โดยที่ b1 = และ rb = +

·
lim Sbn
n →
= = +

ให้ cn =

จาก cn เป็นลาดับ โดยที่ c1 = และ rc = =

&
lim S
n →
cn = =

ดังนั้น lim Sa n = = 2
n →

อนุกรมอนันต์ที่กาหนดให้เป็นอนุกรม า า มีผลบวกเท่ากับ
/

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
มี
ข้
ล่
ข้
ณิ
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 48

17. จงเขียนทศนิยมซ้าต่อไปนี้ในรูปเศษส่วน โดยใช้ความรู้เรื่องอนุกรมอนันต์

1. 0.555… =- 0.5 + 0.05 + 0.005 + ...

5 5 5 5
จาก 0.555… = + + + ... + n + ...
10 100 1000 10

จะเห็นว่า 0.55… นั้นเป็นอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ที่มี และ r

seethere
a1 = =
&

to
ดังนั้น 0.555…
IIIIII
ผลบวกของ
=
0.555... #" orto =

=0.23 + 0.0023 + 0.000023 + ...


2. 0.232323…

จาก 0. 232323…

• •
#+ #toto +..
=

จะเห็นว่า 0.23 นั้นเป็นอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ที่มี a = และ r =


#ขอขอ 1
มง

#- asto
• •
ดังนั้น 0.23 = =

100
• • 0.000000152+ ...
3. 0.15 2 =0.15215213ม... = 0.152 + 0.000152 +

• •
จาก 0.15 2 =
#+ + + ...
• •
จะเห็นว่า 0.15 2 นั้นเป็นอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ที่มี a1 = #
และ r = +

109
• •
ดังนั้น 0.15 2 = -
= #

• •
=3.1212/ 216... = 340.12 + 0.0012 + 0.000012+ ...
4. 3.12
• •
จาก 3.12 =

sit etr ansitions..


• •
จะเห็นว่า 3.12 นั้นเป็นอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ที่มี a1 = และ r = +

10 G
• •
ดังนั้น 3.12 = = #

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 49

·
18. ปล่อยลูกบอลจากความสูง 6 เมตร ลูกบอลกระดอนขึ้นมา 75% ของความสูงเดิมในแต่ละครั้ง
จงหาระยะเคลื่อนที่ทั้งหมดในแนวตั้งของลูกบอล
·
="

กระทบ น
④...

ระยะ
กบอลเค อน จนกระทบ น ค ง 1 = 6 เมตร

6 ) = 6+
12):
-ท -
ค ง 2= 6 + 6)+

->> - ท ง 3=
122) + 1)() + "
6+ 0(

=6 +
12 ) + 12) 19
คง
12) + 1) / + 6 + 61 ( ) =
4 =
6 + 6+
12 ) + 12GB
19. เรือไวกิ้งเป็นเครื่องเล่นชนิดหนึ่งในสวนสนุก จากจุดซ้านสุดถึงจุดขวาสุด
+12
1113
ตามส่วนโค้งขณะแกว่งยาว 75 เมตร ถ้าการแกว่งครั้งใหม่จะสั้นลง โดยมี
ระยะเป็น 0.6 ของระยะเดิม อยากทราบว่า หากไม่มีการหยุดกะทันหันเรือ
ไวกิ้งจะแกว่งไปมาตั้งแต่เริ่มจากจุดสูงสุดเป็นระยะทางเท่าใด

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ที่ลู
พื้
พื้
ที่
ที่
ที่
ที่
รั้
รั้
ลื่
รั้
ที่
รั
12)) +1212 +lage) + ... อ กรม
ไ 6+
เน เร นา ค ต
จะ

an = 12/
1N = In
12) 1;

#1,944
ass
ผลบวก ของ
อ กรม
2

ง น ระบบ เค อน งหมดแนว
ใน
ง ของ ก บอก5 6 +
36
=42 IM /

#
ที่มี
ดั
ลู
ป็
ณิ
ด้
นุ
นุ
ทั้
ลื่
นั้
ตั้
ที่
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 50

20. ถ้าลากส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุดกึ่งกลางด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จะได้รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสใหม่ ดังรูป

ถ้ากระบวนการเกิดรูปใหม่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องไม่สิ้นสุด ผลบวกของความยาวของ
เส้นรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้งหมดเป็นเท่าใด

21. รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปหนึ่งมีด้านยาวด้านละ 10 นิ้ว รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สองเกิดจากการลาก


ส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุดกึ่งกลางด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปแรก และรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า
รูปที่สามเกิดจากการลากส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุดกึ่งกลางด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สอง
และสร้างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าเช่นนี้เรื่อย ๆ ไป จงหาผลบวกของความยาวของเส้นรอบรูปของรูป
สามเหลี่ยมด้านเท่าทั้งหมด ถ้ากระบวนการนี้เกิดขี้นอย่างต่อเนื่องไม่สิ้นสุด

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 51

22. ถังบรรจุสารพิษซึ่งเก็บไว้ใต้ดินเพื่อให้ย่อยสลายตัวเองเกิดรอยร้าว
จึงทาให้สารพิษแพร่กระจายซึมผ่านเนื้อ
ดิน ในเวลาหนึ่งปี สารพิษดังกล่าวแพร่กระจายไปได้ไกลเป็นระยะทาง 1,500 เมตร เมื่อสิ้นปีที่ส อง
สารพิษแพร่ต่อไปได้อีก 900 เมตร และเมื่อสิ้นปีที่สาม สารพิษแพร่ต่อไปได้อีก 540 เมตร
ถ้าอัตราการแพร่กระจายของสารพิษดังกล่าวเป็นเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ อยากทราบว่า สารพิษดังกล่าวจะ
แพร่กระจายไปไกลถึงโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ห่างจากจุดฝังถังบรรจุสารพิษออกไป 4 กิโลเมตร หรือไม่ จง
อธิบาย

2
23. จงหาเซตคาตอบของสมการ 1 + x + x 2 + x 3 + ... + x n −1 + ... =
3
3.1 + + + + + + + + ... + " " + ... เ น อ
เพ
ก เรขาค 8
ต = *, หา :

เ า
ผลบวก อ
จาก ผลบวก ของ
อ กรม = ar กรม ฯ

&1 = +
1- p
writt 2

I 1 - A
เซ
ง นต ของ สมการ
ค ตอบ อ
v-+-+ f

211- X1: 3

2 - LX =3 #10 1 2 1

x = 3 - G
NIKI /
-2

24. จงหาเซตคาตอบของสมการ 1 + x + x + x + ... + x


2 3 n −1
+ ... = 3
A2 " + .... เ น อ กรม เรน เค นะ 8,
=" 1+*+148+ ... + ต
คะ

อ กรม = =
จาก ผล บอก ของ

3 =

1 -A

3- 3X = 1

- x = - 2

* =- 2

สมการ + + + + + ...
5

ง นเขต ของ
ค ตอบ

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
ดั
คื
ที่มี
ณิ
ดั
ป็
นุ
นู


นุ
นุ
ข้
นุ
นั้
ณิ
นั้
ป็
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 52

6 6 6 6 2
25. จงหาเซตคาตอบของสมการ + + + ... + + ... =
3x + 1 ( 3x + 1) ( 3x + 1)
2 3
( 3x + 1)
n
3

3 3
a1 − a1r + a1r 2 + ... + ( −1)
n −1
26. ให้ a1 + a1r + a1r 2 + ... + a1r n −1 + ... = และ a1r n −1 + ... =
2 4
จงหา a1 และ r เมื่อ
=r al tairtair" + ... + ม" " + ... เ อน กรม เรน เค ต an = as, h=p
ผลบวก ของ
อ กรม =

เา ใ

อ กรม
จาก ผลบวก ของ

3CI- V) = 291
3 = 38
29 , +
-38 = 291
= -

- >

3 = Ca +
3r -O

as-air + art + ... + J- pgh - app"" + ... เ น อ กรม แร บา ค an


ต = Gn
เก =
=-- , ผล ม #

จาก : ผล นอก ของ


อ กรม -

+30 = Gy
3 =491- 3) -
www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ณิ
ลู่
ข้
ป็
ป็
นุ
นุ
ณิ
นุ
นุ
นุ
คุ
29. + 30 - 3 - 0
401 - 30 = 3 -
G

①t8; harter + 4K. # = 3 + 3

ba, = 6

an = 1

า an = 1 Hnw Oj2216 +3r =


3

35 - 3 - 2

o =
f

#
น่
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 53

27. จงหาค่า x ที่ทาให้อนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้า

1. 1+ 2x + 22x + ... + 2(n−1)x + ...

อนุกรมนี้เป็นอนุกรม โดยมี a1 = และ r =


โดยอนุกรมเรขาคณิตจะเป็นอนุกรมลู่เข้า ก็ต่อเมื่อ | r | < 1

ดังนั้น x อยู่ในช่วง

2. 1 + (x 2 − 1)2 + (x 2 − 1)4 + ... + (x 2 − 1)2n −2 + ...

อนุกรมนี้เป็นอนุกรม โดยมี a1 = และ r =


โดยอนุกรมเรขาคณิตจะเป็นอนุกรมลู่เข้า ก็ต่อเมื่อ | r | < 1

ดังนั้น x อยู่ในช่วง

3x 32x 33x
28. ถ้าอนุกรม 1+ + + + ... มีผลบวกเท่ากับ 10
1 + 3x (1 + 3x ) 2 (1 + 3x )3
log3 x − ( log3 x ) + ( log3 x ) − ( log3 x ) + ...
2 3 4
จงหาผลบวกอนุกรม

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 54

อนุกรมอนันต์ผสมระหว่างอนุกรมเลขคณิตกับอนุกรมเรขาคณิต ค ต
อ กเม
nt ... เลน
14243+4+...
Is the 5th ... 3 + . - or new เรมเคณ
M

ตัวอย่าง22 อนุกรม 1 3 + 2  32 + 3 33 + ... + n  3n + ... เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก v = 3

ถ้าลู่เข้าให้หาผลบวกของอนุกรม
ให้ Sn = 1.3 + Goghts. + ... + nog" + ... ---- (1)

#
2

lost light
ขา + 1
และ 3 Sn = of 303 + 10 ·
t

--- (2)

จะได้21-221 ได
จาก (1) และ (2) to จะ

+1
- 2Sn = 103 + yoy2 + 10 + . . . . log" - n. 3
ท +

3tg + + ... + -

needed
- 2
Sn = no s
in

air
pour
·Mattressv acation toan
lim Sn = o
the
=
f
n →
- 2S

ดังนั้น 1 3 + 2  32 + 3  33 + ... + n  3n + ... เป็นอนุกรม
S
+1

ตัวอย่าง23 อนุกรม 1 1 + 2  1 + 3  1 1
+ ... + n  n + ... เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก
3 9 27 3
ถ้าลู่เข้าให้หาผลบวกของอนุกรม 4 ชะ #

ให้ Sn = lott 2.1, + 30 ) + ... + h. + - - - ---- (1)

และ 5 Sn = 1. 1 2 3+...+ n

--- (2)

จาก (1) และ (2) จะได้ ⑩- 8 จะ ไ

#
#Su =
1.
I tel.
It lots t ... +
lt - htt

tot h e a notte
it into
·stan
=
#

lim Sn = =
n →

1 1 1 1
ดังนั้น 1 + 2  + 3  + ... + n  n + ... เป็นอนุกรม
3 9 27 3

In =
1 - : ht
to
the

tim
time time
at
Sa =
time =time = the

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
=

I arri
ด้
นู
ณิ
รู
ght
time - 33 - h. ·
is +
tim In a

n + ม
ท + 1

=- slim (
34 - 13 +
im 1.

&

② จง หา ผลบวก อย พจ แรก ใน อ4
น ของ
อ กรม
ท + 1
จาก
En = - 1254 1 +
1.
-
=> กอ 1
10+

Bio = - 33- 11 + 1 3

Sco =

-" + + 5 13"
#
สิ
ย่
ข้
นุ
น์
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 55

แบบฝึกหัดที่ 3 (ต่อ)
1 3 5 2n − 1 We
29. จงหาผลบวกของอนุกรมผสม + 2 + 3 + ... + n + ...
t

ให้ Sn =
5 5 5
+But st ... +
5
I - ---- (1)

และ In = +41. " + th --- (2)

t
there

จาก (1) และ (2) จะได้

It features that
2n- 1
#Su =
Sn =

amis.
lim Sn =
n →

Positiontheplace
on
= =
1 3 5 2n − 1
ดังนั้น + 2 + 3 + ... + n + ... เป็นอนุกรม
5 5 5 5
to
2 3 4 n
30. จงหาผลบวกของอนุกรมผสม 1 + + 2 + 3 + ... + n + ... rant.
I

2 2 2 2 - I

ให้ Sn = 14
E + Ge + + . . . . # ---- (1)

และ I Sa
= +Es + + + + + --- (2)

จาก (1) และ (2) จะได้ &- i


Su = 1 + + + + ... +
Sn =
alt)" n = 22" in
·
lim S
n →
n =

timsn =
slim 7 2 +1 = 2121 = 4

เา
2 3 4 n
ดังนั้น 1 + + 2 + 3 + ... + n + ... เป็นอนุกรม
2 2 2 2
#

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
ข้
เอกสารประกอบการสอน v = ลาดับและอนุกรม| 56

3 4 5
31. จงหาผลบวกของอนุกรมผสม 2 + + + + ...
2 4 8

ให้ Sn = 2 + + + + ... ---- (1)

และ &Su = + +Get ... --- (2)

จาก (1) และ (2) จะได้ ①-

②Sa = 2+ If + fat Is +. -
312+1) =
ท = 2
2+1): 6

&
lim S
n →
n =
lim
a + ด
Sa = Line เ = ⑥
1 3 5 2n − 1
ดังนั้น + 2 + 3 + ... + n + ... เป็นอนุกรม
5 5 5 5 เา
#

V =
1 3 5 7

32. จงหาผลบวกของอนุกรมผสม + + + + ... 2


2 4 8 16

ให้ Sn = + +
22
#+ 4 · ---- (1)

และ I sa = Ent + + + ... --- (2)

·CE + Est + + .. V " " +


จาก (1) และ (2) จะได้
I 'ท = th

+( "" 1 = = =
I
a =
lim Sn =
n →

=
Lim 3 = ·

2 3 4 n
ดังนั้น 1 + + 2 + 3 + ... + n + ...
2 2 2 2
เป็นอนุกรม เา #

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
ลู่
ผู้
ข้
ข้
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 57

04 สัญลักษณ์แสดงการบวก
เพื่อความสะดวกในการเขียนอนุกรม จะใช้ตัวอักษรกรีก  เรียกว่า ซิกมา เป็นสัญลักษณ์แทนการบวก
n
กล่าวคือจะเขียนแทนอนุกรมจากัด 1 + a 2 + a 3 + ... + a n
a· ด้วยสัญลักษณ์  a i (อ่านว่า การบวก a i เมื่อ i

I
i =1

มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง n) และเขียนแทนอนุกรมอนันต์ a1 + a 2 + a 3 + ... + a n + ... ด้วยสัญลักษณื  a i (อ่านว่า
i =1

do =
การบวก a i เมื่อ i มีค่าตั้งแต่ 1 ขึ้นไป)
ap tat ... th
4
ตัวอย่าง24 จงหาค่าของ  ( i2 − i + 1)
i =1

 (i 2
− i +1) = (12- 14 16 + ( - 2 +10 +33-3+ 11 +14-4+1)
i =1

= 1 + 3 + 1 + 13

 (i
i =1
2
− i +1) = 24

ตัวอย่าง25 จงเขียน 2x + 4x2 + 6x3 + 8x4 +10x5 โดยใช้สัญลักษณ์ 


↑= 1 - 3
2x + 4x2 + 6x3 + 8x4 +10x5 = 2.14 + 2.25 - 2.34 +2048" + 2.5x

= 221xt2x + 3A + ax" + sx' (


ixl
2x + 4x2 + 6x3 + 8x4 +10x5 = 2

↑= 1 =- Enix
สมบัติของซิกมา
n n n
1. c
i =1
= nc เมื่อ c เป็นค่าคงตัว 2.  ca i =
i =1
c a i
i =1
เมื่อ c เป็นค่าคงตัว

n n n n n ( n + 1)
3.  ( a i  bi )
i =1
=  a i   bi
i =1 i =1
* 4. i
i =1
=
2

n ( n + 1)( 2n + 1)  n ( n + 1) 
2
n n
* 5. i 2
=
6
*
6. i 3
=  
i =1 i =1  2 

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
มี
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 58

ตัวอย่าง26 ถ้า 1 + 2 + 3 + ... + n = 153 แล้ว จงหา n n' + ท


306 =
- ·

n
0 = " + h- 306
จาก i

#tently
1+2+3+…+n = =
i =1 on en + 181 - 19

ท =
18,
- 12
จะได้ 15 3
=

ดังนั้น n มีค่าเท่ากับ 17

20
ตัวอย่าง27 จงหาค่าของ  (2i + 5)2
i =1

จาก (2i + 5) 2 =
ai" + 201 + 25

20
sait +
จะได้  (2i + 5)
i =1
2
= #
it f
20i + 25(

10 2

= 4

+28 : + i2 l
2S

=
·
20
Sn =  (2i + 5)
i =1
2
= a
gentilantl)) + 201) )# +
25 ท

jaits) =
otl) +
S =
20 12 4( 120)+1)) + 30 )
25180 5

500
== 11,480 + 4,100 +

== 16,180 #

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 59

แบบฝึกหัดที่ 4

0
1. จงเขียนแทนสัญลักษณ์ต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปการบวก
4
1.  3i
i =1
= 2611 + 3641 + 3631 + 3( 4)

5
2.  (i + i )
i =1
2
=

3
3.  (7i
i =1
2
− 1) =

10
4.  (6 − i )
i =1
3
=

2. จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี้ โดยใช้สมบัติของซิกมา
7
21
/ 1. 3
i =1
= =X Y
=

17
2. 10
i =1
= =

/ 3. i
20

i =1
= +- serotic = 106211 = 210 -

12
4.  ( i + 3)
i =1
= =

/ 5. i
15
2
=
santi - SICISITI)
=
= 1,240 -
i =1

/ 6. i
21

i =1
3
= (11)" = ( H) = = 53,361
2)
4

Elii") - 3 -
#

- 7. i
i =1
2
(i − 1) = 3
=

=I caCGH+9
20
8. i
i =1
2
(i − 2) = =

=(213112 - 30

== 100 - 30 2 70

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 60

3. จงหาผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรมต่อไปนี้
1. 1 2 + 2  3 + 3  4 + ... + n(n +1) + ...

จาก 1 2 + 2  3 + 3  4 + ... + n(n +1) + ... = 102 + 203 + 304 + 10 0 x 18086

= sitII = siril = res


=
=
(12 (
1). ) + +
10) +

ดังนั้น 1 2 + 2  3 + 3  4 + ... + n(n +1) + ... =


385 + 5S = 440

2. 1 4  7 + 2  5  8 + 3  6  9 + ... + n(n + 3)(n + 6) + ... ↓O


+3621+6 (
-

จาก 1 4  7 + 2  5  8 + ... + n(n + 3)(n + 6) + ... 2


=เ
=
= 2
#48 0
=
=
=

ดังนั้น 1 4  7 + 2  5  8 + ... + n(n + 3)(n + 6) + ... =


10 A

 1  1   1   1
3. 11 +  + 2 1 +  + 3 1 +  + ... + n 1 +  + ...
=
2 CI + +
 1  2   3   n
12 เ
 1  1   1   1
จาก 11 +  + 2 1 +  + 3 1 +  + ... + n 1 +  + ...

=
 1  2   3   n
+1)
=
= &v 83
~

 1  1   1   1
ดังนั้น 11 +  + 2 1 +  + 3 1 +  + ... + n 1 +  + ... =
 1  2   3   n

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 61

อนุกรมเทเลสโคป (Telescoping Series)


In =
a ( ) =
นิยาม กาหนดให้ F: N → R จะได้ว่า
n n

 ( F ( k ) − F ( k + 1)) = F (1) − F ( n + 1)
k =1
และ  ( F ( k + 1) − F ( k ) ) = F ( n + 1) − F (1)
k =1

ตรวจสอบ flats - 4 า วเลข ค ต

1 1 1 1
ตัวอย่าง28 อนุกรม
· + +
1 2 2  3 3  4
+ ... +
n(n + 1)
+ ... เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก
ถ้าลู่เข้าให้หาผลบวกของอนุกรม

1 1
พิจารณา
1 2
=
+- 23
=
Itallt - 52 - f

1 1
3 4
=
- 45
=
-
1
ดังนั้น
n(n + 1)
=
+-1)+-)+( 5 + . . . . - il
1 1 1 1
ให้ Sn = + + + ... + + ...
1 2 2  3 3  4 n(n + 1)

= ↑- + - + - + . .. +-
Sn =
=t
=

ดังนั้น #
lim Sn =
n → dim () =

1 - 1 + 12 - 2 + 13 - US + A

1 + 12 - 1 + 3 - 2 + - /3 -#1
1 1 1 1
ตัวอย่าง29 อนุกรม 1 + + + + ... + + ...
2 +1 3+ 2 4+ 3 n + n −1
เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก ถ้าลู่เข้าให้หาผลบวกของอนุกรม
Sa="+
r
จารณา
-I- - - - - 1

+1 -1 2- 1

#rtFire - The
Us- r

ยก

* Sr.him
www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
in
a
·
ตั
ล่
ลู่
พิ
ณิ
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 62

แบบฝึกหัดที่ 4 (ต่อ)
4. จงหาผลบวกของอนุกรมต่อไปนี้ ล เวลขค ต d2 1
ครอบ 6,7,8,9,...

1 1 1 1
1. + + + ... + + ...
6  7 7 8 89 (n + 5)(n + 6)

1 1
พิจารณา
67
= =- 7 8
=

1 1 1 -
= # = 1

89 9 10
1
ดังนั้น
(n + 5)(n + 6)
= -2)
to - ) + (+ +(
- to + " " "tes, toi
1 1 1 1
ให้ Sn = + + + ... + + ...
6  7 7 8 89 (n + 5)(n + 6)

=staff
inthetransitional
=

Sn =

ดังนั้น lim Sn =
n →
comes = to

1 1 1 1 ล บเลขค ต
2. + + + ... + + ... ตรวจ สม ม 1,3,5,7 ....
1 3 3  5 5  7 ( 2n − 1)( 2n + 1) ↓2 2
1 1
พิจารณา
1 3
=
-"It 3 5
=
+(5)
1 1
5 7
=
- 79
=
②( 1 )
1
ดังนั้น
(2n − 1)(2n + 1)
=
#" ) + "
1 1 1 1
ให้ Sn = + + + ... + + ...
1 3 3  5 5  7 ( 2n − 1)( 2n + 1)
=
1 1 -5+ f++++"""+
Sn =
②" anti
ดังนั้น lim Sn =
n →
I lim ?" " when
=
#31 = 1 #
www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก


ดั
ตั
ณิ
ณิ
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 63

+5. จงหาผลบวกของอนุกรมต่อไปนี้
1 1 1 1
1. + + + ... + + ...
1 2  3 2  3  4 3  4  5 n(n + 1)(n + 2)

1 1
พิจารณา = =
1 2  3 2 3 4
1 1
= =
3 4 5 456
1
ดังนั้น =
n(n + 1)(n + 2)

1 1 1 1
ให้ Sn = + + + ... +
1 2  3 2  3  4 3  4  5 n(n + 1)(n + 2)

Sn =

ดังนั้น lim Sn =
n →
=

1 1 1
* 2. 1+ +
1+ 2 1+ 2 + 3
+ ... +
1 + 2 + 3 + ... + n
+ ...

พิจารณา = =

= =

ดังนั้น =

1 1 1
ให้ Sn = 1 + + + ... + + ...
1+ 2 1+ 2 + 3 1 + 2 + 3 + ... + n
=

Sn =

ดังนั้น lim Sn =
n →
=

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 64

+
6. จงหาผลบวกของอนุกรมต่อไปนี้

1.

  9n
 6 

n =1
2
+ 3n − 2 


 1 + 2 + 3 + ... + n 
2.   1
n =1
3 
+ 23 + 33 + ... + n 3 


1
3. n
n −2
2
−1

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
เอกสารประกอบการสอน ลาดับและอนุกรม| 65

05 การประยุกต์ของลาดับและอนุกรม
ดอกเบี้ยทบต้น
การคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นเป็นกลไกที่นาดอกเบี้ยที่ได้รับทบเข้าไปกับเงินต้น ทาให้เงินต้นใหมม่มียอด
สูงขึ้น ดังนั้น เมื่อคิดดอกเบี้ยรอบใหม่ ดอกเบี้ยก็จะสูงขึ้น และเมื่อทบเข้าไปกับเงินต้นใหม่จะทาให้มีมูลค่าเงิน
สูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยทั่วไปสถาบันการเงินจะแจ้งให้ทราบว่า จะคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาแต่ละ
งวดเท่าใด เช่น คานวณดอกเบี้ยทุก 3 เดือน ทุก 6 เดือน หรือทุกปี เมื่อนาดอกเบี้ยที่คานวณได้ไปรวมกับเงิน
ต้น จะเรียกผลรวมนี้ว่าเงินรวม ซึ่งจะเป็นเงินต้นของการค านวณดอกเบี้ยในงวดถัดไป ทาเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ
จนกว่าจะครบระยะเวลาที่ลงทุน

สูตร ดอกเบี้ยทบต้น (ดอกเบี้ยปีละครั้ง)


ถ้าเริ่มฝากเงินด้วยเงินต้น A 0 บาท ได้รับอัตราดอกเบี้ย i% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุกปี
(ปีละครั้ง) แล้วเมื่อสิ้นปีที่ n จะได้เงินรวม A n บาท

An = A 0 (1 + r) n

i
เมื่อ r=
100

ตัวอย่าง30 ฝากเงิน 10,000 บาท กับธนาคารซึ่งให้อัตราดอกเบี้ย 3% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกปี


จงหาเงินรวมเมื่อฝากเงินครบ 2 ปี
เงินต้น A0 = อัตราดอกเบี้ย i = และ n =

เมื่อฝากเงินครบ 2 ปี จะมีเงินรวม = =

สูตร ดอกเบี้ยทบต้น (ดอกเบี้ยปีหลายครั้ง)


ถ้าเริ่มฝากเงินด้วยเงินต้น A 0 บาท ได้รับอัตราดอกเบี้ย i% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นปีละ k
ครั้ง แล้วเมื่อสิ้นปีที่ n จะได้เงินรวม A n บาท
kn
 r
An = A 0 1 + 
 k

i
เมื่อ r=
100

www.mathfirststep.com คณิตศาสตร์ก้าวแรก
·
& I
:
precommerce
ป... ล บและ
สร
immune
อน
*

จุ

ดั
ม่
(ไ ออก
*

#
#



ทฤษ า

3 อ!!
&ไ ไ ออก การ จ
นะน ไปใ เลย า!
พิ
ค่
จ้
ด้
สู

พิ
น์
ข้
ม่
สู
ช้
ฎี
น์

You might also like