You are on page 1of 16

ลำดับและอนุกรม 1

ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)


ลำดับ
นิยาม ลาดับ คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็มบวก n ตัวแรก หรือโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็มบวก
ลาดับ ที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็มบวก n ตัวแรก เรียกว่า ลาดับจากัด
ลาดับ ที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็มบวก เรียกว่า ลาดับอนันต์
จากนิยามจะได้ f(1) , f(2) , f(3) , … , f(n) เป็นลาดับจากัด
และ f(1) , f(2) , f(3) , … , f(n) , ... เป็นลาดับอนันต์
เรียก f(1) ว่า พจน์แรก หรือ พจน์ทหี่ นึ่ง ของลาดับ เขียนแทนด้วย a1
f(2) ว่า พจน์ที่สองของลาดับ เขียนแทนด้วย a2
f(3) ว่า พจน์ที่สามของลาดับ เขียนแทนด้วย a3

f(n) ว่า พจน์ที่ n หรือ พจน์ทั่วไป ของลาดับ เขียนแทนด้วย an
นั่นคือ a1 , a2 , a3 , … , an เป็นลาดับจากัด
และ a1 , a2 , a3 , … , an , … เป็นลาดับอนันต์

กำรเขียนลำดับ
การเขียนลาดับมีวธิ ีเขียนได้ 2 วิธี คือ
1. เขียนโดยแจกแจงพจน์
2. เขียนพจน์ทั่วไป (พจน์ที่ n) พร้อมทั้งระบุสมาชิกในโดเมน

ตัวอย่ำงของลำดับ
 1 , 2 , 3 , 4 , … , 20
 6 , 3 , 0 , -3 , … , -36
1
 an = n 1 , n = 1 , 2 , 3 , …
3
n
 an = sin
2
2n
ตัวอย่างที่ 1 จงหา 4 พจน์แรกของลาดับที่มี an =
n 1

ลำดับและอนุกรม 2

แบบฝึกหัด
จงเขียน 4 พจน์แรกของลาดับต่อไปนี้
1. an = 2n – 3 1
4. an = n –
n

2. an = n3 + 3n
n2
5. an =
n3

3. an = (-1)n(2n – 1)

กำรหำพจน์ทั่วไปของลำดับ
1 1 1
ตัวอย่างที่ 1 จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับ 1 , , , , ...
2 4 8

2 3 4 5
ตัวอย่างที่ 2 จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับ , , , , ...
3 4 5 6

ลำดับและอนุกรม 3

แบบฝึกหัด
เขียนพจน์ที่ n ของลาดับต่อไปนี้
1. 1 , 2 , 4 , 8 , …

2. 1 , -1 , 1 , -1 , 1 , …

3. 0.5 , 0.05 , 0.005 , 0.0005 , …

4. 2 ,2,2 2 ,4,…

5. 3 , 9 , 27 , 81 , …

6. 3 , 12 , 27 , 48 , …

จงเขียน 5 พจน์แรกของลาดับเมื่อกาหนดเงื่อนไขต่อไปนี้
1. a1 = 2 ; an+1 = (an)n

2. a1 = 1 ; an+1 = an

1
3. a1 = 2 ; an+1 =
an
ลำดับและอนุกรม 4

ลำดับเลขคณิต
นิยาม ลาดับเลขคณิต คือ ลาดับที่ผลต่างของพจน์ที่ n+1 และพจน์ที่ n มีค่าคงที่ เรียกค่าคงที่นี้วา่ ผลต่ำงร่วม
เขียนแทนด้วย d
จากนิยามจะได้ d = an+1 – an และ
an+1 = an + d เมื่อ nI+

ตัวอย่ำงของลำดับเลขคณิต
 1 , 3 , 5 , 7 , … , 99 d = 2
 6 , 3 , 0 , -3 , … , -27 d = ……………..
1 2
 2,2 ,2 ,3,…,9 d = ………………
3 3
 5,5,5,5,… d = ……………….

รูปทั่วไปของลำดับเลขคณิต
กาหนดให้ a1 เป็นพจน์แรกของลาดับ และ d เป็นผลต่างร่วม
ดังนั้น รูปทั่วไปของลาดับเลขคณิต คือ
a1 , a1+d , a1+2d , a1+3d , … , a1+(n-1)d
 พจน์ทั่วไปของลาดับเลขคณิต = a1+(n-1)d
นั่นคือ
an = a1+(n-1)d

ตัวอย่างที่ 1 จงหาพจน์ที่ 30 ของลาดับเลขคณิต 1 , 4 , 7 , 10 , …

ตัวอย่างที่ 2 ลาดับเลขคณิต 5 , 9 , 13 , 17 , … , 101 มีกี่พจน์


ลำดับและอนุกรม 5

ตัวอย่างที่ 3 ถ้า 13 , x , 25 เรียงกันเป็นลาดับเลขคณิต จงหาค่า x

ตัวอย่างที่ 4 ลาดับเลขคณิตชุดหนึ่ง มีพจน์แรกเท่ากับ 6 และพจน์ที่ 15 เท่ากับ -36 จงเขียน 4 พจน์แรก

ตัวอย่างที่ 5 ลาดับเลขคณิตลาดับหนึ่งมีพจน์ที่ 5 เท่ากับ 30 และพจน์ที่ 10 เท่ากับ 55 จงหาพจน์ที่ 31

ตัวอย่างที่ 6 จานวนเต็มบวกระหว่าง 100 และ 500 ที่หารด้วย 9 ลงตัวมีกี่จานวน


ลำดับและอนุกรม 6

แบบฝึกหัด
จงหาพจน์ที่ 20 ของลาดับเลขคณิต 1 , 5 , 9 , …

จงหาพจน์ที่ 12 ของลาดับเลขคณิต 15 , 12 , 9 , …

จงหาพจน์ที่ 18 ของลาดับเลขคณิต 2 , 1.7 , 1.4 , …

จงหาพจน์ที่ 9 ของลาดับเลขคณิต -5 , -3.5 , -2 , …

จงหาพจน์ที่ 30 ของลาดับเลขคณิต -7.5 , -3.4 , -0.7 , …

กาหนดให้ลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 1 เป็น 3 ผลต่างร่วมเป็น -3 ถ้า an = -15 จงหาค่าของ n

กาหนดให้ลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 1 เป็น 21 และพจน์ที่ 6 เป็น 6 จงหาผลต่างร่วม

7
กาหนดลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 10 เป็น 28 และผลต่างร่วมเป็น จงหาพจน์ที่ 1
2

จงหาพจน์ที่ 25 ของลาดับเลขคณิต -2 , -4 , -8 , …

จงหาพจน์ที่ 29 ของลาดับเลขคณิต x , x+2 , x+4 , …


ลำดับและอนุกรม 7

จงหาพจน์ที่ 31 ของลาดับเลขคณิต x-7 , x-2 , x+3 , …

7 10
จงหาพจน์ที่ n ของลาดับเลขคณิต 1 , , ,…
4 4

1
จงหาพจน์ที่ n ของลาดับเลขคณิต 7 , 6 ,6,…
2

จงหาจานวนพจน์ที่อยู่ในลาดับเลขคณิตต่อไปนี้
 50 , 47 , 44 , … , 14

 20 , 16 , 12 , … , -96

 407 , 401 , 369 , … , -133

 2 , -9 , -20 , … , -130

 -1 , -6 , -11 , … , -176
ลำดับและอนุกรม 8

1 1
จงหาพจน์กลาง 1 พจน์ของลาดับเลขคณิตระหว่าง กับ
2 6

ถ้า 21 , x , y , 12 เรียงกันเป็นลาดับเลขคณิต จงหาค่าของ x และ y

ถ้าพจน์ที่ 6 และพจน์ที่ 24 ของลาดับเลขคณิตเท่ากับ 27 และ 81 ตามลาดับ จงเขียนลาดับเลขคณิตนี้


ลำดับและอนุกรม 9

จงหา 3 พจน์แรกของลาดับเลขคณิตที่กาหนดเงื่อนไขต่อไปนี้
1) a3 = 0 , a5 = 13

2) a12 = 20 , a45 = 86

3) a7 = 7b+5c , a11 = 11b+9c

4) a5 = 7x-8y , a21 = 23x-40y

จงหาค่าของ x ที่ทาให้ a , x , b เรียงกันเป็นลาดับเลขคณิต

จงหาจานวนที่อยู่ระหว่าง 39 และ 51 ที่ทาให้ทั้งสามจานวนเรียงกันเป็นลาดับเลขคณิต

ถ้า p , 5p , 6p+9 เป็นพจน์ 3 พจน์ที่เรียงกันเป็นลาดับเลขคณิต จงหาค่า p


ลำดับและอนุกรม 10

ถ้าพจน์ที่ 10 และพจน์ที่ 18 ของลาดับเลขคณิตเท่ากับ 32 และ 48 ตามลาดับ จงหาพจน์ที่ 16

จานวนที่อยูร่ ะหว่าง 100 และ 1000 ที่หารด้วย 13 ลงตัวมีกี่จานวน

จงหาจานวนของจานวนเต็มลบที่มีคา่ มากกว่า -500 ที่หารด้วย 33 ลงตัว

จานวนที่อยูร่ ะหว่าง 32 และ 400 ที่หารด้วย 9 แล้วเหลือเศษ 4 มีกี่จานวน

ในลาดับเลขคณิต ถ้าพจน์ที่ m มีค่าเท่ากับ n และพจน์ที่ n มีค่าเท่ากับ m จงหาค่าของพจน์ที่ m+n


ลำดับและอนุกรม 11

ลำดับเรขำคณิต
นิยาม ลาดับเรขาคณิตคือ ลาดับที่มอี ัตราส่วนของพจน์ที่ n+1 และพจน์ที่ n มีค่าคงที่ เรียกค่าคงที่นี้ว่า
อัตราส่วนร่วม เขียนแทนด้วย r
a
จากนิยามจะได้ r = n 1 และ an+1 = anr เมื่อ nI+
an

ตัวอย่ำงของลำดับเรขำคณิต
 1 , 2 , 4 , 8 , … , 1024 r = 2
1 1 1
 1, , ,…, r = ………….
3 9 243
 2,2,2,2,… r = …………..

รูปทั่วไปของลำดับเรขำคณิต
กาหนดให้ a1 เป็นพจน์แรกของลาดับ และ r เป็นอัตราส่วนร่วม
ดังนั้น รูปทั่วไปของลาดับเรขาคณิต คือ
a1 , a1r , a1r2 , a1r3 , … , a1rn-1
 พจน์ทั่วไปของลาดับเรขาคณิต = a1rn-1
นั่นคือ
an = a1rn-1

1 1
ตัวอย่างที่ 1 จงหาพจน์ที่ 10 ของลาดับเรขาคณิต 1 , , ,…
2 4

1
ตัวอย่างที่ 2 ลาดับเรขาคณิต 64 , -32 , 16 , … , - มีกพี่ จน์
8
ลำดับและอนุกรม 12

ตัวอย่างที่ 3 จงหาจานวนจริงที่อยู่ระหว่าง 4 และ 36 ซึ่งทาให้จานวนทั้งสามเรียงเป็นลาดับเรขาคณิต

1
ตัวอย่างที่ 4 ลาดับเรขาคณิตลาดับหนึ่ง มีพจน์แรกเท่ากับ 3 และพจน์ที่ 3 เท่ากับ จงหาพจน์ที่ 6 ของลาดับนี้
3

ตัวอย่างที่ 5 ผลบวกของ 3 พจน์แรกของลาดับเรขาคณิตเป็น -3 และผลคูณของ 3 จานวนเป็น 8 จงหาลาดับนี้

ตัวอย่างที่ 6 ถ้าจัดแผ่นไม้กองหนึ่งซ้อนกัน ให้ไม้ชั้นล่างมีไม้เรียงตามยาวชิดกันตลอด 52 แผ่น วางชั้นที่สองให้


แนวกึ่งกลางของไม้แต่ละแผ่นในชั้นนี้อยู่ตรงรอยต่อของไม้แต่ละคู่ในชั้นแรก ทาเช่นนี้ต่อไปเรื่อยๆ จนชั้นบนสุดมีไม้
7 แผ่น จงหาว่าไม้กองนี้มีกี่ชิ้น
ลำดับและอนุกรม 13

แบบฝึกหัด
จงหาพจน์ที่ 7 ของลาดับเรขาคณิต 8 , 4 , 2 , …

4
จงหาพจน์ที่ 6 ของลาดับเรขาคณิต 3 , -2 , ,…
3

ลาดับเรขาคณิตมีพจน์ที่ 3 เป็น 12 อัตราส่วนร่วมเป็น -2 ถ้า an = 768 จงหาค่าของ n

27 1
ลาดับเรขาคณิตมีพจน์ที่ 1 เป็น และพจน์ที่ 3 เป็น จงหาอัตราส่วนร่วม
24 8

จงหาพจน์กลาง 1 พจน์ ของลาดับเรขาคณิต ที่อยูร่ ะหว่าง 6 กับ 24

จงหาพจน์กลาง 1 พจน์ ของลาดับเรขาคณิต ที่อยูร่ ะหว่าง 3 กับ 96


ลำดับและอนุกรม 14

ถ้าพจน์ที่ 4 และพจน์ที่ 9 ของลาดับเรขาคณิตเท่ากับ -24 และ 768 ตามลาดับ จงหาพจน์ที่ n

ถ้าลาดับเรขาคณิตมี a1  a2  a3 = 64 และ a1 = 12 จงเขียนลาดับเรขาคณิตนี้

เมื่อนาจานวน ๆ หนึ่งไปบวกกับแต่ละจานวนต่อไปนี้ คือ 3 , 20 และ 105 แล้ว ผลบวกที่ได้เรียงกันเป็นลาดับ


เรขาคณิต จงหาจานวนที่นาไปบวกกับจานวนเหล่านั้น

คน 3 คน อายุ 10 , 18 และ 30 ปี จงหาว่าอีกกี่ปอี ายุของคนทั้งสามจะเรียงเป็นลาดับเรขาคณิต

ถ้า (a+2) , (a+10) , (a+34) เป็นสามพจน์ที่เรียงกันเป็นลาดับเรขาคณิต จงหาพจน์ที่ n ของลาดับต่อไปนี้


ลำดับและอนุกรม 15

แบบฝึกหัด
จงหาพจน์ที่ 7 และพจน์ที่ 16 ของลาดับ 21 , 18 , 15 , …

จงหาพจน์ที่ n ของลาดับ 0.25 , 1 , 4 , 16 , …

จงหาพจน์ที่ 30 ของลาดับ x-y , x , x+y , …

จงหาพจน์ที่ 7 ของลาดับ 9 , -6 , 4 , …

จงหาพจน์ที่ n ของลาดับ x , -x , -3x , …

จานวนที่อยูร่ ะหว่าง 100 และ 500 ที่หารด้วย 6 ลงตัว มีกี่จานวน

ชายคนหนึ่งเริ่มทางานปีแรกเขามีรายได้ 60,000 บาท ในปีตอ่ ๆ มาเขามีรายได้เพิ่มขึ้น 10% ของปีก่อนหน้า จง


หาว่าในปีที่ 5 เขาจะมีรายได้เท่าไร

กองไม้วางซ้อนกันเป็นชั้น ๆ แต่ละชั้นมีจานวนไม้ต่างกัน 3 ท่อน ถ้าชั้นบนสุดมี 70 ท่อน ชั้นล่างสุดมี 376 ท่อน


กองไม้กองนี้มีกี่ชั้น

จะมีจานวนเต็มกี่จานวนที่อยูใ่ นช่วง (2013 , 2556) ที่หารด้วย 7 แล้วเหลือเศษ 3

ถ้าผลบวกของเลข 3 จานวนเรียงกันในลาดับเลขคณิตเป็น 27 และผลบวกของกาลังสองของแต่ละพจน์เป็น 293


จงหาเลขทั้งสาม
ลำดับและอนุกรม 16

อนุกรมจำกัด
นิยาม กาหนดลาดับ a1 , a2 , a3 , … , an , … เรียกการแสดงผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของลาดับ ซึ่งอยู่ใน
รูป a1 + a2 + a3 + … + an + … ว่า อนุกรม (Series)

ตัวอย่ำงของอนุกรม
 1 + 3 + 5 + 7 + ... + 99
1 1 1
 1 + + + ... + n-1 + …
2 4 2

หมำยเหตุ
1. อนุกรมที่มาจากลาดับจากัด เรียกว่า อนุกรมจากัด
2. อนุกรมที่มาจากลาดับอนันต์ เรียกว่า อนุกรมอนันต์
3. อนุกรมที่มาจากลาดับเลขคณิต เรียกว่า อนุกรมเลขคณิต
4. อนุกรมที่มาจากลาดับเรขาคณิต เรียกว่า อนุกรมเรขาคณิต

สัญลักษณ์แทนกำรบวก ()
ถ้ากาหนดอนุกรม a1 + a2 + a3 + … + an + …
n
ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมมีค่าเท่ากับ a1 + a2 + a3 + … + an ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์  a i
i 1

ตัวอย่ำง
20
 1 + 2 + 3 + 4 + ... + 20 = i
i 1
5
2
 12 + 22 + 32 + 42 + 52 = i
i 1
15
 (1-2) + (2-2) + (3-2) + … (15-2) =  (i - 2)
i 1

 2+4+6+8+… =  2i
i 1
50
 1 + 3 + 5 + 7 + … + 99 =  (2i - 1)
i 1

You might also like