You are on page 1of 55

แผนการจัดการเรียนรู้ลำดับที่ 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค21102


หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เวลาทั้งหมด 16 ชั่วโมง
เรื่อง การเตรียมความพร้อมก่อนรู้จักสมการ เวลา 2 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2566 โรงเรียนหนองบ่อสามัคคีวิทยา
ชื่อผู้จัดการเรียนรู้ นางสาวพงศ์ภรณ์ ส่งเสริม วันที.่ ....เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้

ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจสมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจำนวน เพื่อวิเคราะห์และ
แก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

สาระการเรียนรู้
การหาค่านิพจน์พีชคณิต การเขียนนิพจน์พีชคณิต

สาระสำคัญ
ตัวแปร (Variable) คือ จำนวนที่ยังไม่ทราบค่าแน่นอน และสามารถเปลี่ยนค่าได้ มักแทนด้วย
ตัวอักษรภาษาอังกฤษ
นิพจน์พีชคณิต (Algebraic Expression) เป็นนิพจน์ที่ประกอบไปด้วยค่าคงตัวและตัวแปร ซึ่งอยู่
ในรูปการดำเนินการต่าง ๆ
การหาค่านิพจน์พีชคณิต สามารถทำได้โดยแทนตัวแปรในนิพจน์พีชคณิตด้วยจำนวนที่ต้องการแล้ว
คำนวณหาค่าของนิพจน์
การเขียนนิพจน์พีชคณิตจากสถานการณ์ที่กำหนดให้ และการเขียนพิสูจน์ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย โดย
ใช้ความรู้เกี่ยวกับสมบัติการแจกแจง

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายและสัญลักษณ์ของปัญหาและตัวแปร (K)
2. ระบุและเขียนแสดงตัวแปรแทนสิ่งที่ไม่ทราบค่าในประโยคคณิตศาสตร์ (P)
3. มีความรับผิดชอบในการทำงาน (A)
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

กระบวนการจัดการเรียนรู้
ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ มี 3 ขั้นตอน
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียนทบทวนความรู้ที่นักเรียนเคยเรียนมาในระดับประถมศึกษาแล้ว ในเรื่องประโยค
สัญลักษณ์พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ให้นักเรียนหาจำนวนที่อยู่ในช่องว่างโดยการถาม – ตอบ เพื่อกระตุ้นความคิด
ของนักเรียน ดังนี้
จำนวนใดที่เติมลงในช่องว่างแล้วทำให้ประโยคสัญลักษณ์เป็นจริง
1) 3 + =5
2) 2 x = 8
3) 18 ÷ =9
2. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวประโยคสัญลักษณ์ที่มีเครื่องหมาย (=) เรียกว่า “สมการ”
3. นักเรียนทำกิจกรรมข้าสู่บทเรียนโดยการยกตัวอย่างสถานการณ์เรื่อง “เงินใคร...มีเท่าไรกัน”
โดยเล่าจาก สถานการณ์ว่า ถ้ามีคนบอกว่า “ภูมิมีเงินเป็นสองเท่าของพฤกษ์” จะได้ว่า
ถ้าพฤกษณ์มีเงิน 1 บาท ภูมิจะมีเงิน 2 x 1 = 2 บาท
ถ้าพฤกษณ์มีเงิน 2 บาท ภูมิจะมีเงิน 2 x 2 = 4 บาท
4. นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า ถ้าพฤกษณ์มีเงิน 3 บาท ภูมิจะมีเงินเท่าไร และถ้าพฤกษณ์มีเงิน
4 บาท ภูมิจะมีเงินเท่าไร
5. นักเรียนสรุปจากสถานการณ์ได้ว่า เราไม่ทราบว่าพฤกษณ์มีเงินกี่บาท อาจจะมี 1 บาท 2 บาท
3 บาท หรือเท่าใรก็ได้ เราจะแทนจำนวนเงินที่ไม่ทราบค่าของพฤกษ์ว่า x ซึ่งเราจะเรียก x ว่าตัวแปร
(Variable) และเนื่องจากจำนวนเงินของภูมิคือ 2 เท่าของพฤกษณ์ เราจึงแทนจำนวนเงินของภูมิด้วย 2x และ
จะเรียก 2x ว่า นิพจน์พีชคณิต (Algebraic Expression)
ขั้นที่ 2 ขั้นเรียนรู้
6. นักเรียนร่วมกันอภิปรายนิพจน์พีชคณิตอื่น ๆ เช่น 8x , x + 7 , 2x-1 นักเรียนจะ
เห็นว่านิพจน์พีชคณิตประกอบด้วย ค่าคงตัวและตัวแปร ซึ่งตัวแปรจะนิยมแทนด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ
ตัวพิมพ์เล็ก
7. นักเรียนทำกิจกรรมนิพจน์พีชคณิต ใน Blooket
8. นักเรียนร่วมกันพิจารณาพีชคณิตนิพจน์หนึ่ง การหาค่าของนิพจน์พีชคณิตนั้น เราสามารถ
ทำได้โดยแทนตัวแปรในนิพจน์ด้วยจำนวนที่ต้องการ แล้วคำนวณหาค่าของนิพจน์พีชคณิตนั้น จากนั้นครู
ยกตัวอย่างการหาค่าของนิพจน์พีชคณิต ดังนี้
ตัวอย่างที่ 1 4(7+x) เมื่อ x=13
เมื่อแทน x ด้วย 13 ใน 4(7+x)
จะได้ 4(7+x) = 4(7+13)
= 4(20)
= 80
5k 2 +8
ตัวอย่างที่ 2 เมื่อ k = 2
2
5k 2 +8
เมื่อแทน k ด้วย 2 ใน
2
5k 2 +8 5(2)2 +8
จะได้ =
2 2
5(4)+8
=
2
= 14
ตัวอย่างที่ 3 6m+5(p - 2) เมื่อ m = -5 และ p = 3
เมื่อแทน m ด้วย -5 และแทน p ด้วย 3 ใน 6m+5(p - 2)
จะได้ 6m+5(p - 2) = 6(-5) + 5(3-2)
= (-30) + 5(1)
= (-30) + 5
= -25

ขั้นที่ 3 ขั้นนำไปใช้
9. นักเรียนทำแบบฝึกหัด 1.1 ก ลงในสมุด เสร็จแล้วนำส่งครู
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียนร่วมกันพิจารณาสถานการณ์หรือข้อความ โดยการเล่าเรื่องและใช้รูปภาพประกอบการ
ในการเล่าและใช้คำถามกระตุ้นความคิดดังนี้
ตัวอย่างที่ 4 ลิซ่าซื้อไอศกรีมมาสองโคน ถ้าไอศกรีมโคนหนึ่งราคา a บาท
และอีกโคนหนึ่งราคา 30 บาท

a บาท 30 บาท

1) จากข้อความข้างต้นนักเรียนสามารถเขียนนิพจน์พีชคณิตแทนข้อความได้อย่างไร
2) ลิซ่าต้องจ่ายเงินกี่บาท
ขั้นที่ 2 ขั้นเรียนรู้
2. นักเรียนร่วมกันอภิปรายตัวอย่างข้อความที่เป็นสถานการณ์เพื่อเขียนนิพจน์พีชคณิตของ
สถานการณ์นั้น ๆ
3. นักเรียนพิจารณาการเขียนนิพจน์ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย

ขั้นที่ 3 ขั้นนำไปใช้
4. นักเรียนทำแบบฝึกหัด 1.1 ข ลงในสมุด ทำเสร็จแล้วนำส่งครู

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2
2. กิจกรรมนิพจน์พีชคณิต ใน Blooket
กระบวนการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือการประเมิน วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน
1. อธิบายความหมาย แบบฝึกหัด 1.1 ก ตรวจแบบฝึกหัด 1.1 ก ระดับคุณภาพ 2
และสัญลักษณ์ของ ผ่านเกณฑ์
ปัญหาและตัวแปร (K)
2. ระบุและเขียนแสดง แบบฝึกหัด 1.1 ข ตรวจแบบฝึกหัด 1.1 ข ระดับคุณภาพ 2
ตัวแปรแทนสิ่งที่ไม่ทราบ ผ่านเกณฑ์
ค่าในประโยค
คณิตศาสตร์ (P)
3. มีความรับผิดชอบใน แบบสังเกตพฤติกรรม สังเกตพฤติกรรมการ ระดับคุณภาพดี
การทำงาน (A) รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)

แบบประเมินแบบฝึกหัด
รายการการประเมิน ระดับคุณภาพ
4 3 2 1
1. อธิบาย อธิบายความหมายและ อธิบายความหมายและ อธิบายความหมายและ อธิบายความหมายและ
ความหมายและ สัญลักษณ์ของปัญหา สัญลักษณ์ของปัญหา สัญลักษณ์ของปัญหา สัญลักษณ์ของปัญหา
สัญลักษณ์ของ และตัวแปร พร้อมทั้ง และตัวแปร พร้อมทั้ง และตัวแปร พร้อมทั้ง และตัวแปร พร้อมทั้ง
ปัญหาและตัวแปร ระบุและเขียนแสดงตัว ระบุและเขียนแสดงตัว ระบุและเขียนแสดงตัว ระบุและเขียนแสดงตัว
(K) แปรแทนสิ่งที่ไม่ทราบค่า แปรแทนสิ่งที่ไม่ทราบค่า แปรแทนสิ่งที่ไม่ทราบค่า แปรแทนสิ่งที่ไม่ทราบค่า
2. ระบุและเขียน ในประโยคคณิตศาสตร์ ในประโยคคณิตศาสตร์ ในประโยคคณิตศาสตร์ ในประโยคคณิตศาสตร์
แสดงตัวแปรแทนสิ่ง ได้ถูกต้องแม่นยำ ได้ถูกต้องแม่นยำ ได้ถูกต้อง โดยดูตัวอย่าง ได้ ถ ู ก ต้ อ ง โดยครู ต ้ อ ง
ที่ไม่ทราบค่าใน ครบทุกข้อด้วยตนเอง ครบทุกข้อด้วยตนเอง จากหนังสือและให้เพื่อน แนะนำและดูตัวอย่าง
ประโยคคณิตศาสตร์ พร้อมทั้งสามารถอธิบาย อธิบายบางข้อ จากหนังสือประกอบทุก
(P) ให้เพื่อนเข้าใจได้ ข้อ
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมของครูพี่เลี้ยง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

(ลงชื่อ)……………………………………..
(นางจารุวรรณ พละสกุล)
ตำแหน่งครูพี่เลี้ยง
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

ลงชื่อ..............................................ผู้ตรวจ
(นายดิลก ราตรี)
หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์

ความคิดเห็นของกลุ่มบริหารวิชาการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

ลงชื่อ..............................................ผู้ตรวจ
(นางจารุวรรณ พละสกุล)
กลุ่มบริหารวิชาการ
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

(ลงชื่อ)……………………………………..
(นางจิรกานต์ สุภสร )
ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
2. ปัญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
3. แนวทางการแก้ไขปัญหา
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
กิจกรรมเสนอแนะ
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
คะแนนที่ได้จากการวัดผล
คะแนน
แบบ แบบ
รวม ระดับ ผลการ
เลขที่ ชื่อ-สกุล ฝีกหัด ฝึกหัด
(8) คุณภาพ ตัดสิน
1.1 ก 1.1 ข
(4) (4)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
คะแนน
แบบ แบบ
รวม ระดับ ผลการ
เลขที่ ชื่อ-สกุล ฝีกหัด ฝึกหัด
(8) คุณภาพ ตัดสิน
1.1 ก 1.1 ข
(4) (4)
27
28
29
30
31
32
รวม - -
ค่าเฉลี่ย - -
ร้อยละ - -
แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
กลุ่มสาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/…….
พฤติกรรม รวม สรุปผลการ
ประเมิน
ชื่อ-สกุล มีความ มุ่งมั่นในการ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ผ่าน ไม่
ลำดับที่

รับผิดชอบในการ ทำงาน ผ่าน


ทำงาน
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
พฤติกรรม รวม สรุปผลการ
ประเมิน
ชื่อ-สกุล มีความ มุ่งมั่นในการ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ผ่าน ไม่
ลำดับที่

รับผิดชอบในการ ทำงาน ผ่าน


ทำงาน
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 20
21
22
23
24
25

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ = ดีมาก = 5 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = ดี = 4 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง = ปานกลาง = 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง = พอใช้ = 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมนานๆ ครั้ง = ปรับปรุง = 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
20 – 17 ดีมาก
16 – 13 ดี
12 – 9 ปานกลาง
8–5 พอใช้
4–0 ปรับปรุง

ลงชื่อ………………………………………………...ผู้ประเมิน
( นางสาวพงศ์ภรณ์ ส่งเสริม )
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
………/………………../……………...
ภาคผนวก
https://dashboard.blooket.com/set/653c6b88d173075badf75baf
แผนการจัดการเรียนรู้ลำดับที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค21102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เวลาทั้งหมด 16 ชั่วโมง
เรื่อง สมการและคำตอบของสมการ เวลา 2 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2566 โรงเรียนหนองบ่อสามัคคีวิทยา
ชื่อผู้จัดการเรียนรู้ นางสาวพงศ์ภรณ์ ส่งเสริม วันที.่ ....เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้

ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจสมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจำนวน เพื่อวิเคราะห์และ
แก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

สาระการเรียนรู้
สมการ คำตอบของสมการ

สาระสำคัญ
สมการ เป็นประโยคที่แสดงการเท่ากันของจำนวนหรือนิพจน์พีชคณิตโดยมีเครื่องหมายเท่ากับ (=)
บอกการเท่ากัน
คำตอบของสมการ คือ จำนวนที่แทนตัวแปรในสมการแล้วทำให้ได้สมการที่เป็นจริง

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายและสัญลักษณ์ของสมการที่เป็นจริงหรือเท็จ และคำตอบของสมการ (K)
2. ระบุและเขียนสมการที่เป็นจริงและเท็จ (P)
3. มีความรับผิดชอบในการทำงาน (A)

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

กระบวนการจัดการเรียนรู้
ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ มี 3 ขั้นตอน
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียนทบทวนความรู้เดิม โดยการถาม-ตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
1) ในการแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์ ถ้ามีจำนวนที่ไม่ทราบค่าจะทำอย่างไร
2) ตัวแปรที่นิยมใช้ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง
2. นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น โดยใช้คำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
ถ้าต้องการหาประโยคภาษาทางคณิตศาสตร์จะทำอย่างไร
ขั้นที่ 2 ขั้นเรียนรู้
3. นักเรียนพิจารณาตัวอย่างประโยคภาษาบนกระดาน แล้วตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
1) พิจารณาประโยคภาษาต่อไปนี้
1. จำนวนจำนวนหนึ่งบวกด้วยหกเท่ากับเก้า
2. สี่น้อยกว่าห้า
3. จำนวนจำนวนหนึ่งบวกด้วยหกน้อยกว่าเก้า
4. จำนวนจำนวนหนึ่งคูณด้วยเก้ามากกว่าเจ็ดสิบสอง
5. จำนวนจำนวนหนึ่งหารด้วยสิบสองมากกว่าเจ็ด
2) จากข้อ 1-5 เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร
3) จากตัวอย่างข้อ 1-5 ประโยคสัญลักษณ์ใดบ้างที่มีตัวแปร
4) จากตัวอย่างข้อ 1-5 ประโยคสัญลักษณ์ในข้อใดบ้างที่ไม่มีตัวแปร
4. นักเรียนพิจารณาตัวอย่างประโยคภาษาบนกระดาน แล้วตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
1) พิจารณาประโยคภาษาต่อไปนี้
1.1 จำนวนจำนวนหนึ่งบวกด้วยหกเท่ากับเก้า
1.2 จำนวนจำนวนหนึ่งลบด้วยเก้าเท่ากับสิบแปด
1.3 สองเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งเท่ากับสี่สิบสอง
1.4 จำนวนจำนวนหนึ่งหารด้วยเจ็ดเท่ากับสิบสาม
2) จากข้อ 1-4 สามารถเขียนประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างไร
3) ประโยคสัญลักษณ์ใดบ้างที่เรียกว่าสมการ
4) ประโยคสัญลักษณ์ที่เรียกว่าสมการมีสัญลักษณ์เป็นอย่างไร
5. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
1) ประโยคสัญลักษณ์ที่เขียนแทนประโยคภาษาจำเป็นต้องมีตัวแปรหรือไม่
2) ประโยคสัญลักษณ์ สัญลักษณ์ที่เรียกว่า สมการ จะมีสัญลักษณ์ใดบอกความสัมพันธ์
ของจำนวนสองจำนวน
ขั้นที่ 3 ขั้นนำไปใช้
6. นักเรียนทำแบบฝึกหัด 1.1 ข ลงในสมุด

ชั่วโมงที่ 2
ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียนทบทวนความรู้เดิม และตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
1) ประโยคสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความเท่ากันของจำนวน เรียกว่าอะไร
2) ใช้สัญลักษณ์ใดในการเขียนสมการ
2. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นโดยใช้คำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
1) จะทราบได้อย่างไรว่าสมการที่กำหนดเป็นจริงหรือเท็จ และคำตอบของสมการคืออะไร
ขั้นที่ 2 ขั้นเรียนรู้
3. นักเรียนพิจารณาตัวอย่าง และตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
พิจารณาสมการ 9x = 72
1) อะไรคือตัวแปรของสมการ
2) ถ้าแทน x ด้วย 7 จะได้สมการที่เป็นจริงหรือเท็จ เพราะเหตุใด
3) ถ้าแทน x ด้วย 8 จะได้สมการที่เป็นจริงหรือเท็จ เพราะเหตุใด
4. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
1) จากตัวอย่างของกิจกรรม จำนวนที่แทนตัวแปรแล้วทำให้สมการเป็นจริงเรียกว่าอะไร
2) จำนวนที่แทนตัวแปรแล้วทำให้สมการเป็นเท็จ เป็นคำตอบของสมการหรือไม่
5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายในหัวข้อสมการจะเป็นจริงหรือเท็จนั้นขึ้นอยู่กับอะไร
6. นักเรียนพิจารณาสมการต่อไปนี้
1) 13 + x = 30
2) 2y – 15 = 5
3) Z + 18 =21
จากนั้นร่วมกันหาค่าของจำนวนที่ทำให้สมการเป็นจริง ดังนี้
1. จำนวนใดที่แทน x ในสมการ 13 + x = 30 แล้วทำให้สมการ 13 + x = 30 เป็นจริง
2. จำนวนใดที่แทน y ในสมการ 2y – 15 = 5 แล้วทำให้สมการ 2y – 15 = 5 เป็นจริง
3. จำนวนใดที่แทน z ในสมการ Z + 18 =21 แล้วทำให้สมการ Z + 18 =21เป็นจริง
4. นักเรียนคิดว่าจำนวนใด ๆ ที่แทนตัวแปรในสมการแล้วทำให้สมการนั้นเป็นจริงเรียกว่าอะไร
ขั้นที่ 3 ขั้นนำไปใช้
5. นักเรียนทำแบบฝึกหัด 1.2 ลงในสมุด
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2

กระบวนการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือการประเมิน วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน
1.อธิบายความหมาย แบบฝึกหัด 1.2 ตรวจแบบฝึกหัด 1.2 ระดับคุณภาพ 2
และสัญลักษณ์ของ ผ่านเกณฑ์
สมการที่เป็นจริงหรือ
เท็จ และคำตอบของ
สมการ (K)
2. ระบุและเขียนสมการ แบบฝึกหัด 1.2 ตรวจแบบฝึกหัด 1.2 ระดับคุณภาพ 2
ที่เป็นจริงและเท็จ (P) ผ่านเกณฑ์
3. มีความรับผิดชอบใน แบบสังเกตพฤติกรรม สังเกตพฤติกรรมการ ระดับคุณภาพดี
การทำงาน (A) รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านไป
แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)

แบบประเมินแบบฝึกหัด

รายการการประเมิน ระดับคุณภาพ
4 3 2 1
1.อธิบายความหมาย อธิบายความหมายและ อธิบายความหมายและ อธิบายความหมายและ อธิบายความหมายและ
และสัญลักษณ์ของ สัญลักษณ์ของสมการที่ สัญลักษณ์ของสมการที่ สัญลักษณ์ของสมการที่ สัญลักษณ์ของสมการที่
สมการที่เป็นจริงหรือ เป็นจริงหรือเท็จ และ เป็นจริงหรือเท็จ และ เป็นจริงหรือเท็จ และ เป็นจริงหรือเท็จ และ
เท็จ และคำตอบของ คำตอบของสมการ คำตอบของสมการ คำตอบของสมการ คำตอบของสมการ
สมการ (K) พร้อมทั้ง ระบุและเขียน พร้อมทั้ง ระบุและเขียน พร้อมทั้ง ระบุและเขียน พร้อมทั้ง ระบุและเขียน
2. ระบุและเขียน สมการทีเ่ ป็นจริงและ สมการทีเ่ ป็นจริงและ สมการทีเ่ ป็นจริงและ สมการทีเ่ ป็นจริงและ
สมการที่เป็นจริงและ เท็จ ได้ถูกต้องแม่นยำ เท็จได้ถูกต้องแม่นยำ เท็จ ได้ถูกต้อง โดยดู เท็จ ได้ถูกต้อง โดยครู
เท็จ (P) ครบทุกข้อด้วยตนเอง ครบทุกข้อด้วยตนเอง ตัวอย่างจากหนังสือและ ต้องแนะนำและดู
พร้อมทั้งสามารถอธิบาย ให้เพื่อนอธิบายบางข้อ ตัวอย่างจากหนังสือ
ให้เพื่อนเข้าใจได้ ประกอบทุกข้อ
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมของครูพี่เลี้ยง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

(ลงชื่อ)……………………………………..
(นางจารุวรรณ พละสกุล)
ตำแหน่งครูพี่เลี้ยง
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

ลงชื่อ..............................................ผู้ตรวจ
(นายดิลก ราตรี)
หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์

ความคิดเห็นของกลุ่มบริหารวิชาการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

ลงชื่อ..............................................ผู้ตรวจ
(นางจารุวรรณ พละสกุล)
กลุ่มบริหารวิชาการ
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

(ลงชื่อ)……………………………………..
(นางจิรกานต์ สุภสร )
ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
2. ปัญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
3. แนวทางการแก้ไขปัญหา
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
กิจกรรมเสนอแนะ
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
คะแนนที่ได้จากการวัดผล
คะแนน
แบบ แบบ
ฝีกหัด ฝีกหัด รวม ระดับ ผลการ
เลขที่ ชื่อ-สกุล
1.2 1.2 (8) คุณภาพ ตัดสิน
ข้อ1 ข้อ2
(4) (4)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
คะแนน
แบบ แบบ
ฝีกหัด ฝีกหัด รวม ระดับ ผลการ
เลขที่ ชื่อ-สกุล
1.2 1.2 (8) คุณภาพ ตัดสิน
ข้อ1 ข้อ2
(4) (4)
26
27
28
29
30
31
32
รวม - -
ค่าเฉลี่ย - -
ร้อยละ - -
แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
กลุ่มสาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/…….
พฤติกรรม รวม สรุปผลการ
ประเมิน
ชื่อ-สกุล มีความ มุ่งมั่นในการ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ผ่าน ไม่
ลำดับที่

รับผิดชอบในการ ทำงาน ผ่าน


ทำงาน
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
พฤติกรรม รวม สรุปผลการ
ประเมิน
ชื่อ-สกุล มีความ มุ่งมั่นในการ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ผ่าน ไม่
ลำดับที่

รับผิดชอบในการ ทำงาน ผ่าน


ทำงาน
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 20
21
22
23
24
25

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ = ดีมาก = 5 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = ดี = 4 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง = ปานกลาง = 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง = พอใช้ = 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมนานๆ ครั้ง = ปรับปรุง = 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
20 – 17 ดีมาก
16 – 13 ดี
12 – 9 ปานกลาง
8–5 พอใช้
4–0 ปรับปรุง

ลงชื่อ………………………………………………...ผู้ประเมิน
( นางสาวพงศ์ภรณ์ ส่งเสริม )
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
………/………………../……………...
ภาคผนวก
แผนการจัดการเรียนรู้ลำดับที่ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค21102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เวลาทั้งหมด 16 ชั่วโมง
เรื่อง สมบัติของการเท่ากัน เวลา 2 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2566 โรงเรียนหนองบ่อสามัคคีวิทยา
ชื่อผู้จัดการเรียนรู้ นางสาวพงศ์ภรณ์ ส่งเสริม วันที.่ ....เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้

ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจสมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจำนวน เพื่อวิเคราะห์และ
แก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

สาระการเรียนรู้
สมบัติของการเท่ากันของการบวก การลบ การคูณ และการหาร

สาระสำคัญ
เมื่อมีจำนวนสองจำนวนที่เท่ากัน นำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งมาบวกแต่ละจำนวนที่เท่ากันนั้น ผลบวก
จะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการบวก เขียนสัญลักษณ์ได้ ดังนี้
ให้ a,b และ c แทนจำนวนใดๆ ถ้า a = b ดังนั้น a + c = b + c
เมื่อมีจำนวนสองจำนวนที่เท่ากัน นำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งมาลบออกจากแต่ละจำนวนที่เท่ากันนั้น
ผลลบจะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการลบ เขียนสัญลักษณ์ได้ ดังนี้
ให้ a,b และ c แทนจำนวนใดๆ ถ้า a = b ดังนั้น a - c = b - c
เมื่อมีจำนวนสองจำนวนที่เท่ากัน นำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งมาคูณแต่ละจำนวนที่เท่ากันนั้น ผลคูณ
จะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการคูณ เขียนสัญลักษณ์ได้ ดังนี้
ให้ a,b และ c แทนจำนวนใดๆ ถ้า a = b ดังนั้น a x c = b x c
เมื่อมีจำนวนสองจำนวนที่เท่ากัน นำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งที่ไม่เท่ากับศูนย์มาหารแต่ละจำนวนที่
เท่ากันนั้น ผลหารจะเท่ากัน เรียกสมบัตินี้ว่า สมบัติการเท่ากันของการหาร เขียนสัญลักษณ์ได้ ดังนี้
ให้ a,b และ c แทนจำนวนใดๆ ที่ c ≠ 0 ถ้า a = b ดังนั้น ac = bc
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายสมบัติการเท่ากัน (K)
2. เขียนแสดงสมบัติการเท่ากัน (P)
3. มีความรับผิดชอบในการทำงาน (A)

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

กระบวนการจัดการเรียนรู้
ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ มี 3 ขั้นตอน
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียนทบทวนความรู้เดิม และตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
1) ประโยคสัญลักษณ์ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของจำนวนสองจำนวน โดยมีสัญลักษณ์ = บอก
ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนทั้งสองเรียกว่าอะไร
2) จำนวนที่นำมาแทนตัวแปรในสมการแล้วทำให้สมการเป็นจริงเรียกว่าอะไร
2. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยใช้คำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
สมบัติการเท่ากันของการบวก การลบ สามารถนำไปประยุกต์ใช้แก้สมการได้อย่างไร
ขั้นที่ 2 ขั้นเรียนรู้
3. นักเรียนพิจารณาตัวอย่างและตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
1. 3+2=5
(3 + 2) + 4 = 5 + 4
9=9
2. 4 + 6 = 10
(4 + 6) + x = 10 + x (x แทนจำนวนใด ๆ)
a=b
a+c=b+c (a,b และ c แทนจำนวนใด ๆ)
1) จากข้อ 1 เมื่อนำ 4 มาบวกเข้าทั้งสองข้างของสมการ 3 + 2 = 5 จะได้เท่าไร
2) จำนวนทั้งสองข้างของสมการยังคงเท่ากันอยู่หรือไม่
3) จากข้อ 2 เมื่อนำ x มาบวกเข้าทั้งสองข้างของสมการ 4 + 6 = 10 จะได้เท่าไร
4) เมื่อ x แทนจำนวนใด ๆ จำนวนทั้งสองข้างของสมการยังคงเท่ากันอยู่หรือไม่
5) จากข้อ 3 เมื่อนำ c มาบวกเข้าทั้งสองข้างของสมการ a = b จะได้เท่าไร
6) เมื่อ a,b และ c แทนจำนวนใด ๆ จำนวนทั้งสองข้างของสมการยังเท่ากันอยู่หรือไม่
7) เมื่อมีจำนวนสองจำนวนที่เท่ากัน แล้วนำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งมาบวกแต่ละจำนวนที่
เท่ากันนั้น ผลบวกจะเป็นอย่างไร
8) เรียกสมบัตินี้ว่าอย่างไร
4. นักเรียนพิจารณาตัวอย่างและตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
1. 5 + 7 = 12
(5 + 7) - 4 = 12 – 4
8=8
2. 8 + 10 = 18
(8 + 10) - y = 18 - y (y แทนจำนวนใด ๆ)
3. a=b
a–c=b–c (a,b และ c แทนจำนวนใด ๆ)
1) จากข้อ 1 เมื่อนำ 4 ลบออกจากทั้งสองข้างของสมการ 5 + 7 = 12 จะได้เท่าไร
2) จำนวนทั้งสองข้างของสมการยังเท่ากันอยู่หรือไม่
3) จากข้อ 2 เมื่อนำ y ลบออกจากสมการ 8 + 10 = 18 จะได้เท่าไร
4) เมื่อ y แทนจำนวนใด ๆ จำนวนทั้งสองข้างของสมการยังเท่ากันอยู่หรือไม่
5) จากข้อ 3 เมื่อนำ c ลบออกจากสมการ a = b จะได้เท่าไร
6) เมื่อ a,b และ c แทนจำนวนใด ๆ จำนวนทั้งสองข้างของสมการยังเท่ากันอยู่หรือไม่
7) เมื่อมีจำนวนสองจำนวนที่เท่ากัน แล้วนำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งมาลบออกจากแต่ละจำนวน
ที่เท่ากันนั้น ผลลบจะเป็นอย่างไร
8) เรียกสมบัตินี้ว่าอย่างไร
ขั้นที่ 3 ขั้นนำไปใช้
5. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน แล้วร่วมกันเขียนสมการกลุ่มละ 2 ข้อ บนกระดาน
แสดงสมบัติการเท่ากันของการบวกและสมบัติการเท่ากันของการลบ โดยเว้นช่องว่างไว้ให้กลุ่มอื่นตอบ จากนั้น
ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียนทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับสมบัติการเท่ากันของการบวกและสมบัติการเท่ากัน
ของการลบ และตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
1) เมื่อมีจำนวนสองจำนวนที่เท่ากัน นำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งมาบวกแต่ละจำนวนที่เท่ากันนั้น
ผลบวกจะเท่ากัน เป็นสมบัติของอะไร
2) เมื่อมีจำนวนสองจำนวนที่เท่ากัน นำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งมาลบออกจากแต่ละจำนวนที่
เท่ากันนั้นผลบลจะเท่ากัน เป็นสมบัติของอะไร
2. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยใช้คำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
สมบัติการเท่ากันของการคูณและการหาร สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในเรื่องใดได้อย่างไร
ขั้นที่ 2 ขั้นเรียนรู้
3. นักเรียนพิจารณาตัวอย่างและตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
พิจารณาตัวอย่าง
1. 5 + 6 = 11
(5 + 6) x 9 = 11 x 9
2. 7 + 12 = 19
(7 + 12) x z = 19 x z (z แทนจำนวนใด ๆ)
3. a=b
axc=bxc (a,b และ c แทนจำนวนใด ๆ)
1) จากข้อ 1 เมื่อนำ 9 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ 5 + 6 = 11 จะได้เท่าไร
2) จำนวนทั้งสองข้างของสมการยังเท่ากันอยู่หรือไม่
3) จากข้อ 2 เมื่อนำ z คูณทั้งสองข้างของสมการ 8 + 10 = 18 จะได้เท่าไร
4) เมื่อ z แทนจำนวนใด ๆ จำนวนทั้งสองข้างของสมการยังเท่ากันอยู่หรือไม่
5) จากข้อ 3 เมื่อนำ c มาคูณทั้งสองข้างของสมการ a = b จะได้เท่าไร
6) เมื่อ a,b และ c แทนจำนวนใด ๆ จำนวนทั้งสองข้างของสมการยังเท่ากันอยู่หรือไม่
7) เมื่อมีจำนวนสองจำนวนที่เท่ากัน แล้วนำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งมาคูณแต่ละจำนวนที่เท่ากันนั้น
ผลคูณจะเป็นอย่างไร
8) เรียกสมบัตินี้ว่าอย่างไร
4. นักเรียนพิจารณาตัวอย่าง และตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
7 + 9 = 16
7+9 16
=
8 8
2 =2
3.1เมื่อมีจำนวนสองจำนวนที่เท่ากัน แล้วนำจำนวนอีกจำนวนหนึ่งมาหารแต่ละจำนวนที่
เท่ากันนั้น ผลหารจะเป็นอย่างไร
3.2เรียกสมบัตินี้ว่าอย่างไร
ขั้นที่ 3 ขั้นนำไปใช้
4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ร่วมกันเขียนสมการลงในบัตรสมการกลุ่มละ 4 ข้อ
แสดงสมบัติการเท่ากันของการคูณและการหาร จากนั้นสลับผลงานกับกลุ่มอื่น ๆ แต่ละกลุ่มร่วมกันหาคำตอบ
ของสมการ แล้วสลับผลงานคืนเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
5. นักเรียนทำแบบฝึกหัดที่ 1.3 ก ลงในสมุด ทำเสร็จนำส่งครู
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2
2. บัตรสมการ
กระบวนการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือการประเมิน วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน
1.อธิบายสมบัติการ แบบฝึกหัดที่ 1.3 ก ตรวจแบบฝึกหัดที่ 1.3 ก ระดับคุณภาพ
เท่ากัน (K) ผ่านเกณฑ์
2. เขียนแสดงสมบัติการ แบบฝึกหัดที่ 1.3 ก ตรวจแบบฝึกหัดที่ 1.3 ก ระดับคุณภาพ
เท่ากัน (P) ผ่านเกณฑ์
3. มีความรับผิดชอบใน แบบสังเกตพฤติกรรม สังเกตพฤติกรรมการ ระดับคุณภาพดี
การทำงาน (A) รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)

แบบประเมินแบบฝึกหัด

รายการการประเมิน ระดับคุณภาพ
4 3 2 1
1.อธิบายสมบัติ อธิบายสมบัติการ อธิบายสมบัติการเท่ากัน อธิบายสมบัติการเท่ากัน อธิบายสมบัติการเท่ากัน
การเท่ากัน (K) เท่ากัน พร้อมทั้งเขียน พร้อมทั้งเขียนแสดง พร้อมทั้งเขียนแสดง พร้อมทั้งเขียนแสดง
2. เขียนแสดงสมบัติ แสดงสมบัติการเท่ากัน สมบัติการเท่ากัน สมบัติการเท่ากัน ได้ สมบัติการเท่ากัน ได้
การเท่ากัน (P) ได้ถูกต้องแม่นยำ พร้อมทั้ง ถูกต้องแม่นยำ ถูกต้อง โดยดูตัวอย่าง ถูกต้อง โดยครูต้อง
ครบทุกข้อด้วยตนเอง ครบทุกข้อด้วยตนเอง จากหนังสือและให้เพื่อน แนะนำและดูตัวอย่าง
พร้อมทั้งสามารถอธิบาย อธิบายบางข้อ จากหนังสือประกอบทุก
ให้เพื่อนเข้าใจได้ ข้อ

แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน 4 3 2 1
กระบวนการ มีการกำหนดบทบาท มีการกำหนดบทบาท มีการกำหนดบทบาท ไม่มีการกำหนด
ทำงานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย ไม่มีการชี้แจงเป้าหมาย และไม่มีการชี้แจง
การทำงาน มีการ อย่างชัดเจนและ อย่างชัดเจน เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ต่างคนต่างทำงาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ไม่ครบทุกคน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ
เป็นระยะ ๆ
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมของครูพี่เลี้ยง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

(ลงชื่อ)……………………………………..
(นางจารุวรรณ พละสกุล)
ตำแหน่งครูพี่เลี้ยง
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

ลงชื่อ..............................................ผู้ตรวจ
(นายดิลก ราตรี)
หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ความคิดเห็นของกลุ่มบริหารวิชาการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

ลงชื่อ..............................................ผู้ตรวจ
(นางจารุวรรณ พละสกุล)
กลุ่มบริหารวิชาการ
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

(ลงชื่อ)……………………………………..
(นางจิรกานต์ สุภสร )
ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
2. ปัญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
3. แนวทางการแก้ไขปัญหา
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
กิจกรรมเสนอแนะ
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
คะแนนที่ได้จากการวัดผล
คะแนน
แบบฝึกหัดที่ รวม ระดับ ผลการ
เลขที่ ชื่อ-สกุล
1.3 ก (4) คุณภาพ ตัดสิน
(4)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
คะแนน
แบบฝึกหัดที่ รวม ระดับ ผลการ
เลขที่ ชื่อ-สกุล
1.3 ก (4) คุณภาพ ตัดสิน
(4)
28
29
30
31
32
รวม - -
ค่าเฉลี่ย - -
ร้อยละ - -
แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
กลุ่มสาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/…….
พฤติกรรม รวม สรุปผลการ
ประเมิน
ชื่อ-สกุล มีความ มุ่งมั่นในการ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ผ่าน ไม่
ลำดับที่

รับผิดชอบในการ ทำงาน ผ่าน


ทำงาน
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
พฤติกรรม รวม สรุปผลการ
ประเมิน
ชื่อ-สกุล มีความ มุ่งมั่นในการ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ผ่าน ไม่
ลำดับที่

รับผิดชอบในการ ทำงาน ผ่าน


ทำงาน
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 20
21
22
23
24
25

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ = ดีมาก = 5 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = ดี = 4 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง = ปานกลาง = 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง = พอใช้ = 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมนานๆ ครั้ง = ปรับปรุง = 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
20 – 17 ดีมาก
16 – 13 ดี
12 – 9 ปานกลาง
8–5 พอใช้
4–0 ปรับปรุง

ลงชื่อ………………………………………………...ผู้ประเมิน
( นางสาวพงศ์ภรณ์ ส่งเสริม )
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
………/………………../……………...
ภาคผนวก
แผนการจัดการเรียนรู้ลำดับที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค21102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เวลาทั้งหมด 16 ชั่วโมง
เรื่อง การแก้สมการ เวลา 2 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2566 โรงเรียนหนองบ่อสามัคคีวิทยา
ชื่อผู้จัดการเรียนรู้ นางสาวพงศ์ภรณ์ ส่งเสริม วันที.่ ....เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้

ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจสมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจำนวน เพื่อวิเคราะห์และ
แก้ปัญหาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

สาระการเรียนรู้
การแก้สมการ

สาระสำคัญ
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สามารถนำสมบัติการเท่ากันของการบวก การลบ การหารและ
การคูณมาใช้ในการหาค่าตัวแปรในสมการ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการแก้สมการโดยใช้สมบัติการเท่ากันของการบวกและการคูณ (K)
2. แสดงการแก้สมการโดยการใช้สมบัติการเท่ากันของการบวกและการคูณ (P)
3. มีความรับผิดชอบในการทำงาน (A)

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

กระบวนการจัดการเรียนรู้
ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ มี 3 ขั้นตอน
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนความรู้ จากคำถามกระตุ้นความคิดเกี่ยวกับสมบัติการเท่ากันของการบวกและสมบัติ
การเท่ากันของการลบ ดังนี้
1) เมื่อจำนวนจำนวนหนึ่งมาบวกแต่ละจำนวนของสองจำนวนที่เท่ากัน ผลบวกที่ได้จะเป็น
อย่างไร
2) เรียกสมบัติดังกล่าวว่าอะไร
3) เมื่อนำจำนวนหนึ่งมาลบออกจากแต่ละจำนวนของสองจำนวนที่เท่ากัน ผลลบที่ได้จะเป็น
อย่างไร
4) เรียกสมบัติดังกล่าวว่าอะไร
5) สามารถนำสมบัติเหล่านี้มาใช้นเรื่องใด
2. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยใช้คำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
สมบัติของการเท่ากันช่วยในการหาคำตอบของสมการได้อย่างไร
ขั้นที่ 2 ขั้นเรียนรู้
3. นักเรียนพิจารณาเกี่ยวกับตัวอย่างการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้สมบัติการเท่ากันของ
การบวก การลบ ดังนี้
พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
1. จงแก้สมการ x – 26 = 42
x – 26 + 26 = 42 + 26 (นำ 26 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ)
จะได้ x = 68
ตรวจสอบ แทน x ด้วย 68 ลงในสมการ x – 26 = 42
จะได้ 68 – 26 = 42 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 68 เป็นคำตอบของสมการ x – 26 = 42
2. จงแก้สมการ x + 17 = 56
x + 17 - 17 = 56 - 17 (นำ 17 มาลบทั้งสองข้างของสมการ)
จะได้ x = 39
ตรวจสอบ แทน x ด้วย 39 ลงในสมการ x + 17 = 56
จะได้ 39 + 17 = 56 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 39 เป็นคำตอบของสมการ x + 17 = 56
4. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
1) ในการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวนักเรียนใช้สมบัติใดบ้าในการหาคำตอบ
2) จะทราบได้อย่างไรว่าค่าที่ได้เป็นคำตอบของสมการ
5. นักเรียนพิจารณาตัวอย่างเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้สมบัติการเท่ากันของการ
คูณและการหาร ดังนี้
พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
1. จงแก้สมการ 12a = 8
a
12
× 12 = 8 × 12 นำ 12 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ a = 96

ตรวจสอบ แทน a = 96 ในสมการ 12a = 8


จะได้ 96
12
=8 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 96 เป็นคำตอบของสมการ 12a = 8
2. จงแก้สมการ 15b = 75
15b
15
= 15
75
นำ 15 มาหารทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ b = 5

ตรวจสอบ แทน b = 5 ในสมการ 15b = 75


จะได้ 15(5) = 75 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 5 เป็นคำตอบของสมการ 15b = 75
ขั้นที่ 3 ขั้นนำไปใช้
6. ครูให้เขียนโจทย์บนกระดาน และใช้เบรนยิมในการสุ่มนักเรียนออกมาทำบนกระดาน โดยมี
นักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
7. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
5.1 ในการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว นักเรียนใช้สมบัติใดบ้างในการหาค่าตัวแปรของ
สมการ
5.2 จะทราบได้อย่างไรว่าค่าตัวแปรที่ได้เป็นคำตอบของสมการ
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับสมบัติของการเท่ากัน จากคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
1) สมบัติของการเท่ากันที่นักเรียนทราบมีอะไรบ้าง
2) สามารถนำความรู้เกี่ยวกับสมบัติของการเท่ากันไปใช้ในเรื่องใด
2. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยใช้คำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
การแก้สมการเพื่อหาคำตอบมีวิธีการอย่างไร จึงจะได้คำตอบที่ถูกต้องและรวดเร็ว
ขั้นที่ 2 ขั้นเรียนรู้
3. นักเรียนพิจารณาตัวอย่างเกี่ยวกับการแก้สมการโดยใช้สมบัติการเท่ากันของการบวก การลบ
การคูณ และการหาร ดังนี้
พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
1. จงแก้สมการ 89 𝑥 + 7 = 55
8
9
𝑥 + 7 − 7 = 55 − 7 นำ 7 มาลบทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 8
9
𝑥 = 48
8 9
𝑥 = 48
9 8
9
8
นำ 89 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 𝑥 = 54

ตรวจสอบ แทน x ด้วย 54 ในสมการ 89 𝑥 + 7 = 55


จะได้ 89 54 + 7 = 55 เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 54 เป็นคำตอบของสมการ 89 𝑥 + 7 = 55
2. จงแก้สมการ 89 (6𝑥 + 6) = 64
8
9
9
(6𝑥 + 6) = 64
8
9
8
นำ 89 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 6𝑥 + 6 = 72

6𝑥 + 6 − 6 = 72 − 6 นำ 6 มาลบทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 6𝑥 = 66
6𝑥 66
6
= 6 นำ 6 มาหารทั้งสองข้างของสมการ
จะได้ 𝑥 = 11

ตรวจสอบ แทน x ด้วย 11 ในสมการ 89 (6𝑥 + 6) = 64


จะได้ 89 (6(11) + 6) = 64 เป็นสมการที่เป็นจริง
4. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
ในการแก้สมการนักเรียนใช้สมบัติใดเพื่อหาคำตอบ
ขั้นที่ 3 ขั้นนำไปใช้
5. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดที่ 1.3 ข และ แบบฝึกหัดที่ 1.3 ค ทำเสร็จนำส่งครู
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2

กระบวนการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือการประเมิน วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน
1. อธิบายการแก้สมการ แบบฝึกหัดที่ 1.3 ข ตรวจแบบฝึกหัดที่ 1.3 ข ระดับคุณภาพ 2
โดยใช้สมบัติการเท่ากัน แบบฝึกหัดที่ 1.3 ค แบบฝึกหัดที่ 1.3 ค ผ่านเกณฑ์
ของการบวกและการคูณ
(K)
2. แสดงการแก้สมการ แบบฝึกหัดที่ 1.3 ข ตรวจแบบฝึกหัดที่ 1.3 ข ระดับคุณภาพ 2
โดยการใช้สมบัติการ แบบฝึกหัดที่ 1.3 ค แบบฝึกหัดที่ 1.3 ค ผ่านเกณฑ์
เท่ากันของการบวกและ
การคูณ (P)
3. มีความรับผิดชอบใน แบบสังเกตพฤติกรรม สังเกตพฤติกรรมการ ระดับคุณภาพดี
การทำงาน (A) รายบุคคล ทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)

แบบประเมินแบบฝึกหัด

รายการการประเมิน ระดับคุณภาพ
4 3 2 1
1. อธิบายการแก้ อธิบายการแก้สมการ อธิบายการแก้สมการ อธิบายการแก้สมการ อธิบายการแก้สมการ
สมการโดยใช้ โดยใช้สมบัติการเท่ากัน โดยใช้สมบัติการเท่ากัน โดยใช้สมบัติการเท่ากัน โดยใช้สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน ของการบวกและการคูณ ของการบวกและการคูณ ของการบวกและการคูณ ของการบวกและการคูณ
ของการบวกและ พร้อมทั้ง แสดงการแก้ พร้อมทั้ง แสดงการแก้ พร้อมทั้ง แสดงการแก้ พร้อมทั้ง แสดงการแก้
การคูณ (K) สมการโดยการใช้สมบัติ สมการโดยการใช้สมบัติ สมการโดยการใช้สมบัติ สมการโดยการใช้สมบัติ
2. แสดงการแก้ การเท่ากันของการบวก การเท่ากันของการบวก การเท่ากันของการบวก การเท่ากันของการบวก
สมการโดยการใช้ และการคูณ ได้ถูกต้อง และการคูณ ได้ถูกต้อง และการคูณ ได้ถูกต้อง และการคูณ ได้ถูกต้อง
สมบัติการเท่ากันของ แม่นยำครบทุกข้อด้วย แม่นยำครบทุกข้อด้วย โดยดูตัวอย่างจาก โดยครูต้องแนะนำและดู
การบวกและการคูณ ตนเอง พร้อมทั้งสามารถ ตนเอง หนังสือและให้เพื่อน ตัวอย่างจากหนังสือ
(P) อธิบายให้เพื่อนเข้าใจได้ อธิบายบางข้อ ประกอบทุกข้อ
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมของครูพี่เลี้ยง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

(ลงชื่อ)……………………………………..
(นางจารุวรรณ พละสกุล)
ตำแหน่งครูพี่เลี้ยง
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

ลงชื่อ..............................................ผู้ตรวจ
(นายดิลก ราตรี)
หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ความคิดเห็นของกลุ่มบริหารวิชาการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

ลงชื่อ..............................................ผู้ตรวจ
(นางจารุวรรณ พละสกุล)
กลุ่มบริหารวิชาการ
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................

(ลงชื่อ)……………………………………..
(นางจิรกานต์ สุภสร )
ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
2. ปัญหาและอุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
3. แนวทางการแก้ไขปัญหา
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
กิจกรรมเสนอแนะ
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
คะแนนที่ได้จากการวัดผล
คะแนน
แบบ แบบ
รวม ระดับ ผลการ
เลขที่ ชื่อ-สกุล ฝีกหัด ฝึกหัด
(8) คุณภาพ ตัดสิน
1.3 ข 1.3 ค
(4) (4)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
คะแนน
แบบ แบบ
รวม ระดับ ผลการ
เลขที่ ชื่อ-สกุล ฝีกหัด ฝึกหัด
(8) คุณภาพ ตัดสิน
1.3 ข 1.3 ค
(4) (4)
27
28
29
30
31
32
รวม - -
ค่าเฉลี่ย - -
ร้อยละ - -
แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
กลุ่มสาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/…….
พฤติกรรม รวม สรุปผลการ
ประเมิน
ชื่อ-สกุล มีความ มุ่งมั่นในการ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ผ่าน ไม่
ลำดับที่

รับผิดชอบในการ ทำงาน ผ่าน


ทำงาน
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
พฤติกรรม รวม สรุปผลการ
ประเมิน
ชื่อ-สกุล มีความ มุ่งมั่นในการ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ผ่าน ไม่
ลำดับที่

รับผิดชอบในการ ทำงาน ผ่าน


ทำงาน
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 20
21
22
23
24
25

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ = ดีมาก = 5 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = ดี = 4 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง = ปานกลาง = 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง = พอใช้ = 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมนานๆ ครั้ง = ปรับปรุง = 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
20 – 17 ดีมาก
16 – 13 ดี
12 – 9 ปานกลาง
8–5 พอใช้
4–0 ปรับปรุง

ลงชื่อ………………………………………………...ผู้ประเมิน
( นางสาวพงศ์ภรณ์ ส่งเสริม )
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
………/………………../……………...
ภาคผนวก

You might also like