You are on page 1of 17

กำหนดให้ p(x) = anxn + an-1xn-1 + … + a1x + a0 โดยที่ nN

และ an, a1, … , an เป็นจำนวนจริง โดยที่ a  0 และมี x เป็นตัวแปร


เรำจะเรียก p(x) นี้ว่ำ “พหุนาม” (Polynomial) ระดับขั้น (degree) n ในตัวแปร x
ซึ่งระดับขั้นของพหุนำม เขียนแทนด้วย deg[p(x)] = n

เรำเรียก an, a1, … , an ว่ำ “สัมประสิทธิ”์ (Coefficient)


และเรียก anxn, an-1xn-1, … , a1x, a0 ว่ำ “พจน์” (Term) ของพหุนำม
หมำยเหตุ 1) ถ้ำสัมประสิทธิ์ทุกตัวเป็นศูนย์ทั้งหมด ดังนั้น p(x) = 0 เรียกว่ำ พหุนำมอันตรธำนรูป
(ไม่มีระดับขั้น)
2) ถ้ำ n = 0 จะได้ว่ำ p(x) = a0 เรียกว่ำ พหุนำมคงที่
3) ถ้ำ n = 1 จะได้ว่ำ p(x) = a1x + a0 เรียกว่ำ พหุนำมเชิงเส้น
4) ถ้ำ n = 2 จะได้ว่ำ p(x) = a2x2 + a1x + a0 เรียกว่ำ พหุนำมกำลังสอง
5) ถ้ำ n = 3 จะได้ว่ำ p(x) = a3x3 + a2x2 + a1x + a0 เรียกว่ำ พหุนำมกำลังสำม
6) ถ้ำ n = 4 จะได้ว่ำ p(x) = a3x3 + a2x2 + a1x + a0 เรียกว่ำ พหุนำมกำลังสี่
ถ้ำระดับขั้นสูงสุดของของพหุนำมเป็น n ก็จะเรียก พหุนำมนั้นว่ำ พหุนามกาลัง n
กำหนดให้ p(x) = anxn + an-1xn-1 + … + a1x + a0 เป็นพหุนำมระดับขั้น n มี
ในตัวแปร x โดยที่ nN และ a  0 และมี x เป็นตัวแปร
เรำจะเรียก สมกำร p(x) = anxn + an-1xn-1 + … + a1x + a0 = 0
ว่ำ สมกำรพหุนำมระดับขั้น n (Polynomial Equation)
และเมื่อแทนค่ำ x ด้วยจำนวนจริง a ใด ๆ แล้วทำให้ p(a) = 0 ซึ่งเรำจะเรียก a ว่ำ
รากของสมการ (Root of Equation) หรือ คาตอบของสมการ (Solution)
หมำยเหตุ 1) ถ้ำ n = 1 จะได้ว่ำ p(x) = a1x + a0 = 0 เรียกว่ำ สมกำรเชิงเส้น
2) ถ้ำ n = 2 จะได้ว่ำ p(x) = a2x2 + a1x + a0 = 0 เรียกว่ำ สมกำรกำลังสอง
3) ถ้ำ n = 3 จะได้ว่ำ p(x) = a3x3 + a2x2 + a1x + a0 = 0 เรียกว่ำ สมกำรกำลังสำม
4) ถ้ำ n = 4 จะได้ว่ำ p(x) = a3x3 + a2x2 + a1x + a0 = 0 เรียกว่ำ สมกำรกำลังสี่
ถ้ำระดับขั้นสูงสุดของของพหุนำมเป็น n ก็จะเรียก สมการพหุนามระดับขั้น n
กำรหำรกรณีทั่วไป
ตัวตั้ง = ตัวหำร x ผลหำร + เศษเหลือ

ทฤษฎีบท ขั้นตอนวิธีการหาร
กำหนดให้ f(x) และ g(x) เป็นพหุนำม โดยที่ g(x)  0 แล้วจะมีพหุนำม q(x) และ r(x)
เพียงคู่เดียวนั้น ซึ่ง
f(x) = g(x) x q(x) + r(x)
เมื่อ r(x) = 0 หรือ deg(r(x)) < deg(g(x))
ให้ p(x) = 6x3 – 11x2 + 6x – 1 หำรด้วย x – 1 จงหำผลหำรและเศษเหลือจำกกำรหำร
กำหนดให้ p(x) เป็นพหุนำมใด ๆ และ c เป็นจำนวนจริงใด ๆ
ดังนั้น เศษที่ได้จำกกำรนำ x – c ไปหำรพหุนำม p(x) จะเท่ำกับ p(c)

ให้ p(x) = 6x3 – 11x2 + 6x – 1 หำรด้วย x – 1 จงหำเศษเหลือจำกกำรหำร


ให้ p(x) = 6x3 – 11x2 + 6x – 1 หำรด้วย x – 1 จงหำเศษเหลือจำกกำรหำร
ตัวอย่างที่ 17 จงหาผลหารและเศษจากการหารต่อไปนี้ โดยการตั้งหารยาว และการสังเคราะห์
1) p(x) = x3 + 2x2 – 5x – 6 หำรด้วย x – 1, x + 1, x – 2 และ x + 2
ตัวอย่างที่ 17 จงหาผลหารและเศษจากการหารต่อไปนี้ โดยการตั้งหารยาว และการสังเคราะห์
2) p(x) = x4 – x3 – 2x2 – 4x – 24 หำรด้วย x – 2, x + 2, x – 3 และ x + 3
ตัวอย่างที่ 17 จงหาผลหารและเศษจากการหารต่อไปนี้ โดยการตั้งหารยาว และการสังเคราะห์
1 1
3) p(x) = 12x3 + 16x2 – 5x – 3 หำรด้วย x – , x + , 2x – 1 และ 2x + 1
2 2
ตัวอย่างที่ 17 จงหาผลหารและเศษจากการหารต่อไปนี้ โดยการตั้งหารยาว และการสังเคราะห์
1 1
4) p(x) = 6x3 – 11x2 + 6x – 1 หำรด้วย 3x + 1, 3x – 1, x – , x +
3 3
ตัวอย่างที่ 17 จงหาผลหารและเศษจากการหารต่อไปนี้ โดยการตั้งหารยาว และการสังเคราะห์
2
5) p(x) = 2x4 – 5x3 + 3x + 6 หำรด้วย x, 3x – 2, x – 3
ตัวอย่างที่ 18 จงหาเศษจากการหาร 4x6 + 5x4 – 4x2 – 7
กำหนดให้ p(x) เป็นพหุนำมที่มีระดับขั้นมำกกว่ำหรือเท่ำกับ 1
จะกล่ำวว่ำพหุนำม p(x) จะมีx – c เป็นตัวประกอบ ก็ต่อเมื่อ p(c) = 0
[หรือกล่ำวว่ำ เศษที่เหลือจำกกำรหำร p(x) ด้วย x – c เท่ำกับ 0]
ให้ p(x) = 6x3 – 11x2 + 6x – 1 หำรด้วย x – 1 จงหำเศษเหลือจำกกำรหำร
p(1) = 6(1)3 – 11(1)2 + 6(1) – 1 = 0
แสดงว่ำ x – 1 เป็นตัวประกอบของ 6x3 – 11x2 + 6x – 1

You might also like