You are on page 1of 16

1

บทที่ 1: พหุนามของตัวแปรเดียว

1. พีชคณตของพหุ
นาม
2. ทฤษฎี บทเศษเหลือ
3. การหารสังเคราะห์

4. ตัวหารรวมมากของพหุนาม
5. ขบวนการของฮอร์เนอร์
6. สูตรของเทย์เลอร์
2


1.1 พีชคณตของพหุ
นาม
พหุนามในตัวแปร x หมายถึงผลบวกในรูป
a 0 + a1x + a 2x 2 + + an −1x n −1 + an x n
่ นลบ
เมื่อ n เป็ นจํานวนเต็มที่ไมเป็

และ a0, a1, …, an เป็ นคาคงตั ว และเรียกวา่
สัมประสทธิ ์ ิ ของพหุนาม
่ ่ n เป็ นดีกรีของพหุนามนัน้
ถ้า an ≠ 0 จะกลาววา


ตัวอยาง
พหุนามดีกรี 0

พหุนามดีกรี 1

พหุนามดีกรี 2


ตัวอยาง

พหุนามศูนย์มีดีกรีเป็ นเทาใด
3

กําหนดให้ f เป็ นพหุนามดีกรี m


และ g เป็ นพหุนามดีกรี n
m
f (x ) = ∑ ai x i , am ≠ 0
นัน่ คือ i =0
n
g (x ) = ∑ bi x i , bn ≠ 0
i =0

จะได้ว่า
1. f (x ) = g(x ) ก็ต่อเมื่อ

2. f (x ) + g(x ) =

3. f (x ) − g(x ) =

4. f (x ) ⋅ g(x ) =
4

การคูณพหุนามจากสัมประสทธ ิ ์ิ
่ จงหาผลคูณของ
ตัวอยาง
x 5 + x 3 − 2x 2 + 3 กับ 2x 4 − 3x 3 + 4x 2 − 1
5

อนุพนั ธ์ของพหุนาม

ถ้า f (x ) = a0 + a1x + a2x 2 + + an −1x n −1 + an x n

แล้ว f ′(x ) = a1 + 2a2x + + (n − 1)an −1x n −2 + nan x n −1

่ า deg(f ) ≥ 1 แล้ว deg(f ′) = deg(f ) − 1


จะเห็นวาถ้

่ กําหนด f (x ) = 4x 3 − 2x + 7
ตัวอยาง

f ′(x ) =

f ′′(x ) =

f (3)(x ) =

f (4)(x ) =
6

การหารพหุนาม
สําหรับพหุนาม f (x ) และ g(x )
จะมีพหุนาม q(x ) และ r (x ) เพียงคู่เดียวที่ทาํ ให้

f (x ) = q (x )g (x ) + r (x )

โดยที่ r (x ) = 0 หรือ deg(r ) < deg(g )


่ ่ f (x ) หารด้วย g(x ) ลงตัว
กรณี r (x ) = 0 จะกลาววา

่ จงหาผลหารและเศษของการหาร
ตัวอยาง
x 8 + x 7 + 3x 4 − 1 ด้วย x 4 − 3x 3 + 4x + 1
7

2 1.2 ทฤษฎีบทเศษเหลือ
พหุนาม f (x ) หารด้วย x − c เหลือเศษ f (c )

บทพสูิ จน์


ตัวอยาง
x + 1 หาร x 3 + 3x 2 + 3x + 1 เหลือเศษ

x + 1 หาร x n + 1 เหลือเศษ
8

่ จงหาเศษจากการหาร
ตัวอยาง
x 2555 + 1 ด้วย x 2 − 1
9

่ จงหาเศษจากการหาร
ตัวอยาง
x 2555 + 1 ด้วย (x − 1)2
10

3 1.3 การหารสังเคราะห์

่ จงหาผลหารและเศษของการหาร
ตัวอยาง
3x 6 − 7x 5 + 5x 4 − x 2 − 6x − 8 ด้วย x + 2
11

4 ่
1.4 ตัวหารรวมมากของพหุ
นาม
่ ่ นย์
ให้ f (x ) และ g(x ) เป็ นพหุนามที่ไมใชศู


ตัวหารรวมของ f (x ) และ g (x ) คือพหุนามที่หาร
f (x ) และ g (x ) ลงตัว


ตัวหารรวมมากของ f (x ) และ g (x ) คือตัวหาร
่ ่มีดีกรีสงู สุด เขียนแทนด้วย gcd (f , g )
รวมที

ถ้า gcd (f , g ) = 1 จะกลาววา


่ ่ f (x ) และ g(x ) เป็ น
พหุนามเฉพาะตอกั ่ น


ตัวอยาง
f (x ) = (x + 1)(x + 2)(x 2 + x + 1)
g (x ) = (x + 1)(x + 2)(x 2 + 1)

่ อ
ตัวหารรวมคื


ตัวหารรวมมากคื อ
12

ทฤษฎีบท ถ้า f (x ) = q(x )g(x ) + r (x ) แล้ว


gcd ( f , g ) = gcd (g, r )

ขัน้ ตอนวธีิ แบบยูคลด


ิ (Euclidean Algorithm)

f (x ) = q 1(x )g(x ) + r1 (x )
g (x ) = q 2 (x )r1 (x ) + r2 (x )
r1 (x ) = q 3 (x )r2 (x ) + r3 (x )

rn −1 (x ) = q n +1 (x )rn (x )

แล้ว gcd(f , g ) = rn


ตัวอยาง gcd(x 2 − 1, x 3 + 6x 2 + 11x + 6)
13

่ จงหาตัวหารรวมมากของ
ตัวอยาง ่
x 6 + 2x 5 + x 3 + 3x 2 + 3x + 2
กับ x 4 + 4x 3 + 4x 2 − x − 2
14

ทฤษฎีบท ถ้า r (x ) เป็ น ห.ร.ม. ของ f (x ) และ g(x )


แล้วจะมีพหุนาม u(x ) และ v(x ) ซึ่ง
r (x ) = u(x )f (x ) + v(x )g (x )


ตัวอยาง
gcd(x 2 − 1, x 3 + 6x 2 + 11x + 6) = x + 1
15

1.5 ขบวนการของฮอร์เนอร์
ขบวนการของฮอร์เนอร์(Horner’s process) เป็ น
ขัน้ ตอนวธีิ ในการเขียนพหุนามของตัวแปร x ใน
รูปของพหุนามของตัวแปร x − c

นัน่ คือ กําหนดพหุนาม f (x )


และต้องการหาพหุนาม g(x) ซึ่ง f (x ) = g(x − c )


ตัวอยาง
x 2 + 2x + 3 = a 0 + a1 (x − 2) + a 2 (x − 2)2
16

6 1.6 สูตรของเทย์เลอร์
การกระจายพหุนามในตัวแปร x ให้เป็ นพหุนาม
ในตัวแปร x −c ทําได้โดยการหาอนุพนั ธ์ของ
ฟังก์ชนั ในลักษณะเดียวกับสูตรของเทย์เลอร์

f (x ) = a 0 + a1 (x − c ) + a 2 (x − c )2 + + an (x − c )n

จะเห็นวา่ f (m )(c ) = m ! am เมือ่ 0 ≤ m ≤ n


ฉะนัน้

f ′′(c )
f (x ) = f (c ) + f ′(c )(x − c ) + (x − c )2
2!
f (n )(c )
+ + (x − c )n
n!


ตัวอยาง
x 2 + 2x + 3 = a 0 + a1 (x − 2) + a 2 (x − 2)2

You might also like