You are on page 1of 41

เอกสารประกอบการอบรม

อสมการ
Inequalities

โดย
ผศ. ดร. ธนวัฒน์ วิเชียรไพศาล

โครงการส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ( สอวน.)
ค่ายที่ 2 ระหว่างวันที่ 18 เมษายน – 4 พฤษภาคม 2565
ณ ศูนย์คณิตศาสตร์โอลิมปิก สอวน.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 2

* อสมการพื้นฐาน *

ทฤษฎีบท 1 สมบัติไตรวิภาค ( trichotomy property )


ถา a และ b เปนจํานวนจริง แลว a b หรือ a b หรือ a b

เพียงอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น

ทฤษฎีบท 2 กําหนดให a, b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ


(1) ถา a b และ b c แลว a c

(2) ถา a b แลว a c  b c

(3) ถา a b และ c0 แลว ac  bc

(4) ถา a b และ c 0 แลว ac  bc

ทฤษฎีบท 3 กําหนดให a, b, c และ d เปนจํานวนจริงใด ๆ


(1) ถา a b และ c d แลว a c  b d

(2) ถา 0 a b และ 0c d แลว ac  bd

(3) ถา a b  0 และ c d 0 แลว ac  bd

หมายเหตุ ถาเปลี่ยนเครื่องหมาย  เปน  และเปลี่ยน  เปน  แลวจะไดวา


อสมการ ในทฤษฎีบท 2 และ 3 ก็ยังคงเปนจริงอยู

ทฤษฎีบท 4 กําหนดให a 0 และ p, q เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ p q

(1) ถา a 1 แลว a p  aq

(2) ถา 0a 1 แลว a p  aq


อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 3

ทฤษฎีบท 5 กําหนดให a, b และ p เปนจํานวนจริงใด ๆ โดยที่ a b  0

(1) ถา p0 แลว a p  bp

(2) ถา p 0 แลว a p  bp

ตัวอยาง 1 กําหนดให 0x 1 และ 0y 1 จงแสดงวา 0  x  y  xy  1

ตัวอยาง 2 กําหนดให a, b, x , y เปนจํานวนจริง โดยที่ a b และ x y

จงแสดงวา ax  by  ay  bx
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 4

a b
ตัวอยาง 3 กําหนดให a, b  0 จงแสดงวา  ab
2

ตัวอยาง 4 กําหนดให a, b, c  0 โดยที่ a  b c จงแสดงวา


a b c
 
1a 1b 1c
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 5

ตัวอยาง 5 กําหนดให a, b, c เปนจํานวนจริง โดยที่ a 2  b2  c2  1 จงแสดงวา


( a  b )2  ( b  c )2  ( c  a )2  3

ตัวอยาง 6 กําหนดให a, b, c  0 จงแสดงวา a 2  b 2  c 2  ab  bc  ca


อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 6

ตัวอยาง 7 กําหนดให x เปนจํานวนจริง โดยที่ x 0 จงแสดงวา


1 1
x8   x5 
x 4
x

ตัวอยาง 8 กําหนดให x, y  0 โดยที่ x y  1 จงแสดงวา


  
 1  1   1  1   9
 x   y 
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 7

ตัวอยาง 9 กําหนดให a, b  0 จงแสดงวา 4 ( a 3  b 3 )  ( a  b )3

a3 b3
ตัวอยาง 10 กําหนดให a, b  0 จงแสดงวา   a 2  b2
b a
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 8

ตัวอยาง 11 กําหนดให a1 , a 2 , x เปนจํานวนจริง โดยที่ 0  a1  x  a2 จงแสดงวา


1 1 1 1
  
x a1  a2  x a1 a2

ตัวอยาง 12 กําหนดให a, b  0 จงแสดงวา a a bb  a b ba


อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 9

สําหรับอสมการที่เกี่ยวของกับจํานวนนับอาจจะใชวิธีอุปนัยเชิงคณิตศาสตรมาชวยในการพิสูจนได

หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร (Principle of Mathematical Induction)


กําหนดให P (n ) แทนขอความที่เกี่ยวของกับจํานวนนับ n และให a เปนจํานวนนับ ถา
1) ขั้นฐาน (basis step) : P (a ) เปนจริง และ
2) ขั้นอุปนัย (inductive step) : สําหรับจํานวนนับ k a

ถา P (k ) เปนจริง แลว P (k  1) เปนจริง


จะสรุปไดวา P (n ) เปนจริงสําหรับทุกจํานวนนับ n a

ตัวอยาง 13 จงพิสูจนวา 3n  1  2n สําหรับทุกจํานวนนับ n


อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 10

ตัวอยาง 14 จงพิสูจนวา 2n  n ! สําหรับทุกจํานวนนับ n 4

ตัวอยาง 15 กําหนดให a1 , a 2 , , a n  0 จงพิสูจนวา

1  a  1  a   1  a 
1 2 n
 1  a 1  a 2    an

สําหรับทุกจํานวนนับ n  2
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 11

โจทยแบบฝกหัดเพิ่มเติม ชุดที่ 1

1. กําหนดให a b c d  0 โดยที่ a d  b c จงแสดงวา ad  bc

x2 y2
2. กําหนดให x, y  0 จงแสดงวา   x  y
y x

a b 1 1
3. กําหนดให a, b  0 โดยที่ a  b จงแสดงวา  2  
b 2
a a b

x4 1
4. จงแสดงวา  สําหรับทุกจํานวนจริง x
1x 8
2

1 4 9
5. กําหนดให a, b  0 จงแสดงวา  
a b a b

6. กําหนดให a เปนจํานวนจริง จงแสดงวา a 4  a 2  2  2a 2  2a

2 2
7. กําหนดให x 0 จงแสดงวา ( x 3  x 2  3)  4x 3 ( x  1)

8. จงพิสูจนวา 1  n  2n สําหรับทุกจํานวนนับ n  2

9. จงพิสูจนวา nn  n ! สําหรับทุกจํานวนนับ n

1 1 1
10. จงพิสูจนวา   ...   n สําหรับทุกจํานวนนับ n
1 2 n
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 12

* อสมการคาเฉลี่ยเลขคณิต - เรขาคณิต - ฮารโมนิก *

นิยาม 1 กําหนดให x, y  0

x y
คาเฉลี่ยเลขคณิต ( arithmetic mean ) ของ x และ y คือ
2

คาเฉลี่ยเรขาคณิต ( geometic mean ) ของ x และ y คือ xy

ตัวอยาง 16 จงหาจํานวนจริงสองจํานวนที่ไมเปนลบ ซึ่งมีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปน 39 และคาเฉลี่ยเรขาคณิตเปน 15

ทฤษฎีบท 6 อสมการคาเฉลี่ยเลขคณิต - เรขาคณิต สําหรับสองจํานวน ( อสมการ AM - GM )


( Arithmetic Mean - Geometic Mean Inequality )
x y
กําหนดให x, y  0 แลวจะไดวา  xy
2
และสมการเปนจริงก็ตอเมื่อ x y
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 13

1
ตัวอยาง 17 กําหนดให a 0 จงแสดงวา a   2 และสมการเปนจริง ก็ตอเมื่อ a 1
a

a2
ตัวอยาง 18 กําหนดให a, b  0 และ k 0 จงแสดงวา 2ab   kb 2
k

1
ตัวอยาง 19 กําหนดให 0 t  1 จงแสดงวา 4t (1  t )  1 และสมการเปนจริง ก็ตอเมื่อ t 
2
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 14

9
ตัวอยาง 20 จงหาจุดต่ําสุดของฟงกชัน f (x )  x  โดยที่ x 0
x

ตัวอยาง 21 กําหนดให a, b, c  0 จงพิสูจนวา (a  b)(b  c)(c  a )  8 abc

และแสดงวาสมการเปนจริง ก็ตอเมื่อ a b c
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 15

   
2 2

ตัวอยาง 22 กําหนดให a, b  0 โดยที่ a b  1 จงแสดงวา a  1   b  1   25


   
a  b  2

2
ตัวอยาง 23 กําหนดให x, y  0 จงแสดงวา  xy และสมการเปนจริง ก็ตอเมื่อ x y
1 1

x y
2
( เรียกจํานวน วา คาเฉลี่ยฮารโมนิก ( harmonic mean ) ของ x และ y )
1 1

x y
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 16

นิยาม 2 กําหนดให a1 , a 2 , , a n  0 โดยที่ n  2

คาเฉลี่ยเลขคณิต ( arithmetic mean ) ของ a1 , a 2 , , a n คือ


a1  a 2    a n
n

คาเฉลี่ยเรขาคณิต ( geometic mean ) ของ a1 , a 2 ,..., an คือ


n a1 a 2  an

คาเฉลี่ยฮารโมนิก ( harmonic mean ) ของ a1 , a 2 ,..., an คือ


n
1 1 1
 
a1 a2 an

ทฤษฎีบท 7 อสมการคาเฉลี่ยเลขคณิต - เรขาคณิต - ฮารโมนิก ( อสมการ AM - GM - HM )


( Arithmetic Mean - Geometic Mean - Harmonic Mean Inequality )
กําหนดให a1 , a 2 , , a n  0 โดยที่ n  2 แลวจะไดวา
1
a1  a 2    a n
1 1
n
1
 a a
1 2
 an  n

n
 
a1 a2 an

และสมการเปนจริงก็ตอเมื่อ a1  a 2  ...  an

หมายเหตุ อสมการ AM - GM - HM สามารถเขียนแบบยอในรูปสัญลักษณไดเปน


n

 n
1
a

n i
n 
   ai
i 1
 
n
1  i  1  n
a
i 1 i

( คาเฉลี่ยฮารโมนิก  คาเฉลี่ยเรขาคณิต  คาเฉลี่ยเลขคณิต )


อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 17

ตัวอยาง 24 กําหนดให a, b, c  0 และ (1  a )( 1  b )(1  c )  8

จงพิสูจนวา abc  1

ตัวอยาง 25 จงหาคาสูงสุดของฟงกชัน f (x )  x (6  x )2 เมื่อ 0x  6


อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 18

 n  1 n
ตัวอยาง 26 จงแสดงวา n !    สําหรับทุกจํานวนนับ n  2
 2 

    1  1 


n n 1

ตัวอยาง 27 จงแสดงวา  1  1 สําหรับทุกจํานวนนับ n


 
 n   n  1 
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 19

ตัวอยาง 28 จงแสดงวา ในบรรดากลองทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีฝาปดทุกดานและมีพื้นที่ผิวเทากันนั้น


กลองทรงลูกบาศกจะมีปริมาตรมากที่สุด

ตัวอยาง 29 กําหนดให m, n เปนจํานวนนับ และ x, y  0 จงพิสูจนวา

mx  ny
m n
m n m n m n
 x y
m n
 x y
m n

และสมการเปนจริงก็ตอเมื่อ x  y
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 20

โจทยแบบฝกหัดเพิ่มเติม ชุดที่ 2

x2  2
1. กําหนดให x เปนจํานวนจริง จงแสดงวา  2
x2  1

x y x 2  y2
2. กําหนดให x, y  0 จงแสดงวา  และสมการเปนจริง ก็ตอเมื่อ x y
2 2
x 2  y2
( เรียกจํานวน วา รากกําลังสองเฉลี่ย ( root mean square ) ของ x และ y )
2

3. ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก จงพิสูจนวา ผลบวกของความยาวของดานประกอบมุมฉากมีคา ไมเกิน 2 เทา


ของความยาวของดานตรงขามมุมฉาก

1 1
4. กําหนดให a, b  0 โดยที่ ab  1 จงแสดงวา (1  )(1  )  4
a b

1
1
an 1 n 1
5. กําหนดให an  ( n ! ) n
จงพิสูจนวา  2 สําหรับทุกจํานวนนับ n  2
an

6. กําหนดให p, q , r เปนจํานวนนับ จงพิสูจนวา


 r   r  p   q 
p q r
 q   p 
3
p q r
  1   1    1  
  

 p   q   r 

7. กําหนดให n เปนจํานวนนับ จงพิสูจนวา

1 1 1 1
   ...   n ( n 2  1)
n n 1 n 2 2n  1
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 21

* อสมการคาเฉลี่ยเลขคณิต - เรขาคณิตถวงน้ําหนัก *

จากอสมการคาเฉลี่ยเลขคณิต - เรขาคณิต สําหรับ a1 , a 2 , , a n  0 จะไดวา


1
a1  a 2    a n
a a
1 2
 an  n

n

ซึ่งเขียนใหมไดเปน
1 1 1
1 1 1
a1 n a 2 n  an n   a1   a2     an
n n n

1
พิจารณาโดยมองวา เปนน้ําหนักของแตละคา ai แลวจะไดวาทุกคา ai มีน้ําหนักเทากัน โดยที่
n
n
1
ผลรวมของน้ําหนักของ a1 , a 2 , , a n เทากับ   1
i 1 n

สําหรับในหัวขอนี้เราจะศึกษาอสมการในกรณีที่ ai แตละตัวอาจมีน้ําหนักไมเทากันก็ได กลาวคือ


n
กําหนดให w1 , w2 , , wn  0 เปนน้ําหนักของ a1 , a 2 , , a n ตามลําดับ โดยที่  wi  1
i 1

ซึ่งจะไดอสมการดังทฤษฎีบทตอไปนี้

ทฤษฎีบท 8 อสมการคาเฉลี่ยเลขคณิต - เรขาคณิตถวงน้ําหนัก ( อสมการ AM - GM ถวงน้ําหนัก )


( Weighted Arithmetic Mean - Geometic Mean Inequality )
กําหนดให a1 , a 2 , , a n  0 โดยที่ n  2 และให w1 , w 2 , , wn  0
n
โดยที่  wi  1 แลวจะไดวา
i 1

 w1 a1  w2 a2    wn an
w w wn
a1 1 a 2 2  a n

และสมการเปนจริงก็ตอเมื่อ a1  a 2  ...  an
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 22

* อสมการคาเฉลี่ยเลขคณิต - เรขาคณิตถวงน้ําหนัก ( สําหรับสองจํานวน ) *

ทฤษฎีบท 9 กําหนดให x, y  0 และ 0 1 แลวจะไดวา


 1 
x y   x  (1   ) y

และสมการเปนจริงก็ตอเมื่อ x  y

1 1
ทฤษฎีบท 10 กําหนดให x, y  0 และ p, q  0 โดยที่   1 แลวจะไดวา
p q
1 1
1 1
x p yq  x  y
p q

และสมการเปนจริงก็ตอเมื่อ x  y

1 1
ทฤษฎีบท 11 กําหนดให u, v  0 และ p, q  0 โดยที่   1 แลวจะไดวา
p q
1 p 1
uv  u  vq
p q

และสมการเปนจริงก็ตอเมื่อ u p  vq
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 23

a b
a  b 
 
ตัวอยาง 30 กําหนดให a, b  0 จงแสดงวา a b  
a b
 2 
 

a b  c
a  b  c 
 
ตัวอยาง 31 กําหนดให a, b, c  0 จงแสดงวา a a bb c c   
 3
 
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 24

1 x 1x
ตัวอยาง 32 กําหนดให 1  x  1 จงแสดงวา (1  x ) (1  x )  1

ตัวอยาง 33 กําหนดให a, b, c  0 และ a b c  1 จงแสดงวา

a a b b c c  a b b c c a  a c b a cb  1
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 25

ตัวอยาง 34 กําหนดให a, b, c, d  0 และ ,   0 โดยที่    1 จงแสดงวา


 
a  b   c  d   (a  c ) (b  d )

และสมการเปนจริงก็ตอเมื่อ ad  bc
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 26

ตัวอยาง 35 อสมการของแบรนูลลี ( Bernoulli’s Inequality )


กําหนดให  เปนจํานวนจริง จงพิสูจนวา

ถา 0  1 แลว (1  x )  1   x สําหรับทุก x  1

และสมการเปนจริง ก็ตอเมื่อ x  0
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 27

* อสมการโคชี - ชวารซ *

ทฤษฎีบท 12 อสมการโคชี - ชวารซ ( Cauchy - Schwarz Inequality )


กําหนดให x 1 , x 2 , , x n และ y1 , y2 , , yn เปนจํานวนจริง แลวจะไดวา

x 1 y1  x 2 y2    x n yn  x 12  x 22    x n 2 y12  y22    yn 2

และสมการเปนจริงก็ตอเมื่อ xi เปนศูนยทุกตัว หรือ yi เปนศูนยทุกตัว หรือ มี   0

ที่ทําให yi   x i สําหรับทุก i  1, 2, , n

หมายเหตุ อสมการโคชี - ชวารซ สามารถเขียนในรูปสัญลักษณของซิกมาไดเปน


1 1
 n  2  n  2
n
 
x i
yi    x i 2
 i  1


  yi
2


i 1  i  1

ตัวอยาง 36 กําหนดให a, b, c  0 และ a sin2   b cos2   c จงแสดงวา

a sin2   b cos2   c
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 28

ตัวอยาง 37 กําหนดให a1 , a 2 , , a n  0 จงแสดงวา

a1  a 2    a n  n ( a12  a22    an 2 )

และสมการเปนจริงก็ตอเมื่อ a1  a 2  ...  an

หมายเหตุ จากตัวอยาง 37 ถาเราหารอสมการทั้งสองขางดวย n จะไดอสมการใหมเปน

a1  a 2    a n a12  a22    an 2

n n

a12  a22    an 2
โดยเรียกจํานวน วา รากกําลังสองเฉลี่ย ( root mean square )
n

ของ a1 , a 2 , , a n ดังนั้น อสมการนี้จึงทําใหเราไดวา คาเฉลี่ยเลขคณิตของ a1 , a 2 , , a n

มีคานอยกวาหรือเทากับ รากกําลังสองเฉลี่ยของ a1 , a 2 , , a n
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 29

ตัวอยาง 38 กําหนดให a, b, c  0 จงแสดงวา a b c  ab  bc  ca

ตัวอยาง 39 จงหาคาสูงสุดของ 2x  3y  6z เมื่อ x, y, z เปนจํานวนจริงใด ๆ ที่สอดคลองกับ


สมการ x 2  y2  z 2  1
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 30

ตัวอยาง 40 กําหนดให a1 , a 2 , , a n เปนจํานวนจริง โดยที่ a1  a 2    a n  1 จงแสดงวา


1
a12  a22    an 2 
n

ตัวอยาง 41 กําหนดให b1 , b2 , , bn  0 โดยที่ b1  b2    bn  1 จงแสดงวา

b1  b2    bn  n
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 31

ตัวอยาง 42 กําหนดให a เปนจํานวนจริง จงแสดงวา


2
(1  a  a 2  a 3 )  4 (1  a 2  a 4  a 6 )

ตัวอยาง 43 ( อสมการ Modified Cauchy )


กําหนดให x 1 , x 2 , , x n เปนจํานวนจริง และ y1 , y2 , , yn  0 จงแสดงวา
2
x 12 x 22 xn2 ( x 1  x 2  ...  x n )
  
y1 y2 yn y1  y2  ...  yn
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 32

ตัวอยาง 44 อสมการสามเหลี่ยม ( Triangle Inequality )


กําหนดให x 1 , x 2 , , x n และ y1 , y2 , , yn เปนจํานวนจริง จงแสดงวา
1 1 1
 n  2  n  2  n  2
  
  ( x i  yi )     x i     yi 
2 2 2

 i  1   i  1   i  1 

หมายเหตุ สําหรับอสมการสามเหลี่ยมในกรณีที่ n 1 จะไดอสมการเปน

( x  y )2  x2  y2

นั่นคือ
x y  x  y
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 33

* อสมการของโฮลเดอร *

อสมการของโฮลเดอร คือ อสมการที่ขยายจากอสมการของโคชีไปสูกรณีทั่วไป ซึ่งกลาวไดดังทฤษฎีบท


ตอไปนี้

ทฤษฎีบท 13 อสมการของโฮลเดอร ( Holder’s Inequality )


กําหนดให x 1 , x 2 , , x n  0 และ y1 , y2 , , yn  0 และ p, q  0

1 1
โดยที่   1 แลวจะไดวา
p q
1 1

x 1 y1  x 2 y2    x n yn   x 1p  x 2 p    x n p   p
y1q  y2q    ynq  q

และสมการเปนจริงก็ตอเมื่อ xi เปนศูนยทุกตัว หรือ yi เปนศูนยทุกตัว หรือ มี   0

ที่ทําให yi   x i สําหรับทุก i  1, 2, , n

หมายเหตุ อสมการของโฮลเดอรสามารถเขียนในรูปสัญลักษณของซิกมาไดเปน
1 1
 n  p  n  q
n
 
 x i yi    x i p
 i  1


  yi
q


i 1  i  1

อสมการโคชี - ชวารซ คือ อสมการของโฮลเดอรในกรณีที่ p  q  2


อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 34

ตัวอยาง 45 กําหนดให ai , bi , ci  0 สําหรับทุก i  1, 2, , n จงแสดงวา


1 1 1
 n  3  n  3   3
n
   n 3
 ai bi ci    ai 3
 i  1


  bi
3 
   ci 
i 1  i  1   i  1 
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 35

ตัวอยาง 46 อสมการของมินคอฟสกี ( Minkowski’s Inequality )


กําหนดให x 1 , x 2 , , x n  0 และ y1 , y2 , , yn  0 และ p  1 จงพิสูจนวา
1 1 1
 n  p  n  p  n  p
    
  ( x i  yi )   x i   yi
p   p p 
  
 i  1   i  1   i  1 

หมายเหตุ อสมการสามเหลี่ยม คือ อสมการของมินคอฟสกี ในกรณีที่ p 2


อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 36

ทฤษฎีบท 14 อสมการคาเฉลี่ยยกกําลัง ( Power-mean Inequality )


กําหนดให a1 , a 2 , , a n  0 และ r, s  0 โดยที่ r  s แลวจะไดวา
1 1
 a r  a r  a r  r  a s  a s  a s  s
 1 2 n    1 2 n 
   
 n   n 

และสมการเปนจริงก็ตอเมื่อ a1  a 2  ...  an

ตัวอยาง 47 กําหนดให x, y, z  0 โดยที่ x 2  y 2  z 2  12 จงแสดงวา x 3  y 3  z 3  24

ตัวอยาง 48 กําหนดให x, y, z  0 โดยที่ x 3  y 3  z 3  81 จงแสดงวา x y z  9


อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 37

ทฤษฎีบท 15 อสมการวาดวยการจัดเรียง ( Rearrangement Inequality )


กําหนดให a1 , a 2 , , a n และ b1 , b2 , , bn เปนลําดับของจํานวนจริง โดยที่
a1  a 2    a n จะไดวา

1) a1b1  a 2b2    anbn มีคามากที่สุด เมื่อ b1  b2    bn

2) a1b1  a 2b2    anbn มีคานอยที่สุด เมื่อ b1  b2    bn

ตัวอยาง 49 กําหนดให a, b, c  0 จงพิสูจนวา a 3  b 3  c 3  a 2b  b 2c  c 2a

a b c 1 1 1
ตัวอยาง 50 กําหนดให a, b, c  0 จงพิสูจนวา   
abc a 2
b 2
c2
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 38

x2 y2 z2 y z x
ตัวอยาง 51 กําหนดให x, y, z  0 จงพิสูจนวา     
y 2
z 2
x 2
x y z

ตัวอยาง 52 อสมการเชบีเชฟ ( Chebyshev Inequality )


กําหนดให a1 , a 2 , , a n และ b1 , b2 , , bn เปนลําดับของจํานวนจริง
ถาลําดับทั้งสองจัดเรียงในทิศทางเดียวกันแลว จงพิสูจนวา
 a  a  a   b  b    b  ab  ab    a b 
 1 2 n   1 2 n    1 1 2 2 n n
     
 n   n   n 

หมายเหตุ อสมการจะกลับทิศทางเปน  ถาลําดับทั้งสองจัดเรียงในทิศทางตรงขามกัน


อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 39

โจทยแบบฝกหัดเพิ่มเติม ชุดที่ 3

a 3  b6
1. กําหนดให a, b  0 จงแสดงวา  3ab 2  4
2

4
2. กําหนดให a  0 จงแสดงวา a   3
a2

a2 b4 1
3. กําหนดให a, b  0 จงแสดงวา ab   
2 4 4

4. กําหนดให a, b  0 จงแสดงวา (1  a )(1  b)  1  ab

2
5. กําหนดให a, b, c  0 จงแสดงวา 3
ab  3 bc  3 ac  (a  b  c )  1
3

6. กําหนดให a, b, c  0 จงแสดงวา abc ( a  b  c )  a 3b  b 3c  c 3a

7. กําหนดให a, b, c  0 โดยที่ a b c  1 จงแสดงวา

4a  1  4b  1  4c  1  21

8. กําหนดให n เปนจํานวนนับ จงแสดงวา


2n  2 n 1 2
n (1  a 2  a 4    a )  (1  a  a 2    a )

9. กําหนดให a1 , a 2 , , a n  0 โดยที่ a1  a 2    a n  1 จงแสดงวา

     
2 2 2 2
 1   1   1  (1  n 2 )
 a1     a2     an   
 a1  
 a2   an  n
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 40

* โจทยแบบฝกหัดเพิ่มเติม ชุดพิเศษ *

1. กําหนดให x, y, z เปนจํานวนจริง จงพิสูจนวา x 6  y 6  z 6  x 2y 4  y 2z 4  z 2x 4

1
2. กําหนดให a b  0 จงแสดงวา a   3
( a  b )b

1 1 1
3. กําหนดให a, b, c  0 โดยที่ a b c  1 จงแสดงวา (  1)(  1)(  1)  8
a b c

4. จงหาคาต่ําสุดของ x 12  x 22  x 32 เมื่อกําหนดให x 1  2x 2  3x 3  6

5. กําหนดให a, b, c, d เปนจํานวนจริง จงพิสูจนวา


( abcd  1)4
 1
( a 4  1)( b 4  1)( c 4  1)( d 4  1)

6. กําหนดให a1 , a 2 , , a n  0 และ b1 , b2 , , bn  0 จงแสดงวา


b1 b2 bn 2
( a1b1  a2b2    anbn )(   )  ( b1  b2    bn )
a1 a2 an

7. จงหาจํานวนจริงบวก a, b, c ทั้งหมดที่สอดคลองกับสมการ

16a 3  2b 3  2c 3  24  12ab  6bc  12ca

n (n 1)
 2n  1  2
 
8. กําหนดให n เปนจํานวนเต็มบวก จงแสดงวา 1  22  33  ...  n n  

 3 
อสมการ ศูนย สอวน. มจพ. คาย 2 41

9. กําหนดให a, b, c  0 โดยที่ abc  1 จงพิสูจนวา


a5 b5 c5 3
 3  3 
a 1
3
b 1 c 1 2

10. กําหนดให a, b, c  0 จงพิสูจนวา


ab bc ca 1 1 
 3  3    1  1 
2  a b 
c 
a b
3 3
b c 3
c a 3

11. กําหนดให ,  , x , y , z  0 โดยที่ xyz  1 จงพิสูจนวา


3
( x 2  y )( y 2  z )( z 2  x )  (    )

12. กําหนดให x, y, z  0 จงพิสูจนวา


x2 y2 z2 1
   (x  y  z )
(y  z ) (x  z ) (x  y ) 2

13. กําหนดให x, y, z  0 โดยที่ x y z  1 จงพิสูจนวา


x4 y4 z4 1
  
(x  y )2
(y  z )2
(z  x )2
12

You might also like