You are on page 1of 106

ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชื่อ-สกุล...........................................
ชั้น ม. ........................ เลขที่ ..........
AJ. PANNIDA MEELA
DEPARTMENT OF SCIENCE, DEMONSTRATION SCHOOL OF
RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 1
ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ
• หมายถึง ความหลากหลายของ
สิ่ งมีชีวิตชนิดต่ างๆ ที่ดาํ รงชีวิตอยู่ใน
แหล่ งที่อยู่อาศัยเดียวกันหรื อ
แตกต่ างกัน
• สิ่ งมีชีวิตต่างชนิดกันจะมีความ
แตกต่างกันในด้านชนิดและจํานวน
หรื อทางสายพันธุกรรม

2
นกฟิ นช์ บนหมู่เกาะกาลาปากอส แต่ละชนิดจะมีขนาด รู ปร่ าง และจะงอยปาก
แตกต่างกัน เป็ นผลมาจากชนิดของอาหารที่กินและสภาพแวดล้อมที่เป็ นแหล่งอาศัย

3
กระบวนการเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ

4
กระบวนการเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ

5
ประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
เป็ นความหลากหลายของแหล่งที่อยูท่ ี่สิ่งมีชีวิตนั้นอาศัยอยู่ เพราะสิ่ งมีชีวิตแต่ละชนิด
จะเลือกสภาพแวดล้อม หรื อแหล่งที่อยูอ่ าศัยให้เหมาะสมกับการดํารงชีวิตและการขยาย
เผ่าพันธุ์

ระบบนิเวศป่ าไม้ ระบบนิเวศทะเลทราย

6
บริ เวณต่างๆ ของโลกมีลกั ษณะทางกายภาพของสิ่ งแวดล้อมแตกต่างกัน
ทําให้มีระบบนิเวศแตกต่างกัน

ระบบนิเวศป่ าชายเลน ระบบนิเวศนํ ้าเค็ม

7
ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์
เป็ นความหลากหลายที่สามารถพบเห็นได้ชดั เจน เกี่ยวข้องกับจํานวนชนิดของ
สิ่ งมีชีวิตที่อาศัยอยูบ่ นโลก ซึ่ งสิ่ งมีชีวิตบนโลกอาจมีจาํ นวนถึง 50 ล้านชนิด

8
ความหลากหลายทางพันธุกรรม
เป็ นความหลากหลายที่ ป รากฏไม่ ชัด เจน โดยสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ มี ล ัก ษณะภายนอก
คล้ายกันมากอาจมีองค์ประกอบทางพันธุกรรมที่แตกต่าง
ความหลากทางพันธุกรรมที่เกิดโดยธรรมชาติ

9
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่เกิดจากการกระทําของมนุษย์
• การใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการหลอมรวมเซลล์สืบพันธุ์ของแกะกับแพะ แล้วใส่ เข้าไป
ให้เจริ ญเติบโตในมดลูกของแกะ ทําให้ได้สัตว์ลูกผสมสายพันธุ์ใหม่มีชื่อว่า กีป
• ลักษณะเด่นของกีป คือ มีเขาและขน ที่มีลกั ษณะผสมระหว่างขนแพะกับขนแกะ
• นอกจากนี้ ก็มีการผสมพันธุ์สุนขั ระหว่างสายพันธุ์ต่างๆ ด้วย

10
11
·´Êͺ¡Ñ¹Ë¹‹ÍÂÊԨЍ

12
13
การจัดหมวดหมู่ของสิ่ งมีชีวติ

14
ลักษณะทีใ่ ช้ ในการจัดจําแนกสิ่ งมีชีวติ
• ลักษณะภายนอกและโครงสร้ างภายในของร่ างกาย: ใช้แบ่งสิ่ งมีชีวิตออกเป็ นกลุม่ ใหญ่ๆ
• แบบแผนของการเจริ ญเติบโต: ใช้หลักง่ายๆ คือ สิ่ งมีชีวิตใดที่มีลกั ษณะของตัวอ่อน
คล้ายคลึงกันมาก ย่อมมีวิวฒั นาการใกล้กนั มากด้วย
• ซากดึก ดํา บรรพ์ : สิ่ งมี ชี วิตใดที่ มี ค วามสัม พันธ์ใ กล้ชิ ดกัน ย่อมมี ซ ากดึ กดําบรรพ์
คล้ายคลึงกัน และอาจทําให้ทราบถึงบรรพบุรุษของสิ่ งมีชีวิตนั้นๆ ด้วย

15
• โครงสร้ างของเซลล์ และออร์ แกเนลล์ : เป็ นการศึกษาในระดับเซลล์และส่ วนประกอบ
ของเซลล์
• สรีรวิทยาและการสั งเคราะห์ สารเคมี: สิ่ งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีโครงสร้างทางสรี รวิทยา
ต่างกัน ดังนั้นการสังเคราะห์สารต่างๆ ในร่ างกายย่อมต่างกันด้วย
• ลักษณะทางพันธุกรรม: เป็ นวิธีที่มีกระบวนการซับซ้อนและยุง่ ยาก

16
แบบทดสอบ
1. ข้ อใดให้ ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพได้ ถูกต้ องที่สุด
1. การมีสิ่งชนิดพันธุ์ของสิ่ งมีชีวิตหลากหลายชนิดมาอยูร่ วมกัน ณ สถานที่
หนึ่งในระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่ง
2. สิ่ งมีชีวิตหลายๆ ชนิดอยูร่ ่ วมกัน
3. สิ่ งมีชีวิตหลายๆชนิดอยูร่ ่ วมกันในระบบนิเวศน์หนึ่งๆ
4. สิ่ งมีชีวิตชนิดเดียวอาศัยร่ วมกันมีความหลากหลายทางพันธุกรรมทําให้เกิด
สายพันธุ์ต่างๆ
2. ข้ อต่ อไปนีค้ ือหลักเกณฑ์ ในการจําแนกสิ่ งมีชีวติ ยกเว้นข้ อใด
1. ลักษณะทางพันธุกรรม 2. ลักษณะโครงสร้างร่ างกาย
3. แบบแผนการเจริ ญเติบโต 4. ลักษณะอาหารที่ใช้ดาํ รงชีพ

17
เกณฑ์ ในการจัดจําแนกสิ่งมีชีวติ
• ไดโคโตมัสคีย์ เป็ นเครื่ องมื อที่ ใช้จดั จําแนกสิ่ งมี ชี วิตออกเป็ นกลุ่ม ย่อย โดยพิจารณา
โครงสร้างที่แตกต่างกันเป็ นคู่ๆ ทีละลักษณะ ซึ่ งทําให้การพิจารณาง่ายขึ้น
• สิ่ งมีชีวิตแต่ละกลุ่มจะมีไดโคโตมัสคียท์ ี่ใช้แยกกลุ่มย่อยของสิ่ งมีชีวิตนั้นๆ

1. ก. มีขน.........................................................................................................................ดูขอ้ 2.
ข. ไม่มีขน..................................................................................................................ดูขอ้ 3.
2. ก. ขนเป็ นเส้น.............................................................................สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ข. ขนเป็ นแผงแบบขนนก..............................................................................สัตว์ปีก
3. ก. มีครี บคู่ มีช่องเหงือก...............................................................สัตว์น้ าํ พวกปลา
ข. ไม่มีครี บคู่............................................................................................................ดูขอ้ 4.
4. ก. ผิวหนังมีเกล็ด.................................................................................สัตว์เลื้อยคลาน
ข. ผิวหนังไม่มีเกล็ด.....................................................สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก
18
ลําดับในการจัดจําแนกสิ่งมีชีวติ
คาโรลัส ลินเนียส นักธรรมชาติวิทยาชาวสวีเดน ได้ริเริ่ มการจัดจําแนกสิ่ งมีชีวิต โดย
การคัดเลือกประเภทที่มีความใกล้เคียงกันไว้ดว้ ยกัน ซึ่ งจะเริ่ มจากขอบเขตที่กว้าง แล้ว
ค่อยๆ แคบลง
อาณาจักร (Kingdom)

ไฟลัม (Phylum) หรื อดิวชิ ัน (Division)


คลาส (Class)
ออร์ เดอร์ (Order)
แฟมิลี (Family)
จีนัส (Genus)
สปี ชีส์ (Species)
19
ชื่ อของสิ่งมีชีวติ
ชื่ อสามัญ
• ชื่ อที่เรียกกันทั่วไป ตามลักษณะหรื อรู ปร่ างของสิ่ งมีชีวติ ชนิดนั้น ตัวอย่างเช่น
ดาวทะเล ว่านหางจระเข้ ทากบก เป็ นต้น

ชื่ อวิทยาศาสตร์
• ชื่ อที่กําหนดขึน้ ตามหลักสากลและเป็ นที่ยอมรับกันในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ ซึ่ ง
คาโรลัส ลินเนียส เป็ นผูร้ ิ เริ่ มการใช้ชื่อวิทยาศาสตร์
• กําหนดให้สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยชื่อ 2 ชื่อ โดยชื่อหน้า คือ ชื่อสกุล และ
ชื่อหลัง คือ คําระบุชนิด
• การเรี ยกชื่อดังกล่าวเรี ยกว่า การตั้งชื่ อแบบทวินาม

20
หลักเกณฑ์ การตั้งชื่ อแบบทวินาม
• อั ก ษรตั ว แรกของชื่ อ สกุล ต้อ งเป็ นภาษาอัง กฤษตั ว พิ ม พ์ ใ หญ่ ตัว อัก ษรที่ เ หลื อ เป็ น
ตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด
• การเขียนจะต้องแตกต่างจากอักษรตัวอื่น โดยการเขียนตัวเอน ตัวหนา หรื อขีดเส้ นใต้
อย่างใดอย่างหนึ่ง

ข้ าว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oryza sativa L. มะม่ วงหิมพานต์ ชื่อวิทยาศาสตร์ :


Anacardium occidentale L.
21
ไก่ ฟ้าพญาลอ ชื่อวิทยาศาสตร์ : โลมาปากขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ :
Lophura diardi (Bonaparte, 1856) Tursiops truncatus (Montagu, 1821)

ลิงแสม ชื่อวิทยาศาสตร์ :
Macaca fascicularis (Raffles, 1821)
22
แบบทดสอบ
1. ชื่ อวิทยาศาสตร์ ของสิ่ งมีชีวติ มีความหมายตรงกับข้ อใดมากที่สุด
1. ใช้เรี ยกสิ่ งมีชีวิตที่คน้ พบใหม่
2. นักวิทยาศาสตร์ใช้เรี ยกสิ่ งมีชีวิต
3. นักวิทยาศาสตร์ยอมรับและเข้าใจตรงกัน
4. เขียนด้วยภาษาอังกฤษ และขีดเส้นใต้หรื อใช้ตวั พิมพ์เอน

2. มนุษย์ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ (Scientifiname) ว่า Homo sapiens


คําว่า Homo เป็ นชื่ อของอะไร
1. จีนสั 2. ไฟลัม
3. คลาส 4. คิงดอม

23
แนวคิดเกีย่ วกับการจําแนกสิ่ งมีชีวติ

24
25
26
อาณาจักรพืช
(Plant Kingdom)

AJ. PANNIDA MEELA


DEPARTMENT OF SCIENCE, DEMONSTRATION SCHOOL OF https://www.youtube.com/watc
RAMKHAMHAENG UNIVERSITY
h?v=w77zPAtVTuI
อาณาจักรพืช (Plant Kingdom)
เกณฑ์การพิจารณาสิง่ มีชีวิต
เป็ นยูคาริโอติคเซลล์ มีผนังเซลล์เป็ นเซลลูโลส มีคลอโรฟิ ลล์
สร้ างอาหารเองได้ เคลื่อนด้ วยตัวเองไม่ได้ มีวงจรชีวิตแบบสลับ
อาณาจักรพืชแบ่งเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ๆ (10 ดิวิชน)
ั ่ คือ
• พืชไม่มีท่อลําเลียง ได้แก่ Division Bryophyta
• พืชที่มีท่อลําเลียง แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม คือ
– พืชทีม่ ที อ่ ลําเลียงและไม่มเี มล็ด
– พืชที่มที อ่ ลําเลียงและเมล็ดไม่มรี ังไข่ห่อหุ้ม (เมล็ดเปื อย)
– พืชที่มที อ่ ลําเลียงและเมล็ดมีรังไข่ห่อหุ้ม (พืชดอก)
1. ดิวิชนั ไบรโอไฟตา (Division Bryophyta)

พืชที่ไม่มีระบบท่อลําเลียง มีขนาดเล็ก ได้ แก่


มอส ลิเวอร์เวิร์ต และฮอร์นเวิร์ด
2. ดิวิชนั ไซโลไฟตา (Division Psilophyta)

พืชที่มีท่อลําเลียง ไม่มีเมล็ด ไม่มใี บและรากที่แท้ จริง


ลําต้ นส่วนใหญ่อยู่ในดินเรียกว่า ลําต้นใต้ดิน (rhizome) ได้ แก่
หวายทะนอย หรือไซโลตัม (Psilotum)
3. ดิวิชนั ไลโคไฟตา (Divison Lycophyta)
พืชที่มีท่อลําเลียงที่มีลาํ ต้น ใบ และรากที่แท้ จริง ไม่มเี มล็ด
แต่ยังมีใบขนาดเล็ก ได้ แก่ ช้ องนางคลี่ ( Lycopodium ) และ
ตีนตุก๊ แก ( Sellaginella )
4. ดิวิชนั สฟี โนไฟตา (Division Sphenophyta)

พืชที่มีท่อลําเลียง ไม่มีเมล็ด ลําต้ นลักษณะเป็ นข้ อและปล้ อง


มีการสร้ างสปอร์ ได้ แก่ สนหางม้ าหรือหญ้ าถอดปล้ อง ( Equisetum )
5. ดิวิชนั เทอโรไฟตา(Division Pterophyta)

พืชที่มีท่อลําเลียง ไม่มีเมล็ด มีหลายชนิดแตกต่างกัน ได้ แก่


- บางชนิดเป็ นพืชลอยน้ า เช่น แหนแดง จอกหูหนู
- บางชนิดอยู่ในร่ มหรือที่ช้ ืนแฉะ เช่น ผักแว่น ผักกูด
- บางชนิดแกาะอยู่ตามต้ นไม้ หรือกิ่งไม้ เช่น ชายผ้ าสีดา เฟิ ร์นเขากวาง
เป็ นกลุ่มพืชทีม่ ีจํานวนชนิดหรือสปี ชีสม์ ากกว่าดิวิชนั อืน่ ๆ ทั้งหมดทีผ่ ่านมา
6. ดิวิชนั โคนิเฟอโรไฟตา( Division Coniferophyta)

เป็ นพืชที่สร้างเมล็ดเปื อย(มีท่อลําเลียงและเมล็ดไม่มีรงั ไข่ห่อหุม้ )


ส่วนใหญ่เป็ นไม้ยน ื ต้นขนาดใหญ่ ได้ แก่ พวกสน ( Pinus ) เช่น สนสอง
ใบและสนสามใบ
ใบเป็ นใบเดี่ยวแต่มักมีขนาดเล็ก คล้ ายรูปเข็ม
7. ดิวิชนั ไซแคโดไฟตา (Division Cycadophyta)

เป็ นพืชที่สร้างเมล็ดเปื อย
มีลําต้นใหญ่ ส่วนใหญ่อยู่ใต้ดิน มีลกั ษณะเป็ นหัว อีกส่วนหนึง่ อยู่เหนือดิน
ใบย่อยมีจํานวนมาก ขนาดเล็กและแข็ง มีอวัยวะสืบพันธุ ์ เรียกว่า โคน
พืชในกลุ่มนี้ คือ ปรง (cycads)
8. ดิวิชนั กิงโกไฟตา (Division Ginkgophyta)

เป็ นพืชที่สร้างเมล็ดเปื อย
พืชในอาณาจักรนี้ปัจจุบนั มีเพียงชนิดเดียว คือ แป๊ ะก๊วย (ginkgo
billoba)
9. ดิวิชนั นีโทไฟตา (Division Gnetophyta)

เป็ นพืชที่สร้างเมล็ดเปื อย
ได้ แก่ มะเมื่อย (Gnetum)
10. ดิวิชนั แอนโทไฟตา(Division Anthophyta)
พืชที่สร้ างเมล็ดมีรงั ไข่ห่อหุม้ ถือว่ามีวิวฒ
ั นาการสูงสุด พบมากที่สดุ
ได้ แก่ พืชดอก (Flowering plant) ซึ่งแบ่งเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ ได้ แก่
•พืชใบเลี้ ยงเดีย่ ว (Monocotyledon)
•พืชใบเลี้ ยงคู่ (Dicotyledon)
บางชนิดมีดอกขนาดใหญ่เห็นได้ ชัดเจน เช่น กุหลาบ ชบา
บางชนิดไม่ค่อยเห็นดอก เช่น ตะไคร้ สาหร่ายหางกระรอก พลูด่าง
สรุปอาณาจักรพืช
แบบทดสอบ
1. ข้ อใดเป็ นลักษณะเฉพาะตัวของสิ่ งมีชีวติ ที่อยู่ในอาณาจักรพืช
1. สื บพันธุ์ดว้ ยเมล็ด 2. มีคลอโรฟิ ลล์
3. เซลล์มีเยือ่ หุม้ 4. สื บพันธุ์โดยการสร้างสปอร์

2. พืชในข้ อใดเป็ นตัวแทนไฟลัม ที่เริ่มมีราก ใบ และลําต้ นที่แท้ จริง


1. หวายทะนอย 2. หญ้าถอดปล้อง
3. ลิเวอร์เวิร์ต 4. เฟิ น
3. กลุ่มพืชที่ไม่ มีระบบท่ อลําเลียง คือข้ อใด
1. มอส ลิเวอร์เวิร์ต 2. หวายตะมอย ต้นหางสิ งห์
3. ช้องนางคลี่ สามร้อยยอด 4. หญ้าถอดปล้อง เฟิ น
อาณาจักรสัตว
Animalia Kingdom
AJ. PANNIDA MEELA
DEPARTMENT OF SCIENCE, DEMONSTRATION SCHOOL OF
RAMKHAMHAENG UNIVERSITY
41
หลักการพิจารณาสิง่ มีชีวิต

• เป็ นยูคาริโอติคเซลล์
• ประกอบด้ วยเซลล์หลายเซลล์ท่ไี ม่มีผนังเซลล์
• สร้ างอาหารเองไม่ได้ เพราะไม่มีคลอโรฟิ ลล์
• โดยทั่วไปเคลือ่ นที่ได้ด้วยตัวเอง
• สามารถตอบสนองต่อสิง่ เร้าได้ เนื่องจากมีระบบประสาท
และมีอวัยวะรับความรู้สกึ

42
อาณาจักรสัตว์แบ่งเป็ น 9 ไฟลัม
1. ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)
2. ไฟลัมซีเลนเทอราตา (Phylum Coelenterata)
3. ไฟลัมเนมาโทดา (Phylum Nematoda)
4. ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda)
5. ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata)
6. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (Phylum Echinodermata)
7. ไฟลัมแพลทีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)
8. ไฟลัมมอลลัสกา (Phylum Mollusca)
9. ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)
43
1. ไฟลัมพอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA)
ลักษณะสําคัญ
เป็ นสัตว์ท่มี วี ิวัฒนาการตํ่าสุด และ
ไม่มเี นื้อเยื่อแท้ จริง
ลําตัวเป็ นรูพรุน ได้ แก่ ฟองนํ้า โดย
ฟองนํา้ ที่มรี ูปร่างซับซ้ อนน้ อยที่สดุ จะ
มีสมมาตรรัศมี แต่ฟองนํา้ ส่วนใหญ่
ไม่มีสมมาตร
ตัวเต็มวัยมักจะเกาะกับที่ จึงไม่มี
ระบบประสาท (nervous system)
และ อวัยวะรับความรู้สกึ (sense
organ)
44
1. ไฟลัมพอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA) (ต่อ)

มีท้งั อาศัยในนํา้ จืดและนํา้ เค็ม


สืบพันธุไ์ ด้ ท้งั แบบไม่อาศัยเพศคือ สร้ าง
Gemmule ด้ วยการแตกหน่อ และแบบอาศัย
เพศคือ สร้ างสเปิ ร์มและไข่ให้ ผสมกันในนํา้
เรียกว่า larva
มีโครงร่างแข็งคํ้าจุน (Spicule ที่เป็ น
หินปูนหรือแก้ ว, Spongin ที่เป็ นเส้ นใย
โปรตีน)
https://www.youtube.com/watch?v=pTZ211cIjX8 45
2. ไฟลัมซีเลนเทอราตา หรือ ไนดาเรีย
(PHYLUM COELENTERATA)
ลักษณะสําคัญ
 ร่างกายประกอบด้ วย เนื้อเยื่อ 2 ชั้นคือ
Epidermis เเละ Gastrodermis
 ระหว่างชั้นเนื้อเยื่อมีสารคล้ายวุน้ เรียกว่า
Mesoglea เเทรกอยู่
 ลําตัวกลวงลักษณะเป็ นถุงตัน มีช่องเปิ ด
ช่องเดียวเรียกว่า gastrovascula cavity
ทําหน้ าที่เป็ นทางเดินอาหารอาหารเข้ าออกทาง
ช่องเปิ ดเดียวกัน
46
2. ไฟลัมซีเลนเทอราตา หรือ ไนดาเรีย
(PHYLUM COELENTERATA) (ต่อ)
มีหนวดอยู่รอบปากเรียกว่า เทนทาเคิล
( tentacle )ใช้ สาํ หรับจับเหยื่อ
ที่หนวดมีเซลล์สําหรับต่อยเรียกว่า
cnidocyte เเละมีเข็มสําหรับต่อยเรียกว่า
nematocyst
สืบพันธุแ์ บบไม่อาศัยเพศ โดยการ
แตกหน่อ
มี 2 เพศในตัวเดียวกัน
47
3. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส
(PHYLUM PLATYHELMINTHES)
ลักษณะสําคัญ
- มีสมมาตรเป็ นแบบครึ่งซีก (Bilateral
symmetry)
- ไม่มีช่องว่างในลําตัว (Acoelomate
animal) เนื่องจากเนื้อเยื่อชั้นกลางมี
เนื้อเยื่อหยุ่นๆบรรจุอยู่เต็มไปหมด
- ไม่มีระบบหมุนเวียนโลหิต ไม่มเี ส้ นเลือด
ไม่มหี ัวใจ สารอาหารไปเลี้ยงเซลล์โดยการ
แพร่จากทางเดินอาหารเข้ าสู่เซลล์โดยตรง
48
3. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส
(PHYLUM PLATYHELMINTHES) (ต่อ)
- มีระบบทางเดินอาหารเป็ นแบบไม่
สมบูรณ์มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก และใน
พวกพยาธิตัวตืดไม่มที างเดินอาหาร
- มีระบบประสาทอยู่ทางด้ านหน้ าและแตก
แขนงออกไปทางด้ านข้ างของลําตัว
- มีท้ งั 2 เพศในตัวเดียวกัน สามารถผสม
พันธุไ์ ด้ ภายในตัวเอง (Self
fertilization) และ
ผสมพันธุข์ ้ ามตัว (Cross fertilization)
49
4. ไฟลัมนีมาโทดา (PHYLUM NEMATOD)
ลักษณะสําคัญ
ลําตัวกลมยาวหัวท้ ายเเหลม ไม่มรี ยางค์(ผิวเรียบ)
มีสารคิวติเคิลหนาปกคลุมลําตัว
สมมาตรครึง่ ซีก
มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ มีท้ งั ปากเเละทวารหนัก

50
4. ไฟลัมนีมาโทดา (PHYLUM NEMATOD) (ต่อ)

มีช่องลําตัวเทียม ( pseudocoelom )
ระบบประสาทเป็ นวงเเหวนรอบคอต่อกับเส้ นประสาทที่ยาวตลอดลําตัว
ไม่มีระบบไหลเวียนเลือดเเละระบบหายใจ
สืบพันธุเ์ เบบอาศัยเพศ มีตัวผู้ตัวเมียคนละตัวกัน ไข่มสี ารไคตินหุ้มจึง
ทนทานต่อสภาพเเวดล้ อมได้ ดี

51
5. ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA)
ลักษณะสําคัญ
มีลาํ ตัวกลมยาวเป็ นปล้องๆ มองเห็นภายนอกเป็ นวงเเละภายในมี
เนื้อเยื่อกั้นระหว่างปล้ องเรียกว่า เซปตา ( septa )
เเต่ละปล้องมีอวัยวะคือ เดือย ( saeta) เนฟริเดีย (อวัยวะขับถ่าย )
และเส้นประสาท

52
5. ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA) (ต่อ)

ที่หวั มีอวัยวะสําคัญ ( สมอง คอหอย หัวใจ )


ร่างกายมีสมมาตรครึง่ ซีก
มีช่องลําตัวเเท้จริง (coelom) ซึ่งเป็ นช่องลําตัวในเนื้อเยื่อมีโซเดิร์ม
มีระบบประสาท

53
6. ไฟลัมมอลลัสกา (PHYLUM MOLLUSCA)
ลักษณะสําคัญ
สัตว์ในไฟลัมนี้มีลาํ ตัวอ่อนนุ่ม ปกคลุมด้ วยเยื่อบางๆ เรียกว่า แมนเทิล
(mantle) บางชนิดอาจมีเปลือกแข็งหุม้ ลําตัวเป็ น CaCO3
แยกเพศผู้-เมีย
ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในนํา้ ทั้งนํา้ จืดและนํา้ ทะเลโดยหายใจด้ วยเหงือก พวกที่
อาศัยอยู่บนบกหายใจด้ วยปอด
มีทางเดินอาหารสมบูรณ์
มีระบบเลือดแบบวงจรเปิ ด มีหวั ใจ
มีช่องว่างลําตัวแท้
54
6. ไฟลัมมอลลัสกา (PHYLUM MOLLUSCA) (ต่อ)

55
7. ไฟลัมอาร์โทรโปดา
(PHYLUM ARTHROPODA)
ลักษณะสําคัญ
มีลาํ ตัวเป็ นปล้องและมีรยางค์เป็ น
ข้อๆต่อกันยื่นออกมาจากแต่ละปล้ อง
ของลําตัว
มีจาํ นวนชนิดมากที่สดุ ในอาณาจักร
สัตว์ ประมาณว่ามีถงึ กว่า 9 แสนชนิด
ที่มนุษย์เราได้ ค้นพบ
สามารถอาศัยอยู่ได้ ในแทบทุกสภาพ
ภูมปิ ระเทศบนโลก
56
7. ไฟลัมอาร์โทรโปดา
(PHYLUM ARTHROPODA) (ต่อ)
 มีโครงสร้ างของร่างกายที่แข็งแรง
 มีระบบประสาทที่เจริญดี มีอวัยวะรับความรู้สกึ หลายชนิด
 มีการแบ่งสัดส่วนของร่างกายเป็ นข้ อปล้ องชัดเจน 3 ส่วน คือ หัว(Head) , อก
(Thorax) และ ท้อง(Abdomen)
 ระบบหมุนเวียนเป็ นระบบเปิ ด ประกอบไปด้ วยหัวใจ เลือด และแอ่งเลือด
(Hemocoel)

57
8. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา
(PHYLUM ECHINODERMATA)
ลักษณะสําคัญ
สัตว์ท่ผี ิวหนังมีหนามขุรขระ
สมมาตรร่างกายตัวอ่อนเป็ นเเบบครึ่งซีก ตัวเต็มวัยกลายเป็ น
สมมาตรเเบบรัศมี
ลําตัวเเบ่งเป็ น 5 ส่วนหรือ ทวีคูณของ 5 ยืน่ ออกมาจากเเผ่นก
ลมที่เป็ นศูนย์กลาง
มีโครงร่างเเข็งภายใน มีเเผ่นหินปูนเล็กๆ ที่ยึดติดกันด้ วย
กล้ ามเนื้อหรือผิวหนังที่ปกคลุมอยู่บางชนิด

https://www.youtube.com/watch?v=BnJ8preFDdA
58
8. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา
(PHYLUM ECHINODERMATA) (ต่อ)
มีเส้นประสาทเป็ นวงเเหวนรอบปาก เเละเเยกเเขนงไปตามเเขน
การเคลือ่ นไหวใช้ระบบท่อนํ้า ( water vascula system ) ภายในร่างกาย
การสืบพันธุ์ แบ่งเป็ นเเบบอาศัยเพศโดยมีการปฎิสนธิภายนอก และ เเบบ
ไม่อาศัยเพศบางชนิด (การงอกใหม่)

59
9. ไฟลัมคอร์ดาตา
(PHYLUM CHORDATA)
ลักษณะสําคัญ
มีโนโตคอร์ด (Notochord) ซึ่งเป็ นแกนคํ้าจุนหรือพยุงกาย ใน
พวกสัตว์ช้ันสูงมีกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งแทนโนโตคอร์ด
มีไขสันหลังเป็ นหลอดยาวกลวงอยู่ทางด้ านหลัง (Dorsal hollow
nerve tube) เหนือทางเดินอาหาร ซึ่งแตกต่างจากสัตว์พวกไม่มี
กระดูกสันหลัง ซึ่งมีระบบประสาทอยู่ทางด้ านท้ อง(Ventral nerve
cord) ใต้ ทางเดินอาหารและเป็ นเส้ นตัน

60
9. ไฟลัมคอร์ดาตา
(PHYLUM CHORDATA) (ต่อ)

มีช่องเหงือก (Gill slit) ในพวกสัตว์มกี ระดูกสันหลังชั้นสูง เช่น


สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้ วยนํา้ นมจะมีช่องเหงือกตอนเป็ นตัวอ่อน
เท่านั้น เมื่อโตขึ้นช่องเหงือกจะปิ ด ส่วนปลามีช่องเหงือกตลอดชีวิต
มีหางเป็ นกล้ามเนื้ อ (Muscular post anal tail)

61
9. ไฟลัมคอร์ดาตา
(PHYLUM CHORDATA) (ต่อ)

62
สรุปอาณาจักรสัตว์

63
แบบทดสอบ
1. เป็ นสั ตว์ที่ว่ายนํ้า หากินอย่ างอิสระอยู่ในทะเล มีลําตัวนิ่ม บางชนิดมีพษิ บางชนิดใช้
เป็ นอาหารได้ ตัวอ่ อนมีหลายระยะ แต่ ละระยะมีรูปร่ างแตกต่ างกัน ตัวอ่ อนบาง
ระยะว่ายนํ้าเป็ นอิสระ บางระยะเกาะติดอยู่กับที่ สั ตว์ที่มีลักษณะดังกล่ าวจัดอยู่ใน
ไฟลัมอะไร
1. พอริ เฟอรา 2. มอลลัสกา 3. เอไคโนเดิร์ม 4. ซี เลนเทอราตา
2. สั ตว์ไฟลัมใดที่มีมากที่สุดในโลก
1. พอริ เฟอรา 2. แอนเนลิด 3. มอลลัสกา 4. อาร์โทพอด
3. ดาวทะเล พลับพลึงทะเล ดาวขนนก ดาวมงกุฎหนาม ปลิงทะเล ?
1. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา 2. ไฟลัมมอลลัสกา
3. ไฟลัมคอร์ดา 4. ไฟลัมนีมาโทดา
64
ÍҳҨѡÿ˜§ä¨
( Kingdom fungi )

AJ. PANNIDA MEELA


DEPARTMENT OF SCIENCE, DEMONSTRATION SCHOOL
65 OF
RAMKHAMHAENG UNIVERSITY
Kingdom of Fungi
สิ่ งมีชีวติ ที่อยู่ในอาณาจักรฟังไจ ประกอบด้ วย รา เห็ด และยีสต์
ลักษณะสํ าคัญ
1. เซลล์เป็ นแบบยูคาริโอติก (Eucaryotic cell) มีเยือ่ หุม้ นิวเคลียส
2. ไม่ มคี ลอโรฟิ ลล์ ดํารงชีวิตเป็ นผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ที่เน่าเปื่ อย
3. ผนังเซลล์เป็ นสารไคตินกับเซลลูโลส
4. มีท้ งั เซลล์เดียวและเป็ นเส้นใยเล็ก เรี ยกว่า ไฮฟา (Hypha)

66
ประเภทของฟังไจ
* เส้ นใยมีผนังกั้น (Septate hypha)
* เส้ นใยไม่ มผี นังกั้น (non-septate hypha
หรื อ coencytic hypha)
กลุ่มของเส้ นใย เรียกว่ า ขยุ้มรา (mycelium)
ซึ่งบางครั้งจะรวมกันเป็ นรู ปร่ างเฉพาะเรียกว่ า
Fruiting body ซึ่งทําหน้าที่สร้ างสารสปอร์ ที่ได้จากการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศ
67
68
Fruiting body

69
Kingdom of Fungi
สิ่ งมีชีวติ ในอาณาจักรนีแ้ บ่ งเป็ น 4 ไฟลัม คือ

1. ไฟลัมไซโกไมโคตา (Phylum Zygomycota)


2. ไฟลัมแอสโคไมโคตา (Phylum Ascomycota)
3. ไฟลัมเบสิ ดโิ อไมโคตา (Phylum Basidiomycota)
4. ไฟลัมดิวเทดโรไมโคตา (Phylum Deuteromycota)

70
1. ไฟลัมไซโกไมโคตา (Phylum Zygomycota)

คือ ราที่มีวิวัฒนาการตํ่าสุ ด เช่ น ราดํา (ที่ขนึ้ บนขนมปัง)


 ลักษณะ
1. เซลล์เดี่ยว เจริ ญอยูใ่ นนํ้า บนบก
และซากพืชซากสัตว์
2. เส้นใยชนิดไม่ มีผนังกั้น
3. ต้องการความชื้น
4. ดํารงชีวิตแบบปรสิ ต(Parasite) และผู้ย่อยสลาย (saprophyte)
5. การสื บพันธุ์
- แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์ เรี ยกว่า sporangio spore
- แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ เรี ยกว่า zygo spore
71
1. ไฟลัมไซโกไมโคตา (Phylum Zygomycota) (ต่ อ)
ประโยชน์
1. ผลิตแอลกอฮอล์และสุ ราจากข้าว
2. ผลิตกรดฟูมาริ ก

โทษ
ทําให้เกิดโรคในพืชและสัตว์

72
2. ไฟลัมแอสโคไมโคตา (Phylum Ascomycota)
ลักษณะ
1. เซลล์เดียว ได้แก่ ยีสต์ ส่ วนเส้นใยชนิดมีผนังกั้น ได้แก่ ราสี เหลือง
และราสี แดง

2. ดํารงชีวติ บนบก
3. การสื บพันธุ์
- แบบไม่ อาศัยเพศ สร้างสปอร์เรี ยกว่า conidia ที่ปลายไฮฟา ส่ วนยีสต์
จะแตกหน่อ
- แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ ที่มีชื่อว่า ascospore อยูใ่ นถุงเรี ยกว่า ascus 73
2. ไฟลัมแอสโคไมโคตา (Phylum Ascomycota) (ต่ อ)
ประโยชน์
1. ใช้ผลิตแอลกอฮอล์ และมีโปรตีนสู ง
2. ใช้ผลิตข้าวแดงและเต้าหูย้ ้ ี

โทษ
เกิดโรคกับคนและสัตว์ เช่น มะเร็ งตับ
(ผลิตสารก่อมะเร็ ง Aflatoxin)

74
3. ไฟลัมเบสิ ดโิ อไมโคตา
(Phylum Basidiomycota)
ลักษณะ
1. เส้นใยมีผนังกั้นและรวมตัวอัดแน่นเป็ นแท่ง
คล้ายลําต้น เช่น ดอกเห็ดต่างๆ
2. การสื บพันธุ์
- แบบไม่ อาศัยเพศ สร้างสปอร์เรี ยกว่า
codiospore ใน conidia
- แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ที่สร้างโดยอาศัย
เพศสร้างบนอวัยวะคล้ ายกระบองหรื อเบสิ เดียม
(basidium) เรี ยกว่า แบสิ ดิโอสปอร์ (basidiospore)

75
3. ไฟลัมเบสิ ดโิ อไมโคตา (ต่ อ)
(Phylum Basidiomycota)

ประโยชน์
ใช้เป็ นแหล่งอาหาร หรื อยารักษาโรค

โทษ
ราเขม่าดํา 1. ทําให้เกิดโรคในพืช เช่น ราสนิม ราเขม่าดํา
2. เห็ดรา มีสารพิษเข้าทําลายระบบประสาท
ทางเดินอาหาร ตับ หัวใจ

76
4. ไฟลัมดิวเทดโรไมโคตา
(Phylum Deuteromycota)

ลักษณะ
1. เส้นใยมีผนังกั้น เช่น เพนิซิเลียม ราสี เขียว
2. สื บพันธุ์ไม่ แบบอาศัยเพศเท่ านั้น โดยสร้าง
สปอร์ที่เรี ยกว่า โคนิเดีย (conidia) จึงเรี ยกราใน
กลุ่มนี้วา่ Fungi Imperfecti

77
4. ไฟลัมดิวเทดโรไมโคตา (ต่ อ)
(Phylum Deuteromycota)
ประโยชน์
1. ใช้ผลิตยาปฏิชีวนะเพนิซิลลิน
2. ใช้ผลิตเต้าเจี้ยว
3. ใช้ผลิตเหล้าสาเก

โทษ
1. ทําให้เกิดโรคในพืช
2. สร้างสารพิษ ทําให้เกิดโรค
3. ทําให้เกิดโรคในคน เช่น กลาก เกลื้อน โรคเท้าเปื่ อยหรื อฮ่องกงฟุต

78
แบบทดสอบ
1. ข้ อใดเป็ นลักษณะทั่วไปของฟังไจ (fungi)
1. มีกลุ่มเส้นใยของไฮฟาเรี ยกว่า mycelium ดูดซับอาหารเข้าสู่ เซลล์
2. มีการสื บพันธ์ท้ งั แบบอาศัยเพศและ แบบไม่อาศัยเพศ
3. มีผนังเซลล์เป็ นสารพวกเซลลูโลสเช่นเดียวกับพืช
4. ข้อ ก. และ ข้อ ข. ถูก

2. บทบาทที่สําคัญที่สุดของอาณาจักรฟังไจในสิ่ งแวดล้ อมคือ


1. เป็ นปรสิ ต 2. เป็ นผูผ้ ลิต
3. เป็ นผูย้ อ่ ยสลาย 4. เป็ นผูบ้ ริ โภคอันดับแรก

79
ÍҳҨѡÃÁÍà¹ÍÃÒ
(Kingdom Monera)

AJ. PANNIDA MEELA


DEPARTMENT OF SCIENCE, DEMONSTRATION SCHOOL
80 OF
RAMKHAMHAENG UNIVERSITY
Kingdom Monera
ลักษณะสํ าคัญของสิ่ งมีชีวิต
 เป็ นสิ่ งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีโครงสร้างเซลล์แบบโพรคาริโอต (prokaryotic cell)
(ไม่ มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส) ในขณะที่สิ่งมีชีวิตอื่นๆทุกอาณาจักรมีโครงสร้างเซลล์
แบบยูคารี โอต (eukaryotic cell)

ไม่มีออร์แกเนลล์ชนิดมีเยือ่ หุม้ เช่น ร่ างแห


เอนโดพลาสซึ ม กอลจิคอมเพลกซ์ ไลโซโซม
คลอโรพลาสต์ มีเฉพาะออร์แกเนลล์ที่ไม่มี
เยือ่ หุม้ คือ ไรโบโซม

81
Kingdom Monera
สิ่ งมีชีวิตในอาณาจักรนีแ้ บ่ งเป็ น 2 ไฟลัม คือ
1. ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta)
2. ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta)

82
1. ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta)
 สิ่ งมีชีวติ ที่จดั อยูใ่ นไฟลัมนี้ ได้แก่ แบคทีเรี ย
 ลักษณะของสิ่ งมีชีวิตคือ
1. มีเซลล์ ขนาดเล็ก
2. ลักษณะรู ปร่ าง มี 3 ลักษณะคือ
2.1 รู ปร่ างกลม เรี ยกว่า coccus
(coccus = เอกพจน์ cocci = พหูพจน์)
2.2 รู ปร่ างแบบแท่ งยาว เรี ยกว่า bacillus
(bacillus = เอกพจน์ bacilli = พหูพจน์)
2.3 รู ปร่ าง เกลียว เรี ยกว่า spirillum
(spirillum = เอกพจน์ spirillum = พหูพจน์)
83
1. ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta) (ต่ อ)
ประโยชน์ ของแบคทีเรี ย
1. ด้านอุตสาหกรรม เช่น การผลิตอาหารหมัก ใช้ ฟอกหนัง
2. ด้านการเกษตร เช่น ใช้ เป็ นปุ๋ย
3. การทดสอบคุณภาพนํ้า
4. ทางด้านการแพทย์ เช่น การผลิตยาปฏิชีวนะ
5. ใช้ในเทคโนโลยีชีวภาพ โดยใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมสร้ าง
แบคทีเรียที่มีลกั ษณะต่าง ๆ
6. ช่วยย่ อยสลายซากสิ่ งมีชีวิตให้เป็ นอาหารของพืช

84
1. ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta) (ต่ อ)

โทษของแบคทีเรี ย
1. ผลิตสารพิษที่เป็ นอันตราย
2. ทําให้ เกิดโรคต่ างๆ
- ในคน เช่น ไทฟอยด์ อหิ วาตกโรค ปอดบวม วัณโรค คอตีบ
- สัตว์ เช่น แอนแทรกซ์ บาดทะยัก
- พืช เช่น โรครากเน่า โรคใบไม้ของสาลี่
85
2.ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta)
ได้แก่ สาหร่ ายสี เขียวแกมนํ้าเงิน (Blue-green algae) ปัจจุบันเรียกชื่ อ
ใหม่ ว่า Cyanobacteria
ลักษณะของสิ่งมีชีวิต
1. ไม่ มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส เป็ นเซลล์พวกโพรคารี โอต ไม่มี flagella
2. มีสารสี เขียว (Chlorophyll) สี นํ้าเงิน (phycocyanin) กระจายตัว
อยู่ แต่ไม่ได้รวมตัวกันเป็ นคลอโรพลาสต์
3. ผนังเซลล์เป็ น cellulose และ pectin

86
2.ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta) (ต่ อ)
4. มีขนาดเล็ก อาจอยูใ่ นลักษณะ
4.1 เซลล์เดี่ยว หรื อเซลล์กลุ่ม
เช่น Gloeocapsa, Chroococcus และ Eucapsis

87
2.ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta) (ต่ อ)

4.2 เซลล์ที่จดั เรี ยงเป็ นสาย


เช่น Anabaena , Oscillatoria และ Spirulina

88
2.ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta) (ต่ อ)
การสืบพันธ์ ุ
1. การแบ่งตัว Binary fission.
2. การหักเป็ นท่อน (fragmentation) พบในพวกที่เป็ นสาย
3. สร้ างสปอร์ หรื อสร้างเซลล์พิเศษ เช่น อะคินีส (akinete)
ประโยชน์
- เป็ นผู้ผลิตอาหาร และ O2
- Spirulina หรื อเกลียวทอง มี protein สู ง ใช้ทําอาหารเสริมคนและสั ตว์
- สามารถเพิม่ การตรึง N ทําเป็ นปุ๋ยในดิน เช่น แหนแดง (Azolla)
89
แบบทดสอบ
1. ลักษณะของสิ่ งมีชีวติ ในอาณาจักรมอเนอราตรงกับข้ อใด
1. เซลล์แบบโพรแคริ โอต ไม่มีเยือ่ หุม้ นิวเคลียส
2. เซลล์แบบยูแคริ โอต ส่ วนใหญ่มีเซลล์เดียว
3. เซลล์แบบยูแคริ โอตที่มีผนังเซลล์ประกอบด้วยสารไคติน และเซลลูโลส
4. สร้างอาหารเองได้ ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลสเป็ นส่ วนใหญ่

2. แบคทีเรียจัดอยู่ในอาณาจักรมอเนอรา เพราะอะไร
1. มีขนาดเล็ก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น
2. มีท้ งั ลักษณะของพืชและสัตว์
3. มีท้ งั ชนิดที่เป็ นผูผ้ ลิต ผูบ้ ริ โภค และผูย้ อ่ ยอินทรี ยสาร
4. สามารถทําหน้าที่ของสิ่ งมีชีวิตได้ครบถ้วนในเซลล์เดียว และไม่มีนิวเคลียส
90
AJ. PANNIDA MEELA
DEPARTMENT OF SCIENCE, DEMONSTRATION SCHOOL OF
RAMKHAMHAENG UNIVERSITY

ÍҳҨѡÃâ»ÃµÔʵÒ
(Kingdom Protista)
https://www.youtube.com/watch?v=qaElp0M3NZw
Kingdom Protista
ลักษณะสําคัญ
1. ร่ างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่าย ๆ ไม่ซบั ซ้อน ส่ วนมาก
ประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular) บางชนิดมีหลายเซลล์รวมกันเป็ นกลุ่ม
เรี ยกว่า โคโลนี (colony) หรื อเป็ นสายยาว (filament)
2. ไม่ มรี ะยะตัวอ่อน (Embryo)
3. โครงสร้างของเซลล์เป็ นแบบยูคาริโอติก (Eucaryotic)
4. สื บพันธุ์ท้ งั แบบไม่ อาศัยเพศ (Asexual reproduction) และแบบ
อาศัยเพศ (Sexual reproduction)

92
Kingdom Protista
5. การดํารงชีพ มีท้ งั ชนิดที่เป็ นผู้ผลิต เป็ นผู้บริโภค และเป็ นผู้ย่อยสลาย

ภาพแสดงตัวอย่างโพรทิสต์ที่มีการการดํารงชีวติ ในรู ปแบบต่างๆ


(ก) โพรทิสต์ที่เป็ นผูผ้ ลิต (สาหร่ าย)
(ข) โพรทิสต์ที่เป็ นผูบ้ ริ โภค (อะมีบา)
(ค) โพรติสท์ที่เป็ นผูย้ อ่ ยสลายอินทรี ยสาร (ราเมือก) 93
Kingdom Protista
5. เคลื่อนที่ได้โดยใช้
- ขนเซลล์ หรื อซีเลีย (cilia) เช่น พารามีเซียม
- หนวด หรื อแฟลกเจลลัม (flagellum) เช่น ไดโนแฟล
กเจลลา และ ยูกลีนา
- เท้ าเทียม หรื อซู โดโปเดียม (Pseudopodium) เช่น
อะมีบา
- บางชนิดเคลื่อนที่ไม่ได้

Amoeba

Paramecium 94
Kingdom Protista
สิ่ งมีชีวติ ในอาณาจักรนีแ้ บ่ งเป็ น 8 ดิวชิ ัน
1. ดิวชิ ัน คลอโรไฟตา (Division Chlorophyta)
2. ดิวชิ ัน ยูกลีโนไฟตา (Division Euglenophyta)
3. ดิวชิ ัน แคโรไฟตา (Division Charophyta)
4. ดิวชิ ัน ฟี โอไฟตา (Division Phaeophyta)
5. ดิวชิ ัน คริสโซไฟตา (Division Chrysophyta)
6. ดิวชิ ัน ไพร์ โรไฟตา (Division Pyrrophyta)
7. ดิวชิ ัน โรโดไฟตา (Division Rhodophyta)
8. ดิวชิ ันมิกโซไมโคไฟตา ( Division Myxomycophyta)
95
1. ดิวชิ ัน คลอโรไฟตา (Division Chlorophyta)

มีชื่อเรี ยกทัว่ ไปว่า สาหร่ ายสี เขียว (จัดเป็ นกลุ่มที่ใหญ่ที่สุด)


พบทั้งในนํ้าจืด นํ้าเค็ม และนํ้ากร่ อย บางชนิดลอยตามผิวนํ้า บางชนิด
เกาะกับ พืชอื่นหรื อก้อนหิ น บางชนิดอาศัยอยูใ่ นเซลล์สิ่งมีชีวิตอื่น เช่น
ในโปรโตซัว ไฮดรา หรื อฟองนํ้า ในแหล่งนํ้าธรรมชาติ

96
2. ดิวชิ ัน ยูกลีโนไฟตา (Division Euglenophyta)
สาหร่ ายในกลุ่มนี้มีอยู่ 2 พวกคือ พวกที่สังเคราะห์ อาหารเองได้ และ
พวกที่สังเคราะห์ อาหารเองไม่ ได้
ส่ วนใหญ่จะมีรูปร่ างเป็ นเซลล์เดียว เคลื่อนที่ได้ มีลกั ษณะคล้าย
โปรโตซัว เรี ยกสิ่ งมีชีวิตในดิวิชนั นี้ ว่า ยูกลีนา

97
3. ดิวชิ ัน แคโรไฟตา (Division Charophyta)

สาหร่ ายในกลุ่มนี้พบมากในบ่ อนํ้าจืด


ในทะเลสาบ หรื อแหล่งนํ้าที่มีหินปูน
ละลายอยู่
มีลกั ษณะคล้ ายพืชชั้นสู งมาก เช่น มี
ส่ วนที่ทาํ หน้าที่ คล้ายลําต้น ใบ และ
ราก

98
4. ดิวชิ ัน ฟี โอไฟตา (Division Phaeophyta)
สาหร่ ายในกลุ่มนี้มีชื่อเรี ยกทัว่ ไปว่า สาหร่ ายสี นํ้าตาล เนื่องจากภายใน
เซลล์ของสาหร่ ายกลุ่มนี้มี รงควัตถุพวก ฟูโคแซนทิน(fucoxanthin) ที่ทาํ
ให้เกิดสี น้ าํ ตาลมากกว่ารงควัตถุอื่น
บางชนิด ใช้เป็ นอาหารโดยตรง บางชนิดนํามาสกัดเพื่อใช้ทาํ สี ทํายา
และขนมหวานบางชนิด

99
5. ดิวชิ ัน คริสโซไฟตา (Division Chrysophyta)

สาหร่ ายในกลุ่มนี้มีรงควัตถุฟูโคแซนทิน เหมือนสาหร่ ายสี น้ าํ ตาล แต่มี


ในปริ มาณน้อยกว่า แบ่งได้เป็ น 3 พวกใหญ่ คือ สาหร่ ายสี เขียวแกม
เหลือง สี นํ้าตาลแกมเหลือง และไดอะตอม

มีประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรมต่างๆ
มากมาย เช่น ยาขัดเครื่ องเงิน เครื่ องทองเหลือง
ใช้ในการฟอกสี และเป็ นฉนวน

100
6. ดิวชิ ัน ไพร์ โรไฟตา (Division Pyrrophyta)
สาหร่ ายในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะเป็ นเซลล์ เดียว พบทั้งในนํ้าจืดและนํ้าเค็ม
ในทะเลบางครั้งจะเกิดปรากฏการณ์นํ้าทะเลเปลีย่ นสี ส่ วนใหญ่จะเกิด
จากสาหร่ ายในกลุ่มนี้เจริ ญเติบโตและเพิ่มจํานวนมากผิดปกติ ซึ่งชาว
ทะเลเรี ยกว่า ขีป้ ลาวาฬ

101
7. ดิวชิ ัน โรโดไฟตา (Division Rhodophyta)
สาหร่ ายในกลุ่มนี้มีชื่อเรี ยกทัว่ ไปว่า สาหร่ ายสี แดง
มีประโยชน์ต่อมนุษย์เช่นเดียวกับสาหร่ ายสี น้ าํ ตาล เนื่องจากสารเมือกที่
สกัดออกจาก ผนังเซลล์เรี ยกว่า คาร์ แรจีแนน (carrageenan) นํามาผลิต
เป็ นวุน้ ได้
นอกจากนี้ยงั นํามาประกอบเป็ นอาหารในชื่อ “จีฉ่าย”

102
8. ดิวชิ ันมิกโซไมโคไฟตา
( Division Myxomycophyta)

 เป็ นสิ่ งมีชีวิตที่มีลกั ษณะเป็ นเมือก ข้ น


สี ขาว สี เหลืองหรื อสี ส้ม
 อาศัยอยูใ่ นบริ เวณชื้นเเฉะ เช่น กองไม้ผุ
ตามพื้นดินร่ มชื้น เช่นเดียวกับเห็ดรา
 ส่ วนใหญ่ดาํ รงชีพเเบบภาวะมีการย่อย
สลาย เเต่กม็ ีบางชนิดเป็ นปรสิ ต ได้เเก่
ราเมือก ( Slime mold )

103
แบบทดสอบ
1. ลักษณะสํ าคัญที่สุดที่ทําให้ จัดราแยกโปรติสต์ คือข้ อใด
1. มีหลายเซลล์
2. สังเคราะห์แสงไม่ได้
3. ไม่มีระยะต้นอ่อน
4. เซลล์ไม่มีความซับซ้อน
2. ลักษณะสิ่ งมีชีวติ พวก อะมีบา ยูกลีนา พารามีเซียม เป็ นแบบใด
1. เซลล์แบบโพรแคริ โอต ไม่มีเยือ่ หุม้ นิวเคลียส
2. เซลล์แบบยูแคริ โอต ส่ วนใหญ่มีเซลล์เดียว
3. เซลล์แบบยูแคริ โอตที่มีผนังเซลล์ประกอบด้วยสารไคติน และเซลลูโลส
4. สร้างอาหารเองได้ ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลสเป็ นส่ วนใหญ่
104
สรุ ปอาณาจักรฟังไจ มอเนอรา และโปรติสตา

105
ÊÇÑÊ´Õ¨ŒÒ....

106

You might also like