You are on page 1of 8

วิเคราะห์สภาวะสบาย

ในห้องปรับอากาศ
(Thermal Comfort)

เริ่มเข้าสู่ฤดูร้อนกันแล้วในโอกาสนี้จะขอคุยเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปรับอากาศเสียหน่อย โดยปกติแล้วคนส่วนใหญ่มักจะบอกว่า
อุณหภูมิในห้องปรับอากาศยิ่งเย็นยิ่งดีรู้สึกสบาย ซึ่งมันอาจจะเป็นจริงในช่วงแรกที่เราเริ่มเข้ามาในห้องที่มีการปรับอากาศ แต่พออยู่ไป
ซักระยะหนึ่งก็จะรู้สึกหนาวขึ้นมา หรือบางครั้งอุณหภูมิในห้องนั้นเย็นอยู่แล้ว แต่เรากลับยังรู้สึกไม่สบายตัว

ซึ่ ง บางท่ า นที่ มี ค วามรู้ ขึ้ น มาในอี ก ระดั บ หนึ่ ง ก็ จ ะบอก 2. ปัจจัยจากตัวคนที่อยู่ ในห้องปรับอากาศ
ว่าเป็นเรื่องของอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ ในอากาศที่มันไม่
อยู่ในช่วงของความสบาย (Comfort Zone) โดยอุณหภูมิและ 2.1 เครื่องนุ่งห่มที่สวมใส่ การสวมใส่เครื่องนุ่งห่มที่มาก
ความชื้นสัมพัทธ์ที่ว่า คือ 25C และ 50% ตามลำ�ดับ สิ่งที่ว่ากัน เกิ น ไปก็ จ ะรู ้ ส ึ ก ร้ อ นไม่ ส บายตั ว กลั บ กั น ในกรณี ท ี ่ ส วมใส่
นี้เป็นเรื่องที่เข้าใจกันในอดีต ส่วนปัจจุบันเรามักจะได้ยินคำ�แนะนำ� เครื่องนุ่งห่มน้อยเกินไป หรือความเป็นฉนวนของเครื่องนุ่งห่ม
ว่าให้ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศไว้ที่ 27C แล้วเปิดพัดลมช่วย ที่เราสวมใส่ไม่เพียงพออาจทำ�ให้อุณหภูมิร่างกายของเราต่ำ�กว่า
เพื่อเป็นการประหยัดค่าไฟ ซึง่ ก็ตอ้ งขอบอกว่าช่วยลดค่าไฟได้จริง ปกติจนเกิดเจ็บป่วยไม่สบายได้
แต่แท้จริงแล้วมันมีความเกีย่ วข้องกับความสบายอย่างไร อะไรบ้าง 2.2 กิจกรรมที่ทำ�/อัตราการเผาผลาญพลังงานของร่างกาย
ที ่ เ ป็ น ปั จ จั ย และมี ผ ลกระทบกั บ เรื ่ อ งของความสบายในห้ อ ง กิจกรรมที่ทำ� เช่น เดิน, นั่ง, นอน, ทำ�ความสะอาดบ้าน, รีดผ้า
ปรับอากาศ หรือแม้แต่การหายใจ ล้วนแล้วแต่กระตุ้นการเผาผลาญพลังงาน
ของร่างกายและเกิดความร้อนออกมา ซึ่งอัตราการเผาผลาญ
เราอาจแบ่งปัจจัยที่มีผลกระทบกับความสบายได้เป็น ที่ว่านี้จะไม่เท่ากันในแต่ละบุคคล
สองปัจจัยหลักคือ
ต่อมาได้มีผู้นำ�เอาปัจจัยทั้งหมดนี้มาใช้กำ�หนดเป็นดัชนี
1. ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม เพื่อใช้ชี้วัดเรื่องของความสบาย ท่านผู้นี้ คือ Povl Ole Fanger
(โดยบางส่วนในงานของท่านที่ได้รับการยอมรับ เช่น การแสดงให้
1.1 อุณหภูมิของอากาศที่อยู่รอบตัวเรา เห็นถึงคุณภาพของอากาศภายในบ้านที่ไม่ดีนั้นสามารถเป็นสาเหตุ
1.2 อุณหภูมิการแผ่รังสี ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราอยู่ ใกล้วัตถุ ของการเกิดโรคหอบหืดได้ คุณภาพของอากาศภายในที่ทำ�งาน
ที่มีอุณหภูมิสูง เราจะรู้สึกถึงความร้อนที่วัตถุแผ่รังสีออกมา เช่น ที่ไม่ดีนั้นเป็นสาเหตุที่ทำ�ให้กำ�ลังการผลิตลดลง) ดัชนี้ที่ว่านี้ คือ
เครื่องทำ�ความร้อน, เตาหุงต้ม, เตารีด, ไดร์เป่าผม ฯลฯ PMV (Predicted Mean Vote) โดยมีคา่ อยูร่ ะหว่าง -3 ถึง 3 ส่วน
1.3 ความเร็วลมหรือการเคลื่อนที่ของอากาศพัดผ่านตัวเรา ค่าที่แสดงให้เห็นว่าบริเวณที่มีการปรับอากาศนั้นอยู่ ในช่วงของ
โดยลมที่พัดผ่านจะนำ�เอาความร้อนและความชื้นออกไปในขณะที่ ความสบาย คือ -0.5 ถึง 0.5 ต่อมาได้มีการพัฒนาดัชนีชี้วัด
อุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง นั่นเป็นเหตุผลที่ว่าทำ�ไมถึงให้เปิดพัดลม เพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่งตัว คือ PPD (Predicted Percentage of
ช่วยในห้องปรับอากาศ Dissatisfied) โดยเป็นลักษณะของการสำ�รวจความพึงพอใจ
1.4 ความชื้นสัมพัทธ์ ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ว่าอากาศชื้นมากน้อย ของการปรับอากาศภายในห้อง
แค่ไหน โดยเป็นอัตราส่วนของไอน้ำ�ที่มีอยู่ในอากาศ ต่อปริมาณ
ของไอน้ำ�ที่ทำ�ให้อากาศอิ่มตัว (เทียบที่อุณหภูมิและความดัน
เดียวกัน)

วิเคราะห์สภาวะสบายในห้องปรับอากาศ (Thermal Comfort)


ตัวอย่างที่นำ�มาแสดงจะเป็นห้องพักอาศัยที่มีขนาดพื้นที่ กำ�หนดปัญหาเป็น Internal พร้อมกำ�หนดทิศทางของ Gravity
การปรับอากาศประมาณ 32 ตารางเมตร, มี 1 ห้องน้ำ�, ผู้พัก
อาศัย 1 คน, เครื่องใช้ไฟฟ้า 2 ชิ้น, ลมที่ออกด้านหน้าเครื่องปรับ
อากาศมีอุณหภูมิ 20C, ในห้องน้ำ�มีการติดพัดลมระบายอากาศ
ออกไปด้านนอกอาคาร ส่วนอากาศภายนอกสามารถไหลเข้ามา
ในห้องผ่านช่องว่างใต้ประตูขนาด 5mm. รายละเอียดการเซ็ตอัพ
เป็นอย่างไรไปดูกันเลย

เลือกของไหลเป็นอากาศ

เริ่มต้นการเซ็ตอัพผ่าน Wizard
ตั้งชื่อโปรเจคก่อนเป็นอันดับแรก

เลือกวัสดุของแข็งเป็นอะไรก็ได้ในที่นี้ ใช้เป็น Steel (Mild)

เซ็ตหน่วยของอุณหภูมิเป็นเซลเซียส C

วิเคราะห์สภาวะสบายในห้องปรับอากาศ (Thermal Comfort)


กำ�หนดเรื่องของ Wall Condition (ของผนังด้านนอก)
เบื้องต้นให้กำ�หนดสัมประสิทธิ์การพาความร้อนไว้ที่ 10 W/m2/K
โดยกำ�หนดให้ดา้ นนอกห้องมีอณ ุ หภูมอิ ากาศ 35 C หลังเสร็จจาก
Wizard นี้เรายังสามารถกำ�หนดแบบเฉพาะเจาะจงในผนังแต่ละด้าน
ได้อีก

เซ็ต Initial Condition ตามภาพ

ขั้นตอนหลังจากเซ็ตอัพผ่าน Wizard
กำ�หนดประเภทของวัสดุให้กับวัตถุทุกตัวโดยใช้ข้อมูล
วัสดุจาก Building Material ซึ่งจะเป็นออฟชั่นเสริมที่อยู่ ใน
โมดุล HVAC (ต้องซื้อเพิ่ม) โดยให้คลิกขวาที่ Solid Materials
แล้วเลือก Insert Solid Material… ในกรณีที่ไม่มี Solid Material รายละเอียดการกำ�หนดวัสดุให้กับวัตถุแต่ละตัวเป็นดังนี้
อยู่ใน Simulation Tree Manager ให้ไปคลิกเมาส์ขวาที่ชื่อของ
โปรเจคแล้วเลือก Customize Tree… จากนั้นทำ�การแอคติเวท คอมพิวเตอร์ Polycarbonate
Solid Materials เพื่อใช้งาน สำ�หรับฟีเจอร์อื่นๆ ถ้าหาไม่พบใน ทีวี Polycarbonate
Tree Manager ก็ใช้วิธีเดียวกันนี้
เครื่องปรับอากาศ Polycarbonate
เตียง Hardboard (Standard)
ดัมมี่ Wood Blocks
อื่นๆ Concrete Block (Lightweight)

วิเคราะห์สภาวะสบายในห้องปรับอากาศ (Thermal Comfort)


กำ�หนดเงื่อนไขการถ่ายเทความร้อนที่ผิวของผนังด้าน ค่าที่กำ�หนดให้ผนังแต่ละด้าน
นอก โดยมีเพียงผนังฝั่งที่ติดตั้งพัดลมระบายอากาศเท่านั้น
ที่สัมผัสกับอากาศนอกตัวอาคาร ส่วนผนังที่เหลือสมมติให้เป็น ผนังด้านติดตั้งพัดลมระบายอากาศ a=10 W/m2/K T=35 C
พื ้ น ที ่ ก ารปรั บ อากาศ โดยให้ ค ลิ ก เมาส์ ข วาตรง Boundary ผนังด้านอื่นๆ (รวมด้านบน - ล่าง) a=10 W/m2/K T=25 C
Conditions แล้วเลือก Insert Boundary Condition… หลังจาก
เลือกผิวทีต่ อ้ งการแล้ว ในส่วนของ Type ให้เลือกเป็น Outer Wall
แล้วกำ�หนดค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน และอุณหภูมิของ กำ�หนดอากาศ (Fresh Air) ที่จะไหลเข้ามาในห้องโดยเซ็ต
อากาศด้านนอกผนัง เป็ น Environment Pressure ให้ ก ั บ ช่ อ งว่ า งใต้ ประตูโ ดยเซ็ต
ความดันให้เท่ากับความดันบรรยากาศ

วิเคราะห์สภาวะสบายในห้องปรับอากาศ (Thermal Comfort)


ในส่วนของเครื่องปรับอากาศเนื่องจากเป็นเรื่องที่ยาก
ลำ�บากมากที่จะจำ�ลองการทำ�งานของเครื่องปรับอากาศจึงใช้วิธี
กำ�หนดเป็นการทำ�งานของพัดลม โดยอาศัย Fan Curve และให้
อากาศที่ออกทางด้านหน้าของเครื่องปรับอากาศมีอุณหภูมิ 20C
แทน ให้คลิกเมาส์ขวาตรง Fans แล้วเลือก Insert Fan… ในส่วน
ของ Type เลือกเป็น Internal Fan จากนัน้ เลือกผิวทีล่ มออก-เข้า
และกำ�หนดอุณหภูมิของลม

ส่ ว นของพั ด ลมระบายอากาศใช้ วิ ธี ก ารกำ � หนดเช่ น


เดียวกันเพียงแต่เลือก Type เป็น External Outlet Fan แทน

การกำ � หนดพลั ง งานความร้ อ นที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ เครื่องใช้


ไฟฟ้าและผู้พักอาศัยโดยกำ�หนดเป็น Heat Generation Rate ให้
คลิกเมาส์ขวาที่ Heat Sources เลือก Insert Volume Source…
จากนั ้ น เลื อ กวั ต ถุ ท ี ่ ต ้ อ งการแล้ ว กำ � หนดปริ ม าณของ Heat
Generation Rate

ปริมาณความร้อนที่กำ�หนดให้วัตถุ
ดัมมี่ 15W
ชุดคอมพิวเตอร์ 10W
ทีวี 15W

วิเคราะห์สภาวะสบายในห้องปรับอากาศ (Thermal Comfort)


สำ�หรับ Goal ในตัวอย่างนี้ขอใช้เป็นอุณหภูมิของอากศ เพียงแค่นี้เราก็สามารถที่จะแสดงผลลัพธ์ของ PMV และ
ภายในห้อง 3 จุด PPD นอกเหนือจากการแสดงผลเป็นอุณหภูมิ, ความดัน หรือ
ความเร็วได้ครับ

สุดท้ายเพื่อให้ Flow Simulation สามารถคำ�นวณเรื่อง


ของความสบายได้ให้ไปคลิกขวาที่ Input Data ใน Tree Manager
โดยเลื อ ก Calculation Control Options… จากนั ้ น ไปที ่ แ ถบ
Solving ทำ�การแอคติเวท Calculate Comfort Parameters

สำ�หรับท่านที่ต้องการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการวิเคราะห์
สามารถเข้ามาศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ :
www.applicadthai.com/solidworks-simulation

วิเคราะห์สภาวะสบายในห้องปรับอากาศ (Thermal Comfort)

You might also like