You are on page 1of 29

บทที่ 3

การประมาณราคางานระบบไฟฟ้า

การประมาณราคา

1) แบบ
แบบ
(ผูว้ า่ จ้าง)

Design Symbol Single Line Riser แบบรายละเอียด Comment จากผูว้ า่ จ้าง

ไม่สมบูรณ์
ตรวจสอบแบบ

สมบูรณ์
แบบ Shop แบบ As Built

2) ถอดแบบ
นับจํานวนอุปกรณ์ หาระยะ

3) ประมาณราคา

ไม่ได้
สื บราคาอุปกรณ์ ซับพลายเออร์

ได้
คํานวณราคาอุปกรณ์ ราคาค่าแรง

ออกใบ BOQ
79

3.1 การประมาณราคา
การประมาณราคาคือ คือ การคํานวณค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบไฟฟ้ าให้สมบูรณ์และใช้
งานได้ตามแบบที่ออกไว้ การประมาณราคาที่ดีจะให้ตวั เลขค่าใช้จ่ายที่ใกล้เคียงกับค่าใช้จ่ายจริ ง แต่
ทั้งนี้ท้ งั นั้นความแม่นยําในการประเมินราคาจะสู งหรื อตํ่า ขึ้นอยูก่ บั องค์ประกอบดังต่อไปนี้ ความ
ละเอียดของแบบแปลน ระยะเวลาในการประมาณราคา ความรู้ความชํานาญ และประสบการณ์
เกี่ยวกับอุปกรณ์ เครื่ องมือต่าง ๆ ของผูป้ ระมาณราคา ข้อมูล ของราคาอุปกรณ์ และเครื่ องมือต่างๆ
ขั้นตอนแรกเป็ นการนําแบบจากผูว้ า่ จ้างมาทําการตรวจสอบและแยกชนิดของแบบ ส่ วนมากทางผู ้
ว่าจ้างจะให้แบบที่ทาํ การประมาณราคาเป็ นแบบ Design
ในโครงการ แกลอรี่ โฮเทล สุ ขุมวิท 12 ยังไม่เกิดการก่อสร้างขึ้นแต่อย่างใด เป็ นอาคารสู ง
ลักษณะเป็ นโรงแรมหรื อห้องพัก อาคารแห่งนี้มีท้ งั หมด 9 ชั้น มีห้องทั้งหมด 135 ห้อง แบ่งเป็ นชั้น
ละ 15 ห้อง ห้องลักษณะภายในห้องพัก จะเหมือนกับโรงแรงทัว่ ๆไป ส่ วนของไฟฟ้ าก็จะประกอบ
ไปด้วย ระบบแสงสว่าง โคมไฟดาวน์ไลต์ต่างๆ เต้ารับไฟฟ้ า เต้ารับทีวี เต้ารับโทรศัพท์ เครื่ องทํา
ความเย็น หรื อ แอร์ ในโครงการนี้ได้เริ่ มทําการประมาณราคาเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 โดย
ราคาค่าวัสดุอุปกรณ์หรื อค่าแรงต่างๆอาจจะเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา
80

3.2 แบบของผู้ว่าจ้ าง
ทางผูว้ า่ จ้างของโครงการ แกลอรี่ โฮเทล สุ ขมวิท 12 ได้ให้แบบที่จะทําการถอดแบบซึ่ ง
ประกอบไปด้วย
- แบบ Design
- Symbol
- Single Line Diagram
- Riser Diagram
- แบบรายละเอียด
- Comment จากผูว้ า่ จ้าง

3.2.1 แบบ Design


แบบ Design คื อแบบที่ ผวู้ ่าจ้างนํามาใช้ให้ทาํ การประมาณราคา ซึ่ งจะประกอบไปด้วย
ลักษณะของห้องพัก ตําแหน่งของทางเดินส่ วนกลาง ตําแหน่งของลิฟท์ ตําแหน่งของบันไดหนีไฟ
ระยะของโคมไฟต่างๆ ระยะของเต้ารับและสวิตช์

แบบ Design ที่ทางผูว้ า่ จ้างให้มาจะเห็นได้วา่ มีท้ งั หมดสองตึกคือ Tower A และ Tower B


ทาง บริษัท * BPP ENGINEERING จํากัด ได้ ทําการประมาณราคาเฉพาะ Tower B จึงขยายแบบ
Design ของ Tower B โดยจะแบ่งห้องออกเป็ น 3 แบบ แบบที่ 1 คือ ตั้งแต่ห้อง 15 ถึง 20 จะมี
ลักษณะเป็ นห้องเตียงคู่ ห้องเล็ก แบบที่ 2 ห้อง 7 ถึง 12 ก็จะมีลกั ษณะเตียงคู่เช่นกันแต่จะมีลกั ษณะ
ใหญ่กว่าแบบที่ 1 เล็กน้อย แบบที่ 3 ห้อง 6, 13 ,14 ลักษณะจะเป็ นห้องเตียงเดี่ยว ห้องใหญ่กว่าแบบ
ที่ 1 และแบบที่ 2 ซึ่ งในห้องทั้ง 3 แบบจะประกอบไปด้วยตําแหน่งของโคมไฟต่าง เต้ารับไฟฟ้ าและ
สวิตช์ เหมือนกันทั้งหมด จะต่างแค่ระยะของห้องพัก
81

รูปที่ 3.1 แบบ Design


82

รูปที่ 3.2 แบบขยาย Tower B ของระบบแสงสว่ าง


83

รูปที่ 3.3 แบบขยาย Tower B ของระบบเต้ ารับต่ างๆ


84

3.2.2 Symbol
เป็ นสัญลักษณ์ทางไฟฟ้ าต่างๆที่ทางผูว้ า่ จ้างกําหนดหรื อออกแบบตามมาตรฐาน

รูปที่ 3.4 Symbol สั ญลักษณ์ ทางไฟฟ้า


85

3.2.3 Single Line Diagram


เป็ นไดอะแกรมที่แสดงลักษณะการต่อวงจร การจ่ายไฟของระบบไฟฟ้ าเฟสเดียวหรื อสาม
เฟส ซึ่ งอาจประกอบด้วยตัวนําวงจร 2, 3 หรื อ 4 ตัวนําหรื อมากกว่านั้น โดยใช้เส้นเพียงหนึ่ งเส้น
แทนตัวนําทุกๆตัวนําและอุปกรณ์ ต่างๆในวงจรโดยจะมีสัญลักษณ์และคําขยายความประกอบให้
เพียงพอต่อความเข้าใจ ส่ วนมาก Single Line Diagram จะมีเฉพาะระบบไฟฟ้ ากําลังเท่านั้น

รู ปที่ 3.5 Single Line Diagram


86

3.2.4 Riser Diagram


เป็ นไดอะแกรมที่แสดงลักษณะการเชื่อมโยงของอุปกรณ์สําคัญต่างๆ ของแต่ละระบบโดย
แสดงตําแหน่งของอุปกรณ์ดงั กล่าวในแต่ละชิ้นของอาคาร ประกอบกับรายละเอียดของท่อ สายที่ใช้
เชื่อมโยงรวมถึงความสู งของแต่ละชั้นเทียบกับระดับอ้างอิงของอาคาร โดยใช้เส้นที่ขีดในแนวนอน
แทนการแบ่งชั้น

3.2.5 แบบรายละเอียด
คือ แบบที่แสดงตําแหน่งรายละเอียดของการติดตั้งเพิ่มเติมจาก Single Line Diagram, Riser
Diagram และแบบ Design ซึ่ งอาจแสดงเป็ นภาพด้านบน ภาพด้านหน้า หรื อ ภาพตัด เช่ น แบบ
แสดงรายละเอียดของการติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้ าภายในห้องหม้อแปลง แบบแสดงรายละเอียดของ
การติดตั้งหลักดินหรื อระบบต่อลงดิน แบบแสดงรายละเอียดของการติดตั้งสวิตช์และเต้ารับไฟฟ้ า
เป็ นต้น

3.2.6 Comment จากผู้ว่าจ้ าง


เป็ นความต้องการของผูว้ ่าจ้างนอกเหนื อจากแบบที่ทางผูว้ ่าจ้างนํามาให้ใช้ประมาณราคา
เช่นต้องการเพิ่มตําแหน่งดวงโคมในห้องพัก หรื อปรับระดับความสู ง-ตํ่าของปลัก๊ และสวิทช์ เป็ น
ต้น และเมื่อตรวจสอบแบบ Comment จากผูว้ า่ จ้างให้ทาํ การเขียนแบบ Shop ต่อไป

ทําการตรวจสอบแบบทั้งหมดที่ทางผูว้ า่ จ้างให้มาแล้วจะต้องทําการเขียนแบบขึ้นมาใหม่คือ
แบบ Shop Drawing จะเป็ นแบบที่จะใช้ในการถอดแบบต่อไป
87

รูปที่ 3.6 Riser Diagram


ตําแหน่งของตู้ คอนซูมเมอร์ ยนู ิต
88

ตําแหน่งของเต้ารับไฟฟ้ า
รูปที่ 3.7 แบบรายละเอียด
89

รูปที่ 3.8 Comment จากผู้ว่าจ้ าง


90

รูปที่ 3.9 แบบ Shop ทีว่ าดจาก Comment ของผู้ว่าจ้ าง


91

3.2.7 แบบ Shop Drawing


เมื่อทําการตรวจสอบเสร็ จแล้วจะต้องทําการเขียนแบบ Shop Drawing คือแบบที่ใช้ในการ
ถอดแบบ ซึ่งจะถูกจัดทําขึ้นเมื่อตรวจสอบรายละเอียดของแบบเสร็ จแล้ว เป็ นแบบที่ระบุรายลเอียด
เพื่อให้ผถู ้ อดแบบสามารถถอดได้ง่ายขึ้น Shop Drawing นี้ จะมีรายละเอียดของการติดตั้งมากกว่า
Design Drawing มีการบอกตําแหน่ง แนวหรื อเส้นทางการติดตั้งท่อและสายไฟ โดยจะแยกออกเป็ น
สองประเภท คือ
3.2.7.1 แบบระบบแสงสว่างเป็ นแบบที่มีเฉพาะดวงโคมต่างๆที่ให้แสงสว่าง
3.2.7.2 แบบ Outlet จะมีเฉพาะ สวิทช์เปิ ดปิ ดต่างๆ เต้ารับไฟฟ้ า เต้ารับสัญญาณโทรทัศน์
เต้ารับสัญญาณโทรศัพท์ เต้ารับสัญญาณอินเทอร์เน็ต

รู ปที่ 3.10 แบบขยายห้ องพักระบบแสงสว่ าง


92

รู ปที่ 3.11 แบบขยายห้ องพักระบบ Outlet

3.2.8 แบบ As Built


As-Built Drawing เป็ นแบบสมบูรณ์ที่มีท้ งั ระบบไฟฟ้ า-สื่ อสาร เฟอร์ นิเจอร์ และแบบ
รายละเอียดต่างๆที่จะใช้ในการตรวจสอบเมื่อติดตั้งอุปกรณ์เสร็ จแล้ว แต่จะไม่นิยมใช้ในการถอด
แบบ เนื่องจากเป็ นแบบที่มีอุปกรณ์ต่างๆมารวมอยูใ่ นแบบเดียวจึงยากแก่การถอดแบบ
93

รูปที่ 3.12 แบบ As Built

3.3 ทําการถอดแบบ
3.3.1 นับจํานวนอุปกรณ์
การนับจํานวนอุปกรณ์ต่างๆของระบบไฟฟ้ า-สื่ อสาร ต้องแยกรายการอุปกรณ์ออกจากกัน
เช่ นระบบสื่ อสาร ระบบไฟฟ้ าภายในห้องนอน ระบบไฟฟ้ าบริ เวณทางเดิ น ระบบประกาศเสี ยง
ระบบไฟไฟฉุ กเฉิ น ทําการนับจํานวนอุปกรณ์ต่างๆภายในห้องพัก จะใช้แบบชนิดเป็ นแบบ Shop
ในการนับจํานวน
94

รู ปที่ 3.13 แบบ Shop ทีใ่ ช้ ในการนับอุปกรณ์ ระบบแสงสว่ าง

ทําการตรวจสอบอุปกรณ์ของระบบแสงสว่าง ภายในห้องพัก 1 ห้องมีดวงโคมต่างๆดังนี้


ตารางที่ 3.1 อุปกรณ์ ในห้ องพักของระบบแสงสว่าง

รายการ จํานวน
โคมไฟ Down Light 18 w 9 ดวงโคม
โคมไฟ Down Light 14 w แบบตั้งโต๊ะ 1 ดวงโคม
หลอดไฟ LED 2 ดวงโคม
โคมไฟ Fluoresent 36 w 1 ดวงโคม
95

รู ปที่ 3.14 แบบ Shop ทีใ่ ช้ ในการนับอุปกรณ์ ระบบ Outlet

ทําการตรวจสอบอุปกรณ์ Outlet ต่างๆ ภายในห้องพัก 1 ห้องมีอุปกรณ์ Outlet ต่างๆดังนี้


ตารางที่ 3.2 อุปกรณ์ ในห้ องพักของระบบเต้ ารับ

รายการ จํานวน
เต้ารับไฟฟ้ าคู่พร้อมขั้วดิน 3 ตัว
เต้ารับโทรศัพท์ RJ 11 2 ตัว
เต้ารับโทรทัศน์ 1 ตัว
S1 สวิตช์เปิ ด-ปิ ดระบบแสงสว่างภายในห้องพัก 4 ตัว
96

3.3.2 หาระยะ
ระยะต้องดูสเกลก่อนว่าทางผูว้ ่าจ้างกําหนดมาเท่าใด ในโครงการ แกลอรี่ โฮเทล
สุ ขมุ วิท 12 กําหนดใช้สเกล 1:50 โดยการวัดต้องคํานึงถึงความสู งระหว่างพื้นและเพดาน เนื่องจาก
จะได้ประมาณความสู งของ Outlet ต่างๆได้ ส่ วนมากจะอยูส่ ู งจากพื้นประมาณ 30 cm (แล้วแต่แบบ
จะกําหนด) ในโครงการ แกลอรี่ โฮลเทล สุ ขมุ วิท 12 กําหนดความสู งระหว่าง พื้นถึงเพดาน 3 เมตร

รู ปที่ 3.15 สเกล 1:50

ทําการวัดโดยยกตัวอย่างมาบางเพียงส่ วน เริ่ มจากตูค้ อน Consumer Unit


โดยจะทําการสาธิตการหาระยะสายไฟ THW ขนาด 2.5 mm2

รูปที่ 3.16 ทําการเริ่มวัดจากตู้ Consumer Unit


97

ความสู งของตู ้ Consumer Unit จากพื้นมีความสู ง 2 เมตร จะเหลือความสู งจาก ตู ้


Consumer Unit ถึงเพดาน เท่ากับ 1 เมตร ให้เผื่อสายไฟเพื่อต่ออุปกรณ์ในตู้ Consumer Unit 1 เมตร
ดังนั้น ตอนนี้ จะมีสายไฟที่ออกมาจากตู้ Consumer Unit ถึงเพดานทั้งหมด 2 เมตร จากรู ปที่ 3.15
อ่านได้ 0.5 เมตร บวกกับ 2 เมตร ได้ 2.5 เมตร

รูปที่ 3.17 วัดจากตู้ Consumer Unit ไปยังดวงโคม

จากรู ปที่ 3.16 อ่านค่าได้ 0.5 เมตร เมื่อหาระยะสายไฟถึ งดวงโคม ให้เผื่อระยะ


สายไฟเพื่อต่ออุปกรณ์ของดวงโคมเป็ นระยะ 1 เมตร บวกกับระยะเดิมจากตู ้ Consumer Unit 4 เมตร

รูปที่ 3.18 วัดระยะจากโคมถึงจุดแยก


98

จากรู ปที่ 3.17 อ่านค่าจากโคมหนึ่ ง ไปยังจุดแยกได้ระยะ 1.5 เมตร และเผื่อการ


เชื่อมต่อสาย ณ จุดแยกประมาณ 0.5 เมตร บวกกับ 4 เมตรแรกได้เท่ากับ 6 เมตร

รูปที่ 3.19 วัดระยะโคมต่ อโคม

จากรู ปที่ 3.18 วัดระยะโคมต่อโคม อ่านสเกลได้ 2 เมตร และเผื่อต่อประกอบ


อุปกรณ์ดวงโคม 1 เมตร สองโคมจะได้เท่ากับ 2 เมตร ดังนั้น เมื่อรวมระยะและเผื่อการต่ออุปกรณ์
ลงดวงโคมแล้วจะได้ท้ งั หมด 4 เมตร
เมื่อทําการวัดระยะสายไฟ THW ขนาด 2.5 mm2 ทั้งห้อง ได้ระยะทั้งหมด 33.5
เมตร ต้องคูณ 2 เพราะสาย Line กับ Neutron จะได้เท่ากับ 67 เมตร
99

ดังนั้นอุปกรณ์ไฟฟ้ าทั้งหมดของ 15 ห้อง 9 ชั้นมีดงั นี้


ตารางที่ 3.3 อุปกรณ์ ท้งั หมดภายในห้ องพัก

รายการ จํานวน
โคมไฟ Down Light 18 w 1215 ดวงโคม
โคมไฟ Down Light 14 w แบบตั้งโต๊ะ 135 ดวงโคม
หลอดไฟ LED 270 ดวงโคม
โคมไฟ Fluoresent 36 w 135 ดวงโคม
เต้ารับไฟฟ้ าคู่พร้อมขั้วดิน 405 ตัว
เต้ารับโทรศัพท์ RJ 11 270 ตัว
เต้ารับโทรทัศน์ 135 ตัว
สวิตช์เปิ ด-ปิ ด 540 ตัว
สายไฟ THW mm2 9045 เมตร

รูปที่ 3.20 การหาระยะสายไฟ


100

3.4 เช็ คราคาอุปกรณ์


3.4.1 ทําการดูราคาอุปกรณ์ จาก Catalog
ในโครงการ แกลอรี่ โฮเทล สุ ขุมวิท 12 ทําการตรวจสอบราคาอุ ปกรณ์ โดยสํารวจจาก
Catalog ของบริ ษทั หรื อยี่ห้อต่างๆ เมื่อนํามาเปรี ยบเทียบแล้วได้ในราคาที่ถูกที่สุด และตรงตาม
มาตรฐาน รวมถึงตามยีห่ อ้ ที่ผวู ้ า่ จ้างกําหนดอีกด้วย
- โครงการ แกลอรี่ โฮเทล สุ ขุมวิท 12 ใช้ Catalog สายไฟของ THAI YAZAKI ชนิด THW
ขนาด 2.5 mm2 ราคา 12.10 บาท/เมตร

ราคา/เมตร

รู ปที่ 3.21 Catalog สายไฟของ THAI YAZAKI


101

- โครงการ แกลอรี่ โฮเทล สุ ขุมวิท 12 ใช้ Catalog เต้ารับไฟฟ้ าของ บิทิชีโน ชนิด เต้ารับคู่
ขากลมและขาแบบ + สายดินขนาด 3 ช่อง พร้อมม่านนิรภัย ราคา 146 บาท/ตัว

รู ปที่ 3.22 Catalog เต้ ารับไฟฟ้า


102

3.4.2 ซับพลายเออร์
ในกรณี ที่ Catalog ของทางบริ ษทั BPP ไม่มีหรื อ ไม่ตรงกับความต้องการของ ทางผูว้ า่ จ้าง
ต้องทําการขอราคาจากบริ ษทั นั้นๆ เช่น สายไฟชนิ ด FRC ของยี่ห้อ STRUDDER ดังนั้นต้องทําการ
ค้นหาตัวแทนจําหน่ายของยี่ห้อนี้ แล้วทํารายการขอราคาส่ งไปทาง อีเมล หรื อทาง แฟกซ์ หลังจาก
ขอราคาไป ตัวแทนจําหน่ายจะส่ งข้อมูลหรื อราคากลับมาทาง แฟกซ์ หรื อ อีเมลก็ได้

รูปที่ 3.23 ใบขอราคา


103

รูปที่ 3.24 ใบตอบรับจากซับพลายเออร์


104

3.5 การประมาณราคา
คือ คํานวณราคาอุปกรณ์ ราคาค่าแรง เมื่อตรวจสอบราคาของอุปกรณ์ชนิ ดต่างๆได้แล้ว
ต้องมาคํานวณหาราคาจริ งที่จะกรอกรายละเอียดลงใน BOQ โดยจะคํานวณจากราคาอุปกรณ์และ
ค่าแรงงาน ทางผูว้ า่ จ้างได้ออกค่ารายการอุปกรณ์เองดังนั้นทางบริ ษทั BPP ได้คิดแต่จาํ นวนค่าแรง
ในการติดตั้งเท่านั้น
ตารางที่ 3.4 การประมาณราคาแระค่ าแรง

รายการ จํานวน ค่าวัสดุ ค่าแรงงาน ราคารวม


โคมไฟ Down Light 18 w 1215 ผูว้ า่ จ้าง 100 121,500
โคมไฟ Down Light 14 w 135 ผูว้ า่ จ้าง 100 13,500
หลอดไฟ LED 270 ผูว้ า่ จ้าง 70 18,900
โคมไฟ Fluoresent 36 w 135 ผูว้ า่ จ้าง 120 16,200
เต้ารับไฟฟ้ าคู่พร้อมขั้วดิน 405 ผูว้ า่ จ้าง 60 24,300
เต้ารับโทรศัพท์ RJ 11 270 ผูว้ า่ จ้าง 60 16,200
เต้ารับโทรทัศน์ 135 ผูว้ า่ จ้าง 60 8,100
สวิตช์เปิ ด-ปิ ด 540 ผูว้ า่ จ้าง 55 29,700

รูปที่ 3.25 คํานวณราคาอุปกรณ์ และค่ าแรง


105

3.6 ออกใบ BOQ


การกรอกรายละเอียดลงใน BOQ เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายจากการถอดแบบ หลังจากทําการวัด
ปริ มาณงาน ทํารายการวัสดุและจํานวนอุปกรณ์ไฟฟ้ าจากระบบไฟฟ้ าแล้ว เป็ นการนํารายการและ
จํานวนวัสดุอุปกรณ์มาคํานวณเพื่อทําให้กลายเป็ นจํานวนเงิน ในกรณี ของโครงการ แกลอรี่ โฮเทล
สุ ขมุ วิท 12 ได้ยกตัวอย่าง BOQ ของระบบ สัญญาณแจ้งเหตุเพลงไหม้ และระบบประกาศเสี ยง เมื่อ
ทําการออกใบ BOQ แล้ว จะทําการส่ งใบ BOQ ให้ทางผูว้ า่ จ้างเพื่อให้ผวู ้ า่ จ้างทําการประมูลต่อไป

รู ปที่ 3.26 BOQ ของระบบประกาศเสี ยง


106

รูปที่ 3.18 BOQ ของสายไฟระบบ Power

รูปที่ 3.27 BOQ ของระบบ แจ้ งเหตุเพลิงไหม้

You might also like