You are on page 1of 8

การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33

วันที่ 2-5 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 จังหวัดอุดรธานี


AEC – 001

อิทธิพลของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของรูจ่ายเชื้อเพลิงที่มีผลต่อประสิทธิภาพทางความร้อนของ
เตาแก๊สแบบ KB-5
Effect of Gas-Port diameter on Thermal Efficiency of KB-5 Gas Stove

สุรเดช สินจะโป๊ะ1, จัตุพล ป้องกัน1, ไพลิน หาญขุนทด2, รตินันท์ เหลือมพล2 และ บัณฑิต กฤตาคม2*

1
สาขาวิชาวิศวกรรมระบบราง สถาบันระบบรางแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
2
ห้องปฏิบัติการวิจัยการพัฒนาในเทคโนโลยีของวัสดุพรุน (Development in Technology of Porous Materials Research Laboratory: DiTo-Lab)
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
744 ถนนสุรนารายณ์ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000
*ติดต่อ: E-mail: auto013_rmuti@hotmail.com และ bundit.kr@rmuti.ac.th, โทรศัพท์ 044-233-073 ต่อ 3410, โทรสาร: 044-233-074

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพทางความร้อน (th) ของเตาแก๊สหุงต้ม KB-5
(Katsura burner-5) ที่ใช้แอลพีจีเป็นเชื้อเพลิง ในการทดลองใช้หม้อหุงต้มขนาดเบอร์ 30 cm และต้มน้า 6.9 ลิตร ตาม
มาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.2312-2549 แต่ขั้นตอนการทดลองเพื่อหา th จะเป็นไปตามมาตรฐานเยอรมัน DIN EN
203-2 อยู่ภายใต้อัตราการจ่ายเชื้อเพลิง (QF) 7 kW โดยงานวิจัยนี้ทาการออกแบบและเจาะรูพ่นเชื้อเพลิงแก๊สโดยใช้มุม
เอียงการจ่ายเชื้อเพลิง () และมุมการจ่ายเชื้อเพลิงหมุนวน () คือ 26o และ 15o ตามลาดับ กาหนดให้อัตราส่วนพื้นที่รู
พ่นเชื้อเพลิง (PAR) เท่ากับ 70% แต่จะทาการศึกษาขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของรูจ่ายเชื้อเพลิง (d) 3 ค่า คือ 1.5, 2.0 และ
2.5 mm จะนิยามเรียกว่า เตาแก๊สหุงต้มแบบหมุนวน (Swirling burner, SB) นอกจากนี้ยังมีการเปรียบเทียบค่า th กับ
เตาแก๊สหุงต้มเชิงพาณิชย์ทั่วไป (CB) จากการทดลองพบว่าเตาแก๊สหุงต้มแบบ SB ทั้ง 3 แบบ สามารถต้มน้าให้เดือดได้เร็ว
กว่าเตาแก๊สหุงต้มแบบ CB และมีค่า th ที่สูงกว่า CB ซึ่งในกลุ่มของเตาแก๊ส SB ทั้ง 3 แบบนั้น มีข้อสังเกตว่า SB-70-2.5
จะให้ค่า th สูงที่สุด
คำหลัก: ประสิทธิภาพเชิงความร้อน, เตาแก๊สหุงต้ม KB-5, ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของรูจ่ายเชื้อเพลิง

Abstract
This paper aims to study the thermal efficiency (th) of KB-5 cooking-gas burner (Katsura
burner-5) using LPG as fuel. A vessel of 30 cm-diameter and boiling water of 6.9 Liter based on Thai
Industrial Standards (TIS) 2312-2549 were used. The German Industrial Standard or Deutsch Institute
Norms (DIN) DIN EN 203-2 was adopted to determine the th under the fuel rate input of 7 kW. In the
experimental design, the fuel ports were developed as inclined angle () of 26 degree and swirling
angle () of 15 degree. The port area ratios (PAR) was kept at 70% but three diameter of fuel port, i.e.,
1.5, 2.0 and 2.5 mm respectively, were examined. Therefore, a developed burner was defined as
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
วันที่ 2-5 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 จังหวัดอุดรธานี
AEC – 001

swirling cooking-gas burner (SB). Moreover, the th of the developed burner was compared with the
conventional cooking-gas burner (CB). From the experiment, it was found that the boiling time of three
SBs gave faster than the CB and the th yielded higher than the SB. It was noted that the th of
SB-70-2.5 had the maximum.
Keywords: thermal efficiency, KB-5 gas stove, gas-port diameter.

เตาแก๊ส หุง ต้ ม ในครั ว เรื อน [1] โดยทั่ ว ไปจะไม่ ไ ด้ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพเชิงความร้อน (th) ให้สูงขึ้นได้
หมายถึ ง เฉพาะที่ ใ ช้ ต ามบ้ า นเรื อ น แต่ จ ะรวมถึ ง ตาม อย่างชัดเจน ดังผลการศึกษาของนักวิจัยกลุ่มต่าง ๆ ดังนี้
ร้ า นอาหารตามสั่ ง ภั ต ตาคารต่ า ง ๆ หรื อ ใช้ ง านใน วิ เชี ย ร ตรีเวชอั กษร [2] ศึกษาทฤษฎีการเผาไหม้
อุตสาหกรรมขนาดเล็ก เตาแก๊สหุงต้มในครัวเรือนที่ใช้อยู่ รวมถึงการเผาไหม้ของเตาหุง ต้ม LPG เพื่อพัฒ นาและ
ในปั จ จุ บั น จึ ง มี ทั้ ง เตาแก๊ส ความดั น ต่ าและความดั น สู ง ปรับปรุงเตาหุงต้มแอลพีจีแบบ CB เป็น SB พบว่า th
ซึ่งมี การเผาไหม้แบบเปิ ด ไม่ส ามารถน าความร้อนที่ไ ด้ เพิ่ ม ขึ้ น 16% ต่ อ มา ณั ฐ วุ ฒิ รั ง สิ มั น ตุ ช าติ [3] น าเอา
จากการเผาไหม้มาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ เนื่องจากการ
เทคโนโลยี วั ส ดุ พ รุน มาประยุ กต์ ใ ช้ ในการส่ ง เสริม th
ถ่ า ยเทความร้ อ นจากเปลวไฟไปยั ง ภาชนะ ถู ก จ ากั ด
ของเตาแก๊สหุงต้ม KB-10 และทาการปรับปรุงลักษณ์การ
โดยการพาความร้อน (Heat convection) เป็นส่วนใหญ่
ฉีดแก๊สของวงแหวนหัวเตา จาก CB เป็น SB พบว่า th
จึ ง ท าให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง ความร้ อ นไม่ สู ง เท่ า ที่ ค วร
เพิ่มขึ้น 20% ต่อมา วสันต์ โยคเสนะกุล [4] นาแนวทาง
ดั ง นั้ น จึ ง มี ค วามพยายามในการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง
ความร้อนของเตาแก๊สหุงต้มในหลายรูปแบบ หรือหลาย จาก ณัฐวุฒิ รังสิมันตุชาติ [3] มาพัฒนาต่อโดยจะยังคงใช้
วิธีการ โดยอาศัยอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งทุกรูปแบบหรือทุกวิธี เตาแก๊ส ขนาด KB–10 ทาการดัดแปลงหัว เผาจากแบบ
จะอยู่ บ นแนวความคิ ด และหลั กการใหญ่ ๆ เพี ย งสาม CB เป็น SB แล้วนามาประกอบเข้ากับโครงสร้างที่มีการ
รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบแรก คือ ลดการสูญเสียความร้อน หมุน เวีย นความร้อนด้ว ยวัส ดุพ รุน (Porous radiant
ด้วยฝาครอบแก๊สประสิทธิภาพสูงของกระทรวงพลังงาน recirculated burner, PRRB) พบว่าประสิทธิภาพเชิง
รูป แบบที่ ส อง คือ การอุ่น อากาศ โดยการประยุ กต์ ใ ช้ ความร้ อ นเพิ่ ม ขึ้ น 35.83% ส่ ง ผลให้ ใ นปี ถั ด มา จารุ ณี
เทคโนโลยี ของวั ส ดุ พ รุน และรูป แบบสุ ด ท้ า ย คือ การ จาบกลาง [5] ได้ใช้หลักการวัสดุพรุนคล้าย ๆ กับงานวิจัย
ปรับปรุงลักษณะการฉีดแก๊สของหัวเตา โดยการปรับปรุง ของวสัน ต์ โยคเสนะกุล [4] มาทาการพัฒ นาเพื่อเพิ่ม
จากหัวเตาแก๊สแบบเดิม (Conventional burner, CB) ประสิทธิภาพของเตา KB-5 ได้ผลการทดลองคือ เตา KB-5
เปลี่ ย นมาเป็ น การฉี ด แก๊ ส แบบหมุ น วน (Swirling มี th สูงขึ้นเช่นกัน ต่อมา เทวา จะทารัมย์ และคณะ [6]
Burner, SB) ซึ่ ง เป็ น ผลจากการหมุ น วนของเปลวไฟ ทาการดัดแปลงหัวเผาจาก CB เป็น SB ซึ่งมีทั้งหมด 9 แบบ
ก่อให้เกิดแรงเฉือนมีผลดีต่อการเผาไหม้ และการถ่ายเท และนาไปเปรียบเทียบกับเตาแก๊สหุงต้มเชิงพาณิชย์ทั่วไป
ความร้ อ น กล่ า วคื อ เพิ่ ม ระยะเวลาในการผสมของ (CB) ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน พบว่า เตาแก๊สหุงต้มแบบ SB
เชื้อเพลิงและอากาศเพิ่มเวลาและผิวสัมผัสในการสัมผัส สามารถต้มน้าให้เดือดได้เร็วกว่าเตาแก๊สหุงต้มแบบ CB
ของเปลวไฟกับภาชนะ ซึ่งทาให้เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ และมีค่า th ที่สูงกว่า CB โดยเฉพาะที่อัตรา การจ่าย
มากขึ้นรวมทั้งเพิ่มค่าสั มประสิท ธิ์การถ่ายเทความร้อน
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
วันที่ 2-5 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 จังหวัดอุดรธานี
AEC – 001

เชื้อเพลิงต่า ๆ และพบว่า SB ที่มีมุม  = 26 องศา และ QF อัตราการจ่ายเชื้อเพลิง kW


มุม  = 15 องศา (SB 26-15) จะให้ค่า th สูงที่สุด SB Swirling burner
จากงานวิ จั ย ที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น นั้ น จะเห็ น ได้ ว่ า t เวลาที่ใช้ในการต้มน้า s
สามารถเพิ่มประสิทธิภาพเชิงความร้อนให้สูงขึ้นได้ แต่ก็ Twater,i อุณหภูมิเริ่มต้นของน้า K
ยั ง มี ข้ อ น่ า สนใจ ที่ ส ามารถจะพั ฒ นาให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ต่ อ ไป v ปริมาตรของแก๊สที่ใช้ทดสอบ m3
โดยเฉพาะงานวิจัยของ เทวา จะทารัมย์ และคณะ [6]  มุมการจ่ายเชื้อเพลิงหมุนวน องศา
ที่มีการปรับปรุงลักษณะการฉีดแก๊สของวงแหวนหัวเตา  มุมเอียงการจ่ายเชื้อเพลิง องศา
จาก CB เป็น SB พบว่า SB 26-15 จะมีค่า th สูงที่สุด th ประสิทธิภาพเชิงความร้อน %
ดั ง นั้ น ผู้ วิ จั ย จึ ง ได้ มี แนวคิด ที่ จ ะปรับ ปรุง เตาแก๊ส หุง ต้ ม
ในครัวเรือน KB-5 แบบใหม่ โดยทาการออกแบบและ 3. อุปกรณ์การและวิธีทดลอง
เจาะรูพ่นเชื้อเพลิงแก๊สที่มีมุมเอียงการจ่ายเชื้อเพลิง 26o 3.1 อุปกรณ์การทดลอง
และมุ ม การจ่ า ยเชื้ อ เพลิ ง หมุ น วน 15 o ซึ่ ง กาหนดให้ รูปที่ 1 จะเป็นแสดงลักษณะรูพ่นเชื้อเพลิงที่ทาการ
อัตราส่วนพื้นที่รูพ่นเชื้อเพลิง (PAR) คงที่เท่ากับ 70% แต่ ออกแบบ โดยเลื อ กใช้ มุ ม เอี ย งการจ่ า ยเชื้ อ เพลิ ง
ทาการศึกษาขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของรูจ่ายเชื้อเพลิง (d) (Inclination angle, ) และมุมการจ่ายเชื้อเพลิงหมุนวน
3 ค่า คือ 1.5, 2.0 และ 2.5 mm นอกจากนี้จะทาการ (Swirling angle, ) เท่ากับ 26 องศา และ 15 องศา
เปรียบเทียบกับหัวเตาแก๊ส KB-5 ทั่ว ๆ ไป เพื่อให้ทราบถึง ตามลาดับ กาหนดให้อัตราส่วนพื้นที่รูพ่นเชื้อเพลิง (PAR)
th ของเตาแก๊สหุงต้มแบบใหม่ ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการ คงที่เท่ากัน คือ 70% ค่า PAR คือ พื้นที่รูพ่นแก๊สของเตา
ศึกษานี้จะนาไปสู่การพัฒนาและผลิตเตาแก๊สที่ใช้งานจริง แบบ SB ต่อพื้น ที่รูพ่น แก๊ส ของเตาแบบ CB แต่ขนาด
ในภาคครัวเรือน และยั ง ส่ ง เสริม การลดปริม าณการใช้ เส้นผ่าศูนย์กลางของรูพ่นเชื้อเพลิง (Diameter, d) จะ
พลังงาน รวมทั้งลดปริมาณมลพิษที่เกิดขึ้นได้อีกด้วย ทาการศึกษา 3 ค่า คือ 1.5, 2.0 และ 2.5 mm ดังแสดง
ในตารางที่ 1
2. รายการสัญลักษณ์
CB Conventional burner
CO คาร์บอนมอนอกไซด์ ppm
CP ความจุความร้อนจาเพาะ kJ/kg•K
d เส้นผ่านศูนย์กลางรูเจาะ mm
KB Katsura burner
LHV ค่าความร้อนทางต่าของแก๊สทดสอบที่ใช้ MJ/m3
LPG Liquefied petroleum gas
mwater มวลของน้าที่ใช้ในการทดสอบ kg
NOx อ๊อกไซด์ของไนโตรเจน ppm
PAR Port area ratio
PRRB Porous Radiant Recirculated Burner รูปที่ 1 ลักษณะรูพ่นเชื้อเพลิงทีอ่ อกแบบ
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
วันที่ 2-5 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 จังหวัดอุดรธานี
AEC – 001
ตารางที่ 1 รายละเอียดของวงแหวนเตาแก๊สหุงต้ม แหล่งจ่ายแก๊สเข้ากับอุปกรณ์ควบคุมความดันแก๊ส มาตร
Number of port Total Port Flow วัดปริม าณแก๊ส มาตรวัด ความดันแก๊ส และเตาแก๊สให้
Inner ring port area type
d area ratio, %
เรียบร้อย ขั้นแรกจุดไฟที่เตา โดยเปิดเตาในอัตราการใช้
Type
(mm) (mm2) SB/CB แก๊สสูงสุดเป็นเวลา 15 นาที จึงปิดเตา หลังจากนั้นวาง
1.5 2 2.5 หม้ ออะลู มิ เนี ยมซึ่ง ใส่น้ าตามที่ กาหนดไว้ คือ 6.9 ลิ ต ร
CB 48 47 - 232 100 Radial
โดยน้ามีอุณหภูมิเริ่มต้นที่ 27 oC พร้อมฝาหม้อที่มีเทอร์โม
SB-70-1.5 92- - - 162 70
SB-70-2.0 - 51 - 162 70 Swirl คัปเปิ้ลวางบนเตาแก๊ส หลังจากนั้นก็ทาการจ่ายแก๊สใน
SB-70-2.5 - - 33 162 70 อัตราที่กาหนดไว้ คือ 7 kW และทาการจุดติดไฟ ต้มน้า
จากอุณหภูมิเริ่มต้น จนน้ามีอุณหภูมิสูงขึ้นเป็น 90 oC ให้
รูปที่ 2 เป็นการแสดงภาพถ่า ยลั กษณะของหัว เตา ปิดแก๊ส และวัดค่าการใช้แก๊สระหว่างการทดสอบและค่า
แก๊สที่ใช้ทดลองทั้ง 4 แบบ ซึ่งรูปที่ 2 (ก) แสดงลักษณะ ต่าง ๆ โดยในการทดลองใช้ เครื่องมือวัดอุณหภูมิเทอร์โม
ของหัว เตาแก๊ส แบบทั่ว ไป (CB) และรูป ที่ 2 (ข, ค, ง) คัปเปิ้ลชนิด K เครื่องบันทึกอุณหภูมิ (Data loger) รุ่น
แสดงลั ก ษณะของหั ว เตาแก๊ ส ที่ ไ ด้ ท าการพั ฒ นาขึ้น ใน GL280 เครื่องมือวัดปริมาณแก๊สไอเสีย รุ่น Testo 350-XL
งานวิจัยนี้ โดยมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของรูจ่ายเชื้อเพลิง และเครื่องมือที่ใช้ในการถ่ายภาพเปลวไฟกล้องดิจิตอล
(d) 3 ค่า คือ 1.5 (SB-70-1.5), 2.0 (SB-70-2.0) และ ยี่ห้อ Canon รุ่น EOS 6D
2.5 mm (SB-70-2.5) ตามลาดับ

(ก) CB (ข) SB-70-1.5

รูปที่ 3 ชุดอุปกรณ์ทดสอบหาประสิทธิภาพเตาแก๊สหุงต้ม

3.3 การหาค่าประสิทธิภาพเชิงความร้อน (Thermal


efficiency, th)
(ค) SB-70-2.0 (ง) SB-70-2.5 การค่ า ประสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง ความร้ อ นในงานวิ จั ย นี้
รูปที่ 2 ลักษณะหัวเตาแก๊สที่ใช้ในการทดลอง อ้ า งอิ ง ตามมาตรฐานของเยอรมั น DIN EN 203-2
เนื่ อ งจากเป็ น มาตรฐานที่ ท าการทดสอบง่ า ย แต่ มี
3.2 วิธีการทดลอง ความน่าเชื่อถือสูง ซึ่งค่าประสิทธิภาพเชิงความร้อน หาได้
รูปที่ 3 แสดงอุปกรณ์และหลักการทางานเพื่อหาค่า จากค่าความร้อนสัมผัสที่น้าได้รับโดยวิธีการต้มน้าดังนี้
ประสิ ทธิ ภาพเชิ งความร้อนเตาแก๊ส หุง ต้ม ในงานวิจั ย นี้ mwater C p ,water (363  Twater ,i )
โดยมีขั้นตอนการทางานดังนี้ ก่อนการทดสอบต้องติดตั้ง th  (1)
v  LHV  t
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
วันที่ 2-5 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 จังหวัดอุดรธานี
AEC – 001
4. ผลการทดลอง 4.2 อุณหภูมิต้มเดือด
4.1 ลักษณะเปลวไฟของเตาแก๊สหุงต้ม รูปที่ 5 แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ
รู ป ที่ 4 การแสดงลั ก ษณะเปลวไฟของเตาแก๊ ส น้ ากับ เวลาที่ ใช้ ในการทดลองของเตาแก๊ส ทั้ ง 4 แบบ
ที่สภาวะ QF = 7 kW จากการสัง เกตลักษณะเปลวไฟ โดยในการทดลองบรรจุ น้ าปริ ม าณ 6.9 ลิ ต ร ที่ อั ต รา
ในรูปที่ 4 พบว่าเปลวไฟของเตาแก๊ส CB จะมีลักษณะพุ่ง การจ่ายเชื้อเพลิง (QF) 7 kW และมีอุณหภูมิน้าเริ่มต้น
ตรงขึ้นเนื่องจากหัวเตาแก๊สหุงต้มนี้ไม่มีมุมเอียงการจ่าย ประมาณ 27 oC จากการทดลองพบว่าเวลาที่ใช้ในการต้ม
เชื้อเพลิงหมุนวน ( = 0) ส่วนเปลวไฟของเตาแก๊ส SB เดือด (ประมาณ 100 oC) ของเตาแก๊สแบบ SB-70-1.5,
ทั้ง 3 แบบ (รูปที่ (ข) - (ง)) จะมีเปลวไฟลักษณะหมุนวน SB-70-2.0 และ SB-70-2.5 จะใช้เวลา 727, 721 และ
และยังพบว่า สี ของเปลวไฟจะแสดงเป็ นสีน้าเงิน (Blue 705 วิ น าที ตามล าดั บ อาจกล่ า วได้ ว่ า เมื่ อ ขนาด
flame) อย่างเด่นชัดยิ่งขึ้น เมื่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง เส้นผ่าศูนย์กลางของรูจ่ายเชื้อเพลิง (d) มีค่ามากขึ้นเวลา
ของรูจ่า ยเชื้อ เพลิง (d) มีค่า มากขึ้น เพราะเมื่อ ค่า d ที่ใช้ในการต้มน้าเดือดจะลดลงตามไปด้วย และยังพบว่า
เพิ่ ม ขึ้ น เวลาของการคลุ ก เคล้ า และสั ม ผั ส กั น ระหว่ า ง เตาแก๊ส SB ทั้ง 3 แบบ ใช้เวลาต้มน้าเดือดน้อยกว่าเตาแก๊ส
เชื้อเพลิงกับอากาศ (โดยเฉพาะอากาศส่วนที่ 2) ที่เพิ่มขึ้น แบบ CB ที่ใช้เวลานานถึง 873 วินาที ผลการทดลองที่ได้นี้
ส่งผลให้เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น สามารถอธิบายได้โดยคุณลักษณะของเปลวไฟแบบหมุน
วนที่ส่งเสริมให้เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ขึ้น สามารถส่ง
พลัง งานความร้อนทั้ งการแผ่รัง สีความร้อนและการพา
ความร้อนไปยังก้นหม้อได้มากกว่าแบบ CB
120
SB-70-1.5 QF = 7 kW
SB-70-2.0
100 mw = 6.9 L
SB-70-2.5

(ก) CB CB
Temperature ( C)
o

80

60

40

20
0 200 400 600 800 1000
Time (s)
รูปที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิน้ากับเวลา

4.3 อุณหภูมิก้นหม้อ
รูปที่ 6 แสดงอุณหภูมิก้นหม้อในแนวรัศมีที่สภาวะ
QF = 7 kW ของเตาแก๊สทั้ง 4 แบบ โดยการวัดอุณหภูมิ
(ข) SB-60-1.5 (ค) SB-65-2.0 (ง) SB-70-2.5
ที่ตาแหน่งก้นหม้อประกอบไปด้วยตาแหน่งกึ่งกลางหม้อ
รูปที่ 4 ลักษณะของเปลวไฟ
(r = 0 cm) และวัดห่างออกไปตามแนวรัศมีด้วยระยะห่าง
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
วันที่ 2-5 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 จังหวัดอุดรธานี
AEC – 001
เท่ากัน 5 cm นั้นคือ (r = 5 cm) และ (r = 10 cm) การเผาไหม้สมบูรณ์ไม่แตกต่างกัน เนื่องจากมีอัตราการ
ตามลาดับ จากผลการทดลองพบว่าเตาแก๊สแบบ SB มี จ่ า ยเชื้ อ เพลิ ง (QF) ให้ แ ก่ ร ะบบที่ เ ท่ า กั น โดยทั่ ว ไป
อุณหภูมิก้นหม้อเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามค่า d ที่เพิ่มขึ้น เพราะ เชื้อเพลิง LPG ค่อนข้างมีการเผาไหม้ที่สมบูรณ์อยู่แล้ว
ค่า d เพิ่มขึ้นเวลาของการคลุกเคล้าและสัมผัสกันระหว่าง นอกจากนี้ยังมีข้อที่น่าสังเกตคือ ปริมาณ CO และ NOx
เชื้อเพลิงกับอากาศส่วนที่ 2 จะเพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดการ ของเตาแก๊สหุงต้มทั้ง 4 แบบ ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ต่า
เผาไหม้ที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น และเตาแก๊ส SB ทั้ง 3 แบบ จะมี 50
QF = 7 kW
อุณหภูมิก้นหม้อเฉลี่ยสุงกว่า เตาแก๊สแบบ CB ซึ่งอธิบาย CO
NOX
mw = 6.9 L
40
ได้ด้วยกลไกการปะทะของเปลวไฟที่หมุนวนของเตาแก๊ส

CO, NOX (ppm)


แบบ SB ไปยัง ก้น หม้อได้ดีกว่า แบบ CB และการดึง 30

อากาศส่ วนที่สองได้มากขึ้นช่วยให้เกิดการเผาไหม้ของ
20
เชื้อเพลิงได้ดี ส่งผลให้อุณหภูมิก้นหม้อของเตาแก๊สแบบ
SB จึงมีอุณหภูมิที่สูงกว่าแบบ CB 10

0
5 0 5 CB
0-1. 0-2. 0-2.
SB-7 SB-7 SB-7

รูปที่ 7 ปริมาณคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) และไนโตรเจน


ออกไซด์ (NOX)

4.5 ประสิทธิภาพเชิงความร้อน (th)


รูปที่ 8 แสดงแผนภูมิแท่งของประสิทธิภาพเชิงความ
ร้อน (Thermal efficiency, th) ของเตาแก๊ส SB ทั้ง
3 แบบ และเตาแก๊ส แบบ CB ที่ส ภาวะอัต ราการจ่า ย
รูปที่ 6 อุณหภูมิก้นหม้อ เชื้อเพลิง (QF) 7 kW และปริม าตรน้า (mw) 6.9 ลิต ร
จากผลการทดลองพบว่าเตาแก๊สแบบ SB จะมีค่า th
4.4 ปริมาณการปล่อยค่า CO และ NOX
เพิ่ม ขึ้น ตามค่า d ที่เพิ่ม ขึ้น และค่า th สูง สุด จะเกิด
รูปที่ 7 เป็นแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างกับ
ขึ้นกับ SB-70-2.5 (th = 40%) เพราะมีค่า d สูงที่สุด
ปริมาณคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) และไนโตรเจนออกไซด์
ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเมื่อค่า d เพิ่มขึ้นเวลาของการคลุกเคล้า
(NOX) ที่มีผลต่อการเผาไหม้ของเตาแก๊สทั้ง 4 แบบ ทดลอง
และสั ม ผั ส กัน ระหว่ า งเชื้ อเพลิ ง กับ อากาศ (โดยเฉพาะ
ที่สภาวะอัตราการจ่ายเชื้อเพลิง (QF) 7 kW และปริมาตร
อากาศส่ว นที่ 2) จะเพิ่ มขึ้น ส่ง ผลให้เกิด การเผาไหม้ ที่
น้า (mw) 6.9 ลิต ร จากการทดลองพบว่า ปริม าณ CO
สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เป็น สภาวะที่เหมาะสมที่สุดของการเกิด
และ NOx ของเตาแก๊สแบบ SB จะเปลี่ยนแปลงตามค่า d
เปลวไฟแบบหมุนวน นอกจากนี้ยังพบว่าค่า th ของเตา
เล็กน้อย และปริม าณ CO และ NOx ของเตาแก๊ส ทั้ง
4 แบบ จะมี ร ะดั บ ใกล้ เ คี ย งกั น ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง แก๊ส SB ทั้ง 3 แบบ สูงกว่า CB ที่มีค่า th เพียง 33%
กระบวนการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในแต่ละหัวเตาแก๊สมี ซึ่งเหตุผลนี้สามารถอธิบายได้ด้วยคุณลักษณะของเปลวไฟ
แบบหมุนวน ส่งเสริมให้เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ ซึ่งจะ
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
วันที่ 2-5 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 จังหวัดอุดรธานี
AEC – 001
สอดคล้องกับกรณีของเวลาที่ใช้ในการต้มน้าของเตาแก๊ส การต้มน้าเดือดน้อยที่สุดเพราะมี d มากที่สุด และเตา
แบบ SB ใช้เวลาน้อยกว่าเตาแก๊สแบบ CB แก๊ส SB ทั้ง 3 แบบ จะใช้เวลาในการต้มน้าเดือดน้อยกว่า
เตาแก๊ส แบบ CB จากผลการทดลองที่ไ ด้นี้ สามารถ
50 อธิ บ ายได้ โ ดยคุ ณ ลั ก ษณะของเปลวไฟแบบหมุ น วนที่
QF = 7 kW
40
mw = 6.9 L ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การเผาไหม้ ที่ ส มบู ร ณ์ ขึ้ น สามารถส่ ง
พลังงานความร้อน ทั้งการแผ่รังสีและการพาความร้อนไป
Thermal efficiency, th (%)

30 ยัง ก้นหม้อได้มากกว่าแบบ CB
20 3) เตาแก๊สแบบ SB มีอุณหภูมิก้นหม้อเฉลี่ยเพิ่มขึ้น
ตามค่า d ที่เพิ่ม ขึ้น ซึ่ง เมื่อค่า d เพิ่ม ขึ้น เวลาของการ
10
คลุกเคล้าและสัมผัสกันระหว่างเชื้อเพลิงกับอากาศส่วนที่ 2
0 จะเพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น และ
CB
5

เตาแก๊ส SB ทั้ง 3 แบบ มีอุณหภูมิก้นหม้อเฉลี่ยสุงกว่า


-1.

-2.

-2.
-70

-70

-70
SB

SB

SB

เตาแก๊สแบบ CB ซึ่งอธิบายได้ด้วยกลไกการปะทะของ
รูปที่ 8 ประสิทธิภาพเชิงความร้อน
เปลวไฟที่หมุนวนของเตาแก๊สแบบ SB ไปยังก้นหม้อได้
ดีกว่าแบบ CB และการดึงอากาศส่ว นที่ส องได้ม ากขึ้น
5. สรุปผลการทดลอง
ช่วยให้เกิดการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงได้ดี ส่งผลให้อุณหภูมิ
จากการศึ ก ษาเตาแก๊ ส หุ ง ต้ ม KB-5 (Katsura-
ก้นหม้อของเตาแก๊สแบบ SB มีอุณหภูมิที่สูงกว่าแบบ CB
burner-5) ที่ทาการเจาะรูพ่นเชื้อเพลิงแก๊สโดยใช้มุม 
4) ปริมาณ CO และ NOx ของเตาแก๊สแบบ SB จะ
และ  คือ 26o และ 15o ตามลาดับ กาหนดให้ PAR เปลี่ยนแปลงตามค่า d เล็กน้อย และปริมาณ CO และ
เท่ากับ 70% และ d จานวนมี 3 ค่า คือ 1.5, 2.0 และ NOX ของเตาแก๊สทั้ง 4 แบบ จะมีระดับใกล้เคียงกันซึ่ง
2.5 mm ทาการทดสอบประสิทธิภาพเชิงความร้อนโดย แสดงให้เห็นถึงกระบวนการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในแต่ละ
วิธี Boiling test ตามมาตรฐานเยอรมัน DIN EN 203-2 หัวเตาแก๊สมีการเผาไหม้สมบูรณ์ไม่แตกต่างกัน เนื่องจาก
สามารถสรุปได้ดังนี้ มีอัตราการจ่ายเชื้อเพลิง (QF) ให้แก่ระบบที่ เท่ากัน ซึ่ ง
1) ลักษณะเปลวไฟของหัวเตาแก๊ส CB จะมีลักษณะ ปริมาณ CO และ NOX ของหัว เตาทั้ง หมดถือว่า อยู่ใน
พุ่งตรงขึ้น ส่วนเปลวไฟของหัวเตาแก๊ส SB ทั้ง 3 แบบ จะ เกณฑ์ที่ต่า
มีเปลวไฟลักษณะหมุนวน และยังพบว่าสีเปลวไฟของเตา 5) เตาแก๊สแบบ SB จะมีค่า th เพิ่มขึ้นตามค่า d ที่
แก๊สแบบ SB จะแสดงเป็นสีน้าเงิน (Blue flame) อย่าง
เพิ่มขึ้น และค่า th สูงสุดจะเกิดขึ้นกับ SB-70-2.5 (th
เด่ น ชั ด ยิ่ ง ขึ้ น เมื่ อ ขนาดเส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ลางของรู จ่ า ย
= 40%) เพราะมีค่า d สูงที่สุด ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเมื่อค่า d
เชื้อเพลิง (d) มีค่ามากขึ้น เพราะเมื่อค่า d เพิ่มขึ้นเวลา
เพิ่ ม ขึ้ น เวลาของการคลุ ก เคล้ า และสั ม ผั ส กั น ระหว่ า ง
ของการคลุ ก เคล้ า และสั ม ผั ส กั น ระหว่ า งเชื้ อ เพลิ ง กั บ
เชื้อเพลิงกับอากาศ (อากาศส่วนที่ 2) จะเพิ่มขึ้น ส่งผลให้
อากาศ (โดยเฉพาะอากาศส่วนที่ 2) ที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้
เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เป็นสภาวะที่เหมาะสม
เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ที่สุดของการเกิดเปลวไฟแบบหมุนวน นอกจากนี้ยังพบว่า
2) เตาแก๊ส SB จะใช้เวลาในการต้มน้าเดือดน้อยลง
ค่า th ของ SB ทั้ง 3 แบบ สูงกว่า CB ที่มีค่า th เพียง
ตามค่า d ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเตาแก๊ส SB-70-2.5 จะใช้เวลาใน
33% ซึ่งเหตุผลนี้สามารถอธิบายได้ด้วยคุณลักษณะของ
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33
วันที่ 2-5 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 จังหวัดอุดรธานี
AEC – 001
เปลวไฟแบบหมุนวน ส่งเสริมให้เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ [5] จารุณี จาบกลาง (2549). การพัฒนาเตาแก๊สหุงต้ม
ซึ่งจะสอดคล้องกับกรณีของเวลาที่ใช้ในการต้มน้าของเตา ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ชนิ ด ที่ มี ก ารหมุ น เวี ย นความร้ อ น,
แก๊สแบบ SB ใช้เวลาน้อยกว่าเตาแก๊สแบบ CB วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญาวิ ศ วกรรมศาสต รมหาบั ณ ฑิ ต
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ.
6. กิตติกรรมประกาศ [6] เทวา จะทารั ม ย์ , สมทวี หิ่ ง ห้ อ ย และอั ฐ กานต์
คณะผู้เขียนบทความขอขอบคุณ นายทศพล วรรณ เพ็ชรมาก (2555). การศึกษาอิทธิพลของคุณลักษณะรูพ่น
ทะมาศ, นายพรทวี บริสุทธิ์ และ นายณรงค์ฤทธิ์ วีระโห เชื้อเพลิงในเตาแก๊สหุงต้ม KB-10, ปริญญานิพนธ์ปริญญา
นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาเทคโนโลยีราชมงคล
มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลอี ส าน ที่ ไ ด้ ให้ ความ อีสาน, นครราชสีมา.
ช่วยเหลือในการสร้างอุปกรณ์การทดลอง ตลอดจนเก็บ
ข้ อ มู ล ในการทดลอง และขอขอบพระคุ ณ สาขาวิ ช า
วิศ วกรรมเครื่องกล มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคล
อีส าน ที่ ไ ด้ ส นั บ สนุ น เงิ น ทุ น อุป กรณ์ การทดลอง และ
สถานที่ในการทดลอง เพื่อใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ จนสาเร็จ
ลุล่วงไปด้วยดี

7. เอกสารอ้างอิง
[1] กระทรวงอุตสาหกรรม (2549). มาตรฐานผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรมเตาหุงต้มในครัวเรือนใช้กับก๊าซปิโตรเลียม
เหลว, แหล่ ง ข้ อ มู ล : URL:www.ratchakitcha.soc.go.
th/DATA/PDF/2550/E/040/17.PDF.
[2] วิ เ ชี ย ร ตรี เ วชอั ก ษร (2541). การปรั บ ปรุ ง
ประสิทธิภาพเตาหุงต้มแอลพีจีมาตรฐาน, วิทยานิพนธ์
ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ธนบุรี, กรุงเทพฯ.
[3] ณัฐวุฒิ รังสิมันตุชาติ (2544). การประยุกต์ใช้วัสดุ
พรุ น เพื่ อ การประหยั ด พลั ง งานในเตาแก๊ ส หุ ง ต้ ม ,
วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญาวิ ศ วกรรมศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ.
[4] วสันต์ โยคเสนะกุล (2548). หัวเผาเชื้อเพลิงแก๊สที่มี
การหมุ น เวี ย นความร้ อ นและการไหลแบบหมุ น วน ,
วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญาวิ ศ วกรรมศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ.

You might also like