You are on page 1of 12

วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ.

ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 69

วารสารวิ ชาการ วิ ศวกรรมศาสตร์ ม.อบ.


UBU Engineering Journal
บทความวิจัย

การปรับปรุงสมรรถนะของเตาแก๊สหุงต้มเชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพ
Performance Improvement of a Biogas Fueled Cooking Burner
อภินันต์ นามเขต* ทานุรัฐ ซ้ายขวา อาไพศักดิ์ ทีบุญมา
ศูนย์เทคโนโลยีด้านวัสดุพรุนและพลังงานที่เหมาะสม ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อาเภอวาริน
ชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190
Apinunt Namkhat* Tamnurat Zhaikwa Umphisak Teeboonma
Appropriate Technology on Porous Media and Energy Center, Department of Mechanical Engineering, Faculty of Engineering,
Ubon Ratchathani University, Warin Chamrap, Ubon Ratchathani 34190
* Corresponding author.
E-mail: apinunt.n@ubu.ac.th; Telephone: 0 4535 3309

บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์หลักของงานวิจัยนี้เพื่อนาเสนอผลการศึกษาสมรรถนะของเตาแก๊สหุงต้มเชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพ โดยการปรับปรุงหัวฉีดแก๊ส
เชื้อเพลิง ท่อผสมและหัวเตาเพื่อให้ได้สมรรถนะเพิ่มมากขึ้น ภายใต้การปรับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหัวฉีดแก๊สเชื้อเพลิงและคอคอดในช่ วง
จาก 0.8 ถึง 1.3 มิลลิเมตร และ 17 ถึง 24 มิลลิเมตร ตามลาดับ นอกจากนั้นรูทางออกของเปลวไฟได้ถูกปรับปรุงให้เป็นแบบหมุนวน การ
ทดสอบสมรรถนะการเผาไหม้ของเตาใช้การทดสอบตามมาตรฐาน DIN EN 203-2 โดยศึกษาอิทธิพลของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหัวฉีด
แก๊สเชื้อเพลิงและคอคอดต่อสมรรถนะการเผาไหม้ เช่น ประสิทธิภาพเชิงความร้อนและมลพิษ ผลจากการศึกษาพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ที่เหมาะสมของหัวฉีดแก๊สและคอคอดคือ 1.2 และ 20 มิลลิเมตร ตามลาดับ เนื่องจากให้ประสิทธิภาพเชิงความร้อนสูงสุดและยังปลดปล่อย
มลพิษ CO น้อยที่สุด ในขณะเดียวกันหัวเผาแบบหมุนวน (SB) ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพเชิงความร้อนสูงขึ้นและปลดปล่อยมลพิษ CO ค่อนข้างสูง
กว่าหัวเตาดั้งเดิมแบบไหลตามแนวรัศมี (RB) อย่างไรก็ตามมลพิษ CO ยังคงต่ากว่าค่ามาตรฐานที่กาหนด (1,500 ppm ที่ 0% excess O2)
คาสาคัญ
เตาแก๊สหุงต้ม ประสิทธิภาพเชิงความร้อน หัวฉีดแก๊ส ท่อผสม การเหนี่ยวนาอากาศส่วนแรก
Abstract
The main objective of this research presents about the investigation of performance of a biogas fueled cooking burner.
The present paper has suggested performance improvement through different designs modifications in the fuel injection
nozzle, mixing tube and burner cap. The fuel injection nozzles and throat diameters were varied from 0.8 to 1.3 mm and
17 to 24 mm, respectively. Moreover, the burner port has been modified as a swirling flame. The DIN EN 203-2 standard
was applied to performance burner test. The effect of fuel injection nozzles and throat diameters on combustion
performance such as thermal efficiency and emission was studied. The results show that the optimum injection nozzle
and throat diameter was observed at 1.2 and 20 mm, respectively, due to the obtained maximum thermal efficiency and
also emits lowest concentration of carbon monoxide (CO). Additionally, the swirl flow burner (SB) yields higher thermal
efficiency and emits only slightly higher CO concentration than those of the conventional radial flow burner (RB). However,
the CO emission is also lower than the value specified by the considered emissions standard (1,500 ppm at 0% excess
O2).
วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 70

Keywords
cooking burner; thermal efficiency; injection nozzle; mixing tube; primary air entrainment

1. บทนา เป็นส่วนใหญ่ อีกทั้งยังมีการสู ญเสียความร้อนเป็นจานวนมาก


สถานการณ์โลกปัจจุบันต้องยอมรับว่าทั่วโลกกาลังเผชิญ ไปกับแก๊สไอเสีย
กับปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติที่ลดน้อยลงอย่างต่อเนื่องอัน โดยการพาความร้ อ น [2] ซึ่ ง ท าให้ เ ตาแก๊ ส หุ ง ต้ ม มี
เกิดจากปัจจัยหลายด้าน ทั้งการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ ประสิทธิภาพเชิงความร้อนที่ค่อนข้างต่า ดังนั้นจึงทาให้เกิด
และการเพิ่ ม ขึ้ น ของจ านวนประชากรโลก ดั ง นั้ น ปั ญ หา แนวความคิดที่จะทาให้เตาแก๊สหุงต้มมีประสิทธิภาพเชิงความ
ทรั พ ยากรธรรมชาติ นั บ วั น ยิ่ ง ทวี ค วามรุ น แรงเพิ่ ม มากขึ้ น ร้อนที่ สู ง ขึ้น โดยการน าความร้อนหมุ น เวี ย นกลั บ มาใช้ใหม่
โดยเฉพาะวิกฤติด้านพลังงานพบว่า ปัจจุบันมีการใช้ทรัพยากร [3−8] ซึ่งจะนาเอาวัสดุพรุนเข้ามาช่วยในการหมุนเวียนความ
ด้านนี้อย่างฟุ่มเฟือย จึงส่งผลให้ทรัพยากรที่มีอยู่ลดน้อยลงไป ร้อน เนื่องจากวัสดุพรุนมีลักษณะเด่นคือ สามารถเป็นได้ทั้ง
เรื่อย ๆ จากสถิติการใช้พลังงานของกระทรวงพลังงานพบว่า ตัวรับความร้อนและตัวแผ่รังสีความร้อน โดยจะนาความร้อน
ประเทศไทยมีปริมาณความต้องการการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ จากไอเสียมาทาการอุ่นอากาศส่วนแรก (primary air) ก่อนที่
ที่ เป็ น ผลิต ภัณ ฑ์ปิโ ตรเลีย มอย่ างกว้ างขวาง โดยเฉพาะแก๊ส จะผสมกั บ เชื้ อ เพลิ ง ซึ่ ง จะช่ ว ยท าให้ เ ตาแก๊ ส หุ ง ต้ ม มี
ปิ โ ตรเลี ย มเหลว หรือ แอลพี จี (liquefied petroleum gas, ประสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง ความร้ อ นสู ง ขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง พบว่ า มี
LPG) ที่ เ ป็ น ส่ ว นผสมของโพรเพน (propane) และบิ ว เทน การศึ ก ษาการพั ฒ นารู ท างออกของเปลวไฟ เพื่ อ เพิ่ ม
(butane) ด้วยเหตุผลที่ว่าแก๊สแอลพีจีเป็นเชื้อเพลิงที่สะอาด ประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเตาแก๊สหุงต้ม โดยการปรับปรุง
เผาไหม้ได้สมบูรณ์และสะดวกต่อการใช้งาน ดังนั้นจึงเป็นที่ หั ว เตาแก๊ส แบบทั่ ว ไป (conventional burner, CB) มาเป็ น
นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายทั้งในภาคครัวเรือน การขนส่ง และ แบบหมุ น วน (swirl burner, SB) การไหลแบบหมุ น วนของ
อุตสาหกรรม พบว่าในปี ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ประเทศไทย เปลวไฟส่งเสริมการถ่ายเทความร้อนสู่ภาชนะได้มากขึ้น [9]
ใช้แก๊สแอลพีจีในภาคครัวเรือนคิดเป็นปริมาณมากที่สุด [1] คิด เนื่องจากการหมุนวนของเปลวไฟก่อให้เกิดแรงเฉือน ซึ่งช่วย
เป็น 31 เปอร์เซ็นต์ของการใช้แก๊สแอลพีจีทั้งหมดดังรูปที่ 1 เพิ่มระยะเวลาในการสัมผัสของเปลวไฟกับภาชนะ และการ
จากปริมาณการใช้ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ จึงเป็นสาเหตุ ผสมของเชื้อเพลิงกับอากาศ [10−12] นอกจากนี้ยังพบว่าการ
ทาให้แก๊สแอลพีจีมีราคาสูงขึ้น และในบางช่วงอาจไม่เพียงพอ ไหลแบบหมุ น วนช่ ว ยดึ ง ดู ด อากาศส่ ว นที่ ส องมากขึ้ น [13]
ต่อความต้องการของประชาชน ดังนั้นเราจึงควรนาองค์ความรู้
มาพัฒนาเตาแก๊สหุงต้ม โดยเฉพาะเตาแก๊สหุงต้มขนาด KB-5 8000
Source : Department of Energy Business

เนื่ องจากมี ป ริม าณการใช้ สู ง โดยการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภาพเชิ ง


Total
Consumption of LPG x 106, kg

7000 Cooking Complied by : The Energy Policy and


Planning Office (EPPO)
Feedstock

ความร้อนของเตาแก๊สให้สูงขึ้น นาไปสู่การประหยัดพลังงาน 6000 Industry


Automobile
Total
เชื้ อเพลิ ง แก๊ส แอลพี จี ซึ่ ง จะเป็ น การช่ ว ยลดค่าใช้ จ่ ายให้ แก่ 5000 Own used

ประชาชนและได้ใช้ประโยชน์จากพลังงานแก๊สแอลพีจีอย่าง 4000
Cooking
3000
เต็มประสิทธิภาพ
2000
การใช้แก๊สแอลพีจีในภาคครัวเรือนจะต้องใช้ร่วมกับหัว 1000
Feedstock

เตาแก๊สหุงต้ม แต่เตาแก๊สหุงต้มที่นามาใช้ในปัจจุบันนั้นมีการ 0
Automobile
Industry
Own used

เผาไหม้ในลักษณะเปิดจึงไม่สามารถนาความร้อนที่ได้จากการ
1987
1988
1989
1990
1991
1992
1993
1994
1995
1996
1997
1998
1999
2000
2001
2002
2003
2004
2005
2006
2007
2008
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015

เผาไหม้มาใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ เพราะการถ่ายเทความ Year

ร้อนจากเปลวไฟไปยังภาชนะถูกจากัดโดยการพาความร้อน รูปที่ 1 ปริมาณการใช้แก๊สแอลพีจีในประเทศไทย


วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 71

ส่งผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม้ Tamir และคณะ (CO2) อยู่ในช่วง 150−180 ppm ซึ่งให้ค่าสอดคล้องใกล้เคียง


[14] ได้ศึกษาประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเตาแก๊สหุงต้มทีใ่ ช้ กับ Mahin [18] และ Chan [19] โดยมี ค่า ประสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง
แก๊สธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการเผาไหม้ ซึ่งพบว่าหัวเผาแบบ ความร้อนอยู่ในช่วงร้อยละ 59−62 ในขณะเดียวกัน Dutt และ
หมุ น ว น ที่ ใ ห้ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เชิ ง ค ว า ม ร้ อน สู ง สุ ด จ ะ มี คณะ [20] ทดสอบประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเตาพบว่าค่า
ลักษณะเฉพาะคือ มุมเงย เท่ากับ 26 องศา มุมเอียง เท่ากับ อยู่ในช่วงร้อยละ 40−65 ต่อมา Burbano และคณะ [21] ได้
15 องศา โดยประสิทธิภาพเชิงความร้อนสูงสุดของเตาแบบเดิม ศึกษาการเติมก๊าซไฮโดรเจนผสมกับแก๊สชีวภาพสาหรับ เตา
มี ค่ า ประมาณร้ อ ยละ 52 แต่ เ มื่ อ เปลี่ ย นมาใช้ แ บบ SB แก๊สหุงต้ม พบว่าเมื่อเติมก๊าซไฮโดรเจนเพิ่มมากขึ้นจะส่งผลให้
ประสิทธิภาพเชิงความร้อนสูงสุดของเตามีค่าประมาณร้อยละ เปลวไฟสั้นลง และปลดปล่อยมลพิษต่าเนื่องจากการเผาไหม้ที่
58 ทั้งนี้ประสิ ทธิภาพเชิงความร้อนของเตาแก๊สหุงต้ม อาศัย สมบู ร ณ์ ยิ่ ง ขึ้ น ในขณะเดี ย วกัน Jadhav และคณะ [22] ได้
การถ่า ยเทความร้อนของเปลวไฟเป็น หลัก ดั ง นั้ น ระยะห่าง ศึกษาการทานายอุณหภูมิเปลวไฟของเตาแก๊สหุงต้ม โดยการ
ระหว่างหัวเตาถึงก้นภาชนะจึงมีความสาคัญ [15,16] ทั้งนี้ผล ออกแบบเตาด้วยวิธีการจาลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคานวณ
จากการวิจัยที่ผ่านมาจะช่วยพัฒนาและส่งเสริมให้เตาแก๊สหุง พบว่ า ที่ เ ส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางของรู ท างออกเปลวไฟขนาด 4
ต้มมีประสิทธิภาพเชิงความร้อนที่สูงขึ้น แต่ปริมาณการใช้แก๊ส มิลลิเมตร จานวน 24 รู จะให้อุณหภูมิเปลวไฟสูงสุด 1,297 oC
แอลพี จี ยั ง มี ป ริ ม าณที่ สู ง เพราะปริ ม าณความต้ อ งการใช้ จากงานวิจัยที่ผ่านมา การปรับปรุงเตาแก๊ส หุง ต้ม เพื่ อใช้ กับ
พลังงานที่เพิ่มมากขึ้นอันเนื่องมาจากจานวนประชากรที่ เพิ่ม เชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพ จะเน้นที่การออกแบบขนาดรูทางออก
มากขึ้นเรื่อย ๆ และการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ จาก ของเปลวไฟเป็ น หลั ก เพื่ อให้ ไ ด้ เปลวไฟที่ เสถีย ร ซึ่ ง น าไปสู่
ปัญหาดังกล่าวทาให้ประเทศไทยให้ความสาคัญกับปัญหาการ ประสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง ความร้ อ นที่ มี ค่ า สู ง ตามไปด้ ว ย แต่ ก าร
ขาดแคลนพลังงานและต้องการลดค่าใช้จ่ายจากการนาเข้าก๊าซ ออกแบบเตาที่ดีจะต้องให้ขนาดรูหัวฉีดแก๊สเชื้อเพลิง คอคอด
ธรรมชาติ จ ากต่ างประเทศ จึ ง มี แนวคิดที่ จ ะพั ฒนาพลังงาน ของท่อผสม และรูทางออกของเปลวไฟมีขนาดที่สัมพันธ์กัน
ทดแทนจากธรรมชาติที่มีอยู่เพื่อแก้ไขปัญหา โดยมีการผลักดัน เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพเชิงความร้อนที่สูง แต่มีการปลดปล่อย
ให้ใช้พลังงานหมุนเวียน โดยเฉพาะเชื้อเพลิงที่เราใช้ ในภาค มลพิษที่ต่า
ครัวเรือน เช่น แก๊สแอลพีจี ซึ่งพลังงานทดแทนที่จะนามาใช้คอื ดังนั้นงานวิจัยนี้ จะทาการปรับปรุงเตาแก๊สหุงต้มเพื่อใช้
แก๊สชีวภาพจากมู ลสัตว์ และสามารถนามาปรับปรุงคุณภาพ ร่วมกับเชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพ โดยการศึกษา อิทธิพลของขนาดรู
เชื้อเพลิงโดยการเพิ่มองค์ประกอบของก๊าซมีเทน (CH4) ให้มาก หัว ฉีด แก๊ส เชื้อเพลิง และขนาดคอคอดของท่ อผสม อี กทั้ ง ยัง
ขึ้น และลดปริม าณของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และ เปรียบเทียบผลการทดลองกับกรณีรูทางออกของเปลวไฟแบบ
ความชื้ น ลง ซึ่ ง จะได้ แก๊ส ชี ว ภาพอั ด ถัง (compressed bio- หมุ น วน เพื่ อ ดู ผ ลของประสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง ความร้ อ น การ
methane gas, CBG) ที่มีค่าความร้อนของเชื้อเพลิงเพิ่มมาก ปลดปล่ อ ยมลพิ ษ ความดั น ตกคร่ อ มภายในท่ อ ผสม และ
ขึ้น ปัจจุบันมีการนาเชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพมาใช้กับเตาแก๊สหุง ปริมาณการเหนี่ยวนาอากาศส่วนแรก ผลจากการศึกษาครั้งนี้
ต้มเพื่อทดแทนเชื้อเพลิงแก๊สแอลพีจีเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีผู้ศึกษา จะช่วยให้ได้เตาที่มีประสิทธิภาพสูง และข้อมูลดังกล่าว จะช่วย
เกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเตาแก๊สหุงต้ม น าไปสู่ การออกแบบเตาแก๊ส หุ ง ต้ ม เชื้ อเพลิ ง แก๊ส ชี ว ภาพใน
เชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพโดยทาการปรับปรุงเตาดั้งเดิม Kurchania อนาคตที่ใช้ร่วมกับระบบอุ่นอากาศต่อไป
และคณะ [17] ได้ออกแบบหัวเตาแก๊สหุ งต้มที่ใช้ร่วมกับแก๊ส
2. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ชีวภาพโดยท่อผสมมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14 มิลลิเมตร รู
รูปที่ 2 แสดงตัวอย่าง เตาแก๊สหุงต้มขนาด KB-5 ที่ใช้ใน
ทางออกของเปลวไฟขนาด 2 มิ ล ลิ เ มตร จ านวน 49 รู
การทดลอง หั ว เผาดั ง กล่ า วประกอบด้ ว ยส่ ว นหลั ก ๆ สาม
ระยะห่างความสูงของเตาถึงก้นหม้อ 35 มิลลิเมตร โดยใช้การ
ประการ คือ ท่อผสม (mixing tube) หัวเผา (burner head)
ทดสอบตามมาตรฐานของอินเดีย พบว่าเตามีประสิทธิภาพเชิง
และหั ว ฉี ด แก๊ ส (injector orifice) ท่ อ ผสมส่ ว นใหญ่ ท าจาก
ความร้อนร้อยละ 60 และปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 72

Secondary air Secondary air


Primary air
Injector orifice
CBG Throat Burner ports
Burner head
Mixing tube
CBG Primary air

รูปที่ 2 โครงสร้างและการทางานของเตาแก๊สหุงต้มขนาด KB-5

เหล็กหล่อได้รับการออกแบบให้มีลักษณะเป็นคอคอด (throat) แบบนี้ที่เห็นได้ชัดคือ เตาแก๊สหุงต้ม ซึ่งหัวเผาประเภทนี้การ


ใกล้กับบริเวณทางเข้าของแก๊สและอากาศส่วนแรก (primary เหนี่ยวนาอากาศเข้ามาผสมกับแก๊สเชื้อเพลิงจึงมีความสาคัญ
air) เพื่ อ ผลทางด้ า นพลศาสตร์ ข องการไหลในท่ อ และจะมี เป็นอย่างมากเพราะหัวเผาจะต้องเหนี่ยวนาอากาศเอง โดย
มากกว่าหนึ่งท่อก็ได้แล้วแต่การออกแบบ หัวเผาส่วนใหญ่ทา ปริมาณอากาศดังกล่าวจะต้องมีเพียงพอต่อการเผาไหม้เพื่อให้
จากเหล็กหล่อมีรูปร่างได้หลายแบบขึ้นอยู่กับการใช้งาน เช่น เกิ ด การเผาไหม้ ส มบู ร ณ์ ดั ง นั้ น ชุ ด หั ว เผาจะต้ อ งได้ รั บ การ
อาจเป็ น แผ่ น วงกลมตั น (cap) หรื อ เป็ น วงแหวน (circular ออกแบบที่ดี จึงควรทาความเข้าใจเกี่ยวกับอิทธิพลของตัวแปร
ring) และจะมีจานวนมากกว่าหนึ่งวงแหวนก็ได้ ที่ขอบวงแหวน ต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อคุณลักษณะของการเหนี่ยวนาอากาศส่ ว น
ทั้งด้านในและด้านนอกถูกเจาะรูจานวนหลายรูในแนวรัศมีเพื่อ แรกที่ใช้ในการเผาไหม้
ทาหน้าที่เป็นรูกระจายแก๊ส (burner port) และเปลวไฟที่ติด
3. วิธีการศึกษา
อยู่เหนือรูให้กระทบอย่างสม่าเสมอต่อภาชนะหุงต้มที่วางอยู่
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองหาประสิทธิภาพเชิงความร้อน
เหนือหัวเผา
และการปลดปล่อยมลพิษของหัวเตามีลักษณะดังรูปที่ 3 ซึ่งมี
หลักการทางานของหัวเผาเริ่มจากแก๊สพร้อมความดันที่ใช้
ส่วนประกอบหลักๆสองส่วนคือ ส่วนแรกจะเป็นชุดหัวเตาแก๊ส
งานตามปกติ ถู ก พ่ น ออกจากหั ว ฉี ด แก๊ ส เข้ า ไปในท่ อ ผสม
หุ ง ต้ ม ที่ ใช้ ในการทดสอบ ซึ่ ง เป็ น เตาแก๊ส ที่ มี ขายทั่ ว ไปตาม
ขณะเดียวกันอากาศส่วนแรกที่อยู่บริเวณใกล้ ๆ หัวฉีดแก๊สจะ
ท้องตลาดขนาด KB-5 (ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหัวฉีดแก๊ส
ถูกเหนี่ยวนา (entrained) ผ่านช่องอากาศส่วนแรก (primary
เชื้อเพลิงและคอคอดท่อผสมเท่ากับ 0.8 และ 19 มิลลิเมตร
air port) เข้ า ไปในท่ อ ผสมพร้ อ ม ๆ กั บ แก๊ ส โดยอาศั ย การ
ตามลาดับ) โดยนามาปรับปรุงเพื่อให้สามารถปรับเปลี่ยนขนาด
ถ่ า ยเทโมเมนตั ม ระหว่ า งแก๊ ส และอากาศโดยรอบ จากนั้ น
เส้นผ่านศูนย์กลางของหัวฉีดแก๊สเชื้อเพลิง คอคอดของท่อผสม
ส่วนผสมของอากาศส่ วนแรกและแก๊ส จะไหลผ่านรูกระจาย
และชนิ ด รู ท างออกของเปลวไฟ ผลจากการศึ ก ษาการ
แก๊ส และลุกติดไฟให้เปลวไฟแบบผสมกันมาก่อน ลอยนิ่งอยู่
ปรับเปลี่ยนมิติของเตาดังกล่าวจะได้เตาที่มีประสิทธิภาพสูง
เหนื อ หั ว เผาภายหลั ง จากที่ ถู ก จุ ด ประกาย (ignition) ด้ ว ย
สาหรับเชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพ โดยรายละเอียดขนาดมิติของเตา
วิ ธี ก ารที่ เ หมาะสม ในขณะเดี ย วกั น อากาศส่ ว นที่ ส อง
ที่ ใ ช้ ใ นการทดสอบแสดงในตารางที่ 1 ซึ่ ง เป็ น ขนาดที่
(secondary air) จะถูกชักนาเข้าจากด้านข้างเปลวไฟและจาก
ปรับ เปลี่ ย นไปจากค่า มาตรฐานเดิ ม ของเตา KB-5 ที่ ร ะบุ ไป
ด้านล่างหัวเผาซึ่งทาเป็นช่องว่างไว้ ทั้งนี้โดยอาศัยการถ่ายเท
ข้ า งต้ น โดยขนาดที่ เ หมาะสมจากการทดลองจะต้ อ งให้
โมเมนตั ม และแรงลอยตั ว ของแก๊ ส ร้ อ นที่ ข ยายตั ว และลอย
ประสิ ท ธิภาพเชิง ความร้อนสูง สุดและปลดปล่อยมลพิ ษ CO
สูงขึ้น ช่วยทาให้อากาศโดยรอบที่เย็นกว่าถูกดูดเข้ามาผสมกับ
น้อยที่สุด
เปลวไฟทาให้การเผาไหม้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ตัวอย่างของหัวเผา
วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 73

รูปที่ 3 แผนภูมิอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
ส่วนที่สองจะเป็นชุดอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดและเก็บข้อมูล คาร์บ อนไดออกไซด์ ร้ อ ยละ 5.9 และออกซิ เจนร้ อ ยละ 1.1
ในการทดลองโดยอาศัยเครื่องวัดปริมาณแก๊สไอเสีย (exhaust (โดยปริมาตร) และมีค่าความร้อนของเชื้อเพลิงเท่ากับ 37.16
gas analyzer) ของบริ ษั ท Entech รุ่ น Testo350 ซึ่ ง เป็ น MJ/kg หรื อ คิ ด เป็ น 0.75 เท่ า ของเชื้ อ เพลิ ง LPG ซึ่ ง จะใช้
electromechanical sensor วั ด ในลั กษณะไอเสี ยแห้ ง (dry pressure regulator เป็นตัวควบคุมปริมาณการไหลของแก๊ส
basis) ซึ่งค่าที่วัดได้จะมีความคลาดเคลื่อน 0.05 เปอร์เซ็นต์ เชื้อเพลิง โดยมีการชั่งน้าหนักของแก๊สเชื้อเพลิงที่ลดลงจากการ
และอุปกรณ์เก็บบันทึกค่าอุณหภูมิใช้ data logger รุ่น Midi ทดลองด้วยเครื่องชั่งน้าหนักดิจิตอล เพื่อคานวณหาอัตราการ
logger GL220 ในการเก็บ บั น ทึ กค่า อุ ณ หภู มิ ข องน้ า เพื่ อใช้ ไหลเชิงมวลของแก๊ส ( m g ) ขณะเดียวกันความดัน ของแก๊ส
ทดลองหาค่าประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเตาแก๊สหุงต้ม เชื้อเพลิงจะถูกวัดด้วย Manometer ที่เป็นปรอท จากนั้นแก๊ส
ขั้นตอนการทดลองเริ่มจากการเปิดแก๊สเชื้อเพลิงจากถัง จะถูกพ่นออกจากหัวฉีดเข้าไปในท่อผสม อากาศที่อยู่รอบ ๆ
บรรจุแก๊ส ซึ่งเป็นแก๊สชีวภาพอัดถังโดยมีองค์ประกอบของแก๊ส ทางเข้าท่อผสมจะถูกเหนี่ยวนาผ่านช่องอากาศส่วนแรกเข้าไป
คื อ มี เ ท น ร้ อ ย ล ะ 89.6 ไ น โ ต ร เ จ น ร้ อ ย ล ะ 3.4 ในท่ อ ผสมพร้ อ ม ๆ กั บ แก๊ ส เชื้ อ เพลิ ง โดยอาศั ย การถ่ า ยเท
วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 74

ตารางที่ 1 รายละเอียดขนาดมิติของเตาที่ใช้ในการทดสอบ manometer ที่เป็นปรอท ใช้วัดความดันของแก๊สเชื้อเพลิง ซึ่ง


มิติของเตา ขนาดและรูปร่างมิติที่ทดสอบ ในการทดลองจะทาการปรับค่าความร้อนป้อนเชื้อในช่วง 5 ถึง
เส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางของหั ว ฉี ด 0.8, 0.9, 1.0, 1.1, 1.2, และ 1.3 19 kW เนื่องจากเป็นช่วงการทางานที่เหมาะสมของเตาแก๊ส
แก๊สเชื้อเพลิง (Dj), mm
แบบ KB-5 ซึ่งการควบคุมอัตราการเผาไหม้สามารถทาได้โดย
เส้นผ่านศูนย์กลางคอคอดของ 17, 18, 19, 20, 21, 22, 23, และ
การปรับค่าอัตราการไหลเชิงมวลของแก๊ส ( m g ) ซึ่งค่าความ
ท่อผสม (Dt), mm 24
ชนิดรูทางออกของเปลวไฟ - conventional radial flow ร้ อ นป้ อ นเชื้ อ เพลิ ง ของเตา ( q ) สามารถค านวณหาได้ ดั ง
burner (RB) สมการ (2)
- swirl flow burner (SB) q  m g  LHV (2)
ในส่วนของการวัดปริมาณอากาศส่วนแรกที่ใช้ในการเผา
โมเมนตัมระหว่างแก๊สและอากาศโดยรอบ จากนั้นส่วนผสม
ไหม้ ส่วนผสมของอากาศส่วนแรกและเชื้อเพลิงที่อยู่บริเวณหัว
ของอากาศส่วนแรกและแก๊สจะไหลผ่านทางออกเปลวไฟ และ
เผาจะถูกดูดผ่านไปยังเครื่องวิ เคราะห์แก๊สไอเสี ย (exhaust
ลุกติดไฟให้เปลวไฟชนิดผสมมาก่อน (premixed flame) การ
gas analyzer) สามารถวั ด ปริ ม าณแก๊ ส ออกซิ เ จน (%O2)
วัดประสิทธิภาพเชิงความร้อนจะอ้างอิงตามมาตรฐาน DIN EN
ออกมา เพื่ อใช้ ในการคานวณหาค่าปริม าณอากาศส่วนแรก
203-2:1997 โดยทาการเลือกขนาดของหม้อภาชนะ (pot) ที่มี
(PA) ซึ่งสามารถคานวณได้จากสมการ (3)
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 45 เซนติเมตร [24] ซึ่ง hood ที่ทา
PA 
%O2
 100 (3)
การวั ด ไอเสี ย สามารถครอบได้ และเติ ม น้ าปริ ม าณ 30.6  A / F stoi.  21  %O2 
กิโลกรัมลงในหม้อภาชนะ ใช้ระยะความสูงก้นหม้อ (H) ที่ระยะ เมื่อ PA คือ ปริมาณอากาศส่วนแรกที่ใช้ในการ
3 cm ทาการต้มน้าจากอุณหภูมิห้องจนกระทั่งถึงประมาณ 90 เผาไหม้ (%)
o
C จากนั้ น ท าการบั นทึกค่า อุ ณ หภูมิ น้าและเวลาที่ ใช้ในการ  A / F stoi. คือ ปริมาณอากาศต่อเชื้อเพลิง
ทดสอบ พร้อมทั้งบันทึกค่าปริมาณแก๊สไอเสีย (CO, NOx) และ ทางทฤษฎี (-)
ถ่ายรูปโครงสร้างของเปลวไฟ สมการที่ใช้ในการคานวณหา %O2 คือ ปริมาณออกซิเจนที่วัดได้ (%)
ประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเตาแสดงดังสมการ (1)

mwater C p, water 90  Twater, i  ในขณะเดียวกันความดันตกคร่อมที่เกิดขึ้นตลอดช่วงความ
th  (1) ยาวของท่อผสมจะถูกวัดด้วย manometer ที่เป็นน้า จานวน
 g  LHV  t
m
ทั้งหมด 6 จุด ดังแสดงในรูปที่ 3 เพื่อศึกษาอิทธิพลของขนาด
เมื่อ nth คือ ประสิทธิภาพเชิงความร้อน (-)
คอคอดที่ส่งผลต่อการเหนี่ยวนาอากาศส่วนแรกที่ใช้ในการเผา
m water คือ น้าหนักของน้า (kg)
ไหม้
C p , water คือ ค่าความจุความร้อนของน้า (kJ/kg.K) การทดลองทั้งหมดจะแบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนแรกจะ
T water, i คือ อุณหภูมิของน้าเริ่มต้น (oC) เป็ น การศึกษาอิ ท ธิ พ ลของขนาดรูหั ว ฉีด แก๊ส เชื้ อ เพลิ ง เพื่ อ
m g คือ อัตราการไหลเชิงมวลของแก๊ส (kg/s) ทดสอบหาขนาดที่เหมาะสมเพื่อใช้สาหรับเตาเชื้อเพลิงแก๊ส
LHV คือ ค่าความร้อนของเชื้อเพลิง (kJ/kg) ชีวภาพ จากนั้นตอนที่สอง ศึกษาอิทธิพลของขนาดคอคอดท่อ
t คือ เวลาที่ใช้ในการทดสอบ (s) ผสม โดยปรับขนาดคอคอดตามตารางที่ 1 และเลือกใช้ขนาดรู
หัวฉีดแก๊สที่เหมาะสมที่ได้จากตอนแรก จากนั้นตอนสุดท้าย
งานวิจัยนี้ได้ทาการทดลองที่เงื่อนไขเดิมซ้า 3 ครั้ง เพื่อหา
จะศึกษาชนิ ด รูท างออกของเปลวไฟทั้ ง แบบ RB และ SB ที่
ค่าเฉลี่ยในการรายงานผล ดังนั้นในการทดลองแต่ละเงื่อนไข
ส่ ง ผลกระทบต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพของเตา โดยเลื อ กใช้ ขนาดรู
การปรับค่าอัตราการป้อนเชื้อเพลิงจึงมีความสาคัญเป็นอย่าง
หัวฉีดแก๊สและคอคอดที่เหมาะสมจากการทดลองก่อนหน้า
ยิ่ ง เพื่ อ ให้ มี ค วามละเอี ย ดและแม่ น ย ามากขึ้ น จึ ง ได้ น า
วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 75

4. ผลการศึกษาและอภิปรายผล
6
4.1 อิทธิพลของขนาดรูหัวฉีดแก๊สเชื้อเพลิง Dj = 0.8 mm (LPG)
Dj = 0.8 mm (CBG)

เนื่องจากแก๊สชีวภาพมีค่าความร้อนต่ากว่าแก๊สแอลพีจี 5 Dj = 0.9 mm (CBG)


Dj = 0.8 mm
Dj = 1.0 mm (CBG)
Dj = 1.1 mm (CBG)

ดังนั้นเมื่อนาแก๊สชีวภาพไปใช้กับหัวฉีดดั้งเดิม จะส่งผลให้ได้ค่า 4 Dj = 1.2 mm (CBG)


Dj = 1.3 mm (CBG) Dj = 0.9 mm

Pg , bar
ความร้อนป้อนเชื้อเพลิงต่า ไม่อยู่ในช่วงการทางานที่เหมาะสม 3 Dj = 1.0 mm

ของเตา เพื่อให้ได้ค่าความร้อนป้อนเชื้อเพลิงที่สูงขึ้นเทียบเท่า
Dj = 1.1 mm
Dj = 0.8 mm
Dj = 1.2 mm
2
เตาเชื้ อเพลิ งแอลพี จี ท าได้ โ ดยการปรับเร่งความดั นแก๊สให้
Dj = 1.3 mm

สู ง ขึ้น พบว่ า ความดันดั งกล่าวมี ค่าที่สูงและเป็นอั นตรายต่อ 1

ระบบการทางานในระดับครัวเรือน จึงถือว่าไม่เหมาะสมที่จะ 0
น ามาใช้ ง าน ดั ง นั้ น วิ ธี ก ารแก้ ไ ขคื อ ปรั บ ขนาดรู หั ว ฉี ด แก๊ส 0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 30
q, kW
เชื้อเพลิงให้ใหญ่ขึ้น เพื่อเพิ่มอัตราการไหลเชิงมวลของแก๊ส
รูปที่ 4 ความร้อนป้อนเชื้อเพลิงที่ความดันแก๊สต่าง ๆ
( mg ) ให้สูงขึ้นที่ค่าความดันแก๊สเท่าเดิม ส่งผลให้เตาทางานที่
ค่าความร้อนป้อนเชื้อเพลิงที่สูงเทียบเท่าเตาเชื้อเพลิงแอลพีจี
โดยมีความดันแก๊สทางานที่สภาวะปกติ
รูปที่ 4 แสดงการสอบเทียบค่าความร้อนป้อนเชื้อเพลิงที่
ความดันแก๊สต่าง ๆ โดยหัวฉีดที่ใช้สาหรับเชื้อเพลิงแอลพีจีมี
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8 mm พบว่าเมื่อปรับความดันแก๊ส
ให้ สู ง ขึ้ น ส่ ง ผลให้ ค่ า ความร้ อ นป้ อ นเชื้ อ เพลิ ง สู ง ขึ้ น ตาม
เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอัตราการไหลเชิงมวลของแก๊ส ( mg )
และพบว่าหัวฉีดที่ใช้สาหรับเชื้อเพลิ งแก๊สชีวภาพที่เหมาะสม
ที่ สุ ด คื อ ขนาด 1.2 mm เนื่ อ งจากมี พ ฤติ ก รรมคล้ า ยหั ว ฉี ด
เชื้อเพลิงแอลพีจี เพราะให้ค่าที่ใกล้เคียงกันมากที่สุด รูปที่ 5 ประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเตาที่ขนาดคอคอดต่าง ๆ
4.2 อิทธิพลขนาดคอคอดของท่อผสม
อิทธิพลของขนาดคอคอด ( Dt ) ต่อประสิทธิภาพเชิงความ เชื้อเพลิงแอลพีจี ที่ใช้ท่อมาตรฐาน ( Dt = 19 mm) มีค่าสูง
ร้อน แสดงดังรูปที่ 5 พบว่าประสิทธิภาพเชิงความร้อนของคอ กว่ า เตาแก๊ส เชื้ อ เพลิ ง แก๊ ส ชี ว ภาพ เนื่ อ งจากคุ ณ สมบั ติ ของ
คอดทุ กขนาดนั้ น มี แนวโน้ ม เหมื อนกัน คือ ประสิ ท ธิ ภาพเชิง เชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพ ที่ทาให้เกิดการเผาไหม้ที่สภาวะไอดีบาง
ความร้อนจะมีค่าสูงสุดที่ปริมาณความร้อนป้อนเชื้อเพลิง ( q ) (lean mixture) ส่งผลให้เปลวไฟสั้นและห่างจากก้นหม้อทาให้
เกิดการสูญเสียความร้อนเพิ่มมากขึ้น
ค่ า หนึ่ ง ประมาณ 8 kW (ส าหรั บ เตาเชื้ อ เพลิ ง แก๊ ส ชี ว ภาพ)
อิทธิพลของขนาดคอคอด ( Dt ) ต่อการปลดปล่อยมลพิษ
ในขณะที่ช่วงค่าความร้อนป้อนเชื้อเพลิงที่ต่าและสูงเกินไป จะ
ให้ประสิทธิภาพเชิงความร้อนต่า เนื่องจากการสูญเสียความ CO แสดงดังรูปที่ 6 และ 7 พบว่าปริมาณ CO ของคอคอดทุก
ร้ อ น (heat loss) ในขณะเดี ย วกั น พบว่ า ขนาดคอคอดที่ ขนาด จะให้ผลการทดลองมีแนวโน้มเหมือนกันคือ ที่ปริมาณ
เหมาะสมส าหรับ เตาแก๊ส เชื้ อเพลิ ง แก๊ส ชี ว ภาพคือ 20 mm ความร้อนป้อนเชื้อเพลิง ( q ) ต่า ๆ จะให้ค่าปริมาณ CO น้อย
เนื่องจากให้ค่าประสิทธิภาพเชิงความร้อนสูงสุดเท่า กับร้อยละ ในขณะเดียวกัน CO จะเพิ่มสูงขึ้นตามปริมาณความร้อนป้อน
47.74 ซึ่งมากกว่าขนาดคอคอดแบบมาตรฐานดั้งเดิม ( Dt = เชื้อเพลิง ( q ) ที่เพิ่มขึ้น
19 mm) ที่ให้ค่าประสิทธิภาพเชิงความร้อนสูงสุดเท่ากับ ร้อย เนื่องจากเปลวไฟที่ยาวขึ้นจะสัมผัสก้นหม้อเพิ่ม มากขึ้น
ละ 43.17 และพบว่าประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเตาแก๊ส ส่งผลให้เกิดการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ เนื่องจากอิทธิพลของเปลว
วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 76

รูปที่ 6 ปริมาณการปล่อย CO ของเตาเชื้อเพลิง LPG และ CBG รูปที่ 7 ปริมาณการปล่อย CO ของเตาเชื้อเพลิง CBG

รูปที่ 9 ปริมาณการเหนี่ยวนาอากาศส่วนแรกของเตา
รูปที่ 8 ปริมาณการปลดปล่อย NOX ที่ขนาดคอคอดต่าง ๆ

ไฟดั บ (flame quenching) ในขณะเดี ย วกัน ที่ ค่า ความร้ อ น ขนาดคอคอด ( Dt ) ที่ใหญ่และเล็กมากเกินไป จะปล่อย CO
ป้อนเชื้อเพลิง ( q ) สูงสุดจะส่งผลให้ปริมาณ CO ลดน้อยลง สูงที่สุดเนื่องจากขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางคอคอดที่ใหญ่เกินไป
เนื่ อ งจากที่ ค่ า ความร้ อ นป้ อ นเชื้ อ เพลิ ง สู ง ๆ จะเหนี่ ย วน า ส่งผลให้ความเร็วแก๊สต่า ทาให้ความสามารถในการดูดอากาศ
อากาศส่วนที่สองเข้ามาช่วยในการเผาไหม้ได้มากยิ่งขึ้น ส่งผล ส่วนแรกน้อยลง และถ้าขนาดคอคอดที่เล็กเกินไป ลาพุ่งของ
ให้เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ และเมื่อพิจารณาการปลดปล่อย เชื้อเพลิงจะไปขัดขวางทางเข้าของอากาศส่วนแรก ดังนั้น CO
มลพิษ CO เปรียบเทียบระหว่างเตาเชื้อเพลิง LPG และ CBG จึงเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่คอคอดขนาด 20 mm ให้ค่าปริมาณ
ดังแสดงในรูปที่ 6 พบว่าปริมาณการปลดปล่อยมลพิษ CO ของ การปลดปล่อย CO ต่าสุดเนื่องจากมีขนาดคอคอดที่เหมาะสม
เตาเชื้อเพลิง CBG มีค่าน้อยกว่า LPG เนื่องจากคุณสมบัติของ จึงสามารถเหนี่ยวนาปริมาณอากาศส่วนแรกไปใช้ในการเผา
เชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพ ที่ทาให้เกิดการเผาไหม้ที่สภาวะไอดีบาง ไหม้ได้ดีและส่งผลให้เกิดการเผาไหม้สมบูรณ์ดีที่สุด
(lean mixture) ส่ ง ผลให้ เ ปลวไฟสั้ น และห่ า งจากก้ น หม้ อ จากรูปที่ 8 ปริมาณของ NOX จะบ่งบอกถึงระดับอุณหภูมิ
ดังนั้นจะทาให้เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์กว่า เนื่องจากอิทธิพล การเผาไหม้ของหัวเตานั้น ๆ [25] พบว่าปริมาณการปลดปล่อย
ของ flame quenching ลดน้ อ ยลง ในขณะเดี ย วกั น พบว่ า NOX ของเตาแก๊สที่ขนาดคอคอดต่าง ๆ ให้ผลที่เหมือนกันคือ
วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 77

ปริมาณการปลดปล่อย NOX ต่า (น้อยกว่า 20 ppm) และมี


ปริมาณคงที่ตลอดช่วงการทางานของเตา ดังนั้นขนาดของคอ
คอดส่ ง ผลต่ อ ปริ ม าณการปลดปล่ อ ย NOX น้ อ ยมาก ของ
เชื้อเพลิงทั้งสองชนิด
อิทธิพลของขนาดคอคอด ( Dt ) ต่อการเหนี่ยวนาอากาศ
ส่ ว นแรก แสดงดั ง รูป ที่ 9 พบว่ า ทุ กขนาดคอคอด จะให้ ผ ล
ทดลองแนวโน้มที่เหมือนกันคือ ปริมาณการเหนี่ยวนาอากาศ
ส่วนแรก (primary aeration, PA ) จะค่อยๆ เพิ่มขึ้นตามค่า
ปริมาณความร้อนป้อนเชื้อเพลิง ( q ) เนื่องจากความเร็วของ
แก๊ ส ที่ สู ง ขึ้ น จึ ง ส่ ง ผลให้ โ มเมนตั ม ที่ ท างออกหั ว ฉี ด สู ง และ
รูปที่ 10 ความดันตกคร่อมของคอคอดที่ขนาดต่าง ๆ
สามารถดึงดูดอากาศได้มากขึ้นจนกระทั่งคงที่ที่ปริมาณความ
ร้อนป้อนเชื้อเพลิง ( q ) สูง ๆ เนื่องจากถูกกากับโดยขนาดท่อ
ผสมและทางออกของรูเปลวไฟ และพบว่าขนาดคอคอดเท่ากับ
20 mm มีปริมาณการเหนี่ยวนาอากาศส่วนแรกมากที่สุด
อิ ท ธิ พ ลของขนาดคอคอด ( Dt ) ต่ อ ความดั น ตกคร่ อ ม
( P ) ในท่ อ ผสม แสดงดั ง รู ป ที่ 10 พบว่ า เมื่ อ ท าการ
ปรับเปลี่ยนขนาดคอคอดของท่อผสม จะส่งผลต่อค่าความดัน
ตกคร่อมในท่อผสม โดยความดันบริเวณคอคอด P2 จะมีค่าต่า
ที่สุด เนื่องจากคอคอดมีขนาดเล็ก ทาให้เชื้อเพลิงเคลื่อนที่ด้วย
ความเร็วสูง ซึ่งทาให้ความดันลดลงและเหนี่ยวนาอากาศเข้ามา
ได้ดี และเมื่อพิจารณาที่ค่าความร้อนป้อนเชื้อเพลิงเดียวกันที่ 9
รูปที่ 11 ความดันตกคร่อมที่ความร้อนป้อนเชื้อเพลิงต่าง ๆ
kW พบว่า ความดันบริเวณคอคอด P2 ของท่อผสมที่ขนาดคอ
คอดเท่ากับ 20 mm มีค่าน้อยที่สุด ดังนั้นจะสามารถเหนี่ยวนา ประสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง ความร้ อ นของทุ ก หั ว เตานั้ น มี แ นวโน้ ม
อากาศส่วนแรกเข้ามามากที่สุด เหมื อ นกั น โดยประสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง ความร้ อ นของเตาแก๊ ส
อิทธิพลของความร้อนป้อนเชื้อเพลิง ( q ) ต่อความดันตก เชื้ อเพลิ ง แอลพี จี มี ค่า สู ง กว่ า เตาแก๊ส เชื้ อเพลิ ง แก๊ส ชี ว ภาพ
คร่อมในท่อผสมจากการทดลองพบว่า เมื่อทาการปรับเปลี่ยน เนื่องจากคุณสมบัติของเชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพ ที่ทาให้เกิด การ
ปริมาณความร้อนป้อนเชื้อเพลิง ( q ) ของเตาแก๊สสูงขึ้นจะทา เผาไหม้ที่สภาวะไอดีบาง (lean mixture) ส่งผลให้เปลวไฟสั้น
ให้ความดันบริเวณคอคอด P2 ลดต่าลง เนื่องจากความเร็วลา และห่างจากก้นหม้อทาให้เกิดการสูญเสียความร้อนเพิ่มมากขึ้น
พุ่งของเชื้อเพลิงเพิ่มสูงขึ้น ทาให้ความดันลดลงและเหนี่ยวนา และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างหัวเผาแบบไหลตามแนวรัศมี (RB)
อากาศเข้ามาได้ดี และเมื่อพิจารณาที่ขนาดคอคอดเดียวกันที่ และหัวเผาแบบหมุนวน (SB) เชื้อเพลิง CBG พบว่าหัวเผาแบบ
19 mm พบว่า ความดันบริเวณคอคอด P2 ที่ความร้อนป้อน หมุ น วน (SB) ให้ ค่ า ประสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง ความร้ อ นที่ สู ง กว่ า
เชื้อเพลิง ( q ) เท่ากับ 19.1 kW มีความดันต่าที่สุด แสดงดังรูป เนื่องจากแบบหมุนวนจะช่วยส่งเสริมการถ่ายเทความร้อนจาก
ที่ 11 เปลวไฟไปสู่หม้อ เพราะความปั่นป่วนของเปลวไฟ
4.3 อิทธิพลของรูปร่างรูทางออกของเปลวไฟ ปริมาณการปลดปล่อยมลพิษ CO ของหัวเตาชนิดต่าง ๆ
อิ ท ธิ พ ลของรู ป ร่ า งรู ท างออกของเปลวไฟ ต่ อ ค่ า แสดงดั ง รูป ที่ 13 พบว่ า ค่า CO ของทุ กหั ว เตานั้ น มี แนวโน้ม
ประสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง ความร้ อ น แสดงดั ง รู ป ที่ 12 พบว่ า เหมื อ นกั น โดยปริ ม าณการปลดปล่ อ ยมลพิ ษ CO ของเตา
วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 78

RB
5 kW 8 kW 13 kW 19 kW

SB

5 kW 8 kW 13 kW 19 kW
รูปที่ 14 โครงสร้างเปลวไฟชนิดต่าง ๆ กรณี Free flame (ที่ค่า Dj =
รูปที่ 12 ประสิทธิภาพเชิงความร้อนของเตาชนิดต่าง ๆ 1.2 mm และ Dt = 20 mm)

1000 การทดสอบกรณี free flame ที่ความร้อนป้อนเชื้อเพลิง ( q )


900
ต่าง ๆ พบว่า กรณีหัวเตาแบบ RB เมื่อเพิ่ม q ส่งผลให้เกิด
Dt = 20 mm (CBG, RB)
800 Dt = 20 mm (CBG, SB)
Dt = 19 mm (LPG, RB)
เปลวไฟยาวเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของความเร็วส่วนผสมระหว่าง
CO, ppm, 0%O2

700
600
เชื้อเพลิงและอากาศ ในขณะเดียวกัน กรณีหัวเตาแบบ SB ที่
500
400 ค่า q ต่าสุด ก่อให้เกิดการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ เกิดเปลวไฟสี
300 เหลือง เนื่องจากเหนี่ยวนาอากาศส่วนที่สองได้ไม่เพียงพอ และ
200
100
Flash back เมื่อเพิ่ม q มากขึ้น ทาให้เกิดการเหนี่ยวนาอากาศส่วนที่สอง
0 ได้มากขึ้น และเผาไหม้สมบูรณ์ได้เปลวไฟสีฟ้า นอกจากนั้น
0 5 10 15 20
q, kW
พบว่าความยาวของเปลวไฟของหัวเตาแบบ SB มากกว่าแบบ
รูปที่ 13 ปริมาณการปลดปล่อย CO ของเตาชนิดต่าง ๆ RB ทุกค่าความร้อนป้อนเชื้อเพลิง

เชื้ อ เพลิ ง CBG มี ค่ า น้ อ ยกว่ า LPG เนื่ อ งจากคุ ณ สมบั ติ ของ 5. สรุปผลการศึกษา
เชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพ ที่ทาให้เกิดการเผาไหม้ที่สภาวะไอดีบาง จากการศึกษาการปรับปรุ งสมรรถนะของเตาแก๊สหุงต้ม
(lean mixture) ส่ ง ผลให้ เ ปลวไฟสั้ น และห่ า งจากก้ น หม้ อ เชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพ สามารถสรุปได้ดังนี้
ดังนั้นจะทาให้เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์กว่า เนื่องจากอิทธิพล 1) หัวฉีดที่ใช้สาหรับเชื้อเพลิงแก๊สชีวภาพที่เหมาะสม
ของ flame quenching ลดน้ อ ยลง ในขณะเดี ย วกั น พบว่ า ที่สุดคือขนาด 1.2 mm เนื่องจากมีพฤติกรรมคล้าย
กรณีหัวเตาเชื้อเพลิง CBG รูปร่างเปลวไฟแบบหมุนวน (SB) จะ หัวฉีดเชื้อเพลิงแอลพีจีมากที่สุด
ให้ค่า CO ที่สูงกว่าแบบไหลตามแนวรัศมี (RB) เนื่องจากเปลว 2) ขนาดคอคอดของท่อผสมที่ใช้สาหรับเชื้อเพลิงแก๊ส
ไฟแบบหมุนวนจะให้เปลวไฟที่ยาวกว่า ดังนั้นเปลวไฟจะสัมผัส ชีวภาพที่เหมาะสมที่สุดคือขนาด 20 mm เนื่องจาก
หม้อมากขึ้น เกิด flame quenching และนาไปสู่การเผาไหม้ ให้ประสิทธิภาพเชิงความร้อนสูงที่สุดและปลดปล่อย
ที่ไม่สมบูรณ์ แต่ทั้งนี้ค่า CO ที่ได้ถือว่ามีค่าไม่เกินค่ามาตรฐาน มลพิษต่า
ที่กาหนด (1,500 ppm at 0%O2) 3) หั ว เผาแบบหมุ น วน (SB) ให้ ค่ า ประสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง
การศึ กษาโครงสร้า งของเปลวไฟ อาศัย การสั ง เกตโดย ความร้อนและปลดปล่อยมลพิษ CO ที่สูงกว่าแบบ
การบึนทึ กภาพจากกล้องดิจิตอล ผลการเปรียบเทียบรูปร่าง ไหลตามแนวรัศมี (RB) แต่ทั้งนี้ค่า CO ที่ได้ถือว่ามี
เปลวไฟระหว่างหัวเตาแบบ RB และ SB แสดงดังรูปที่ 14 เป็น ค่าไม่เกินค่ามาตรฐานที่กาหนด
วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 79

กิตติกรรมประกาศ [9] Shtern V, Borissov A, Hussain F. Temperature


ผู้ วิ จั ย ขอขอบคุ ณ ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล คณะ distribution in swirling jets. International Journal
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ที่ให้ความสะดวก of Heat and Mass Transfer. 1998; 41: 2455−2467.
ด้านอุปกรณ์ในการวิจัย และขอขอบพระคุณ ศ.ดร.สาเริง จักร [10] Tamir A, Elperin T, Yotzer S. Performance
characteristics of a gas burner with a swirling
ใจ ที่ กรุณ าสละเวลาให้ คาแนะนาและให้ คาปรึกษาในทุก ๆ
central flame. Energy. 1989; 14: 373−382.
ด้านตลอดการศึกษาในครั้งนี้ [11] Tamir A. A swirling-flame combustor for lean
เอกสารอ้างอิง mixtures. Combustion Science and Technology.
[1] ส านั ก งานนโยบายและแผนพลั ง งาน. ข้ อ มู ล พลั ง งาน 1993; 90: 193−209.
(Energy Database). เข้าถึงได้จาก: http://www.eppo [12] Hou SS, Ko YC. Influence of oblique angle and
.go.th/info/index.html. [เข้าถึงเมื่อ 21 พ.ค. 2559]. heating height on flame structure, temperature
[2] วสั น ต์ โยคเสนะกุ ล . หั ว เผาเชื้ อ เพลิ ง แก๊ ส ที่ มี ก าร field and efficiency of an impinging laminar jet
หมุ น เวี ย นความร้ อ นและการไหลแบบหมุ น วน. flame. Energy Conversion and Management.
วิ ท ยานิ พ นธ์ ห ลั ก สู ต รปริ ญ ญาวิ ศ วกรรมศาสตร 2005; 46: 941−958.
มหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล คณะ [13] Gupta AK, Lilley DG, Syred N. Swirl flows. Taylor
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า & Francis; 1984.
ธนบุรี. 2547. [14] Tamir A, Elperin I, Yotzer S. Performance
[3] Weinberg, FJ. Heat-recirculating burners. characteristics of a gas burner with a swirl central
principles and some recent developments. flame. Energy. 1992; 14: 347−362.
Combustion Science and Technology. 1986; 121: [15] Saha C, Ganguly R, Datta A. Heat transfer and
3−22. emission characteristics of impinging rich
[4] Yoshizawa Y. Echigo R, Tomimura T. A study on methane and ethylene jet flames. Experimental
a high performance radiant heater. In: Heat Transfer. 2008; 21: 169−187.
Proceedings of the 2nd ASME/JSME Thermal [16] Chander S, Ray A. Flame impingement heat
Engineering Joint Conference; 1987. p. 317−323. transfer: a review. Energy Conversion and
[5] ณัฐวุฒิ รังสิมันตุชาติ. การประยุกต์ใช้วัสดุพรุนเพื่อการ Management. 2005; 46: 2803−2837.
ประหยัดพลังงานในเตาแก๊สหุงต้ม. วิทยานิพนธ์หลักสูตร [17] Kurchania AK, Panwar NL, Pagar SD.
ปริ ญ ญาวิ ศ วกรรมศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า Development of domestic biogas stove. Biomass
วิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย Conversion and Biorefinery. 2011; 1: 99−103.
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 2544. [18] Mahin D.B. Biogas in developing countries,
[6] Jugjai S, Rungsimuntuchart N. High efficiency Bioenergy system report to USAID, Washington
heat recirculating domestic gas burners. D.C. 1992.
Experimental Thermal and Fluid Science. 2002; [19] Chan US. State of the art review on the
26: 581–592. integrated use of anaerobic processes in China.
[7] Pantangi VK, et al. Studies on porous radiant Internal report prepared for IRCWD. 1982.
burners for LPG (Liquefied Petroleum Gas) [20] Dutt GS, Ravindranath NH. Distribution of tree
cooking applications. Energy. 2011; 36: 1–7. species on different sized farms in a semi-arid
[8] Muthukumar P, Shyamkumar PI. Development of village, Farm forestry in South Asia, Sage
novel porous radiant burners for LPG cooking Publications, India. 1993.
applications. Fuel. 2011; 112: 562–566.
วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 80

[21] Burbano HJ, Amell AA, Garcıa JM. Effects of


hydrogen addition to methane on the flame
structure and CO emissions in atmospheric
burners. International Journal of Hydrogen
Energy. 2008; 33: 3410−3415.
[22] Jadhav P, Sudhakar DS. Analysis of burner for
biogas by computational fluid dynamics and
optimization of design by genetic algorithm.
International Journal for Research in Emerging
Science and Technology. 2015; 2: 39−44.
[23] อภิ นั น ต์ นามเขต, ส าเริ ง จั ก รใจ. คุ ณ ลั ก ษณะการ
เหนี่ ย วน าอากาศส่ ว นแรกของหั ว เผาแบบ Self –
aspirating. ใ น : ก า ร ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร เ ค รื อ ข่ า ย
วิ ศ วกรรมเครื่องกลแห่ งประเทศไทยครั้งที่ 21, ชลบุรี,
ประเทศไทย, 17-19 ตุลาคม; 2550.
[24] German Standards and Technical Rules. Gas-
heated Catering Equipment. 1997; 203(2): 17
pages.
[25] อนุชา กล่าน้อย, บัณฑิต กฤตาคม. การประยุกต์ใช้วิธีการ
ถดถอยแบบเส้นตรงเชิงพหุ สาหรับทานายปริมาณ NOx
จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงแก๊สของหัวพ่นไฟวัสดุพรุนแบบ
เม็ดกลมอัดแน่น. วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.
อบ. 2559; 9(1): 31−38.

You might also like