You are on page 1of 18

ผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ

Rice-Husk Silica Dehumidifying Wall Unit

ธนาชัย จงสุวรรณไพศาล
Tanachai Jongsuwanpaisan

Rice-Husk Silica Dehumidifying Wall Unit


Tanachai Jongsuwanpaisan 47
Journal of Architectural/Planning Research and Studies Volume 6. Issue 1. 2009
48 Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University
ผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ
Rice-Husk Silica Dehumidifying Wall Unit

ธนาชัย จงสุวรรณไพศาล
Tanachai Jongsuwanpaisan

บริษทั ดีบี สตูดโิ อ จำกัด 462-462/1 ถนนบำรุงเมือง เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย กรุงเทพฯ 10100


DB Studio Co., Ltd. 462-462/1 Bamrung-Muang Road, Pomprab, Bangkok 10100, Thailand,
E-mail: tanachaisatu02@hotmail.com

บทคัดย่อ

บทความนีไ้ ด้เสนอผลการออกแบบ และทดสอบอุปกรณ์ดดู ซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ เพือ่ นำมา


ใช้ลดความชื้นของอากาศภายนอกที่จะเข้ามาภายในอาคารปรับอากาศ ซึ่งจะช่วยลดการใช้พลังงานของเครื่องปรับ
อากาศลงได้ โดยในส่วนของการออกแบบ ได้ออกแบบให้อุปกรณ์ดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบเป็นระบบ
ผนังกระจก 2 ชัน้ ภายในบรรจุแผ่นซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ ติดตัง้ ขวางทางเดินอากาศในลักษณะสลับฟันปลา ผนังดูด
ซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบมีช่องระบายอากาศทั้งด้านบนและด้านล่าง โดยติดตั้งพัดลมระบายอากาศไว้ที่
ช่องระบายอากาศด้านบน ส่วนการทดลองได้แบ่งการทดลองออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ทดสอบความสามารถในการ
ดูดซับความชืน้ ในสภาวะจำลอง 3 สภาวะตามสภาพอากาศในแต่ละฤดูกาลของประเทศไทย ได้แก่ ฤดูรอ้ น ฤดูหนาว
และฤดูฝน ส่วนที่ 2 ทดสอบในสภาพอากาศจริง ซึง่ จากการนำผลการทดลองมาวิเคราะห์หาความสามารถในการลดการ
ใช้พลังงานของผนังดูดซับความชื้น เมื่อจำลองสถานการณ์ติดตั้งผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบ
ภายในห้องนอนขนาดเล็กพบว่า ผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบสามารถลดการใช้พลังงานได้มากที่สุด
ในช่วงฤดูฝน และน้อยทีส่ ดุ ในช่วงฤดูรอ้ น ซึง่ จะทำงานได้ดเี ฉพาะ 1-2 ชัว่ โมงแรกเท่านัน้ โดยผนังดูดซับความชืน้ ด้วย
ซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบจะดูดซับความชืน้ ในอากาศได้ในช่วงเวลากลางคืน และคายความชืน้ ในเวลากลางวัน หมุนเวียนเป็น
วัฏจักร โดยไม่จำเป็นต้องนำแผ่นซิลกิ าออกมารีดความชืน้

Abstract

A rice-husk silica dehumidifying unit was designed and tested. The purpose of the unit was to reduce
the energy consumption of an air-conditioning system by drying the intake air. The unit comprised two layers of
glazing. The space between the glazing was filled with acrylic fins coated with rice-husk silica. The unit had two
ventilation apertures: one at the top and one at bottom, with an exhaust fan at the top aperture. Two set of
experiments were carried out. The first set tested the dehumidifying ability of the unit under three environmental
conditions mimicking the key seasons in Thailand: summer, winter and rainy season. The second set of
experiments tested the dehumidifying ability of the unit in real life conditions. Theoretical analysis was then
carried out to evaluate the energy savings effected by the dehumidifying unit when installed in a small typical
bedroom. The analysis showed that the greatest savings could be made during the rainy season and the
smallest savings during summer. The unit absorbed moisture during the night and re-released it during the day,
enabling continuous and prolonged use without manual drying.

Rice-Husk Silica Dehumidifying Wall Unit


Tanachai Jongsuwanpaisan 49
คำสำคัญ (Keywords)

ซิลกิ า (Silica)
สารดูดซับความชืน้ (Desiccant)
อัตราส่วนความชืน้ (Humidity Ratio)
เอลทัลปี (Enthalpy)

Journal of Architectural/Planning Research and Studies Volume 6. Issue 1. 2009


50 Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University
1. บทนำ งานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาการออกแบบอุปกรณ์ดูด
ซับความชื้น เพื่อนำมาใช้ลดความชื้นภายในอาคารลง
1.1 ความเป็นมาและปัญหา โดยในส่วนของการผลิตสารดูดซับความชืน้ นัน้ ผูเ้ ขียน
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีภูมิอากาศร้อน- ได้เลือกสารดูดซับความชื้นที่ได้จากวัสดุธรรมชาติ
ชืน้ มีอณ ุ หภูมแิ ละความชืน้ ในอากาศสูง ส่งผลให้สภาพ ที่เหลือใช้ทางการเกษตร เนื่องจากเป็นวัสดุที่หาง่าย
อากาศส่วนใหญ่อยู่ในสภาวะไม่น่าสบาย นอกจากนี้ ราคาถูก และไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม อีกทั้งเมื่อนำ
สภาวะความชื้นสูงนี้ยังเป็นปัจจัยหนึ่งที่สร้างปัญหา วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาพัฒนาได้แล้ว สามารถ
ขึน้ ภายในอาคารในหลาย ๆ ด้านอีกด้วย เช่น ในด้าน เพิ่มมูลค่าของวัสดุในเชิงพาณิชย์ให้มากยิ่งขึ้น ลดการ
คุณภาพของอากาศภายในอาคาร ความชื้นเป็นปัจจัย นำเข้าของสารดูดความชืน้ ทางเคมีลง โดยจากการศึกษา
หนึง่ ทีส่ ง่ ผลให้เชือ้ ราและเชือ้ โรคเติบโตได้ดี นอกจากนี้ พบว่าแกลบที่เป็นวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ซึ่งมี
ความชืน้ ยังมีผลให้เกิดปฏิกริ ยิ าทางเคมีกบั เหล็ก ส่งผล ปริมาณเหลือจากการสีข้าวถึง 14 ล้านตันต่อปีนั้น
ให้เกิดสนิมกัดกร่อนโครงสร้างอาคารหรือเครื่องเรือน (Kokanutranont, 1993) สามารถนำมาสกัดเป็นสาร
ภายในอาคารได้ ดูดซับความชืน้ ได้ เพราะจากงานวิจยั ทีผ่ า่ นมา (Leela-
วิธีการลดความชื้นภายในอาคารอย่างหนึ่งที่ adisorn, 1993) พบว่า แกลบเมือ่ ได้รบั การเผาด้วยวิธี
เป็นที่นิยมใช้คือ การใช้เครื่องปรับอากาศ โดยเครื่อง ที่เหมาะสมแล้วจะกลายรูปเป็นซิลิกา (silica) ซึ่งเป็น
ปรับอากาศจะใช้พลังงานลดอุณหภูมิของอากาศที่มี สารประกอบ SiO2 ประเภทอสัณฐาน (amorphous
ความชื้นให้มีอุณหภูมิเท่ากับหรือต่ำกว่าอุณหภูมิจุด silica) ทีม่ คี วามบริสทุ ธิ์ 99.4 % โดยน้ำหนัก โดยซิลกิ านี้
น้ำค้างของอากาศชืน้ นัน้ ส่งผลให้ไอน้ำในอากาศกลัน่ ตัว มีคณุ สมบัตเิ ป็นสารทีเ่ ฉือ่ ย ไม่มพี ษิ ลักษณะโครงสร้าง
เป็นหยดน้ำ อัตราส่วนของความชื้นภายในอากาศจึง มีความพรุนและพื้นที่ผิวสูงซึ่งมีความไวต่อการดูดซับ
ลดลง แต่วิธีการนี้เป็นวิธีการที่ต้องใช้พลังงานมาก ความชืน้ แต่ลกั ษณะของซิลกิ าทีไ่ ด้เป็นผง ไม่เหมาะสม
เนื่องจากการเปลี่ยนสถานะของไอน้ำในอากาศไปเป็น ที่จะนำมาใช้ดูดซับความชื้นภายในอาคารได้ เพราะจะ
หยดน้ำ (ความร้อนแฝง) ต้องใช้พลังงานสูงถึง 608 kcal/ เกิดการฟุ้งกระจายได้ง่าย ผู้เขียนจึงได้ทำการวิจัยเพื่อ
kg ณ อุณหภูมอิ ากาศ 25 องศาเซลเซียส โดยในเครือ่ ง เสนอแนวทางการนำซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบมาออกแบบ
ปรั บ อากาศทั ่ ว ไปจะใช้ พ ลั ง งานในการลดความชื ้ น ให้มคี วามเหมาะสมในการใช้งานภายในอาคาร
ภายในอากาศจากอากาศภายนอกทีเ่ ข้ามามากกว่าการ
ลดอุณหภูมถิ งึ 2-3 เท่า (Boonyatikarn, 1999) 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ในปัจจุบันการใช้พลังงานไฟฟ้าสำหรับการ 1. ออกแบบอุปกรณ์ดดู ซับความชืน้ ด้วยซิลกิ า
ปรับสภาวะอากาศด้วยเครื่องปรับอากาศ เป็นการใช้ ที่ได้จากแกลบให้มีความเหมาะสมต่อการนำมาใช้ดูด
พลังงานไฟฟ้าประมาณ 50-70 % ของการใช้พลังงาน ซับความชืน้ ภายในอาคาร
ไฟฟ้าทั้งหมดภายในอาคารประเภทพาณิชย์และที่อยู่ 2. ทดสอบความสามารถในการดูดซับความ
อาศัย (Jaion, 2000) การลดความชื้นภายในอากาศ ชืน้ ของอุปกรณ์ดดู ซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ
โดยไม่ใช้พลังงานไฟฟ้านั้นจึงเป็นแนวทางหนึ่งในการ ทีไ่ ด้ออกแบบในข้อ 1. ในสภาวะความชืน้ และอุณหภูมิ
ช่วยลดการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในอาคารลงได้ การใช้ ทีแ่ ตกต่างกันในห้องทดลองและสภาพการณ์จริง
สารดูดซับความชื้น (desiccant) เป็นวิธีการลดความ
ชื้นภายในอากาศโดยไม่ใช้พลังงานไฟฟ้า ซึ่งหลักการ
ดูดซับความชื้นของสารดูดซับความชื้นนี้ อาศัยหลัก 2. ระเบียบวิธีการวิจัย และผลการศึกษา
ของความแตกต่ า งระหว่ า งความดั น ไอของไอน้ ำ ใน
อากาศกับสารดูดความชื้น โดยที่ผิวของสารดูดความ 2.1 การสกัดสารซิลิกาจากแกลบ
ชืน้ มีความดันไอต่ำมาก ๆ เมือ่ เทียบกับความดันไอของ จากการศึกษาถึงการเตรียม และคุณลักษณะ
อากาศชืน้ ไอน้ำจะถูกสารดูดซับความชืน้ ดูดซับไว้ โดย ของซิลกิ าคุณภาพสูงจากแกลบ Uraiwan Leela-adisorn
ผ่านพื้นที่ผิวของสารดูดซับที่สัมผัสกับอากาศชื้นนั้น (1993) ได้นำแกลบมาผ่านกระบวนการด้วยสารเคมี
ด้วยกรด (กรดไฮโดรคลอริกหรือกรดซัลฟูรกิ ) เข้มข้น 1

Rice-Husk Silica Dehumidifying Wall Unit


Tanachai Jongsuwanpaisan 51
โมลต่อลิตร เป็นเวลา 3 ชัง่ โมง ด้วยกระบวนการรีฟรักซ์ 46
44
42
(reflux) แล้วนำมาล้างน้ำจนหมดความเป็นกรด ต่อจาก 40
38

เปอร์เซ็นต์การอิ่มตัว (%)
นั้นนำแกลบมาผ่านกระบวนการเผาที่อุณหภูมิ 600 36
34
32
องศาเซลเซียส เป็นเวลา 6 ชัว่ โมง ในบรรยากาศของ 30
28

การเผาไหม้ปกติ พบว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณสมบัติ 26
24
22
ระหว่างฟูมซิลกิ า (fumed silica) และซิโรเจล (xerogel) 20
35 32.5 30 27.5 25

ความบริสุทธิ์ของซิลิกา 99.4% โดยน้ำหนัก (รูปที่ 1) อัตราส่วนความชื้น (g ไอน้ำ/kg อากาศแห้ง)

ซึ่งซิโรเจล เป็นซิลิกาเจลชนิดหนึ่งที่มีลักษณะเป็น รูปที่ 2 เปอร์เซ็นต์การอิม่ ตัวของซิลกิ าทีม่ มี วล 0.45 g ในแต่ละ


ของแข็ง เป็นสารซิลิกาเจลตั้งต้นที่สามารถนำไปบด อัตราส่วนความชืน้
ขึ้นรูปเป็นอุปกรณ์ดูดซับความชื้นภายในอาคารได้
46
44
42
เปอร์เซ็นต์การอิ่มตัว (%) 40
38
36
34
32
30
28
26
24
22
20
0.45 1.27 2.34

น้ำหนัก (g)

รูปที่ 3 เปอร์เซ็นต์การอิ่มตัวของซิลิกาที่มวลแตกต่างกัน ใน
อัตราส่วนความชืน้ 35 g/kg

รูปที่ 1 ซิลิกาที่ได้จากการนำแกลบไปเผาในอุณหภูมิ 600


องศาเซลเซียส นาน 6 ชัว่ โมง
2.3 การออกแบบอุปกรณ์ดดู ซับความชืน้ ด้วยซิลกิ า
2.2 ทดสอบความสามารถในการดูดซับความชื้น ที่สกัดจากแกลบ
ของซิลิกาที่สกัดจากแกลบ 2.3.1 การขึน้ รูปซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ
จากการทีผ่ เู้ ขียน (Jongsuwanpaisan, 2005) เนื่องจากซิลิกาที่สกัดจากแกลบมีลักษณะ
ได้ทำการศึกษาคุณสมบัตกิ ารดูดซับความชืน้ ของซิลกิ า เป็นผง ฟุง้ กระจายได้งา่ ย การนำไปใช้ในอุปกรณ์ดดู ซับ
ทีส่ กัดจากแกลบในอัตราส่วนความชืน้ และมวลทีต่ า่ งกัน ความชื้นภายในอาคารควรนำมาขึ้นรูปก่อน ซึ่งผู้เขียน
โดยกำหนดให้ความหนาแน่น อุณหภูมิ และอัตราส่วน เห็นว่าการขึน้ รูปด้วยวิธกี ารทำกระดาษทรายนัน้ เหมาะสม
ของความหนาต่อพื้นที่หน้าตัดคงที่ พบว่าซิลิกาที่สกัด ต่อการขึ้นรูปซิลิกาที่สกัดจากแกลบ เพราะสามารถขึ้น
จากแกลบสามารถดูดซับความชื้นได้ 20-40% ของ รูปซิลิกาให้เป็นแผ่นที่มีชั้นความหนาของซิลิกาได้บ้าง
น้ำหนักซิลิกา โดยอัตราการดูดซับความชื้นจะแปรผัน ทำให้สามารถดูดซับความชื้นได้ดี และเป็นวิธีการขึ้น
ตามอัตราส่วนความชืน้ ภายในอากาศ (รูปที่ 2) เนือ่ งจาก รูปทีง่ า่ ย โดยวิธกี ารขึน้ รูปด้วยวิธกี ารทำกระดาษทราย
การดูดซับความชื้นของสารดูดซับความชื้นนั้นขึ้นอยู่ นั้นมีกระบวนการโรยเมล็ดคม 2 วิธี คือ การให้เมล็ด
กับค่าความดันสัมพัทธ์ P/P0 เมื่ออัตราส่วนความชื้น คมติดกับแผ่นยึดด้วยแรงโน้มถ่วง (gravity coating)
ภายในอากาศลดลงในอุณหภูมเิ ดียวกัน ความดันไอก็จะ และการใช้ไฟฟ้าสถิต
ลดลง ความสามารถในการดูดซับความชื้นของสารดูด จากงานวิจัยของ Suparat Gogkrue (2003)
ความชื้นก็จะลดลง และอัตราในการดูดซับความชื้นจะ พบว่าการขึน้ รูปด้วยวิธกี าร gravity coating นัน้ ซิลกิ า
แปรผกผันกับมวล (รูปที่ 3) เนื่องจากจำนวนอนุภาค มีการดูดซับความชื้นได้ดี เนื่องจากมีพื้นที่ผิวสัมผัส
ไอน้ำที่สารดูดซับความชื้นสามารถดูดซับได้จะลดลง กับอากาศชืน้ ได้มาก ดังนัน้ ผูเ้ ขียนจึงได้ดดั แปลงวิธกี าร
เป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะทางที่เพิ่มขึ้น (ความหนา) ขึน้ รูปซิลกิ าด้วยวิธกี าร gravity coating ให้เป็นแผ่นดูด

Journal of Architectural/Planning Research and Studies Volume 6. Issue 1. 2009


52 Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University
รูปที่ 5 การขึ้นรูปซิลิกาที่สกัดจากแกลบด้วยวิธีการ gravity
coating ในกรณีท่ี 1

รูปที่ 4 แผ่นดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบ

รูปที่ 6 การขึ้นรูปซิลิกาที่สกัดจากแกลบด้วยวิธีการ gravity


ซับความชืน้ ดังรูปที่ 4 ด้วยการนำแผ่นวัสดุทต่ี อ้ งการ coating ในกรณีท่ี 2
ให้ซลิ กิ าทีส่ กัดจากแกลบยึดเกาะมาพ่นสเปรย์กาว แล้ว
จึงโรยผงซิลิกาที่สกัดจากแกลบให้ทั่วทั้งแผ่น ซึ่งได้ทำ
การทดลอง 2 กรณี เปรียบเทียบปริมาณการยึดเกาะ 2.3.2 ผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ
ของซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบกับวัสดุยดึ เกาะ เพือ่ หาวิธกี าร การนำแผ่นดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัด
ที่เหมาะสมในการนำไปใช้ที่ดีที่สุด จากแกลบไปใช้ในอาคารต้องคำนึงถึงวิธีการนำอากาศ
โดยในกรณีแรกใช้แผ่นอะคริลิกเป็นวัสดุยึด ผ่านแผ่นดูดซับความชื้นเพื่อให้เกิดการดูดซับความชื้น
เกาะ ดังรูปที่ 5 ส่วนกรณีท่ี 2 ใช้แผ่นอะคริลกิ เป็นวัสดุ และต้องคำนึงถึงการคายความชืน้ ของแผ่นดูดซับความ
ยึดเกาะเหมือนกรณีแรก แต่นำตาข่ายมายึดติดกับแผ่น ชื้นด้วย ไม่เช่นนั้นแล้วเมื่อแผ่นดูดซับความชื้นดูดซับ
อะคริลกิ ทัง้ ด้านหน้าและด้านหลัง ดังรูปที่ 6 ความชื้นจนอิ่มตัวแล้วจะไม่สามารถดูดซับความชื้น
ผลการทดลองพบว่า ในกรณีแรก วัสดุยดึ เกาะ ภายในอาคารได้อกี ดังนัน้ ตำแหน่งการติดตัง้ จึงมีความ
สามารถยึดติดซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบได้ประมาณ 0.006 สำคัญอย่างมาก โดยตำแหน่งการติดตั้งที่ดีควรมีการ
g/cm2 ส่วนในกรณีที่ 2 วัสดุยึดเกาะสามารถยึดติด ระบายอากาศทีด่ ี และมีความร้อนส่งผ่านให้เกิดการคาย
ซิลิกาที่สกัดจากแกลบได้ประมาณ 0.0226 g/cm2 ซึ่ง ความชืน้ ได้ ผูเ้ ขียนจึงได้ออกแบบอุปกรณ์ดดู ซับความ
มากกว่ากรณีแรกถึง 3.7 เท่า เพราะในกรณีท่ี 2 วัสดุยดึ ชืน้ ด้วยซิลกิ าทีไ่ ด้จากแกลบนี้ ให้เป็นระบบผนังกระจก
เกาะมีพน้ื ทีผ่ วิ ให้ซลิ กิ าทีส่ กัดจากแกลบยึดเกาะมากขึน้ 2 ชัน้ ดังรูปที่ 7 เพือ่ ใช้ประโยชน์จากความร้อนของแสง
เนือ่ งจากนำตาข่ายมาติดตัง้ เพิม่ ดังนัน้ ผูเ้ ขียนจึงนำการ อาทิตย์ในการช่วยคายความชื้นของซิลิกาที่สกัดจาก
ขึน้ รูปซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบด้วยวิธกี าร gravity coating แกลบ โดยให้มขี นาด 0.60 x 1.20 เมตร ซึง่ อ้างอิงมา
ในแบบกรณีท่ี 2 มาทำการออกแบบผนังดูดซับความชืน้ จากขนาดของระบบวงกบบานเกล็ดกระจกโดยทั่วไป
ด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบในขั้นตอนต่อไป (Liwthanamongkol, 1995) เพือ่ ให้มคี วามเหมาะสม และ

Rice-Husk Silica Dehumidifying Wall Unit


Tanachai Jongsuwanpaisan 53
2.4 การทดสอบความสามารถในการดูดซับความชืน้
ของผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจาก
แกลบในห้องทดลอง
2.4.1 วิธกี ารทดลอง
การทดลองนี ้ ท ำการทดลองภายในกล่ อ ง
ทดลอง ดังรูปที่ 8 ซึง่ ประกอบด้วยกล่องทดลองขนาด
0.6 x 0.6 x 1.2 เมตร ส่วนล่างต่อเข้ากับเครื่องสร้าง
ความชืน้ และติดตัง้ วาล์วทีส่ ามารถปรับปริมาณอากาศ
ได้ไว้ระหว่างเครือ่ งสร้างความชืน้ และปัม๊ ลม โดยปัม๊ ลม
ทำหน้าที่นำอากาศผ่านน้ำภายในเครื่องสร้างความชื้น
เพือ่ เพิม่ ความชืน้ ให้กบั อากาศ และติดตัง้ เครือ่ งควบคุม
อุณหภูมิไว้ภายในเครื่องสร้างความชื้น และส่วนล่าง
ของกล่องทดลองเพื่อควบคุมความชื้นและอุณหภูมิให้
เป็นไปตามที่ต้องการ อีกด้านของกล่องทดลองติดตั้ง
ผนังดูดซับความชืน้ โดยกำหนดให้อากาศผ่านเข้าส่วน
ล่างของกล่องทดลองแล้วไหลผ่านผนังดูดซับความชืน้ จาก
ด้านล่างขึน้ ด้านบน และออกจากกล่องทดลองทางด้าน
รูปที่ 7 ระบบผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ
บนของกล่อง ซึง่ การไหลของอากาศนีก้ ำหนดโดยพัดลม
ที่ติดตั้งมากับผนังดูดซับความชื้น และระบบทั้งหมดนี้
ง่ายต่อวิธกี ารติดตัง้ แก่อาคารส่วนใหญ่ โดยภายในผนัง ติดตัง้ อยูภ่ ายในกล่องทดลองขนาด 2 x 1 x 1.5 เมตร
ที ่ ท ำการออกแบบนี ้ ไ ด้ ต ิ ด ตั ้ ง แผ่ น ดู ด ซั บ ความชื ้ น เพื่อควบคุมอุณหภูมิของทั้งระบบ โดยมีวิธีการทดลอง
คล้ายคลึงกับแผ่นกระจกของหน้าต่างบานเกล็ด และใน ดังนี้
การออกแบบผนังให้เป็นกระจกทั้ง 2 ด้านนั้น เพื่อให้ 1. นำผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัด
ผนังสามารถดูดซับความชืน้ ได้ ในขณะเดียวกันสามารถ จากแกลบไปอบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส โดย
มองทะลุผา่ นผนังได้เช่นเดียวกับหน้าต่างบานเกล็ดทัว่ ๆ อ้างอิงจากความร้อนของผนังอาคารทีร่ บั ความร้อนจาก
ไป ส่วนการออกแบบภายในผนังจะติดตั้งแผ่นดูดซับ แสงอาทิตย์ในช่วงเวลากลางวัน เพื่อคายความชื้นเป็น
ความชืน้ ให้ขวางทางเดินของอากาศ เพือ่ สร้างพืน้ ทีผ่ วิ เวลา 5 ชัว่ โมง
สัมผัสกับอากาศให้ได้มากที่สุด และติดตั้งพัดลมไว้
เพื่อควบคุมอัตราการระบายอากาศให้อากาศสามารถ
เคลือ่ นทีผ่ า่ นแผ่นดูดซับความชืน้ ได้อย่างเหมาะสม
ผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ
ทีผ่ เู้ ขียนสร้างขึน้ เพือ่ การทดลองนี้ มีขนาด 0.60 x 0.20
x 1.20 เมตร ภายในบรรจุแผ่นซิลกิ าทีข่ น้ึ รูปด้วยวิธกี าร
gravity coating ในแบบกรณีท่ี 2 ทัง้ สิน้ 27 แผ่น แต่ละ
แผ่นมีขนาด 0.55 x 0.20 เมตร โดยติดตัง้ ให้แผ่นดูดซับ
ความชื้นห่างกันในแต่ละแผ่น 3 เซนติเมตร ติดตั้งใน
ลักษณะขวางทางลม สามารถบรรจุซิลิกาที่สกัดจาก
แกลบได้ทง้ั หมด 518.129 กรัม โดยผนังดูดซับความชืน้
นี้ได้เจาะรูด้านล่างเพื่อให้อากาศเข้า และติดตั้งพัดลม รูปที่ 8 กล่องทดลองความสามารถในการดูดซับความชืน้ ของผนัง
ระบายอากาศ ยีห่ อ้ Centaur 3, CN60B3, 220 V, 50/60 ดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบในสภาวะจำลอง
Hz, 14/12 W, 0.11/0.09 A, ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 11.5
เซนติเมตร ไว้ดา้ นบนของผนัง

Journal of Architectural/Planning Research and Studies Volume 6. Issue 1. 2009


54 Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University
2. เปิ ด ระบบสร้ า งความชื ้ น ภายในกล่ อ ง 2.4.2 ผลการทดลอง
ทดลองจนได้สภาวะอากาศที่มีความชื้นสัมพัทธ์และ ในการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์
อุณหภูมิตามที่ต้องการ โดยในการทดลองนี้ได้กำหนด ของระบบ สามารถควบคุมอุณหภูมิให้มีค่าอยู่ในช่วง
สภาวะอากาศตามอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย ประมาณ ±0.5 องศาเซลเซียส จากอุณหภูมทิ ก่ี ำหนด
ในรอบ 10 ปี ในแต่ละฤดูกาลของประเทศไทยดังนี้ ส่วนความชื้นสัมพัทธ์สามารถควบคุมความชื้นสัมพัทธ์
ช่วงฤดูรอ้ น (มีนาคม-มิถนุ ายน) ให้มีค่าอยู่ในช่วงประมาณ ±5% จากความชื้นสัมพัทธ์
อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธ์ 73% ที่กำหนด โดยค่าอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ที่ได้
ช่วงฤดูฝน (กรกฎาคม-ตุลาคม) เป็นค่าเฉลีย่ ทุก ๆ 10 นาที ซึง่ ผลของการทดสอบความ
อุณหภูมิ 29 องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธ์ 77% สามารถในการดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ
ช่วงฤดูหนาว (พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์) มีดงั นี้
อุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธ์ 67% ช่วงฤดูรอ้ น (มีนาคม-มิถนุ ายน) อุณหภูมิ 30
3. ติดตัง้ ผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัด องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธ์ 73%
จากแกลบไว้ในกล่องทดลอง แล้วทดสอบความสามารถ ผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ
ในการดูดซับความชื้นในสภาวะความชื้นสัมพัทธ์และ สามารถดูดซับความชื้นจนอิ่มตัว ในเวลาประมาณ 4
อุณหภูมจิ ำลองตามสภาวะอากาศในแต่ละฤดูกาล โดย ชัว่ โมง 50 นาที สังเกตจากอัตราส่วนความชืน้ ของอากาศ
กำหนดอัตราการระบายอากาศที่ 5 ลิตร/วินาที หรือ หลังผ่านผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ
ประมาณ 17 m3/hr (Prueksapanich, 1986) ซึง่ เป็นอัตรา เริม่ คงที่ และอุณหภูมขิ องอากาศเริม่ ลดลง โดยผนังดูด
การระบายอากาศมาตรฐานของห้องนอนในอาคารพัก ซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบจะดูดซับความ
อาศัยทั่วไป โดยในการทดลองนี้ได้จำลองสภาวะการ ชื้นได้มากในช่วง 2 ชั่วโมงแรก และสามารถดูดซับ
ระบายอากาศในห้องนอนขนาด 3 x 3 x 2.5 เมตร ความชืน้ ได้มากทีส่ ดุ 9.55 g/kg ในช่วงเวลา 10 นาทีแรก
ทีม่ ผี พู้ กั อาศัยเพียงคนเดียว ต่อจากนัน้ ความสามารถในการดูดซับความชืน้ จะค่อย ๆ
4. ทำการบันทึก ค่ า อุ ณ หภู ม ิ แ ละความชื้ น ลดลง โดยมีอตั ราเฉลีย่ ในการดูดซับความชืน้ ทีป่ ระมาณ
สัมพัทธ์ของอากาศด้วยหัววัด EE20 - FT6A21 ต่อเข้า 14.68 g/kg*hr (รูปที่ 9 )
กับเครือ่ งบันทึกข้อมูล OPUS 200 โดยวางหัววัดไว้ตรง ช่วงฤดูฝน (กรกฎาคม-ตุลาคม) อุณหภูมิ 29
ตำแหน่งอากาศเข้าผนังดูดซับความชื้น และตำแหน่ง องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธ์ 77%
ทีอ่ ากาศออกจากผนังดูดซับความชืน้ ดังรูปที่ 8 บันทึก ผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ
ข้อมูลทุก ๆ 10 นาที สามารถดูดซับความชื้นจนอิ่มตัว ในเวลาประมาณ 3
5. หาความสามารถในการลดความชื้นของ ชัว่ โมง 40 นาที โดยจะดูดซับความชืน้ ได้มากในช่วง 3
ผนังดูดซับความชื้น โดยคำนวณจากผลต่างของอัตรา ชั่วโมงแรก และสามารถดูดซับความชื้นได้มากที่สุด
ส่วนความชื้นของอากาศก่อนเข้าและหลังจากผ่านผนัง 12.45 g/kg ในช่วงเวลา 10 นาทีแรก โดยมีอตั ราเฉลีย่
ดูดซับความชืน้ ด้วยสมการที่ 1 ในการดูดซับความชืน้ ทีป่ ระมาณ 26.81 g/kg*hr (รูปที่
9 )
w = wbefore – wafter (1) ช่ ว งฤดู ห นาว (พฤศจิ ก ายน-กุ ม ภาพั น ธ์ )

เมื่อ อุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 67%
w = ความต่างของอัตราส่วนความชืน้ (g/kg) ผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ
wbefore = อัตราส่วนความชื้นของอากาศก่อนเข้าผนัง สามารถดูดซับความชื้นจนอิ่มตัว ในเวลาประมาณ 6
ดูดซับความชืน้ ชัว่ โมง 30 นาที โดยจะดูดซับความชืน้ ได้มากในช่วง 2
wafter = อัตราส่วนความชื้นของอากาศหลังผ่านผนัง ชัว่ โมงแรก และสามารถดูดซับความชืน้ ได้มากทีส่ ดุ 7.98
ดูดซับความชืน้ g/kg ในช่วงเวลา 20 นาทีแรก โดยมีอตั ราเฉลีย่ ในการดูด
6. เปรียบเทียบความสามารถในการลดความ ซับความชืน้ ทีป่ ระมาณ 11.41 g/kg*hr (รูปที่ 9 )
ชืน้ ของผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบใน
ช่วงความชืน้ สัมพัทธ์และอุณหภูมใิ นแต่ละฤดูกาล

Rice-Husk Silica Dehumidifying Wall Unit


Tanachai Jongsuwanpaisan 55
จากการทดลองพบว่า เมือ่ อากาศไหลผ่านผนัง ได้ในช่วงชัว่ โมงแรก ๆ (รูปที่ 12) แต่เมือ่ ดูดซับความ
ดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบ อุณหภูมิจะ ชื้นต่อไปในระยะยาว สารดูดซับความชื้นจะคายความ
สูงขึ้น (รูปที่ 10) เนื่องจากสารดูดซับความชื้นจะคาย ร้อนของ sensible heat ทีส่ ะสมในช่วงชัว่ โมงแรกออกมา
ความร้อนออกมาเมื่อมีการดูดซับความชื้นเข้าไป ซึ่ง (รูปที่ 10) ทำให้ไม่สามารถลดการใช้พลังงานในเครื่อง
โดยปกติแล้วการดูดซับความชื้นของสารดูดซับความ ปรับอากาศในช่วงนี้ลงได้ แต่อาจเป็นการเพิ่มการใช้
ชืน้ นัน้ ในสภาพสถานะคงที่ (steady state) ค่าเอลทัลปี พลังงานในการปรับอากาศ
จะไม่เปลี่ยนแปลง จะมีเพียงการเปลี่ยนความร้อนแฝง เปรียบเทียบความสามารถในการลดความชืน้
(latent) เป็นความร้อนสัมผัส (sensible heat) เท่านัน้ ของผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบใน
(ASHRAE, 2005) (รูปที่ 11) แต่ในการทำงานของสาร แต่ละฤดูกาล
ดูดซับความชื้นนั้นจะมีการหน่วงความร้อน เนื่องจาก จากผลการทดลองพบว่า ช่วงฤดูฝนอัตราการ
ในช่วงชั่วโมงแรก sensible heat จะถูกเก็บในสารดูด ดูดซับความชื้นของผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่
ซับความชื้น จึงทำให้อุณหภูมิเพิ่มไม่มาก ดังนั้นสาร สกัดจากแกลบมีมากที่สุด และอิ่มตัวได้เร็วที่สุด เนื่อง
ดูดซับความชื้นจึงสามารถลดค่าเอลทัลปีของอากาศลง จากฤดูฝนมีอุณหภูมิที่ต่ำ และความชื้นสัมพัทธ์ที่สูง

รูปที่ 9 เปรียบเทียบอัตราส่วนความชืน้ ทีผ่ นังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบสามารถดูดซับได้ทง้ั 3 ฤดู

รูปที่ 10 เปรียบเทียบผลต่างของอุณหภูมิอากาศก่อนเข้า และหลังออกจากผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัด


จากแกลบทัง้ 3 ฤดู

Journal of Architectural/Planning Research and Studies Volume 6. Issue 1. 2009


56 Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University
รูปที่ 11 การดูดซับความชืน้ ของสารดูดซับความชืน้ นัน้ ในสภาพ รูปที่ 12 การทำงานของสารดูดซับความชื้นแบบ dynamic
steady state ในช่วงชั่วโมงแรกของการดูดซับความชื้น

กว่าฤดูรอ้ น ดังนัน้ อากาศจึงมีความหนาแน่นของไอน้ำ ภายในกล่องทดลองชั้นล่างออก แล้วติดตั้งนอกกล่อง


มากกว่าอยูใ่ นสภาวะทีซ่ ลิ กิ า (สารดูดความชืน้ ) สามารถ ทดลองขนาด 2 x 1 x 1.5 เมตร เพือ่ ให้อากาศจากสภาพ-
ดูดซับความชื้นได้ดี และซิลิกาจะมีความสามารถใน การณ์จริงผ่านเข้าสู่กล่องทดลอง โดยมีวิธีการทดลอง
การดูดซับความชื้นได้ดีขึ้นเมื่ออุณหภูมิลดลง ส่วน ดังนี้
ช่วงฤดูหนาวทีม่ อี ณุ หภูมแิ ละความชืน้ สัมพัทธ์ทต่ี ำ่ กว่า 1. ติดตัง้ ผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัด
ฤดูรอ้ นและฤดูฝน เมือ่ สังเกตดูจะพบว่าอุณหภูมใิ นช่วง จากแกลบไว้ในกล่องทดลอง โดยตัง้ กล่องทดลองหันหน้า
ฤดูหนาวจะต่ำกว่าฤดูร้อนและฤดูฝนเพียง 1-2 องศา ทางทิศใต้ ในบริเวณทีม่ อี ากาศถ่ายเท และแสงสามารถ
เซลเซียส เท่านั้น แต่มีความชื้นสัมพัทธ์ที่ต่ำกว่าทั้ง 2 ส่องถึงผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบได้
ฤดูถงึ กว่า 10% ส่งผลให้อากาศในช่วงฤดูหนาวมีความ โดยกำหนดอัตราการระบายอากาศที่ 5 l/s หรือประมาณ
หนาแน่นของไอน้ำภายในอากาศต่ำทีส่ ดุ ของทัง้ 3 ฤดู 17 m3/hr ทำการทดลองโดยใช้ระยะเวลาการทดลอง
ผนังดูดซับความชื้นจึงสามารถดูดซับความชื้นได้ใน ต่อเนือ่ งเป็นเวลา 3 วัน
อัตราที่ต่ำและใช้เวลาดูดซับจนอิ่มตัวนานที่สุด เมื่อ
เปรียบเทียบกันแล้วใน 3 ฤดู (รูปที่ 9)
ส่วนสาเหตุที่ผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกา
ทีส่ กัดจากแกลบใช้เวลาในการดูดซับความชืน้ จนอิม่ ตัว
น้อยเพียง 3-6 ชัว่ โมงนัน้ เนือ่ งจากแผ่นดูดซับความชืน้
ภายในผนังดูดซับความชื้นบรรจุซิลิกาโดยวิธีการโรย
แบบ gravity coating ทำให้แผ่นดูดซับความชืน้ มีชน้ั ของ
ซิลกิ าทีบ่ างมาก ดังนัน้ การดูดซับความชืน้ จึงเกิดขึน้ อย่าง
รวดเร็ว เพราะการดูดซับความชื้นของสารดูดซับความ
ชืน้ จะผกผันตามความหนาของสารดูดซับความชืน้

2.5 การทดสอบความสามารถในการดูดซับความ
ชื้นของผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัด
จากแกลบ เมื่อใช้ในสภาพการณ์จริง
2.5.1 วิธกี ารทดลอง
รูปที่ 13 กล่องทดลองความสามารถในการดูดซับความชืน้ ของ
ในการทดลองนี้ทำการทดลองภายในกล่อง
ผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบใน
ทดลองดังรูปที่ 13 ซึ่งดัดแปลงมาจากกล่องทดลอง สภาพการณ์จริง
ในรูปที่ 8 โดยถอดอุปกรณ์สร้างความชืน้ และ heater

Rice-Husk Silica Dehumidifying Wall Unit


Tanachai Jongsuwanpaisan 57
2. ทำการบันทึกค่าอุณหภูมิและความชื้น เวลาประมาณ 19:00-07:00 น. ของเช้าวันถัดไป (12
สัมพัทธ์ของอากาศ ด้วยหัววัด EE20 - FT6A21 ต่อเข้า ชัว่ โมง) ส่วนช่วงเช้า ผนังดูดซับความชืน้ ได้รบั ความร้อน
กับเครือ่ งบันทึกข้อมูล OPUS 200 โดยวางหัววัดไว้ตรง จากแสงอาทิตย์ อุณหภูมิภายในกล่องเพิ่มขึ้นสูงสุดถึง
ตำแหน่งอากาศเข้าผนังดูดซับความชื้น และตำแหน่ง ประมาณ 45-50 องศาเซลเซียส ในเวลา 12:00-17:00 น.
ทีอ่ ากาศออกจากผนังดูดซับความชืน้ ดังรูปที่ 13 บันทึก (รูปที่ 14) เกิดการคายความชืน้ กลับคืนสูอ่ ากาศ ตัง้ แต่
ข้อมูลทุก ๆ 10 นาที เวลาประมาณ 07:00-19:00 น.โดยจะคายความชืน้ ให้กบั
3. หาความสามารถในการลดความชื้นของ อากาศเป็นอัตราส่วนความชืน้ เพิม่ ขึน้ ประมาณ 2-3 g/kg
ผนังดูดซับความชื้น โดยคำนวณจากผลต่างของอัตรา (รูปที่ 15)
ส่วนความชื้นของอากาศก่อนเข้าและหลังจากผ่านผนัง เนือ่ งจากวันทีท่ ำการทดลอง (5-8 กุมภาพันธ์
ดูดซับความชืน้ จากสมการที่ 1 พ.ศ. 2549) เป็นช่วงฤดูหนาว มีความชื้นสัมพัทธ์ใน
4. วิเคราะห์ผลการดูดซับและคายความชื้น อากาศค่อนข้างต่ำ เฉลี่ยประมาณ 49.33% ส่งผลให้
ของผนังดูดซับความชืน้ ในรอบวัน สภาวะอากาศมีความหนาแน่นของไอน้ำภายในอากาศ
ต่ำ ทำให้การดูดซับความชื้นของผนังดูดซับความชื้น
2.5.2 ผลการทดลอง มีอตั ราทีต่ ำ่ ตามไปด้วย เพียงสามารถลดอัตราส่วนความ
ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า ผนังดูดซับความ ชื้นในอากาศได้ประมาณ 1 g/kg แต่จากการทดลอง
ชืน้ สามารถดูดซับความชืน้ ได้ในช่วงเวลากลางคืน ตัง้ แต่ ภายในสภาพอากาศจำลอง มีแนวโน้มว่าผนังดูดซับ

รูปที่ 14 อุณหภูมขิ องอากาศก่อนเข้า และหลังออกจากผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ ในการทดสอบใช้ในสภาพการณ์จริง

รูปที่ 15 อัตราส่วนความชื้นที่ผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบดูดซับและคายความชื้นให้กับอากาศในการทดสอบใช้ใน
สภาพการณ์จริง

Journal of Architectural/Planning Research and Studies Volume 6. Issue 1. 2009


58 Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University
ความชืน้ จะสามารถลดอัตราส่วนความชืน้ ภายในอากาศ 2.6.2 ผลการทดลอง
ได้มากขึน้ ในสภาพอากาศทีม่ คี วามชืน้ สัมพัทธ์ทส่ี งู ขึน้ วิเคราะห์หาค่าเอลทัลปีโดยคำนวณค่าเอล-
ดังนัน้ อากาศในฤดูรอ้ นและฤดูฝน ทีม่ คี วามชืน้ สัมพัทธ์ ทัลปีเฉลีย่ ทุก ๆ ช่วง 10 นาที ตามการวัดค่าอุณหภูมิ
สูงกว่าฤดูหนาว ผนังดูดซับความชื้นน่าจะสามารถดูด และความชื้นสัมพัทธ์ในการทดลองที่ 2.4 (ในห้อง
ซับความชืน้ ภายในอากาศได้มากขึน้ ทดลอง)
ช่วงฤดูรอ้ น (มีนาคม-มิถนุ ายน) อุณหภูมิ 30
2.6 วิเคราะห์หาอัตราการประหยัดพลังงานเมื่อ องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธ์ 73 %
ติดตั้งผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัด เมื่ออากาศผ่านผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ า
จากแกลบ ที่สกัดจากแกลบ สามารถลดค่าเอลทัลปีของระบบ
2.6.1 วิธกี ารทดลอง ได้ประมาณ 2 ชัว่ โมงแรก โดยชัว่ โมงแรกลดลงได้ 90.69
1. หาความสามารถในการลดการใช้พลังงาน kJ/kg จาก 488.16 kJ/kg หรือ 0.48 kW จาก 2.60 kW
ของผนังดูดซับความชืน้ ทีไ่ ด้ออกแบบ โดยคำนวณจาก คิดเป็น 18.58% ส่วนในชัว่ โมงที่ 2 ลดลง 10.69 kJ/kg
ผลต่างของค่าเอลทัลปี ดังสมการที่ 2 จาก 505.90 kJ/kg หรือ 0.06 kW จาก 2.70 kW คิดเป็น
2.11% (รูปที่ 16 )

i = 1.005 ( t) + 2.550 ( w)
∇ ∇
(2) ช่วงฤดูฝน (กรกฎาคม-ตุลาคม) อุณหภูมิ 29
เมื่อ องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธ์ 77%

i = ผลต่างของเอลทัลปี (kJ/kg) เมือ่ อากาศผ่านผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ า

t = ผลต่างของอุณหภูมกิ อ่ นเข้า และหลังผ่านผนัง ที่สกัดจากแกลบ สามารถลดค่าเอลทัลปีของระบบได้
ดูดซับความชืน้ (องศาเซลเซียส) ประมาณ 3 ชัว่ โมงแรก โดยชัว่ โมงแรกลดลงได้ 136.24

w = ผลต่างของอัตราส่วนความชื้นภายในอากาศ kJ/kg จาก 452.36 kJ/kg หรือ 0.73 kW จาก 2.43 kW
(g/kg) คิดเป็น 30.12% ส่วนในชัว่ โมงที่ 2 ลดลง 37.49 kJ/kg
2. เปรียบเทียบการลดการใช้พลังงานเมื่อ จาก 472.71 kJ/kg หรือ 0.20 kW จาก 2.54 kW คิดเป็น
ใช้ผนังดูดซับความชื้น และไม่ใช้ผนังดูดซับความชื้น 7.93% และในชัว่ โมงที่ 3 ลดลง 18.46 kJ/kg จาก 491.90
ในแต่ละฤดูกาล โดยอ้างอิงข้อมูลจากการทดลอง 2.4.2 kJ/kg หรือ 0.10 kW จาก 2.64 kW คิดเป็น 3.75% (รูปที่
3. เปรียบเทียบความสามารถในการลดการใช้ 16 )
พลังงานเมือ่ ใช้ผนังดูดซับความชืน้ ในแต่ละฤดูกาล ช่ ว งฤดู ห นาว (พฤศจิ ก ายน-กุ ม ภาพั น ธ์ )
อุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธ์ 67%

รูปที่ 16 ค่าเอลทัลปีของอากาศทีผ่ นังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบสามารถลดได้ทง้ั 3 ฤดู

Rice-Husk Silica Dehumidifying Wall Unit


Tanachai Jongsuwanpaisan 59
เมือ่ อากาศผ่านผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ า ที่ทำให้ผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบ
ที่สกัดจากแกลบ สามารถลดค่าเอลทัลปีของระบบได้ สามารถลดค่าเอลทัลปีของอากาศในฤดูร้อนได้น้อย
ประมาณ 2 ชัว่ โมงแรก โดยชัว่ โมงแรกลดลงได้ 77.36 กว่าฤดูหนาว
kJ/kg จาก 402.34 kJ/kg หรือ 0.42 kW จาก 2.18 kW
คิดเป็น 19.23% ส่วนในชัว่ โมงที่ 2 ลดลง 22.67 kJ/kg
จาก 421.80 kJ/kg หรือ 0.12 kW จาก 2.29 kW คิดเป็น 3. บทสรุป
5.37% (รูปที่ 16 )
จากการทดลองพบว่า ผนังดูดซับความชื้น จากผลการทดลองนี้แสดงให้เห็นว่า ผนังดูด
ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ สามารถลดค่าเอลทัลปีของ ซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบเหมาะสมที่จะ
อากาศได้เพียง 2-3 ชั่วโมงแรก ทั้ง ๆ ที่สามารถลด ติดตัง้ ภายในอาคารทีพ่ กั อาศัยทีม่ กี าร seal อาคาร และมี
ความชืน้ ภายในอากาศได้นานถึง 3-6 ชัว่ โมง เนือ่ งจาก ระบบการนำ outdoor air เข้ามาภายในอาคารทีเ่ ป็นไป
ค่าเอลทัลปีที่ได้จากการลดความชื้นภายในอากาศของ ตามมาตรฐานสากล เช่น ASHRAE 62.1 (Damiano &
ผนังดูดซับความชื้นถูกหักล้างกับค่าเอลทัลปีที่สูงขึ้น Dougan, 2004), อาคารทีอ่ อกแบบตามเกณฑ์การอนุรกั ษ์
จากอุณหภูมิของอากาศที่สูงขึ้นเมื่อผ่านผนังดูดซับ พลังงาน (Thirakomen, 2004) หรืออาคารทีม่ กี ารเปิด
ความชืน้ ดังนัน้ เมือ่ ความสามารถในการดูดซับความชืน้ การใช้งานของเครื่องปรับอากาศในช่วงเวลากลางคืน
ของผนังดูดซับความชื้นลดลง แต่อุณหภูมิของอากาศ เพราะผนังดูดซับความชืน้ นีส้ ามารถลดความชืน้ ภายใน
หลังผ่านผนังดูดซับความชื้นไม่ได้ลดลงตามไปด้วย อากาศได้ในช่วงเวลากลางคืน ส่วนในช่วงกลางวันระบบ
จึงส่งผลให้ผนังดูดซับความชื้นสามารถลดค่าเอลทัลปี จะคายความชื้นที่สามารถดูดซับได้ด้วยความร้อนจาก
ของอากาศได้พียงในช่วงชั่วโมงแรก ๆ ในการดูดซับ แสงอาทิตย์หมุนเวียนอย่างเป็นระบบต่อเนื่องตลอดไป
ความชืน้ ซึง่ ผนังดูดซับความชืน้ สามารถดูดซับความชืน้ โดยไม่จำเป็นต้องถอดหรือเคลื่อนย้ายสารดูดความชื้น
จากอากาศได้ในปริมาณที่มาก (ซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ) ไปอบคายความชืน้ สามารถลด
เปรียบเทียบความสามารถในการลดการใช้ การใช้พลังงานในการเพิ่มความร้อนให้กับสารดูดความ
พลังงานเมื่อใช้ผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัด ชื้นเพื่อลดความชื้นได้ (Chenvidyakarn, 2007) และ
จากแกลบ ในแต่ละฤดูกาล จากผลการทดลองนี้ยังสามารถนำไปเป็นแนวทางการ
จากผลการทดลองพบว่า ในฤดูฝนผนังดูดซับ ออกแบบระบบการทำงานของผนังดูดซับความชื้นด้วย
ความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบสามารถลดค่าเอล- ซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบดังรูปที่ 17 นีต้ ดิ ตัง้ พัดลมระบาย
ทัลปีของอากาศได้มากที่สุด เพราะในช่วงฤดูนี้ผนังดูด อากาศไว้ด้านบนของผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่
ซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบสามารถลด สกัดจากแกลบ โดยมีชอ่ งระบายอากาศ 2 ด้าน ทัง้ ด้านใน
อัตราส่วนความชื้นภายในอากาศได้มากที่สุด แต่จาก อาคารและด้านนอกอาคาร เปิดปิดสลับกันเมือ่ ต้องการ
การทดลองพบว่าในฤดูรอ้ นผนังดูดซับความชืน้ สามารถ ใช้งานผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบ
ลดค่าเอลทัลปีของอากาศได้นอ้ ยกว่าฤดูหนาว ทัง้ ๆ ที่ ในการดูดซับ หรือคายความชืน้ และเปิดให้พดั ลมระบาย
ช่วงฤดูร้อนผนังดูดซับความชื้นสามารถลดความชื้น อากาศทำงานเพียงช่วงเวลากลางคืนเพือ่ นำอากาศเข้ามา
ภายในอากาศได้มากกว่าช่วงฤดูหนาว เนือ่ งจากค่าผล ภายในห้อง ส่วนช่วงกลางวันอุณหภูมภิ ายในผนังดูดซับ
ต่างค่าเอลทัลปีของอากาศขึน้ อยูก่ บั ปัจจัย 2 ประการ คือ ความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบสูงกว่าอุณหภูมิ
ผลต่างของอัตราส่วนความชื้นภายในอากาศกับผลต่าง ภายนอก ทำให้อากาศภายในผนังดูดซับความชื้นด้วย
อุณหภูมิอากาศ เมื่อสังเกตผลการทดลองพบว่า ฤดู ซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบลอยตัวสูงขึน้ แล้วเคลือ่ นทีอ่ อกไป
ร้อนผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบ ตามช่องระบายอากาศด้านบนอากาศภายนอกทีม่ อี ณ ุ หภูมิ
สามารถลดอัตราส่วนความชืน้ ภายในอากาศได้มากกว่า ต่ำกว่าเข้ามาแทนทีโ่ ดยเคลือ่ นผ่านเข้ามาทางช่องระบาย
ฤดูหนาวไม่มาก แต่อากาศที่ผ่านผนังดูดซับความชื้น อากาศด้านล่าง หมุนเวียนกันไปอย่างต่อเนื่องจนกว่า
ด้ ว ยซิ ล ิ ก าที ่ ส กั ด จากแกลบ กลั บ มี อ ุ ณ หภู ม ิ ส ู ง ขึ ้ น อุณหภูมภิ ายในผนังดูดซับความชืน้ จะเท่ากับหรือน้อยกว่า
มากกว่าฤดูหนาวมาก อุณหภูมิที่สูงขึ้นนี้จึงเป็นสาเหตุ อุณหภูมอิ ากาศภายนอก จึงไม่จำเป็นต้องใช้พดั ลมช่วย
ในการระบายอากาศ

Journal of Architectural/Planning Research and Studies Volume 6. Issue 1. 2009


60 Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University
รูปที่ 17 ระบบการทำงานของผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ

การนำผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัด ผนั ง ดู ด ซั บ ความชื ้ น ด้ ว ยซิ ล ิ ก าที ่ ส กั ด จาก


จากแกลบไปใช้งานจริงร่วมกับระบบปรับอากาศ ควรติด แกลบนอกจากช่วยลดความชื้นของอากาศก่อนจะมา
ตั้งให้ช่องระบายอากาศด้านในของผนังดูดซับความชื้น ภายในห้องแล้ว ยังช่วยในการบังแดดได้อีกด้วย เนื่อง
อยูใ่ กล้กบั ช่อง return air ของเครือ่ งปรับอากาศ หรือต่อ จากลักษณะของแผ่นดูดซับความชื้นที่ติดตั้งภายใน
ช่องระบายอากาศเข้ากับกล่องผสมอากาศ (mixing box) ผนังดูดซับความชื้นเป็นแนวนอนคล้ายกับแผงกันแดด
เพื่อผสมอากาศที่ผ่านผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกา จึงช่วยลดความร้อนจากแสงโดยตรงจากดวงอาทิตย์ที่
ที่สกัดจากแกลบกับอากาศภายในห้อง แล้วต่อเข้ากับ ส่องเข้ามาภายในห้องได้
ช่อง return air ของเครือ่ งปรับอากาศ เพือ่ ให้ fresh air จากผลการวิเคราะห์ในหัวข้อ 2.6 พบว่า ผนัง
ซึ่งผ่านการลดความชื้นจากผนังดูดซับความชื้นด้วย ดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบมีประสิทธิภาพ
ซิลิกาที่สกัดจากแกลบผ่านเข้าไปยังเครื่องปรับอากาศ ในการลดค่าเอลทัลปีเพียง 2-3 ชัว่ โมงแรกในการใช้งาน
ได้มากที่สุด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการลดการใช้ ซึง่ เมือ่ คำนวณการใช้พลังงานของเครือ่ งปรับอากาศ โดย
พลังงาน และควรติดตัง้ ผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าที่ คิดว่าเป็นห้องนอนในบ้านพักอาศัยที่เปิดเครื่องปรับ
สกัดจากแกลบไว้ในผนังอาคารด้านทีส่ ามารถรับแสงแดด อากาศในช่วงเวลากลางคืน การติดตัง้ ผนังดูดซับความ
ในช่วงกลางวันได้ และมีการระบายอากาศทีด่ ี เพือ่ ให้ผนัง ชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ 1 ชุด สามารถลดการใช้
ดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบมีประสิทธิ- พลังงานในฤดูรอ้ นได้ 16.47 kW/month ในฤดูฝน 31.36
ภาพทีด่ ที ง้ั การดูดซับและการคายความชืน้ (รูปที่ 18) kW/month และในฤดูหนาว 16.20 kW/month หรือ

รูปที่ 18 การติดตั้งผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบภายในอาคารที่พักอาศัย

Rice-Husk Silica Dehumidifying Wall Unit


Tanachai Jongsuwanpaisan 61
รูปที่ 19 การติดตัง้ ผนังดูดซับความชืน้ ในระบบหมุนเวียนกันดูดซับ และคายความชืน้

สามารถลดการใช้พลังงานของเครื่องปรับอากาศได้ ในการนำผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่
255.8 kW/year สกัดจากแกลบไปใช้งานจริงในอาคารขนาดใหญ่หรือห้อง
ดั ง นั ้ น ในการนำผนั ง ดู ด ซั บ ความชื ้ น ด้ ว ย ซึง่ มีอตั ราการระบายอากาศทีส่ งู จำนวนและขนาดของ
ซิลิกาที่สกัดจากแกลบไปใช้จริงจึงไม่เหมาะกับอาคาร ผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจากแกลบอาจไม่
หรือห้องทีม่ กี ารใช้งานตลอด 24 ชัว่ โมง เว้นแต่จะสร้าง เพียงพอในการดูดซับความชื้นของอากาศที่จะเข้ามา
ระบบขึ้นมาเพื่อที่จะคงอัตราการดูดซับความชื้นที่สูง ดังนั้นรูปแบบการติดตั้งอุปกรณ์ดูดซับความชื้นชิ้นนี้
ในชัว่ โมงแรกไว้ตลอดช่วงเวลาการดูดซับความชืน้ เช่น อาจจะเปลี่ยนไป โดยอาจจะออกแบบเป็นห้องใดห้อง
อาจจะติดตั้งผนังดูดซับความชื้นด้วยซิลิกาที่สกัดจาก หนึง่ ซึง่ ใช้พน้ื ทีว่ า่ งส่วนทีเ่ หลือภายในอาคาร เช่น พืน้ ที่
แกลบนี้ 2-3 ชุด ไว้ในห้องปรับอากาศ 1 ห้อง แล้วเปิด ใต้บนั ได หรือพืน้ ทีใ่ ต้หลังคา เป็นต้น มาใช้ตดิ ตัง้ แผ่น
สลับกันดูดซับและคายความชืน้ โดยช่วงกลางวัน ผนัง ดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบไว้ภายในห้อง
ดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบทัง้ หมดจะทำ ทัง้ ห้อง โดยนำ fresh air จากอากาศภายนอกผ่านเข้ามา
การคายความชื้นด้วยความร้อนจากแสงอาทิตย์ ส่วน ลดความชื้นภายในอากาศที่ห้องดูดซับความชื้นนี้ก่อน
ช่วงเวลากลางคืนควบคุมผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ า แล้วจึงนำอากาศนีไ้ ปผสมกับอากาศภายในอาคาร แล้ว
ที่สกัดจากแกลบดูดซับและคายความชื้นสลับกันทุก ๆ ผ่านเข้าสู่ return air ของเครือ่ งปรับอากาศ และอาจจะ
1 ชั่วโมง หมุนเวียนกันในแต่ละชุดไปเรื่อย ๆ โดยใช้ ใช้แหล่งความร้อนอื่นนอกจากแสงอาทิตย์ผ่านเข้ามา
ความร้อนจากคอนเดนเซอร์ของเครื่องปรับอากาศมา ภายในห้องดูดซับความชืน้ นี้ เมือ่ ต้องการคายความชืน้
ช่วยคายความชืน้ ให้กบั ผนังดูดซับความชืน้ ด้วยซิลกิ าที่ ให้กับแผ่นดูดซับความชื้นที่ติดตั้งภายในห้อง
สกัดจากแกลบ ดังรูปที่ 19

Journal of Architectural/Planning Research and Studies Volume 6. Issue 1. 2009


62 Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University
References

ASHRAE. (2005). ASHRAE handbook: Fundamentals. Atlanta, GA: Author.


Boonyatikarn, S. (1999). เทคนิคการออกแบบบ้านประหยัดพลังงานเพือ่ คุณภาพชีวติ ทีด่ กี ว่า [Technique for energy
saving house design for a better quality of life]. Bangkok, Thailand: Chulalongkorn University Press.
Chenvidyakarn, T. (2007). Passive design for the thermal comfort in hot humid climates. Journal of Architectural/
Planning Research and Studies, 5(1), 1-27.
Damiano, L. A., & Dougan, D. S. (2004). ASHRAE standard 62.1. South Carolina, DC: Ebtron.
Gogkrue, S. (2003). การศึกษาเตรียมแผ่นสารดูดความชืน้ เพือ่ ใช้ในการลดภาระความร้อนทีผ่ า่ นหลังคา [A study of solid
adsorption panel preparation for through-roof-heat-load reducing]. Master Thesis, Division of Materials
Technology, King Mongnkut’s University of Technology Thonburi, Bangkok, Thailand.
Jaion, S. (2000). การปรับปรุงสภาวะภายในห้องทีม่ กี ารระบายอากาศด้วยปล่องระบายอากาศโดยใช้สารดูดความชืน้ เชิง
อุตสาหกรรม [Improving of indoor conditions of solar chimney ventilated building by industrial humidity
absorber]. Master Thesis, Division of Energy Technology, King Mongnkut’s University of Technology
Thonburi, Bangkok, Thailand.
Jongsuwanpaisan, T. (2003). ศึกษาความสามารถในการดูดซับความชืน้ ของซิลกิ าทีส่ กัดจากแกลบ [A study of dehumidity
from rice-husk silica]. Research Report, Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University,
Pathum Thani, Thailand.
Kokanutranont, C. (1993). การคาร์บอไนซ์แกลบในอิไดซ์เบด [Carbonization of rice husk in fluidized]. Master Thesis,
Department of Chemical Technology, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.
Leela-adisorn, U. (1993). การเตรียมและศึกษาคุณลักษณะของซิลิกาคุณภาพสูงจากแกลบ [Preparation and
characterization of high-grade silica from rice husk]. Bachelor Thesis, Department of Materials Science,
Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.
Liwthanamongkol, N. (1995). รวมข้อมูลก่อสร้าง [Practical tables & data for building construction] (5th ed.). Bangkok,
Thailand: Rungsaeng Karnpim.
Prueksapanich, S. (1986). การปรับอากาศ: หลักการและระบบ [Air conditioning: Basic principles and system]. Bangkok,
Thailand: Physics Center.
Thirakomen, K. (2004). การประเมินระดับมาตรฐานอาคารยัง่ ยืน [Sustainable building assessment]. Journal of
Architectural Research and Studies, 2, 1-21.

Rice-Husk Silica Dehumidifying Wall Unit


Tanachai Jongsuwanpaisan 63
Journal of Architectural/Planning Research and Studies Volume 6. Issue 1. 2009
64 Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University

You might also like