You are on page 1of 15

Instrumentation Engineering Laboratory 1

ภาควิชาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง


2019
การทดลองที่ 6&7
การใช้งาน Cx programmer และ NB-Designer
วัตถุประสงค์
• ให้สามารถเข้าใจการใช้เครื่องมือช่วยเขียนโปรแกรมด้วย Cx-Prograam
• สามารถ Monitor , Force Set/Reset หน่วยความจำข้อมูลในพื้นที่ต่างๆ ในระดับ บิท ไบท์ และเวิร์ด
• สามารถเขียนโปรแกรม Ladder Diagram(LD) ด้วยคำสั่งพื้นฐานทางลอจิก
• ให้สามารถเข้าใจการเขียน Graphic ด้วยโปรแกรมด NB-Programmer ให้กับ HMI (Human Machine
Interface)
• สามารถ นำอุปกรณ์ อินพุท-เอาท์พุท แบบ ชนิด Bit และ Word แสดงในรูป Graphic บน HMI ให้ทำงาน
ร่วมกับ PLC Program
• สร้างและใช้งานได้พร้อมกันในหลาย Page ของ HMI

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
• ชุดทดลอง Servo Training kits Base
• Linear Ball Screw และ Servo Motor
• ชุดคอมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรม Cx-Programmer, NB-Designer
1. บทนำ
Cx-program เป็นโปรแกรมสนับสนุนเพื่อใช้ในการสร้างโปรแกรมประยุกต์ ตรวจสอบสภาวะการทำงาน
โปรแกรม หรือหน่วยความจำ ในระหว่างเครื่องควบคุมกำลังควบคุมอยู่ หรือ ทำการ Force Set/Reset
หน่วยความจำเอาท์พุทขณะหยุดทำงานเพื่อใช้ตรวจสอบโหลดหรือภาระว่าสาสารถทำการ On-Off ได้ตามที่ต้องการ
หรือไม่ นอกจากนี้ยังสามารถจำลองการทำงานโปรแกรมได้เสมือนจริงโดยไม่ต้องมีเครื่องควบคุม ยังมีคุณสมบัติอื่นๆ
อีกจำนวนมากซึ่งไม่ขอกล่าวในที่นี้
คำสั่งพื้นฐาน การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งพื้นฐานทางลอจิกมีความจำเป็นต้องเข้าใจเริ่มตั้งแต่ สถานะหรือข้อมูล
อินพุททางด้านฮาร์ดแวร์ ที่เป็นตัวกำหนดข้อมูลเข้านำมาประมวลผลตามเงื่อนไขของโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานกัน
เป็นแบบลอจิกในขั้นตอนนี้ ผู้ใช้งานสามารถตรวจสอบสถานะในหน่วยความจำ PLC ที่ CPU มีการอ่านและเขียน
ข้อมูลเหล่านั้นลงไปตามเงื่อนไขโปรแกรมประยุกต์ที่ที่ได้กล่าวมา และในขั้นตอนสุดท้ายนำผลลัพธ์ที่ได้เขียนออกไป
ยังหน่วยความจำเอาท์พุทเพื่อขับออกไปยังอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับเอาท์พุทของ PLC ดังนั้นในการทดลองส่วนนี้จะใช้
เพียงคำสั่งพื้นฐานที่เป็นคำสั่งระดับบิทเท่านั้น
NB-Designer เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้าง อุปกรณ์ อินพุท-เอาท์พุท ในรูปแบบ Graphic เสมือนจริงให้
ปรากฎบนหน้าจอแสดงผล HMI และสามารถควบคุมผ่านหน้าจอโดยการสัมผัสหรือแตะที่หน้าจอ HMI ณ บริเวณ
อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเหล่านั้น ก็สามารถควบคุมไปยังเครื่องควบคุม PLC ที่รันโปรแกรมอยู่ได้อย่างสมบูรณ์แบบ ผ่าน
หน้าจอแบบสัมผัสโดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์อินพุท-เอาท์อย่างเดิม ที่สำคัญการเชื่อมต่อระหว่าง PLC กับ HMI จะสื่อสาร
ข้อมูลผ่านพอร์ทอนุกรมในรูปแบบ Host Link Protocol จึงทำให้การส่งข้อมูลถึงกันได้จำนวนมากในแต่ละครั้ง ใน
การสร้าง Graphic นอกจากจะสร้างเป็นอุปกรณ์ อินพุท-เอาท์พุทแบบ บิท “On-Off” แล้วยังสามารถ สร้างเป็น
เปอร์เซ็นต์แถบกราฟได้ หรือ กำหนดชุดข้อมูลตัวเลข ผ่านฟังค์ชั่นคีย์เช่นเดียวกับการกดแป้นพิมพ์ตัวเลขบนเครื่อง
Instrumentation Engineering Laboratory 2
ภาควิชาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
2019
คดเลข ข้อมูลเหล่านี้ก็จะถูกเชื่อมต่อถึงกันได้ทันทีภายหลังที่ Down Load ไฟล์จงึ มีความสะดวกและรวดเร็วกว่า
การใช้ อุปกรณ์อินพุทเอาท์พุทจริง
2. การใช้งาน Cx programmer
2.1 เริม่ ต้นเข้าโปรแกรมโดยการเลือกโปรแกรม Cx program แล้วคลิกขวาที่เม้าดังรูปที่ 2-1

รูปที่ 2-1

2.2 เปิดโปรแกรม New File รูปที่ 2-2


• เลือกรุ่นและชนิดของ PLC เป็น CP1H ใน Setting กำหนดให้เป็น XA
• Network Type กำหนดให้เป็น USB แล้ว เลือก OK
• โปรแกรมแสดงดัง รูปที่ 2-3

รูปที่ 2-2
Instrumentation Engineering Laboratory 3
ภาควิชาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
2019

รูปที่ 2-3
2.3 การกำหนดค่า Setting ในโหมดนี้ ผู้ใช้สามารถ Up-Down Load ค่าทีต่ ้องการระหว่าง Host
Computer กับ PLC ได้และผู้ใช้งานต้องเลือกเป็น โหมด On Line แบบ Program เท่านั้น
2.3.1 Serial Port1 เพื่อใช้เชื่อมต่อกับ HMI ให้เป็น Custom: 115200: 7,2,E: Host Link ดัง
รูปที่ 2-4
Instrumentation Engineering Laboratory 4
ภาควิชาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
2019

รูปที่ 2-4
2.3.2 การกำหนดค่า Setting Build in , High speed counter ดังรูปที่ 2-5
• High speed counter 1 เพือ่ ใช้อ่านสัญญาณ พลัส จาก Hand Wheel(HW) ให้เป็น Software Reset
, Pulse+Direction
• High speed counter 2 เพือ่ ใช้อ่านสัญญาณ พลัส จาก Servo Motor(SM) ให้เป็น Software Reset
, Pulse+Direction เช่นกัน
Instrumentation Engineering Laboratory 5
ภาควิชาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
2019

รูปที่ 2-5
2.3.3 การกำหนดค่า พัลส เอาท์พทุ 1 และ เอาท์พุท 2 ดังรูปที่ 2-6

รูปที่ 2.6
2.4 การตรวจสอบค่าหน่วยความจำของ PLC ในพื้นที่ ต่างๆ

ในการตรวจสอบค่าหน่วยความจำของ PLC ในพื้นที่ CIO , Data Memory (D) และ Work Bit(W) ดังรูปที่ 2-7
ต้องดำเนินการดังนี้
Instrumentation Engineering Laboratory 6
ภาควิชาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
2019

• เลือก โหมด On-Off Line ให้เป็น On Line


• Double Click หน่วยความจำที่เลือก ตามตัวอย่างเลือกหน่วยความจำ CIO 0 ดังรูปที่ 2-7
• Up – Down Load เพื่ออ่านข้อมูลหรือเขียนข้อมูลลงในหน่วยความจำที่ต้องการจำนวนหลาย Word
Monitor ใช้เพื่ออ่านข้อมูลหรือเขียนข้อมูลลงในหน่วยความจำที่ต้องการ เพียง 1 word ดังรูปที่ 2-8
• กำหนดพื้นที่หน่วยความจำในหลายพื้นที่ เพื่อตรวจสอบ ดังรูปที่ 2-9

รูปที่ 2-7

รูปที่ 2-8
Instrumentation Engineering Laboratory 7
ภาควิชาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
2019

รูปที่ 2-9

• กำหนดให้แสดงข้อมูลในหน่วยความจำ ข้อมูลในหน่วยความจำที่ต้องการ เป็นเลขฐานแบบ ฐานสอง


ดังรูปที่ 2-10 ส่วนฐาน สิบ และ สิบหกก็ทำได้ลักษณะเดียวกัน

รูปที่ 2-10
Instrumentation Engineering Laboratory 8
ภาควิชาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
2019
3. คำสั่งพื้นฐาน สรุปคำสั่งพื้นฐานที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม Statement List (ST) , Function Block(FBD) และ
Ladder Diagram (LD)

ตารางที่ 2-1
No. Function S7 (ST) FBD Ladder Diagram (LD) Description
1. Load Start of a logic
A & operation with
NO contact
I,Q,M,T,C
2. Load Start of a logic
Inverse AN & operation with
NC contact
I,Q,M,T,C
3. And AND operation
A & with NO
contact
I,Q,M,T,C (series circuit)
4. And AND operation
Inverse AN & with NC
contact
I,Q,M,T,C (series circuit)
5. Or OR operation
O >=1 with NO
contact
(parallel
circuit)
I,Q,M,T,C
6. Or OR operation
Inverse ON >=1 with NC
contact
(parallel
circuit)
I,Q,M,T,C
7. And Coupling
Block A( ) & command
series
connection of
parallel
operation
8. Or Block Coupling
O( ) >=1 command
parallel
connection of
series
operation
Instrumentation Engineering Laboratory 9
ภาควิชาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
2019
9. Out Output
= = command
according to
Q,M the logic
operation

4. ลือก Section 1 เพื่อเริ่มต้นเขียน Ladder Program


• เลือก โหมด Program และ “Off Line”
• เขียนโปรแกรม LD ตามรูปที่ 2-11

รูปที่ 2-11
ตารางผลการทดลองที่ 2-1
ผลการทดลอง สถานะอินพุท สถานะเอาท์พุท
ที่ 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 101.00 101.01 101.02 101.03 101.04 101.05
(ตัวอย่าง) 1 1 X X X X X 1 0 0 0 0 0
2 0 1 0 0 0 0
3 0 0 1 0 0 0
4 0 0 0 1 0 0
Instrumentation Engineering Laboratory 10
ภาควิชาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
2019
5-1 0 00 0 1 1
5-2 0 00 0 1 1
5-3 0 00 0 1 1
หมายเหตุ : 1 หมายถึงสถานะ “On” , 0 หมายถึงสถานะ “Off ” และ X หมายถึงสถานะ “Don’t care”
5. ลือก Section 1 เพื่อเริ่มต้นเขียน Ladder Program
• เลือก โหมด Program และ “Off Line”
• เขียนโปรแกรม LD ตามรูปที่ 2-12

รูปที่ 2-12
ตารางผลการทดลองที่ 2-2
ผลการทดลองที่ สถานะอินพุท สถานะเอาท์พุท
1.00 1.01 1.02 1.03 101.00 101.01
1-1 1 0
1-2 1 0
1-3 1 0
1-4 1 0
2-1 0 1
2-2 0 1

สรุ ปผลการทดลอง
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Instrumentation Engineering Laboratory 11
ภาควิชาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
2019
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คำถามท้ายบท
1. จงสร้าง Program Ladder Diagram(LD) ตามตัวอย่าง อยากทราบว่า Program Instruction List(IL) จะ
เป็นอย่างไร?

Ladder Diagram Program Instruction List Program


0000 0003 0004 0700

0001

0002 0005

END
Instrumentation Engineering Laboratory 12
ภาควิชาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
2019
Ladder Diagram Program Instruction List Program
0000 0003 0004 0007 0700

0001 0001

0002 0005 0003

END

2. จากการใช้ Cx-Programmer จะแสดงขั้นตอนและรูปภาพในการหนดข้อมูลในหน่วยความจำของ PLC


ดังต่อไปนี้
• CIO 20 ถึง 29 ให้มขี ้อมูลเป็นเลขฐาน 16 ตั้งแต่ 2000 ,2100 ,2200 ,……2900 ตามลำดับ
• จากข้อที่ผ่านมา ต้องการให้ CIO 20 ถึง 29 ให้มขี ้อมูลเป็นเลขฐาน 2 ตามลำดับ
• จากข้อที่ผ่านมา ต้องการให้ CIO 20 ถึง 29 ให้มขี ้อมูลเป็นเลขฐาน 10 ตามลำดับ

3. จงเขียนโปรแกรมเพื่อทำการ Self Hold เอาต์พุตเมื่อมีการกด Start Switch และ หยุดการทำงานเมื่อกด


Stop Switch

You might also like