You are on page 1of 13

30

การทดลองที่ 3
Complex System Models

3.1 วัตถุประสงค์
1. ให้นักศึกษาเรียนรู้การใช้ พีแอลซี ควบคุมระบบการทางานแบบ Complex
2. สามารถใช้ พีแอลซี ควบคุมหลักการการจอดรถภายในอาคาร,การควบคุมไฟ ได้
3. สามารถประยุกต์ใช้ พีแอลซี ในงานทางด้านอุตสาหกรรมได้

3.2 ทฤษฎี
Counter(เครือ่ งนับจานวน)

- Cxxx=C0-C255
- R=Reset
-PV=ค่าเริ่ มต้น
-CU=สัญญาณนับขึ้น
-CD=สัญญาณนับลง
31
32

3.3 อุปกรณ์การทดลอง
1. SIEMENS PLC SIMATIC S7-200 CPU224
2. ASIMA โมดูล 11,14,19
3. คอมพิวเตอร์

3.4 ขั้นตอนการทดลอง
3.4.1 Conveyor Belt System with positive sequential Circuit

1. ให้นักศึกษาใช้โมดูลที่ 11 (ASIMA) ตามรูป


2. ต่อสายวงจรของโมดูลร่วมกับพีแอลซีโดยทาตามคาแนะนาของอาจารย์ผู้ควบคุม
3. เขียน Ladder Diagram โดยใช้โปรแกรม MicroWin
4. Download โปรแกรมลงพีแอลซี พร้อมบันทึกผลที่เกิดขึ้น
5. เรียกอาจารย์ผู้ควบคุมตรวจสอบ
33

INPUT
S0 stop I0.0
S1 start Motor1 I0.1
S2 start Motor2 I0.2
S3 start Motor3 I0.3
S4 Enable I0.4
S6 stop Motor1 I0.6
S7 stop Motor2 I0.7
S8 stop Motor3 I0.8
S5 break I0.5

OUTPUT
K0 Q0.0
K1 Motor1 Q0.1
K2 Motor2 Q0.2
K3 Motor3 Q0.3
LED
H1 Q0.1
H2 Q0.2
H3 Q0.3
H4 Q0.0
34

ให้นักศึกษาออกแบบวงจร Ladder Diagram ตามรูป

วงจรที่ 1

เงื่อนไขการทดลอง
ให้สวิทซ์ S4 เป็นสตาร์ทระบบ
โดยมีสวิทซ์ S1,S2,S3 เป็นตัวกาหนดให้มอเตอร์ทางาน
และมีสวิทซ์ S6,S7,S8 เป็นตัวหยุดการทางาน
35

วงจร PLC
ให้นักศึกษาต่อวงจรให้สมบูรณ์

LADDER DIAGRAM
วงจรที่ 1
36

ตารางบันทึกผลโปรแกรม(STL) วงจรที่ 1
INSTRUCTION ADDRESS NAME
37

3.4.2 FAN Control

1. ให้นักศึกษาใช้โมดูลที่ 19 (ASIMA) ตามรูป


2. ต่อสายวงจรของโมดูลร่วมกับพีแอลซีโดยทาตามคาแนะนาของอาจารย์ผู้ควบคุม
3. เขียน Ladder Diagram โดยใช้โปรแกรม MicroWin
4. Download โปรแกรมลงพีแอลซี พร้อมบันทึกผลที่เกิดขึ้น
5. เรียกอาจารย์ผู้ควบคุมตรวจสอบ

เงื่อนไขการทดลอง
ให้ S5 เป็นสวิทซ์สตาร์ทพัดลมทุกตัวให้ทางาน ให้ไฟแสดงสถานะที่เขียว เหลือง แดง เพื่อที่จะระบุว่ารถจอดเต็ม
หรือไม่ ให้สวิทซ์ S1,S2,S3,S4 ปิดการทางานของพัดลมแต่ละตัว เพิ่มSENSOR B1,B2 เพื่อนับจานวนรถทั้งหมดที่
เข้าจอด 12 คัน
38

INPUT
S0 stop I0.0
S1 stop Motor1 I0.1
S2 stop Motor2 I0.2
S3 stop Motor3 I0.3
S4 stop Motor4 I0.4
B1 (count up) I1.0
B2 (count down) I1.1
Reset counter I1.2
S5 start I0.5

OUTPUT
K0 Q0.0
K1 Q0.1
K2 Q0.2
K3 Q0.3
K4 Q0.4
GN Q0.5
YE Q0.6
RD Q0.7
LED
H1 Q0.1
H2 Q0.2
H3 Q0.3
H4 Q0.0
Z1 = C1
39

วงจรที่ 1
40

วงจร PLC
ให้นักศึกษาต่อวงจรให้สมบูรณ์

LADDER DIAGRAM
วงจรที่ 1
Network 1
41

Network 2

Network 3

Network 4

Network 5
42

สรุปผลการทดลอง

คาถามท้ายการทดลอง
จงยกตัวอย่างและอธิการทางานของการควบคุมแบบเป็นลาดับขั้นตอนในโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้ PLC

You might also like