You are on page 1of 4

วงจรกำเนิดสัญญาณอลวนด้ วยแบบจำลองการกระตุกรู ปแบบกระแสโดยใช้ โอทีเอ

Jerk Model Current-mode Chaotic Oscillator based on OTA


คุณานนต์ คะระวานิช และ พิพฒ
ั น์ พรหมมี
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
62601093@kmitl.ac.th, pipat.pr@kmitl.ac.th

บทคัดย่ อ มาดัดแปลงวงจรกำเนิดสัญญาณไซน์เป็ นวงจรกำเนิดสัญญาณอลวน


บทความนี้นำเสนอวงจรกำเนิดสัญญาณอลวน (Chaos) โดยใช้ (Chaos) โดยมีวงจรกำเนิ ดสัญญาณไซน์เป็ นวงจรหลักและมีการใช้
โครงสร้างตามแบบจำลอง Jerk ของ Sportt ร่ วมกับฟังก์ชนั ไม่เป็ นเชิง อุปกรณ์แบบไม่เชิงเส้นต่อจากภายนอก เป็ นอุปกรณ์จดั เก็บพลังงาน (ตัว
เส้น Signum ในการกำเนิดสัญญาณจะทำได้โดยการปรับค่าสัมประสิ ทธิ์ เหนี่ยวนำและตัวเก็บประจุ) และไดโอด [3] นอกจากนี้ยงั มีวงจรกำเนิด
เพียงหนึ่งค่า การออกแบบวงจรกำเนิดสัญญาณอลวน จะทำงานในรู ป สัญญาณอลวน (Chaos) อีกหลายวงจร เช่น วงจรกำเนิดสัญญาณแบบ
แบบกระแสโดยใช้โอทีเอ และ ตัวเก็บประจุเท่านั้น ไม่มีการใช้ความ Wein-bridge [3 และ บทความที่อา้ งอิงด้านใน ] วงจรเกิดสัญญาณ Twin-
ต้านทาน สามารถปรับค่าได้ทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีองค์ประกอบหลัก T [4] วงจรกำเนิ ดสัญญาณด้วย CFOA (Current Feedback OPAMP) [5]
สามส่ วน ได้แก่ อินทีเกรเตอร์แบบไม่สูญเสี ย วงจรความถี่ต ่ำผ่านอันดับ เป็ นต้น จะเห็นได้วา่ มีการคิดค้นวงจรที่สามารถเกิดสัญญาณอลวน
สอง และฟังก์ชนั ไม่เชิงเส้น ซึ่ งวงจรสามารถปรับค่าเงื่อนไขการกำเนิด (Chaos) ได้อย่างหลากหลาย จากวงจรกำเนิ ดสัญญาณอลวน (Chaos) ใน
สัญญาณได้จากตัวประกอบคุณภาพ (Quality Factor) ของวงจรกรอง แบบต่างๆที่กล่าวมา วงจรของ Elwakil และ Kennedy เป็ นที่น่าสนใจ
ความถี่ต ่ำผ่านอันดับสอง การจำลองการทำงานของวงจรด้วยโปรแกรม เนื่องจากมีการปรับเงื่อนไขการกำเนิดสัญญาณที่ง่ายและมีอุปกรณ์ไม่เชิง
PSpice และโปรแกรม MATLAB พบว่า วงจรสามารถแสดงการเกิด เส้นที่แยกเป็ นอิสระ ทำให้ลดความซับซ้อนต่อการสร้างวงจร ใน
สัญญาณอลวน (Chaos) ได้ และ ยังพบว่าพฤติกรรมของสัญญาณมีช่วง บทความนี้จึงเลือกใช้รูปแบบการกระตุก (Jerk) ของ Sportt [6] ที่มีการ
การทำงานทวีค่า ที่แน่นอนจากกราฟ Bifurcation สร้างในรู ปแบบเดียวกัน มีการนำเสนอวงจรกำเนิดสัญญาณอลวน
คำสำคัญ : สัญ ญาณอลวน แบบจำลอง Jerk โอทีเ อ กำเนิด สัญ ญาณ (Chaos) โดยใช้สมการอนุพน ั ธ์อนั ดับสามเพียงสมการเดียวในรู ปแบบ
ฟังก์ชนั ไม่เป็ นเชิงเส้น Jerk กับค่าสัมประสิ ทธิ์ k ซึ่ งมีสมการ ดังนี้
d 3x d 2 x dx
3
k 2   G( x)
Abstract dt dt dt (1)
This paper describes a chaotic oscillator circuit based on รู ปแบบของ Jerk มาจากกลไกที่มี x เป็ นค่าการขจัด และ อนุพนั ธ์
Jerk model and nonlinear function. The signum function is
 dx   d 2x 
deployed to realize the chaotic oscillator which controlled by    2 
using a single parameter. The OTA and grounded capacitors อันดับต่างๆ เทียบกับเวลาของ x คือ ความเร่ ง  dt  , ความเร็ ว  dt 
are used without the resistors for achieving the chaotic  d 3x 
oscillator. The circuit consists of main three parts, lossless  3 
และ การกระตุก  dt  และ ตัวอย่างฟังก์ชนั ไม่เชิงเส้น G(x) ที่ใช้ใน
integrator, biquadratic low-pass filter, and nonlinear function
circuits. The condition od chaos signal can be electronically รู ปแบบ Jerk ที่สามารถเป็ นไปได้เช่น ฟังก์ชนั ค่าสัมบูรณ์ (Absolute)
tuned through the quality factor of biquadratic low-pass filter. ฟังก์ชนั (tanh(x)) หรื อ ฟังก์ชนั เครื่ องหมาย (sgn(x)) ดังสมการที่ (2)
The simulation results are incorporated by PSpice and  x 2 ; K  0.6  7  
 
MATLAB which found that the chaos signal can be generated G ( x)  2 tanh  x   x ; K  0.19  6 
agree well to the theory. The chaos behavior can also be proved sgn  x   2 x ; K  1 8 
  (2)
by bifurcation diagram. The signal output has doubling periods
according to the circuit results.
จากสมการที่ (2) เป็ นฟังก์ชนั ไม่เชิงเส้นที่ Sportt นำมาใช้กบั รู ปแบบ
Keywords: Chaos signal, Jerk model, OTA, Oscillator, ของ Jerk บางส่ วนมีการใช้ CFOA (Current Feedback OPAMP) [9] ต่อ
nonlinear function ร่ วมกับความต้านทาน และ ตัวเก็บประจุ เป็ นโครงสร้างตัวดึงดูดอลวน
(Chaotic Attractor) และ โครงสร้างตัวดึงดูดอลวนใน 6 รู ปแบบ [10] ซึ่ ง
1.บทนำ วงจรดังกล่าวมาในอดีตไม่สามารถปรับค่าทางอิเล็กทรอนิกส์ได้
วงจรอิเล็กทรอนิกส์วงจรแรกของ Chua แสดงการเกิดสัญญาณ บทความนี้นำเสนอ กำเนิดสัญญาณอลวน (Chaos) โดยใช้วงจรโอที
อลวน (Chaos) ถูกค้นพบในห้องวิจยั ซึ่ งยังไม่มีการพิสูจน์ทาง เอ (OTA: Operational Transconductance Amplifier) และ ตัวเก็บประจุ
คณิ ตศาสตร์ [1] โดยมีการใช้สมการอนุพนั ธ์อนั ดับหนึ่ง (Ordinary (Capacitor) โดยใช้โครงสร้างรู ปแบบ Jerk และ ยกฟั งก์ชน ั Signum มา
Differential Equations) สามสมการ ต่อมาวงจรกำเนิ ดสัญญาณอลวน
ร่ วมกับสมการอนุพนั ธ์อนั ดับสาม โดยวงจรสามารถปรับเงื่อนไขของ
แบบโคลพิทส์ (Chaotic Colpitts Oscillator) ได้นำเสนอโดย Kennedy ฟังก์ชนั ไม่เชิงเส้น G(x) และ ตัวดึงดูดอลวน (Attractor) ได้ทาง
[2] ค้นพบว่าวงจรเกิดสัญญาณรู ปแบบไซน์สามารถเกิดสัญญาณอลวน
อิเล็กทรอนิกส์ และ เป็ นอิสระต่อกัน โดยแสดงผลการเกิดสัญญาณอลวน
(Chaos) ได้ จากนั้น Elwakil และ Kennedy ได้ใช้ กระบวนการกึ่งระบบ
(Chaos) ทั้งการจำลองผลจาก MATLAB และ PSpice เปรี ยบเทียบกัน
2.ทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง ฟังก์ชนั ไม่เชิงเส้น ที่สามารถนำมาใช้กบั รู ปแบบ Jerk มีหลายแบบ
2.1 แบบจำลอง Jerk ด้วยกันดังที่กล่าวไว้ในหัวข้อ 1 โดยฟังก์ชนั ไม่เชิงเส้นที่ใช้ในบทความนี้
Sportt ได้นำเสนอรู ปแบบการทำงานของระบบพลวัตแบบสามมิติ จะใช้ฟังก์ชนั Signum ซึ่ งเป็ นฟังก์ชนั ที่ประกอบจากฟังก์ชนั สัญลักษณ์
ซึ่งสามารถแสดงการเกิดสัญญาณอลวน (Chaos) ได้ สมการ Jerk มี และ ฟังก์ชนั เชิงเส้น โดยในรู ปที่ 3 เป็ นฟังก์ชนั ไม่เชิงเส้นอิสระปรับ
ฟังก์ชนั ไม่เชิงเส้นที่สามารถปรับค่าคงที่ได้ง่ายเนื่องจากเป็ นอิสระ และ เงื่อนไขได้ ด้วยตัวแปร A และ B สำหรับกำเนิดสัญญาณอลวน (Chaos)
สามารถปรับค่าสัมประสิ ทธิ์จากค่า k เพียงค่าเดียว ลดความซับซ้อนใน โครงสร้าง Jerk
การนำไปใช้กบั วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ งรู ปแบบ Jerk ถูกนำเสนอครั้งแรก G  x   Ax  B sgn  x 

โดย Sportt ในปี ค.ศ.2000 A 1


B  0.3
G(x)

บทความนี้มีการสร้างวงจรกำเนิดสัญญาณอลวน (Chaos) ที่มี 0.3

ต้นแบบจากรู ปแบบ Jerk ของ Sportt ตามที่อธิบายไว้ในสมการที่ (1) มี


-0.3 0.3
การใช้ค่าสัมประสิ ทธิ์เพียงหนึ่งค่า และ ฟังก์ชนั ไม่เชิงเส้น G(x) ซึ่ งเมื่อ x

ปรับเปลี่ยนค่าฟังก์ชนั ไม่เชิงเส้นนี้ ก็จะสามารถปรับเปลี่ยนรู ปการการ


เกิดสัญญาณอลวนได้โดยง่าย โดยโครงสร้างรู ปแบบ Jerk ของ Sportt -0.3

สามารถแสดงด้วยตัวแปรสถานะ (State) ทัว่ ไป ดังแสดงในรู ปที่ 1 [10]


z
y
รู ปที่ 3 ตัวอย่างฟังก์ชนั ไม่เชินเส้น Signum
x Scope
2.3 Bifurcation diagram
1 1 1
z as y bs x cs w
ในการเกิดสัญญาณอลวน (Chaos) ในระบบพลวัต มีผลทางทฤษฎี
Integrator2 Integrator1 Integrator3 อธิบายการเกิดสัญญาณอลวน (Chaos) หลายวิธี เช่น Poincare map, LE
(Lyapunov Exponent), Bifurcation Diagram เป็ นต้น ซึ่ งในบทความจะ
Gain k
nonlinear
นำเสนอผลของการแยกไปสองทาง (Doubling) โดยทำให้เกิดเป็ นการ
 
function
แยกไม่ซ้ำรู ปแบบ (Bifurcation) เพื่อพิสูจน์การเกิดสัญญาณอลวน
 G  w
(Chaos) โดยใช้ทฤษฎีจากสมการ Logistic map ดังนี้
รู ปที่ 1 แบบจำลอง Jerk ที่มีค่าสัมประสิ ทธิ์ k xn 1  kxn  1  xn 
(5)
เมื่อพิจารณาโครงสร้างรู ปแบบ Jerk รู ปที่ 1 เฉพาะสถานะ x-z และเมื่อนำมาเขียนอยูใ่ นรู ปแบบตัวแปรสถานะ 3 มิติ (Dimension) ใน
สามารถนำมาเขียนใหม่ได้ดงั รู ปที่ 2 และ พบว่าประพฤติตวั เป็ นไบควอ โปรแกรม MATLAB สำหรับสมการ Jerk จะสามารถเขียนได้เป็ น
เดรติกฟังก์ชนั ในรู ปตัวกรองความถี่ต ่ำผ่าน (LPF) อันดับสอง wn 1  xn , 

x 1 xn 1  yn , 

w abs 2  kbs  1 (3) yn 1  kzn  yn  wn  0.3sgn wn , 
(6)
w 

z 1 y 1 x 3. การสร้ างวงจรกำเนิดสั ญญาณอลวน
  as bs
ในส่ วนการสร้างวงจรกำเนิดสัญญาณอลวนโดยใช้หลักการดังรู ปที่ 1
Integrator2 Integrator1
Gain นั้น วงจรที่ตอ้ งใช้เป็ นหลักคือ อินทีเกรเตอร์แบบไม่สูญเสี ย ซึ่งสามารถ
k
สร้างได้จากโอทีเอดังแสดงในรู ปที่ 4 มีฟังก์ชนั ถ่ายโอน ดังสมการที่ (7)
และ (8)
รู ปที่ 2 บล็อกไดอะแกรมแยกส่ วนของ Jerk Iin
IO1
ระบบไม่เชิงเส้นแบบสามมิติรูปแบบ Jerk สามารถอธิบายด้วย Iin gm
IO1
C gm
IO2
สมการอนุพนั ธ์สามัญ (Ordinary Differential Equations) ดังต่อไปนี้ sC IO2

dw 
 x, 
dt
 รู ปที่ 4 วงจรอินทีเกรเตอร์แบบไม่สูญเสี ย
dx  I o1 g m
 y,  
dt  I in sC (7)
dy 
 kz  y  Aw  B sgn( w),  Io2 g
dt   m
(4) I in sC (8)
โดยที่ k คือ ตัวประกอบในการปรับเงื่อนไขการกำเนิดสัญญาณ ค่า A จากบล็อกไดอะแกรมแยกส่ วนของแบบจำลอง Jerk รู ปที่ 2 นั้น มี
และ B คือ ค่าคงที่เงื่อนไขของฟังก์ชนั ไม่เชิงเส้น ซึ่ ง ค่า A = 1 และ B = คุณสมบัติเป็ นวงจรกรองความถี่ต ่ำผ่านอันดับสอง ที่สามารถปรับค่าตัว
0.3 มีการกำหนดค่าเงื่อนไขเริ่ มต้น
 w0 , x0 , y0    0.6, 0.3, 0  ตาม ประกอบคุณภาพได้อย่างเป็ นอิสระกับความถี่ตอบสนอง สามารถ
ลำดับ ออกแบบได้โดยใช้โอทีเอและตัวเก็บประจุ ดังแสดงดังรู ปที่ 5 มีฟังก์ชนั
2.2 ฟังก์ ชันไม่ เป็ นเชิ งเส้ น ถ่ายโอนกระแสดังสมการที่ (9)
ในการจำลองการทำงานด้วยโปรแกรม PSpice มีผลการทดลอง 4
gm3
ส่ วน วงจรอินทีเกรเตอร์แบบไม่สูญเสี ย วงจรกรองความถี่ต ่ำผ่านอันดับ
Iin
สอง วงจรฟังก์ชนั ไม่เป็ นเชิงเส้น และ วงจรรวมในการเกิดสัญญาณอลวน
C1 gm1
C2 gm2
โดย OTA ที่ใช้จะเป็ นวงจร CMOS-OTA หลายเอาต์พตุ อย่างง่าย [ ] โดย
Iout ใช้แบบจำลอง TSMC 0.25m และ แรงดันไฟเลี้ยง 1.2V ส่ วนกระแส
ไบอัส I =100A ทุกตัว ยกเว้น OTA กำหนดให้กระแสไบอัส
B 6

รู ปที่ 5 วงจรกรองความถี่ต ่ำผ่านอันดับสอง BI =30A ตัวเก็บประจุทุกตัวเท่ากับ 50nF รู ปที่ 8 และ 9 แสดงผลการ


B
g m1 g m 2
 ตอบสนองทางขนาดของ วงจรอินทีเกรเตอร์แบบไม่สูญเสี ย และ วงจร
I out C1C2
I in

 g  g g
กรองความถี่ต ่ำผ่านอันดับสอง ตามลำดับ ซึ่ งพบว่าผลการตอบสนองทาง
s 2   m 3  s  m1 m 2 ความถี่จะมีค่าประมาณ 1kHz เท่ากันเนื่องจากใช้ ค่า C และ กระแสไบ
C
 1  C1C2
(9)
IOA อัสเท่ากัน และ เมื่อสามารถปรับค่า I พบว่าค่า Q (Quality factor) ของ
B3
Iin IB
วงจรกรองความถี่ต ่ำผ่านอันดับสองจะมีการเปลี่ยนแปลงสู งขึ้นแต่ไม่
gm5 B·IB
A Iout กระทบต่อความถี่ตอบสนอง สอดคล้องกับทฤษฎีทุกประการ ส่ วนรู ปที่
gm6
IOB 10 เป็ นวงจรฟั งก์ชนั Signum พบว่ามีความสอดคล้องกับทฤษฎีเป็ นอย่าง
ดี
50
รู ปที่ 6 วงจรฟังก์ชนั Signum สร้างจากโอทีเอ
จากบล็อกไดอะแกรมของแบบจำลอง Jerk รู ปที่ 1 จำเป็ นต้องมีวงจร
25

กำเนิดฟังก์ชนั ไม่เป็ นเชิงเส้น G(x) ซึ่ งสามารถสร้างได้จากโอทีเอ 2 ตัวดัง


Gain (dB)

แสดงในรู ปที่ 6 โดย OTA ทำหน้าที่เป็ นวงจรตามกระแส (Current


5

Follower) ส่ วน OTA ต่อร่ วมกับเอาต์พต


6 ุ ของ OTA ทำหน้าที่เป็ นวงจร 5 -25

เปรี ยบเทียบกระแส (Current Comparator) เพื่อให้วงจรทำงานเป็ น


ฟังก์ชนั ไม่เป็ นเชิงเส้น G( w)  wn  0.3sgn wn ตามรู ปที่ 3 สามารถ
-50
10Hz 100Hz 1.0KHz 10KHz 100KHz
Frequency
ทำได้โดยปรับกระแสไบอัสของ OTA และ OTA เท่ากับ I และ 0.3I
รู ปที่ 8 ผลการตอบสนองของวงจรอินทีเกรเตอร์แบบไม่สูญเสี ย
5 6 B B

ตามลำดับ สมการกระแสของวงจรรู ปที่ 6 สามารถสรุ ปได้เป็ น 40

I OA  I in (10)
IB=30mA
IB=50mA
IB=100mA
VA  Vsat sgn( I in ) (11) 0

I OB  0.3I B sgn( I in )
Gain (dB)

(12)
I out  I in  0.3I B sgn( I in ) (13) -40

IB
gm3 B·IB gm5
-80
gm6 10Hz 100Hz 1.0KHz 10KHz 100KHz
Frequency
C1 gm1
C2 gm2 รู ปที่ 9 ผลการตอบสนองของวงจรกรองความถี่ต ่ำผ่านอันดับสอง
IO1 C3 gm4 100uA

IO2
IO3
50uA

รู ปที่ 7 วงจรกำเนิดสัญญาณอลวนรู ปแบบกระแสโดยใช้ OTA


Iout

0A

เมื่อนำวงจรย่อยรู ปที่ 4-6 มาต่อร่ วมกันตามบล็อกไดอะแกรมของ


แบบจำลอง Jerk รู ปที่ 1 จะได้เป็ นวงจรกำเนิดสัญญาณอลวนซึ่ งสามารถ -50uA

ปรับค่าเงื่อนไขการกำเนิดสัญญาณ และ ค่าคงที่ฟังก์ชนั ไม่เชิงเส้นได้ทาง -100uA

อิเล็กทรอนิกส์ และ เป็ นอิสระต่อกัน โดยสัญญาณอลวนเอาต์พตุ ที่ -100uA -50uA 0A


Iin
50uA 100uA

ตำแหน่งต่างๆ สามารถนำออกจากเอาต์พตุ ของ OTA , OTA และ OTA 1 2 4


รู ปที่ 10 กระแสเอาต์พตุ ของวงจรฟังก์ชนั Signum
4. ผลการทดลอง
ในการยืนยันการทำงานของวงจรที่นำเสนอจะแบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน รู ปที่ 11 และ 12 เป็ นการจำลองการเกิดสัญญาณอลวน (Chaos) ด้วย
คือ ผลการจำลองการทำงานด้วย PSpice และ ผลการจำลองการเกิด โปรแกรม PSpice รู ปที่ 12 เป็ นการแสดงผล I , I , I กับแกนเวลา O1 O2 O3

ปรากฏการณ์ Bifurcation ด้วย MATLAB และ ระนาบ x, y ของ I , I และ I , I ตามลำดับ โดยปรับ k=0.5
O1 O2 O2 O3

4.1 ผลจำลองการทำงาน PSpice


เอกสารอ้างอิง
50uA
IO1

0A
[1] J. S. Ramos, “Introduction to Nonlinear Dynamics of Electronic
-50uA Systems: Tutorial”, Nonlinear Dynamics Vol.44, pp.3–14, 2006.
50uA
IO2 [2] M. P. Kennedy, “Chaos in the Colpitts oscillator”, IEEE Trans.
0A
Circuit Syst.-I, Vol.41, pp.771–774, 1994.
[3] A. S. Elwakil, and M. P. Kennedy, “A Semi-Systematic
-50uA
Procedure for Producing Chaos from Sinusoidal Oscillators
100uA
IO3 Using Diode-Inductor and FET-Capacitor Composites,” IEEE
0A
Trans. Circuit Syst.-I, Vol.47, pp.582-590, 2000.
-100uA
0s 5ms 10ms 15ms 20ms 25ms 30ms
[4] A. S. Elwakil, and A. M. Soliman, “Two twin-T based op amp
Time oscillators modified for Chaos”, J. Franklin Inst, Vol.335B,
รู ปที่ 11 สัญญาณอลวน (Chaos) ที่ตำแหน่ง I O1, IO2 และ IO3 pp.771-787, 1998.
100uA 50uA [5] A. S. Elwakil, and A. M. Soliman, “Chaotic oscillators derived
from sinusoidal oscillators based on the current feedback
50uA opamp,” Analog Integr Circuits Signal Process., Vol.24, pp.239-
251, 2000.
[6] J. C. Sprott, “Simple chaotic systems and circuits,” American. J.
IO1
IO3

0A 0A

Phys. Vol.68, No.8, pp.758-763,


-50uA [7] J. C. Sprott, “A New Class of Chaotic Circuit,” Physics Letters
A, vol. 266, pp.19-23, 2000.
-100uA -50uA [8] J. C. Sprott, “Simplifications of the Lorenz Attractor,” Nonlinear
-50uA -25uA 0A 25uA 50uA -50uA 0A 50uA
IO2 IO2 Dynamics, Psychology and Life Sciences, Vol.13, No.3, pp.271-
278, 2009.
รู ปที่ 12 ตัวดึงดูดอลวน (Chaos Attractor) ระนาบ I O3 , IO2 และ IO1, IO2
[9] B. Srisuchinwong, C.-H. Liou, and T. Klongkumnuankan,
4.2 ผลจำลองการทำงาน Bifurcation Prediction of Dominant Frequencies of CFOA-Based Sprott’s
ในส่ วนผลการทดลองเพื่อพิสูจน์การเกิดสัญญาณอลวน (Chaos) ใช้ Sinusoidal and Chaotic Oscillators, Word Scientific Publishing,
pp.331-337, 2009.
สมการที่ (6) เป็ นสมการ state ในรู ปแบบ 3 มิติ (Dimension) นำมาเขียน [10] T. Siriburanon,B. Srisuchinwong, T. Nontapradit, Compound
กราฟช่วงทวีค่า (Doubling period) ได้ใน Bifurcation Diagram ด้วย Structures of Six New Chaotic Attractors in a Solely-Single-
Coefficient Jerk Model with Arctangent Nonlinearity, Submitted
โปรแกรม MATLAB โดยกำหนดค่าเริ่ มต้นให้กบั ตัวแปรสเตททั้งสาม for publication to CCDC 2010, Xuzhou,China, 26-28 May, 2010
(w , x , y )=(0.6, 0.3, 0) ตามลำดับ จากรู ปที่ 13 เป็ นการพล็อตตำแหน่ง
0 0 0

w, x, และ y เทียบกับแกนพารามิเตอร์ k โดยกำหนดค่าคงที่ A=1 และ


B=0.3 จากผลการทดลองจะสังเกตได้วา่ ช่วง 0.8 ถึง 0.75 เป็ นช่วงเริ่ มต้น
ของเวลาที่เอาต์พตุ จะเกิดการทวีค่า (Period doubling: period-2 cycle)
และ เมื่อเกิดค่าที่ไม่ซ้ำกันในหนึ่งช่วงเวลา จากช่วง k มีค่าระหว่าง 0.7 ถึง
0.3 ซึ่ งในช่วงนี้ นน
ั่ เอง ระบบจะแสดงพฤติกรรมความอลวน (Chaos) ได้
อย่างชัดเจน
1.2 1.2
1 1
0.8 0.8
0.6 0.6
w 0.4 x 0.4
0.2 0.2
0 0
-0.2 -0.2
-0.4 -0.4
0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8
k k
1.2
1
0.8
0.6
0.4
y
0.2
0
-0.2
-0.4
0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8
k
รู ปที่ 13 แผนภาพการแยกไปสองทาง (The Bifurcation diagram)
5.บทสรุ ป
บทความนี้นำเสนอวงจรกำเนิดสัญญาณอลวน (Chaos) ใช้อุปกรณ์
โอทีเอ และ ตัวเก็บประจุ (Capacitor) โดยออกแบบด้วยแบบจำลอง Jerk
ของ Sportt และ ฟังก์ชนั ไม่เป็ นเชิงเส้น Signum จากผลการทดลองด้วย
โปรแกรม PSpice และ MATLAB แสดงให้เห็นว่า วงจรสามารถกำเนิด
สัญญาณอลวน (Chaos) ได้ และยืนยันผลด้วยแผนภาพการแยกไปสอง
ทาง (Bifurcation diagram)

You might also like