You are on page 1of 308

ตะลุยโจทย์

คณิตศาสตร์ PAT 1
หมายเหตุ หากเกิดข้อขัดแย้งในเฉลยคาตอบให้อ้างอิงตาม clip VDO เป็นสาคัญ
สารบัญ

หัวข้อ หน้า
บทที่ 1 เซต 1
บทที่ 2 ตรรกศาสตร์ 10
บทที่ 4 จานวนจริง 20
บทที่ 5 ทฤษฎีจานวน 34
บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์ 42
บทที่ 7 ภาคตัดกรวย 46
บทที่ 8 ความสัมพันธ์ 61
บทที่ 9 ฟังก์ชัน 65
บทที่ 11 ตรีโกณประยุกต์ 80
บทที่ 12 เลขยกกาลัง และ กรณฑ์ 105
บทที่ 13 เอ็กซ์โพแนนเชียลและลอการิทึม 106
บทที่ 14 เมทริกซ์ 129
บทที่ 15 เวคเตอร์ 142
บทที่ 16 จานวนเชิงซ้อน 153
บทที่ 17 ลาดับ และอนุกรม 164
บทที่ 18 ลิมิตและความต่อเนื่อง 186
บทที่ 19 อนุพันธ์และการประยุกต์ 192
บทที่ 20 ปฏิยานุพันธ์ 202
บทที่ 21 เรียงสับเปลี่ยนจัดหมูแ่ ละทฤษฎีบทวินาม 213
บทที่ 22 ความน่าจะเป็น 223
บทที่ 23 สถิติ 1 233
บทที่ 24 สถิติ 2 238
บทที่ 25 สถิติ 3 251
บทที่ 26 กาหนดการเชิงเส้น 260
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 1 เซต
1) กาหนดให้ A = , 1, {1} ข้อใดต่อไปนี้ผิด (PAT 1 มี.ค. 52) 3) ในการสารวจความเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจานวน 880 คน เพื่อ
1.   A สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาต่อ ปรากฏผลดังนี้
2.   A มีผู้ต้องการศึกษาต่อ 725 คน
3. 1, {1}  A มีผู้ต้องการทางาน 160 คน
4. {1}, {1, {1}}  A มีผู้ต้องการศึกษาต่อหรือทางาน 813 คน
ผู้ที่ต้องการศึกษาต่อและทางานด้วยมีจานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
1. 67 คน
2. 72 คน
3. 85 คน
4. 90 คน

2) กาหนดให้ A = x  x เป็นจานวนคู่บวก และ x  100 4) กาหนดให้ A = 1, 2, {1, 2}, {1, 2, 3} ข้อใดต่อไปนี้ผิด (PAT 1 ก.ค. 52)
และ B = x  x  A และ 3 หาร x ลงตัว 1. 1, 2  A
จานวนสมาชิกของเซต P(B) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52) 2. 1, 2, 3  A
1. 216 3. 1, 2  A
2. 217 4. 1, 2, 3  A
3. 218
4. 219

Page 1
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) กาหนดให้ A = 0, 1, 2, {0, 1, 2} และ P(A) แทนเซตกาลังของ A พิจารณา 7) กาหนดเซตและจานวนสมาชิกของเซตตามตารางต่อไปนี้
ข้อความต่อไปนี้ เซต A B C AB BC AC (AB)C
ก. A  P(A) = 0, 1, 2 จานวนสมาชิก 15 17 22 23 29 32 28
ข. n(A - P(A))  n(P(A) - A) จานวนสมาชิกในเซต A  B  C เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52)
ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง (PAT 1 ต.ค. 52)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

6) กาหนดให้ A เป็นเซตซึ่งสอดคล้องกับเงื่อนไขต่อไปนี้ 8) ให้ A = 1, {1} และ P(A) เป็นพาวเวอร์เซตของเซต A ข้อใดต่อไปนี้ผิด


ก. 1  A (PAT 1 มี.ค. 53)
1 1. จานวนสมาชิกของ P(A) - A เท่ากับ 3
ข. ถ้า x  A แล้ว x  A 2. จานวนสมาชิกของ P(P(A)) เท่ากับ 16
ค. x  A ก็ต่อเมื่อ 2x  A 3. {1}  P(A) - A
จานวนในข้อใดต่อไปนี้เป็นสมาชิกของ A (PAT 1 ต.ค. 52) 4. , A  P(A)
1
1. 2
1
2. 8
1
3. 1 6
1
4. 3 2

Page 2
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) กาหนดให้ A, B และ C เป็นเซตใดๆ ถ้า n(A  B  C) = 91, 11) ในการสอบวิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาคณิตศาสตร์ ของโรงเรียนแห่ง
n(A  B  C) = 11, n((B - A)  (B - C)) = 15, n(A  B  C) = 20, หนึ่ง มีนักเรียนเข้าสอบทั้งหมด 66 คน ปรากฏว่ามีนักเรียนที่สอบตกทั้งสามวิชา
n((A  B)  (A  C)  (B  C)) = 47 และ n(C) = 59 แล้ว จานวน 13 คน นักเรียนที่สอบได้ทั้งสามวิชามีจานวน 17 คน นักเรียนที่สอบได้วิชา
n(A  B  C) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53) ภาษาไทยและวิชาภาษาอังกฤษแต่สอบตกวิชาคณิตศาสตร์มีจานวน 10 คน
นักเรียนที่สอบได้วิชาภาษาไทยและวิชาคณิตศาสตร์แต่สอบตกวิชาภาษาอังกฤษ มี
จานวน 11 คน นักเรียนที่สอบได้เพียงวิชาเดียวมีจานวน 6 คน จานวนนักเรียนที่
สอบได้วิชาภาษาอังกฤษและวิชาคณิตศาสตร์ เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53)

10) ให้ A = , {}, {, {}} และ P(A) เป็นเพาเวอร์เซตของเซต A ข้อใด 12) กาหนดให้ A, B และ C เป็นเซตใดๆ ถ้า n(A) + n(B) + n(C) = 301 และ
ต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ก.ค. 53) n(A  B  C) = 102 แล้ว n(A  B  C) มีค่าอย่างน้อยเท่ากับเท่าใด
1. จานวนสมาชิกของ P(A) เท่ากับ 16 (PAT 1 ต.ค. 53)
2. จานวนสมาชิกของ P(A) - , {} เท่ากับ 7
3. , {, {}}  P(A) - , {}
4. , {}, {{}}  P(A)

Page 3
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนจานวน 750 คน พบว่ามีนักเรียนจานวน 30 คน ไม่เล่น 15) กาหนดให้ A, B, C  
กีฬาเลย นอกนั้นเล่นกีฬาอย่างน้อยหนึ่งประเภทคือ ปิงปอง แบดมินตัน เทนนิส n(U) = 44, n(B) = 19, n(A  B  C) = 2, n[(A  C) - B] = 3,
จากการสารวจเฉพาะกลุ่มนักเรียนที่เล่นกีฬา พบว่ามีนักเรียนจานวน 630 คน เล่น n[A  (B  C)] = 6 และ n(A  B  C) = 9 จงหา n[(A  C) - B]
กีฬาเพียงประเภทเดียวเท่านั้น มีนักเรียนจานวน 30 คน เล่นเทนนิสและปิงปอง มี (PAT 1 ธ.ค. 54)
นักเรียน 50 คน เล่นปิงปองและแบดมินตัน มีนักเรียน 40 คน เล่นเทนนิสและ
แบดมินตัน มีนักเรียนไม่เล่นเทนนิสจานวน 250 คน จงหาว่ามีนักเรียนกี่คนที่เล่น
เทนนิสเพียงอย่างเดียว (PAT 1 มี.ค. 54)

14) กาหนดให้ A และ B เป็นเซตจากัด โดยที่ จานวนสมาชิกของ P(A) เป็นสองเท่า 16). สาหรับเซต S ใดๆ ให้ S แทนคอมพลีเมนต์ของเซต S กาหนดให้ A, B และ C
ของจานวนสมาชิกของ P(B) จานวนสมาชิกของ P(A  B) = 8 และจานวน เป็นเซตในเอกภพสัมพัทธ์ U โดยที่ A  B = B, C  A และ B  C  
สมาชิกของ P(A  B) = 256 จงหาจานวนสมาชิก P(A - B) (PAT 1 ธ.ค. 54) ถ้าเซต U มีสมาชิก 12 ตัว เซต A  B มีสมาชิก 10 ตัว และเซต A  B มี
1. 2 สมาชิก 4 ตัว แล้วจะมีเซต C ทั้งหมดกี่เซต (PAT 1 มี.ค. 55)
2. 4 1. 60 เซต
3. 8 2. 48 เซต
4. 16 3. 16 เซต
4. 8 เซต

Page 4
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) ในการสารวจสโมสรแห่งหนึ่งมีสมาชิกจานวน 100 คน พบว่าชอบอ่านนวนิยายหรือ 19) กาหนดให้ U เป็นเอกภพสัมพัทธ์และให้ A และ B เป็นสับเซตของ U
หนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร อย่างน้อย 1 รายการ และ ถ้า 20% ของสมาชิกในเซต A เป็นสมาชิกในเซต B
มี 75 คน ชอบอ่านนวนิยาย 25% ของสมาชิกในเซต B เป็นสมาชิกในเซต A
มี 70 คน ชอบอ่านหนังสือพิม์ และ และจานวนสมาชิกของเซต (A - B)  (B - A) เท่ากับ 112 แล้วจานวนสมาชิก
มี 80 คน ชอบอ่านนิตยสาร ของเซต A  B เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55)
มีสมาชิกอย่างน้อยกี่คนที่ชอบอ่านทั้งสามรายการ (PAT 1 มี.ค. 55)

18) กาหนดให้ U เป็นเอกภพสัมพัทธ์และให้ A, B และ C เป็นสับเซตของ U ข้อใด 20) กาหนดให้ U เป็นเอกภพสัมพัทธ์ และให้ A, B และ C เป็นเซตใดๆ ใน U
ต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 55) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. A - (B  C) = (A - B)  (A - C) (ก) A - [(A  B)  (A  B  C)] = A - B
2. (A  B) - C = (A - C)  (B - C) (ข) เพาเวอร์เซตของเซต A - (B  C) เท่ากับเพาเวอร์เซตของเซต
3. A - (B - C) = A  (B  C) (A - B) - C
4. (A  B) - C = A  (B - C) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 56)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 5
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) กาหนดให้ A และ B เป็นเซตจากัด โดยที่ A  B   23) สาหรับเซต S ใดๆ ให้ n(S) แทนจานวนสมาชิกของเซต S กาหนดให้ U แทนเอก
สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 2 ตัว มีทั้งหมด 10 เซต และสับเซตของ B ที่มีสมาชิก 2 ภพสัมพัทธ์ ถ้า A, B และ C เป็นสับเซตใน U โดยที่ n(A) = 2(n(B)) = 3(n(C)),
ตัว มีทั้งหมด 6 เซต ถ้าจานวนสมาชิกของ P(P(A  B)) เท่ากับ 16 เมื่อ P(S) n(A  B  C) = 15, n(A  B  C) = 2 ถ้า n(A - B) = 8, n(B - C) = 4
แทนเพาเวอร์เซตของ S แล้ว จานวนสมาชิกของเซต A  B เท่ากับเท่าใด และ n(A - C) = 9 แล้ว n((A  B) - C) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 เม.ย. 57)
(PAT 1 มี.ค. 56) 1. 13
2. 12
3. 11
4. 10

22) ให้ A แทนคอมพลีเมนต์ของเซต A และ n(A) แทนจานวนสมาชิกของเซต A 24) ให้ S แทนคอมพลีเมนท์ของเซต S และ n(S) แทนจานวนสมาชิกของเซต S ให้
กาหนดให้ U แทนเอกภพสัมพัทธ์ ถ้า A และ B เป็นสับเซตใน U โดยที่ A, B และ C เป็นสับเซตของเอกภพสัมพัทธ์ U โดยที่ A  C = ,
n(A  B) = 30, n(A  B) = 18, n(A  B) = 3 และ n(A - B) = 8 แล้ว A - B  , B - A  , B - C   และ C - B  
จานวนสมาชิกของเอกภพสัมพัทธ์ U เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 57) ถ้า n(U) = 20, n(A) = 12, n(B) = 9, n(C) = 15, n((A - B)  (B - A)) =11
1. 29 และ n((B - C)  (C - B)) =12 แล้ว ((A - B)  (C - B)) เท่ากับเท่าใด
2. 30 (PAT 1 พ.ย. 57)
3. 37
4. 42

Page 6
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) ให้ P(S) แทนเพาเวอร์เซตของเซต S ถ้า A, B, C, D และ E เป็นเซตจากัด โดยที่ 27) ในการสารวจความชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิชาภาษาไทย และวิชาภาษาอังกฤษ
P(D) = , {1}, D, E, D U E  A  B, B  C = , ของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง พบว่า มีนักเรียนชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 150 คน
2, 3, 4, 5  A  B แต่ 2  B และ มีนักเรียนชอบเรียนวิชาภาษาไทย 80 คน
เซต P(A) P(B) P(A  C) P(C - A) มีนักเรียนชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 60 คน
จานวนสมาชิก 8 32 2 4 และ มีนักเรียน 30 คน ชอบเรียนทั้งสามวิชา
แล้วจานวนสมาชิกของเซต A  B  C เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 58) นักเรียนกลุ่มนี้มีจานวนอย่างมากกี่คน (PAT 1 ต.ค. 58)

26) ให้ S แทนคอมพลีเมนท์ของ S และ n(S) แทนจานวนสมาชิกของเซต S ให้ A, B 28) ในการสารวจนักเรียนห้องหนึ่ง เกี่ยวกับความชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิชา
ภาษาอังกฤษ และวิชาภาษาไทย พบว่า นักเรียนในห้องนี้ชอบเรียนวิชาดังกล่าว
และ C เป็นเซตใดๆ โดยที่ A  (B  C) = , n(A) = 12, n(B) = 15,
อย่างน้อย 1 วิชา และ
n(C) = 16, n(A  B  C) = 20 และ n(A  B) = n(B  C) = n(A  C)
มี 24 คน ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์
ข้อใดต่อไปนี้ไม่ ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 58)
มี 22 คน ชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษ
1. n(A  B  C) = 10
มี 21 คน ชอบเรียนวิชาภาษาไทย
2. n(A  B) = 11
มี 21 คนชอบเรียนเพียงวิชาเดียว และมี 4 คนชอบเรียนทั้งสามวิชา
3. n(A  B) = 4
จานวนนักเรียนที่ชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษ หรือวิชาภาษาไทย แต่ไม่ชอบเรียนวิชา
4. n((A  B)  C) = 12 คณิตศาสตร์ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 59)
5. n((A  B)  C) = 5 1. 16 คน
2. 17 คน
3. 18 คน
4. 19 คน
5. 20 คน

Page 7
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) กาหนดให้ P(S) แทนเพาเวอร์เซตของเซต S ให้ A, B และ C เป็นเซตใดๆ 31) จากการสารวจนักเรียนกลุ่มหนึ่งจานวน 80 คน เกี่ยวกับการเป็นสมาชิกของชมรม
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 3 ชมรม คือ ชมรมคณิตศาสตร์ ชมรมการแสดง และชมรมกีฬา ปรากฏว่ามี 30 คน
(ก) ถ้า A  C  B แล้ว A  B  C เป็นสมาชิกของชมรมคณิตศาสตร์ โดยในจานวนนี้มีนักเรียน 20 คน เท่านั้นที่เป็น
(ข) ถ้า A  C  B แล้ว B - (A  B)  (B  C) สมาชิกของชมรมคณิตศาสตร์เพียงชมรมเดียว มี 5 คน ที่เป็นสมาชิกของชมรม
(ค) P(A  B)  P(A)  P(B) การแสดงและชมรมกีฬา แต่ไม่เป็นสมาชิกของชมรมคณิตศาสตร์ และมี 10 คน
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ที่ไม่เป็นสมาชิกของชมรมใดเลย พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. ข้อ (ก) ถูกเพียงข้อเดียว (ก) มี 15 คน ที่เป็นสมาชิกของชมรมอย่างน้อย 2 ชมรม
2. ข้อ (ข) ถูกเพียงข้อเดียว (ข) มี 55 คน ที่เป็นสมาชิกของชมรมใดชมรมหนึ่งเพียง 1 ชมรมเท่านั้น
3. ข้อ (ค) ถูกเพียงข้อเดียว (ค) มี 50 คน ที่เป็นสมาชิกของชมรมการแสดงหรือชมรมกีฬา
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ(ค) ถูกทั้งสามข้อ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 60)
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ(ค) ผิดทั้งสามข้อ 1. ข้อ (ก) และข้อ (ข) ถูก แต่ข้อ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

30) ให้ A, B และ C เป็นเซตใดๆ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 32) กาหนดให้ P(S) แทนเพาเวอร์เซตของเซต S และ n(S) แทนจานวนสมาชิกของเซต
(ก) ถ้า A – B =  แล้ว A = B S ให้ A, B และ C เป็นเซตจากัด โดยที่ B  A และ A  C   ถ้า
(ข) ถ้า C – (A  B) = C – B แล้ว A  B n(P(P(B))) = n(P(B  C)) = 16, n(B  C) = 1, n(A  C) = 2
(ค) A  B  C = [(A  B)  C]  [(A  B)  C] และ n(P(A - C)) = 4n(P(C - A)) แล้ว n(P(A)) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.พ. 61)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 60)
1. ข้อ (ก) และข้อ (ข) ถูก แต่ข้อ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

Page 8
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
เฉลยคาตอบ
1) 2 2) 1 3) 2 4) 4 5) 3
6) 3 7) 33 8) 4 9) 18 10) 4
11) 26 12) 97 13) 415 14) 3 15) 16
16) 2 17) 25 18) 2 19) 128 20) 1
21) 7 22) 3 23) 3 24) 7 25) 8
26) 5 27) 230 28) 3 29) 5 30) 5
31) 4 32) 32

Page 9
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 2 ตรรกศาสตร์
1) กาหนดให้ เอกภพสัมพัทธ์คือ U = -3, -2, -1, 1, 2, 3 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความ 3) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
จริงเป็นเท็จ (A-Net 2549) ก. ให้เอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจานวนเฉพาะบวก
1. xyx + y  y ข้อความ xy[x2 + x + 1 = y] มีค่าความจริงเป็นจริง
2. xyx - y2  x ข. นิเสธของข้อความ xP(x)  [Q(x)  R(x)]
3. xyxy2 = x คือ xP(x)  Q(x)  R(x)
4. xyx2y = y ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A-Net 2550)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

2) ให้ p, q, r เป็นประพจน์ ถ้าประพจน์ p  (q  r) มีค่าความจริงเป็นจริง และ


p  (q  r) มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้ว ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริง 4) กาหนดเหตุให้ดังนี้
เป็นเท็จ (A-Net 2549) 1. เอกภพสัมพัทธ์ไม่เป็นเซตว่าง
1. q  (p  r) 2. xP(x)  Q(x)
2. p  (p  q) 3. xQ(x)  R(x)
3. (q  r)  p  (q  r) 4. xR(x)
4. (q)  (r)  p  (q  r)  ข้อความในข้อใดต่อไปนี้เป็นผลที่ทาให้การอ้างเหตุผล สมเหตุสมผล (A-Net 2550)
1. xP(x)
2. xQ(x)
3. xP(x)
4. xQ(x)

Page 10
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 7) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้า (p  q)  r และ (q  r)  s ต่างมีค่าความจริงเป็นเท็จ ก. ถ้า p  (q  r) มีค่าความจริงเป็นจริง และ (p  q)  r มีค่าความ
แล้ว (p  q)  (r  s) มีค่าความจริงเป็นจริง จริงเป็นเท็จ แล้ว q  (p  r) มีค่าความจริงเป็นจริง
ข. การอ้างเหตุผลข้างล่างนี้สมเหตุสมผล ข. การอ้างเหตุผลต่อไปนี้ สมเหตุสมผล
เหตุ 1) p  (q  r) 2) q  s 3)  r เหตุ 1) p  q 2) (p  q)   r 3) p   r
ผล sp ผล qr
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A-Net 2550) ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A-Net 2552)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

6) พิจารณาประโยคต่อไปนี้ 8) กาหนดให้ U เป็นเซตคาตอบของอสมการ x + 1 + 2   x + 1 - 2  25


ก. x 
x  2  x ประโยคในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง (A-Net 2552)
1. xyx + y = 14
ข. x2x  3x
เอกภพสัมพัทธ์ในข้อใด ทาให้ประโยค ก. และ ข. มีค่าความจริงเป็นจริง 2. xyx + y = 11
(A-Net 2552) 3. xyx + y = -11
1. -2, 0, 2 4. xyx + y = -14
2. -2, 0, 3
3. 0, 1, 2
4. 0, 1, 3

Page 11
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) กาหนดให้ p, q, r เป็นประพจน์ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ 11) กาหนดให้ P(x) และ Q(x) เป็นประโยคเปิด
ก. ประพจน์ p  (p  (q  r)) สมมูลกับประพจน์ p  (q  r) ประโยค xP(x)  xQ(x) สมมูลกับประโยคในข้อใดต่อไปนี้
ข. ประพจน์ p  (q  r) สมมูลกับประพจน์ (q  p)  (p  r) (PAT 1 ก.ค. 52)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (PAT 1 มี.ค. 52) 1. xP(x)  xQ(x)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. xQ(x)  xP(x)
2. ก. ถูก และ ข. ผิด 3. xP(x)  xQ(x)
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. xQ(x)  xP(x)
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

10) กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือ U = {1, 2}, {1, 3}, {2, 3} 12) กาหนดให้ U = n  I+  n  10 ประโยคในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (PAT 1 มี.ค. 52) (PAT 1 ก.ค. 52)
1. xyx  y   1. xy(x2 = y2)  (x = y)
2. xyx  y = U 2. xy(x  1)  (x  y2)
3. xyy  x  y  x 3. xyxy  x + y
4. xy y  x  y  x  4. xy(x - y)2  y2 + 9xy

Page 12
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือเซต -2, -1, 1, 2 ประโยคในข้อใดต่อไปนี้มีค่า 15) กาหนดให้ p และ q เป็นประพจน์ใดๆ ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ความจริงเป็นเท็จ (PAT 1 ต.ค. 52) (PAT 1 มี.ค. 53)
1. xyx  0  x = y + 1 1. (p  q)  p
2. xyx  y  -(x + y)  0 2. (p  p)  q
3. xyx + y = 0  x - y = 0 3. (p  q)  p  q
4. xyx  y  x  y 4. (p  q)  (p  q)

14) กาหนดให้ p, q, r เป็นประพจน์ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 16) กาหนดให้ p, q, r และ s เป็นประพจน์ที่ ประพจน์ (p  q)  (r  s) มีค่า
ก. ถ้า q  r มีค่าความจริงเป็นจริง แล้ว p และ p  (q  r)  p มีค่า ความจริงเป็นเท็จ และประพจน์ p  r มีค่าความจริงเป็นจริง ประพจน์ในข้อใดมี
ความจริงเหมือนกัน ค่าความจริงเป็นจริง (PAT 1 ก.ค. 53)
ข. ถ้า p มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้ว r และ (p  q)  r มีค่าความจริง 1. (q  p)  (q  r)
เหมือนกัน 2. q  p  (q  r)
ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง (PAT 1 ต.ค. 52) 3. (p  s)  (r  q)
1 ก. ถูก และ ข. ถูก 4. (r  s)  q  (p  r)
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

Page 13
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์คือ -1, 0, 1 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ก.ค. 53) 19) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตของจานวนจริง และ
1. xyx + y + 2  0 มีค่าความจริงเป็นจริง 2
P(x) แทน (x  1)  x  1
2. xyx + y  0 มีค่าความจริงเป็นเท็จ
3. xyx + y = 1 มีค่าความจริงเป็นเท็จ Q(x) แทน x  1  2
4. xyx + y  1 มีค่าความจริงเป็นเท็จ ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงตรงข้ามกับประพจน์ xP(x)  xQ(x)
(PAT 1 ต.ค. 53)
1. xP(x)  xQ(x)
2. xP(x)  xQ(x)
3. xP(x)  Q(x)  xP(x)
4. xP(x)  Q(x)  xQ(x)

18) กาหนดให้ A, B และ C เป็นประพจน์ใดๆ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 53) 20) กาหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์โดยที่ p  (q  r), r  p และ p มีค่า
1. ถ้า A  B มีค่าความจริงเป็นจริง แล้ว (B  C)  (A  C) มีค่าความ ความจริงเป็นจริง ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ (PAT 1 มี.ค. 54)
จริงเป็นเท็จ 1. p  (q  r)  (q  r)
2. ประพจน์ A  (A  B)  (B  C) เป็นสัจนิรันดร์ 2. p  (r  q)  (r  p)  q
3. ประพจน์ (A  B)  C  (A  B)  (A  C) เป็นสัจนิรันดร์ 3. p  (r  q)  r  (p  q)
4. ประพจน์ (A  C)  (B  C) สมมูลกับประพจน์ (A  B)  C 4. p  (q  r)  r  (p  q)

Page 14
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) กาหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์ใดๆ โดยที่ p  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ 23) กาหนดให้ p, q, r และ s เป็นประพจน์ใดๆ
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ประพจน์ (p  q)  p  (r  s)  (r  s) สมมูลกับประพจน์ในข้อ
ก. (p  r)  (p  r)  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ ใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 55)
ข. (p  r)  (q  p) มีค่าความจริงเป็นจริง 1. p  r
ข้อสรุปใดถูกต้อง (PAT 1 ธ.ค. 54) 2. q  r
1. ก. ถูก ข. ถูก 3. (p  r)  (q  r)
2. ก. ถูก ข. ผิด 4. (q  r)  (q  s)
3. ก. ผิด ข. ถูก
4. ก. ผิด ข. ผิด

22) กาหนดให้ P(x) และ Q(x) เป็นประโยคเปิด ถ้า xP(x)  xQ(x) มีค่า 24) กาหนดให้ p และ q เป็นประพจน์ ประพจน์ในข้อใดต่อปนี้เป็นสัจนิรันดร์
ความจริงเป็นจริง แล้วประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็นเท็จ (PAT 1 ธ.ค. 54) (PAT 1 ต.ค. 55)
1. xP(x)  Q(x) 1. (p  q)  (q  p)
2. xP(x)  Q(x) 2. (p  q)  (p  q)
3. xP(x)  Q(x) 3. (p  q)  p  (p  q)
4. xP(x)  Q(x) 4. (p  q)  q  (p  q)

Page 15
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 27) กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนจริง โดยที่ ab  0
(ก) ถ้า p, q และ r เป็นประพจน์โดยที่ p  (q  r) มีค่าความจริงเป็นจริง ให้ p แทนประพจน์ “ถ้า a  b แล้ว 1  1 ” และ
แล้ว r  (p  q)  (p  r) มีค่าความจริงเป็นจริง a b
q แทนประพจน์ “ a b  a b ” ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง
(ข) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์คือ x  R  x2  2x + 3 เมื่อ R คือเซตของ
(PAT 1 มี.ค. 57)
จานวนจริง แล้ว x3x + 6 = 33-x มีค่าความจริงเป็นจริง
1. (p  q)  (q  p)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 55)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (q  p)  (q  p)
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 3. (p  q)  (q  p)
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (p  q)  (p  q)
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

28) กาหนดให้ p, q, r และ s เป็นประพจน์ใดๆ พิจารณาข้อความต่อไปนี้


26) กาหนดให้ P แทน ประพจน์ (ก) ถ้าประพจน์ (p  q)  (r  s) และประพจน์ p มีค่าความจริงเป็นจริง
“ถ้า A  C  B  C แล้ว A  B เมื่อ A, B และ C เป็นเซตใดๆ” แล้วสรุปได้ว่าประพจน์ s มีค่าความจริงเป็นจริง
และให้ Q แทนประพจน์ (ข) ประพจน์ (p  q)  (r  s) สมมูลกับประพจน์
“ถ้า C  A  B แล้ว C  A และ C  B เมื่อ A, B และ C เป็นเซตใดๆ” q  (p  r)  p  (q  s)
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 57)
(ก) ประพจน์ (P  Q)   Q  P มีค่าความจริงเป็นจริง 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
(ข) ประพจน์ (P  Q)  (P  Q) มีค่าความจริงเป็นเท็จ 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 56) 3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 16
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) กาหนดให้ p, q, r, s และ t เป็นประพจน์ ซึ่ง 31) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์ คือ
p  (q  r) มีค่าความจริงเป็นเท็จ x  R  0  x 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
p  (s  t) มีค่าความจริงเป็นจริง (ก) ประพจน์ xyx2 - y2  y - x มีค่าความจริงเป็นจริง
ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็น จริง (PAT 1 เม.ย. 57) (ข) ประพจน์ xyx - y  1 - xy มีค่าความจริงเป็นจริง
1. (q  s)  (p  q) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 พ.ย. 57)
2. (s  t)  q 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
3. (q  s)  p 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
4. (p  r)  s 3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

30) กาหนดให้ p, q และ r แทนประพจน์ใดๆ ให้ S(p, q, r) แทนประพจน์ที่ 32) กาหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ประกอบด้วยประพจน์ p, q และ r และค่าความจริงของประพจน์ S(p, q, r) แสดง (ก) ถ้าประพจน์ p  (q  r) มีค่าความจริงเป็น จริง
ดังตารางต่อไปนี้ แล้วประพจน์ (p  q)  (p  r) มีคา่ ความจริงเป็น จริง
p q r ค่าความจริง S(p, q, r) (ข) ถ้าประพจน์ p  (q  r) มีค่าความจริงเป็น เท็จ
T T T T แล้วประพจน์ (p  q)  r  (p  r) มีค่าความจริงเป็น จริง
T T F T ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 58)
T F T F 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
T F F F 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
F T T T 3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
F T F T 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
F F T T
F F F T

ประพจน์ S(p, q, r) สมมูลกับประพจน์ใดต่อไปนี้ (PAT 1 พ.ย. 57)


1. (q  p)  (q  r)
2. (q  p)  (p  r)
3. (p  q)  (q  r)
4. (p  q)  (p  r)

Page 17
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) กาหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์ โดยที่ (p  r)  (p  q) เป็นประพจน์ 35) กาหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์ใดๆ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ที่มีค่าความจริงเป็น จริง ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 58) (ก) (p  q)  (q  p) เป็นสัจนิรันดร์
1. (q  r)  p มีค่าความจริงเป็น จริง (ข) (p  q)  (p  q) ไม่เป็นสัจนิรันดร์
2. (p  q)  (r  p) มีค่าความจริงเป็น จริง (ค) (p  q) (r  q) สมมูลกับ p  r
3. (r  q)  (p  q) มีค่าความจริงเป็น จริง ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 59)
4. (q  p)  (q  r) มีค่าความจริงเป็น เท็จ 1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
5. (r  q)  (p  r) มีค่าความจริงเป็น เท็จ 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

34) กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตของจานวนตรรกยะ ให้ 36) กาหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์ โดยที่ [p  (q  r)]  q มีค่าความจริง
P(x) คือ 8x3 - 4x - 1 = 0 เป็นจริง ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้ มีค่าความจริงเป็นเท็จ (PAT 1 มี.ค. 60)
Q(x) คือ 8x4 - 8x2 + x + 1 = 0 1. (p  q)  (p  r)
และ R(x) คือ x3 + x2  0 2. (p  q)  (p  r)
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 3. (p  q)  (p  r)
(ก) xP(x)  Q(x) มีค่าความจริงเป็นจริง 4. q  (p  r)
(ข) xQ(x)  R(x) มีค่าความจริงเป็นจริง 5. (p  q)  (q  r)
(ค) xP(x)  R(x) มีค่าความจริงเป็นจริง
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 58)
1. ข้อ (ก) ถูกเพียงข้อเดียว
2. ข้อ (ข) ถูกเพียงข้อเดียว
3. ข้อ (ค) ถูกเพียงข้อเดียว
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

Page 18
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
37) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์ คือ {-3 , -2 , -1 , 0 , 1 , 2 , 3} 39) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์ คือเซตคาตอบของอสมการ x2(x2 - 1)  0
ให้ P(x) แทน x≥ x และ Q(x) แทน x  x + 1 + 1 และให้ P(x) แทน x  1
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ Q(x) แทน x2 - x  2
(ก) ประพจน์ x[Q(x)]  x[P(x)] มีค่าความจริงเป็นจริง R(x) แทน x  0
(ข) ประพจน์ x[P(x)]  x[Q(x)] มีค่าความจริงเป็นเท็จ S(x) แทน 1 - x  0
(ค) ประพจน์ x[P(x)]  x[Q(x)] มีค่าความจริงเป็นจริง ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ (PAT 1 ก.พ. 61)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 60) 1. xP(x)
1. ข้อ (ก) และข้อ (ข) ถูก แต่ข้อ (ค) ผิด 2. xQ(x)
2. ข้อ (ก) และข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ข) ผิด 3. xQ(x)  P(x)
3. ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ก) ผิด 4. xS(x)  P(x)
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ 5. xS(x)  (P(x)  R(x))
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

38) กาหนดให้ p และ q เป็นประพจน์ใดๆ ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์


(PAT 1 ก.พ. 61)
1. p  (p  q)
2. (q   q)  (p  q)
3. (p  q)  q
4. (p  q)  (p  q)
5. (p  q)  (q  p)

เฉลยคาตอบ
1) 3 2) 4 3) 3 4) 2 5) 3
6) 2 7) 4 8) 3 9) 2 10) 1
11) 2 12) 4 13) 4 14) 1 15) 4
16) 2 17) 3 18) 3 19) 2 20) 3
21) 4 22) 1 23) 3 24) 3 25) 1
26) 2 27) 3 28) 1 29) 1 30) 3
31) 3 32) 1 33) 2 34) 3 35) 1
36) 2 37) 3 38) 3 39) 3

Page 19
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 4 จานวนจริง
1) กาหนดให้ I เป็นเซตของจานวนเต็ม ถ้า 3) ถ้าเซตคาตอบของอสมการ x2 + x - 2  (x + 2) คือช่วง (a,b) แล้ว a + b มีค่า
S = x  I  2x2 - 9x - 26  0 และ 1 - 2x  3 แล้ว ผลบวกของสมาชิก เท่ากับเท่าใด (A-Net 2550)
ของ S เท่ากับเท่าใด (A-Net 2549)

2) กาหนดให้ A = x  (2x + 1)(x - 1)  2 4) กาหนดให้ A เป็นเซตคาตอบของอสมการ x2 + x - 2  x2 - 4x + 3 และ


และ B = x  16 - 9x2  0 B = A - 1 ถ้า a เป็นสมาชิกของ B ซึ่ง a - b  0 ทุก b  B พิจารณา
เซต A  B เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2550) ข้อความต่อไปนี้

1.
 
2,7
3 3 ก.
4a
3 เป็นจานวนคู่

2.
  1, 35  5
ข. a เป็นจานวนคู่

  34 , 45 
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A-Net 2551)
3. 1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
4.
  35 ,1 3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

Page 20
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) กาหนดให้ A = x  x2 + 2x - 3  0 และ B = x  x + 1  2x 7) กาหนดให้ A เป็นเซตคาตอบของสมการ (2x - 1)(x + 3) = (x + 7)(3 - 4x)
ถ้า A - B = (a, b) แล้ว 3a + b มีค่าเท่าใด (A-Net 2551) ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดของ A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552)
1. -15
 15
2. 2
15
3. 2
4. 15

6) ให้ P(x) = x3 + ax2 + bx + 10 เมื่อ a, b เป็นจานวนเต็ม และ Q(x) = x2 + 9 8) กาหนดให้ S = x  x3 = 1 เซตในข้อใดต่อไปนี้เท่ากับเซต S (PAT 1 มี.ค. 52)
ถ้า Q(x) หาร P(x) เหลือเศษ 1 แล้ว P(a) + P(b) มีค่าเท่าใด (A-Net 2551) 1. x  x3 = 1
2. x  x2 = 1
3. x  x3 = -1
4. x  x4 = x

Page 21
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) กาหนดให้ S เป็นเซตคาตอบของสมการ 2x3 - 7x2 + 7x - 2 = 0 ผลบวกของ 11) กาหนดให้ P(x) และ Q(x) เป็นพหุนามดีกรี 2551 ซึ่งสอดคล้องกับ P(n) = Q(n)
สมาชิกทั้งหมดของ S เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52) สาหรับ n =1, 2, ..., 2551 และ P(2552) = Q(2552) + 1 ค่าของ P(0) - Q(0)
1. 2.1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52)
2. 2.2 1. 0
3. 3.3 2. 1
4. 3.5 3. -1
4. หาค่าไม่ได้เพราะข้อมูลไม่เพียงพอ

(2 x  1)(x  1)
12) กาหนดให้ A เป็นเซตคาตอบของอสมการ 0
10) กาหนดให้ A = x  x - 1  3 - x และ a เป็นสมาชิกค่ามากที่สุดของ A ค่า 2x
2
ของ a อยู่ในช่วงใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52) และ B เป็นเซตคาตอบของอสมการ 2x - 7x + 3  0
1. (0, 0.5] ถ้า A  B = [c, d) แล้ว 6c - d เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
2. (0.5, 1] 1. 4
3. (1, 1.5] 2. 5
4. (1.5, 2] 3. 6
4. 7

Page 22
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) กาหนดให้ A = x  (x2 - 1)(x2 - 3)  15 15) กาหนดให้ A เป็นเซตคาตอบของสมการ x3 + x2 - 27x - 27 = 0
ถ้า a เป็นสมาชิกค่าน้อยสุดในเซต A และ b เป็นสมาชิกค่ามากสุดในเซต A แล้ว และ B เป็นเซตคาตอบของสมการ x3 + (1 - 3 )x2 - (36 + 3 )x - 36 = 0
(b - a)2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52) A  B เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 52)
1. 24 1. [-3 5 , -0.9]
2. 16 2. [-1.1, 0]
3. 8 3. [0, 3 5 ]
4. 4 4. [1, 5 3 ]

4
14) กาหนดให้ S เป็นเซตคาตอบของอสมการ x  1 3x 2  3 6  0  
2 16) กาหนดให้ S = x 2 x  x  2  ช่วงในข้อใดต่อไปนี้เป็นสับเซต
x  5x  6  x  3x  2 x 2  1
ถ้า a เป็นจานวนที่มีค่าน้อยที่สุดในเซต S  (2, ) และ b เป็นจานวนลบที่มีค่า ของ S (PAT 1 ต.ค. 52)
มากที่สุดซึ่ง b  S แล้ว a2 - b2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52) 1. (-, -3)
1. -9 2. (-1, 0.5)
2. -5 3. (-0.5, 2)
3. 5 4. (1, )
4. 9

Page 23
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) กาหนดให้ In = (0, 1)  ( 1 , 2)  ( 2 , 3)  ...  ( n  1 ,n) เมื่อ n เป็น 19) ให้ N แทนเซตของจานวนนับ กาหนดให้ a  b = ab สาหรับ a, b  N พิจารณา
2 3 n
ข้อความต่อไปนี้ สาหรับ a, b, c  N
จานวนนับ ค่าของ n ที่น้อยที่สุดที่ทาให้ In  ( 2 5 5 1 , 2 5 5 3 ] เท่ากับข้อใด
2554 2552 ก. a  b = b  a ข. (a  b)  c = a  (b  c)
ต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 52) ค. a  (b + c) = (a  b) +(a  c) ง. (a + b)  c = (a  c) + (b  c)
1. 2554 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 53)
2. 2552 1. ถูก 2 ข้อ คือ ข. และ ค.
3. 1277 2. ถูก 2 ข้อ คือ ค. และ ง.
4. 1276 3. ถูก 1 ข้อคือ ค.
4. ก. ข. ค. และ ง. ผิดทุกข้อ

18) กาหนดให้ A = x  R  x 2  6x  9  4  เมื่อ R แทนเซตของจานวนจริง


ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 53)

20) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า A = x  R
1 x  2
x x 3 
 1 แล้ว

A  [0, 1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 53)


1. A = x  R  3 - x  4
2. A  (-1, ) 
1. x 1  x  2
3 
3
3. A = x  R  x  7
4. A  x  R  2x - 3  7  3
1
2. x  x  1 

3. x 2  x  1
3 

4. x 2  x  3
3 
2

Page 24
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) สาหรับ a และ b เป็นจานวนเต็มบวกใดๆ กาหนดให้ a  b เป็นจานวนจริงที่มี 23) ให้ N แทนเซตของจานวนนับ กาหนดให้ a  b = a  b สาหรับ a, b  N
สมบัติดังต่อไปนี้ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) a  a = a + 4 ก. (a  b)  c = a  (b  c) สาหรับ a, b, c  N
(ข) a  b = b  a ข. a  (b + c) = (a  b) + (a  c) สาหรับ a, b, c  N
a  (a  b ) a  b ข้อใดต่อไปนี้ถูก (PAT 1 ต.ค. 53)
(ค) 
ab b 1. ก. ถูก และ ข. ถูก
ค่าของ (8  5)  100 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53) 2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

24) ให้ N แทนเซตของจานวนนับ สาหรับ a, b  N


22) กาหนดให้ I แทนเซตของจานวนเต็ม และ P(S) แทนเพาเวอร์เซตของเซต S
a,a  b b,a  b
ให้ A = x  I  x2 - 1  8 และ B = x  I  3x2 + x - 2  0 a  b  a,a  b และ a b  a,a  b
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 53) b,a  b a,a  b
1. จานวนสมาชิกของ P(A - B) เท่ากับ 4 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ สาหรับ a, b, c  N
2. จานวนสมาชิกของ P(I - (A  B)) เท่ากับ 2 ก. a  b = b  a
3. P(A - B) = P(A) - P(A  B) ข. a  (b  c) = (a  b)  c
4. P(A - B) - P(A  B) = {0} ค. a (b  c)=(a b)  (a c)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 53)
1. ถูก 1 ข้อ คือ ข้อ ก.
2. ถูก 2 ข้อ คือ ข้อ ก. และ ข.
3. ถูก 2 ข้อ คือ ข้อ ก. และ ค.
4. ถูกทั้ง 3 ข้อ คือ ก. ข. และ ค.

Page 25
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) กาหนดให้ a, b, c เป็นจานวนจริง 27) ถ้า A แทนเซตของจานวนเต็มทั้งหมด ที่สอดคล้องกับอสมการ
นิยาม x  y = ax2 + by2 + cxy สาหรับจานวนจริง x, y ใดๆ ถ้า 1  2 = 3, 3x - 1 - 2x  2 3x + 1 และ B แทนเซตคาตอบของอสมการ
2  3 = 4 และมีจานวนจริง d  0 โดยที่ x  d = x สาหรับทุกจานวนจริง x x(x + 2)(x + 1)2  0 แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 55)
แล้วค่าของ a + 2b + 3c + 4d เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54) 1. เซต A - B มีสมาชิก 5 ตัว
2. A  B = A
3. เซต A  B มีสมาชิก 1 ตัว
4. (A - B)  (B - A) = B

26) กาหนดให้ x  y = (x + 1)(y + 1) - 1 ข้อใดต่อไปนี้ผิด (PAT 1 ธ.ค. 54) 28) นิยาม a  b = ab สาหรับ a และ b เป็นจานวนจริงบวกใดๆ
1. (x - 1)  (x + 1) = (x  x) - 1 ถ้า a, b และ c เป็นจานวนจริงบวก แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อ (PAT 1 มี.ค. 55)
2. x  (y + 2) = (x  y) + (x  2) 1. a  (b  c) = (a  c)  b
3. x  (y  2) = (x  y)  2 2. (a  b)  c = a  (bc)
4. x  (x  y) = (x + 1)(x  y) + x 3. a  (b  c) = (a  b)  c
4. (a + b)  c = (a  c) + (b  c)

Page 26
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) ให้ a และ b เป็นจานวนจริง ถ้า ax5 + bx + 4 หารด้วย (x - 1)2 ลงตัว แล้ว 31) กาหนดให้ P(x) แทน x  2  2 และให้ Q(x) แทน 2x + 1  x - 1
a - b เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 55) x2
เอกภพสัมพัทธ์ในข้อใดต่อไปนี้ที่ทาให้ xQ(x)  xP(x) มีค่าความจริงเป็น
เท็จ (PAT 1 มี.ค. 56)
1. (-, -4)
2. (-5, -1)
3. (-3, 2)
4. (-1, )

30) กาหนดให้ I แทนเซตของจานวนเต็ม 32) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ A = x  R  2x - 5 + x  7


ให้ A = x  I  2x + 7  9 และ B = x  I  x2 - x - 1  1 และ B = x  R  x2  12 + x
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) จานวนสมาชิกของเซต A  B เท่ากับ 7 (ก) A  B  x  R  1  x  4
(ข) A - B เป็นเซตว่าง (ข) A - B เป็นเซตจากัด (finite set)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 55) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 56)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 27
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) สาหรับ x และ y เป็นจานวนจริงบวกใดๆ กาหนดให้ x  y เป็นจานวนจริงบวก ที่ 35) ในกล่องใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีขาว ลูกบอลสีแด และลูกบอลสีเหลือง โดยที่จานวน
มีสมบัติต่อไปนี้ ลูกบอลสีขาวมีจานวนไม่น้อยกว่าจานวนลูกบอลสีแดง แต่ไม่มากกว่าหนึ่งในสามเท่า
(1) x  (xy) = (x  x)y ของจานวนลูกบอลสีเหลือง และผลรวมของจานวนลูกบอลสีขาวและสีแดงไม่น้อย
(2) x  (1  x) = 1  x กว่า 76 อยากทราบว่าผลรวมของจานวนลูกบอลสีขาว และลูกบอลสีเหลืองมีอย่าง
(3) 1  1 = 1 น้อยกี่ลูก (PAT 1 มี.ค. 57)
ค่าของ 2  (5  (5  6)) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56)

34) กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนจริงบวก และ a  b 36) กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจานวนจริงบวก พิจารณาข้อความต่อไปนี้


เซตคาตอบของสมการ x - a - x - b = b - a เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (ก) ประพจน์ xx2 - 5x + 4  x2 + 6x + 5 มีค่าความจริงเป็นจริง
(PAT 1 มี.ค. 57) (ข) ประพจน์ xx2 - 1  2x - 2 มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. {b} ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57)
2. (a, b] 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
3. [b, ) 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก

4. a  b , 
2  4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 28
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
37) ถ้า A แทนเซตของคาตอบของสมการ 2 - 2x + x + 2 = 4 - x แล้ว เซต A 39) กาหนดให้ a, b และ c เป็นจานวนจริงบวก โดยที่ a  b พิจารณาข้อความต่อไปนี้
เป็นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 เม.ย. 57) (ก) 2a  3b  4c  2a  3b (ข) 3a  2b  c  3a  2b
1. (-4, 0) 3a  2b  3c 3a  2b 2a  3b  c 2a  3b
2. (-1, 1) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57)
3. (0, 4) 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
4. (-3, 2) 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

38) ให้ A แทนเซตของจานวนจริง x ทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมการ 40) ให้ A เป็นเอกภพสัมพัทธ์ที่ทาให้ประพจน์


4x 3x x2x2 + x - 3  0 และ x - 2  3 มีค่าความจริงเป็นจริง
  1 และให้ B แทนเซตของจานวนจริง x
4x 2  8x  7 4x 2  1 0x  7 และให้ B เป็นเซตคาตอบของอสมการ 6x-2 - 5x-1 - 1  0 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ทั้งหมดที่สอดคล้องกับอสมการ x2 - 2x + x2  4 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ (PAT 1 พ.ย. 57)
(ก) A  B 1. A  B
(ข) จานวนสมาชิกของเพาเวอร์เซตของเซต A  B เท่ากับ 2 2. A - B มีสมาชิก 2 ตัว
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57) 3. (A - B)  (B - A) = (-6, 1)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 4. (-6, 0)  (B - A)
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 29
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
41) ให้ a, b, c, d และ x เป็นจานวนเต็มบวกใดๆ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ a x 1
43) ให้ a เป็นจานวนจริง โดยที่ 0  a  1 เซตคาตอบของอสมการ 1
x
(ก) ถ้า a  c แล้ว a  x  c  x
b d b d เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 58)
(ข) a  a  x 1. (-, - 1 )
b bx a
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 พ.ย. 57) 2. (-1, 1 )
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 1 a
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 3. (1, 1 )
a
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 1
4. ( , )
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด 1 a

42) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง กาหนดเอกภพสัมพัทธ์คือ x  R  1  x  2 44) การสอบคัดเลือกพนักงานของหน่วยงานแห่งหนึ่งพบว่า จานวนผู้เข้าสอบทั้งหมด


P(x) แทน 3x2 - 4x - 4  0 Q(x) แทน x2  x2 - 4 160 คน เป็นผู้ชายเข้าสอบคิดเป็นร้อยละ 55 แต่เมื่อประกาศผลสอบพบว่าใน
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ บรรดาผู้ที่สอบได้ เป็นผู้ชายคิดเป็นร้อยละ 70 และในบรรดาผู้ที่สอบไม่ผ่าน เป็น
(ก) xP(x)  xP(x)  Q(x) มีค่าความจริงเป็น จริง ผู้ชายคิดเป็นร้อยละ 40 จานวนผู้ที่สอบได้เป็นผู้หญิงเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(ข) xQ(x)  xP(x) มีค่าความจริงเป็น เท็จ (PAT 1 มี.ค. 58)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 58) 1. 16 คน
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. 20 คน
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 3. 24 คน
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. 28 คน
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 30
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
45) กาหนดให้ x และ y เป็นจานวนจริงที่สอดคล้องกับระบบสมการ 47) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์คือ x  R  0  x  2 เมื่อ R แทนเซตของจานวน
x - x + y = 8 x x
จริง ให้ P(x) แทน  0 และ Q(x) แทน x  (x  1)2  3
x + y + y = 10 x
ค่าของ 20x + 15y เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 58) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) xQ(x)  xP(x) มีค่าความจริงเป็น จริง
(ข) xP(x)  Q(x) มีค่าความจริงเป็น จริง
(ค) xP(x)  xQ(x) มีค่าความจริงเป็น เท็จ
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 59)
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

46) ให้ A เป็นเซตคาตอบของอสมการ x - 1 - 1  1 และ B เป็นเซตคาตอบของ 48) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า A เป็นเซตคาตอบของอสมการ
x  2  3  x  2x  1 แล้ว A เป็นสับเซตของเซตในข้อใดต่อไปนี้
อสมการ 1  2 2x  2 เซต A  B เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้
x  1 x  3x  2 (PAT 1 มี.ค. 59)
(PAT 1 ต.ค. 58) 1. x  R  2x - 1  1
1. (-5, -1) 2. x  R  x - 2  1
2. (-3, 1) 3. x  R  x - 1  2
3. (-1, 3) 4. x  R  x2 + 2  3x
4. (0, 4) 5. x  R  x2  2x
5. (1, 5)

Page 31
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
49) สาหรับ x และ y เป็นจานวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ นิยาม 51. ให้ a และ b เป็นจานวนจริงที่สอดคล้องกับ a(a + b + 3) = 0 และ
 xy ,x  y  0 2(b - a) = (a + b + 1)(2 - b) ค่ามากที่สุดของ a4 + b4 เท่ากับเท่าใด
xy (PAT 1 มี.ค. 59)
xy=  ถ้า a, b และ c เป็นจานวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ โดย
d d 0 d d, x  y  0

ที่ a  b = 1, a  c = 2 และ b  c = 3 แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
(PAT 1 มี.ค. 59)
1. a + b  c
2. a  b + c
3. a  b  c
4. b  c  a
5. c  a  b

50. ให้ A แทนเซตของจานวนเต็มทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมการ 52) ถ้า A เป็นเซตคาตอบของอสมการ x2 + 2x - 3 - 9  0


x  1  2  x  1  3  1 ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต A เท่ากับ และ B เป็นเซตคาตอบของอสมการ x - 3  2
เท่าใด (PAT 1 มี.ค. 59) แล้ว A  B เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60)
1. (4 , )
2. (- , 1)
3. (-1 , 3)
4. (3 , 6)
5. (0 , 4)

Page 32
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
53) นิยาม a  b = 1 + ab สาหรับ a และ b เป็นจานวนเต็มใดๆ พิจารณาข้อความ 55) ให้ A เป็นเซตคาตอบของสมการ x2 - 2x = x2 - 3x + 2
ต่อไปนี้ ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต A เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.พ. 61)
(ก) a  (1  a) = (a  1)  a สาหรับทุกจานวนเต็ม a
(ข) a  (b  c) = (a  b)  c สาหรับทุกจานวนเต็ม a, b และ c
(ค) ((1  2)  3)  4 เป็นจานวนเฉพาะ
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 60)
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

54) กาหนดให้ a, b, c, m และ n เป็นจานวนเต็มบวก สอดคล้องกับ 1  a  b  c


และ am = bn = c พิจารณาอสมการต่อไปนี้
ก. a  c
m n
ข. bm  c
ค. n + mn  c + mc
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ก.พ. 61)
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

เฉลยคาตอบ
1) 17 2) 2 3) 2 4) 3 5) 10
6) 922 7) 1 8) 2 9) 4 10) 4
11) 3 12) 1 13) 1 14) 2 15) 1
16) 2 17) 852 18) 1 19) 4 20) 3
21) 208 22) 4 23) 4 24) 4 25) -
26) 2 27) 1 28) 2 29) 6 30) 2
31) 2 32) 3 33) 6 34) 3 35) 152
36) 2 37) 4 38) 3 39) 3 40) 2
41) 4 42) 2 43) 2 44) 3 45) 60
46) 3 47) 2 48) 3 49) 5 50) 45
51) 641 52) 4 53) 2 54) 2 55) 2.5

Page 33
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 5 ทฤษฎีจานวน
1) จานวนเต็มบวกทั้งหมดที่หาร 210 ลงตัว มีจานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 3) ให้ S เป็นเซตของจานวนจริง m ทั้งหมด ที่ทาให้เส้นตรง y = mx ตัดกับวงกลม
(ตุลาคม 2541) x2 + y2 - 10x + 16 = 0 ขอบเขตบนค่าน้อยที่สุดของ S คือจานวนในข้อใดต่อไปนี้
1. 14 (มีนาคม 2542)
2. 15 1. 1
2
3. 16
4. 17 2. 2
3
3. 3
4
4. 4
5

4) สาหรับจานวนเต็ม a, b ใดๆ ให้ (a, b) = ห.ร.ม. ของ a และ b


2) ถ้า A = p  p เป็นจานวนเฉพาะบวก และ p  (980 - p)3
ให้ A = 1, 2, 3, ..., 400 จานวนสมาชิกของเซต x  A  (x, 40) = 5 มีค่า
แล้ว ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดใน A มีค่าเท่าใด (มีนาคม 2542)
เท่ากับข้อใด (ตุลาคม 2542)
1. 30
2. 40
3. 60
4. 80

Page 34
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) กาหนดให้ S = n  I+  n  1000 และ ห.ร.ม. ของ n และ 100 เท่ากับ 1 7) กาหนดให้ m เป็นจานวนเต็มบวก และ n เป็นจานวนเฉพาะ ถ้า m หาร 777 และ
จานวนสมาชิกของเซต S เท่ากับเท่าใด (มีนาคม 2545) 910 แล้วเหลือเศษ n แล้ว m - n มีค่าเท่ากับเท่าใด (ตุลาคม 2545)

6) กาหนดให้ a, b เป็นจานวนเต็ม ซึ่ง a เป็น ห.ร.ม. ของ b และ 216 8) ข้อความในข้อใดต่อไปนี้ผิด (ตุลาคม 2547)
ให้ q1, q2 เป็นจานวนเต็มบวก โดยที่ 216 = bq1 + 106, b = 106q2 + 4 ถ้า 1. ถ้า a, b, n เป็นจานวนเต็มบวก ซึ่ง na และ nb แล้ว จะได้ว่า n หาร ห.ร.ม.
f(x) = x3 + ax2 + bx - 36 แล้ว เมื่อหาร f(x) ด้วย x - a ได้เศษเท่ากับข้อใด ของ a, b ลงตัวด้วย
ต่อไปนี้ (ตุลาคม 2545) 2. ถ้า a, b, n เป็นจานวนเต็มบวก ซึ่ง an และ bn แล้ว จะได้ว่า ค.ร.น.
1. 192 ของ a, b หาร n ลงตัวด้วย
2. 200 3. ถ้า a, m, n เป็นจานวนเต็มบวก และ amn แล้ว จะได้ว่า am หรือ an
3. 236 4. ถ้า d และ c เป็น ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนเต็มบวก m,n แล้วจะได้ว่า
4. 272 dc = mn

Page 35
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) ถ้า n เป็นจานวนเต็มบวกที่มีสมบัติดังนี้ 11) ให้ a เป็นจานวนคู่บวก และ b เป็นจานวนคี่บวก ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A-Net 2549)
100  n  1000 45 และ 75 หาร n ลงตัว 1. a และ b เป็นจานวนเฉพาะสัมพัทธ์
7 หาร n เหลือเศษ 3 2. a + b เป็นจานวนเฉพาะ
แล้ว n มีค่าเท่ากับเท่าใด (มีนาคม 2548) 3. ห.ร.ม. ของ a และ b เท่ากับ ห.ร.ม. ของ a และ 2b
4. ค.ร.น. ของ a และ b เท่ากับ ค.ร.น. ของ a และ 2b

10) ถ้า S เป็นเซตของจานวนเต็ม m ที่มีสมบัติดังนี้ 12) ถ้า x เป็นจานวนเต็มบวกที่น้อยที่สุด ซึ่ง 9, 12 และ 15 หาร x ลงตัว แต่ 11 หาร
50  m  100 และ 7 หาร m3 เหลือเศษ 6 x เหลือเศษ 7 แล้ว x มีค่าเท่ากับเท่าใด (A-Net 2549)
แล้วจานวนสมาชิกของ S เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (มีนาคม 2548)
1. 7
2. 14
3. 18
4. 21

Page 36
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) กาหนดให้ n เป็นจานวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยที่สุด ซึ่งหารด้วย 7 แล้วมีเศษเหลือ 15) กาหนดให้ n เป็น ห.ร.ม. ของ 14097 และ 14351 จานวนในข้อใดต่อไปนี้ หารด้วย
เท่ากับ 4 ถ้า 9 และ 11 ต่างก็หาร n - 2 ลงตัวแล้ว n คือจานวนใด n แล้วได้เศษเหลือเป็นจานวนเฉพาะ (A-Net 2552)
(A-Net 2550) 1. 135
2. 144
3. 153
4. 162

14) กาหนดให้ n เป็นจานวนเต็มที่มีค่ามากที่สุด ซึ่งมีสมบัติว่า n หาร 551 และ 731 16) กาหนดให้ n เป็นจานวนนับใดๆ และ r เป็นเศษเหลือจากการหาร n2 ด้วย 11
เหลือเศษ r เท่ากัน หาร 1093 เหลือเศษ r + 2 แล้ว r  1 มีค่าเท่ากับข้อใด จานวนในข้อใดต่อไปนี้เป็นค่าของ r ไม่ได้ (PAT 1 มี.ค. 52)
n 1. 1
ต่อไปนี้ (A-Net 2551)
2. 3
1. 1 3. 5
17
4. 7
2. 1
18
3. 1
19
4. 1
20

Page 37
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) ถ้า a เป็น ห.ร.ม. ของ 403 และ 465 และ b เป็น ห.ร.ม. ของ 431 และ 465 แล้ว 19) สาหรับ a และ b เป็นจานวนเต็มบวกใดๆ นิยาม ab หมายถึง a = kb สาหรับ
a - b มีค่าเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52) บางจานวนเต็มบวก k ถ้า x, y และ z เป็นจานวนเต็มบวก แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็น
จริง (PAT 1 ต.ค. 53)
1. ถ้า xy และ yz แล้ว (x + y)z
2. ถ้า xy และ xz แล้ว x(yz)
3. ถ้า xy และ xz แล้ว x(y+z)
4. ถ้า xy แล้ว yx

18) มีกองลูกหินสีดาจานวน 221 ลูก และกองลูกหินสีขาวจานวน 260 ลูก ต้องการแบ่ง 20) ถ้า d เป็นจานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 และจานวน 3456, 2561 และ 1308 หาร
ลูกหินทั้งสองกองนี้ออกเป็นกองเล็กๆ โดยที่ ด้วย d มีเศษเหลือเท่ากันคือ r แล้ว d + r เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)
(1) แต่ละกองมีสีเดียวกัน
(2) ลูกหินแต่ละกองมีจานวนเท่ากัน
ถ้าต้องการให้จานวนลูกหินในกองเล็กๆเหล่านี้มีจานวนมากที่สุด แล้วจะแบ่งได้กี่
กอง (PAT 1 มี.ค. 53)

Page 38
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) ถ้า d เป็นจานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 และจานวน 1059, 1417 และ 2312 หาร 23) ถ้า a, b, c, d, e เป็นจานวนเต็มบวก โดยที่ 5a = 4b = 3c = 2d = e และ
ด้วย d แล้วมีเศษเหลือเท่ากันคือ r แล้วค่าของ d + r เท่ากับเท่าใด a + 2b + 3c + 4d + 5e เป็นจานวนเต็มบวกที่น้อยที่สุด แล้วค่าของ
(PAT 1 มี.ค. 55) a + 4b + 3c + 4d + e เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 57)
1. 52
2. 120
3. 262
4. 312

22) ให้ I แทนเซตของจานวนเต็ม ถ้า A = (x, y)  I  I  xy - 21 = y - 4x 24) ให้ A แทนเซตของจานวน a2 + b2 + c2 + d2 โดยที่ a, b, c, d เป็นจานวนเต็ม
แล้วจานวนสมาชิกของเซต A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 57) บวกที่มีสมบัติดังนี้
1. 5 (ก) a = b + d
2. 4 (ข) (a + b + c + d)b = (a - c)d
3. 3 (ค) 2 + cd = a(c - 1)
4. 2 ถ้า M แทนค่ามากที่สุดในเซต A และ m แทนค่าน้อยที่สุดในเซต A แล้วค่า M - m
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 เม.ย. 57)

Page 39
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) ให้ a และ b เป็นจานวนเต็มบวก นิยาม aRb หมายถึง a หารด้วย b ลงตัว 27) ให้ S เป็นเซตของจานวนสองหลัก ab ทั้งหมด โดยที่ ab + ba = 143
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ เมื่อ a, b  {1, 2, 3, ..., 9} และ a  b ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต S
(ก) ถ้า xRy และ yRz แล้ว xR(y + z) สาหรับทุกจานวนเต็มบวก x, y และ z เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 58)
(ข) ถ้า wRx และ yRz แล้ว (wy)R(xz) สาหรับทุกจานวนเต็มบวก w, x, y
และ z
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 พ.ย. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

26) ให้ S เป็นเซตของคู่อันดับ (a, b) ทั้งหมด โดยที่ a, b เป็นจานวนเต็มบวกที่ 28) นิยาม S x S x S = (a, b, c)  a, b, c  S เมื่อ S เป็นเซตใดๆ
สอดคล้องกับ 1  1  1 จานวนสมาชิกของเซต S เท่ากับเท่าใด กาหนดให้ S = {1, 2, 3, 4, 5} จงหาจานวนสมาชิก (a, b, c) ในเซต S x S x S
a b 10 c
(PAT 1 ต.ค. 58) ทั้งหมด โดยที่ (3  a )(b ) หารด้วย 4 ลงตัว (PAT 1 มี.ค. 59)

Page 40
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) กาหนดให้ a, b และ c เป็นจานวนเต็ม โดยที่ 0  c  a  b และ
a + 2b + 3c = 32 ถ้า c เป็นจานวนคู่ และ 10 หาร b ลงตัว แล้วค่าของ
4a + 5b + 6c เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.พ. 61)

เฉลยคาตอบ
1) 3 2) 14 3) 3 4) 2 5) 400
6) 2 7) 2 8) 3 9) 675 10) 4
11) 4 12) 1800 13) 200 14) 2 15) 2
16) 4 17) 30 18) 37 19) 1 20) 234
21) 343 22) 2 23) 4 24) 384 25) 3
26) 4 27) 429 28) 70 29) 86

Page 41
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 6 เรขาคณิตวิเคราะห์
1) จุด A(-3, 1) B(1, 5) C(8, 3) และ D(2, -3) เป็นจุดยอดของรูปสี่เหลี่ยม ABCD 3) รูปสามเหลี่ยม ABC มีมุม A Bˆ C เป็นมุมฉาก และด้านตรงข้ามมุมฉากยาว 10
ข้อใดต่อไปนี้ผิด (PAT 1 มี.ค. 53) หน่วย ถ้าพิกัดของจุด A และ จุด B คือ (-4, 3) และ (-1, 2) ตามลาดับ แล้ว
1. ด้าน AB ขนานกับ DC สมการเส้นตรงในข้อใดผ่านจุด C (PAT 1 ก.ค. 53)
2. ผลบวกความยาวของด้าน AB กับ DC เท่ากับ 10 2 หน่วย 1. x + 8y - 27 = 0
3. ระยะตั้งฉากจากจุด A ไปยังเส้นตรงที่ผ่านจุด C และจุด D มีค่าเท่ากับ 2. 8x + y - 27 = 0
9 2 หน่วย 3. 4x - 5y + 3 = 0
2 4. -5x + 4y + 3 = 0
4. ระยะตั้งฉากจากจุด B ไปยังเส้นตรงที่ผ่านจุด C และจุด D มีค่าเท่ากับ
9 หน่วย
2

2) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มี A(0, 0) และ B(2, 2) เป็นจุดยอด และ 4) กาหนดให้ ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีจุดยอดเป็น A(-2, 3) B(2, 8) C(4, 4) และ
C(x, y) เป็นจุดยอดในจตุภาค (quadrant) ที่ 2 ที่ทาให้ด้าน AC ยาวเท่ากับด้าน D(0, -3) พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ABCD เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 53)
BC ถ้าพื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC มีค่าเท่ากับ 4 ตาราหน่วย แล้วจุด C อยู่บน 1. 16 ตารางหน่วย
เส้นตรงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53) 2. 32 ตารางหน่วย
1. x - y + 4 = 0 3. 10 1 3 ตารางหน่วย
2. 4x + 3y - 1 = 0 4. 26 1 0 ตารางหน่วย
3. 2x - y - 3 = 0
4. x + y - 5 = 0

Page 42
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) จุด A(1, 0) และ จุด B(b, 0) เมื่อ b  1 เป็นจุดปลายของเส้นผ่านศูนย์กลางของ 7) ถ้าวงกลมวงหนึ่งมีจุดศูนย์กลางคือ C(h, k) อยู่บนเส้นตรง x + y + 4 = 0 และ
วงกลมวงหนึ่ง ถ้าเส้นตรง L ผ่านจุด (-1, 0) และสัมผัสกับวงกลมวงนี้ มีความชัน วงกลมนี้ผ่านจุด A(-5, -2) และ จุด B(-2, 5) แล้วพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC
เท่ากับ 4 แล้ว b เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 53) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55)
3

6) กาหนดให้ a  tan60 และ A(a, 3), B(7, 8) และ C(-4, 9) เป็นจุดยอดของรูป 8) ให้ L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด (0, 1) และตั้งฉากกับเส้นตรง x + 2y = 6 พื้นที่ของ
สามเหลี่ยมที่มีมุม A เป็นมุมฉาก ให้ L เป็นสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด A และ จุด B บริเวณในควอดรันต์(quadrant) ที่ 1 ซึ่งล้อมรอบด้วย แกน x แกน y เส้นตรง L
จงหาจานวนเต็มบวก k ที่น้อยที่สุดที่ทาให้พาราโบลา ky = x2 + 2k มีจุดร่วมกับ เส้นตรง x + 2y = 6 เท่ากับกี่ตารางหน่วย (PAT 1 ต.ค. 55)
เส้นตรง L เพียงจุดเดียว (PAT 1 มี.ค. 54)

Page 43
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) ให้ A เป็นจุดตัดของเส้นตรง x - 3y + 1 = 0 และ 2x + 5y - 9 = 0 ถ้าเส้นตรง L 11) กาหนดให้เส้นตรง L ผ่านจุด A(2,0) และ จุด B(-4,8) ให้เส้นตรง M ผ่านจุด
มีความชันเท่ากับ m เมื่อ m  0 มีระยะห่างจากจุดกาเนิด (0, 0) เท่ากับ k หน่วย C(-a,0) เมื่อ a  0 ถ้าระยะระหว่างจุด C กับเส้นตรง L เท่ากับ 48 หน่วย แล้ว
โดยที่ k2 + 2m = 1 และผ่านจุด A แล้วสมการของเส้นตรง L กับข้อใดต่อไปนี้ 5
(PAT 1 เม.ย. 57) ระยะห่างระหว่างจุดกาเนิด (0,0) กับเส้นตรง M เท่ากับ ข้อใดต่อไปนี้
1. 2x + y - 5 = 0 (PAT 1 มี.ค. 60)
2. 3x + y - 7 = 0 1. 7 หน่วย
3. x + 2y - 4 = 0 2. 8 หน่วย
4. x + 3y - 5 = 0 3. 10.5 หน่วย
4. 13.5 หน่วย
5. 15 หน่วย

10) กาหนดให้ L1 เป็นเส้นตรงผ่านจุด (-2, -4) มีความชันเป็นจานวนเต็มบวก และตัด 12) ให้จุด A เป็นจุดบนเส้นตรง 3x + y + 4 = 0 โดยที่จุด A ห่างจากจุด (-5,6) และ
แกน X และแกน Y ที่จุด A และจุด B ตามลาดับ โดยผลบวกของระยะตัดแกน X จุด (3,2) เป็นระยะเท่ากัน ให้ L1 และ L2 เป็นเส้นตรงสองเส้นที่ต่างกันและขนานกับ
และระยะตัดแกน Y เท่ากับ 3 หน่วย ให้ L2 เป็นเส้นตรงที่ขนานกับเส้นตรง L1 และ เส้นตรง 5x + 12y = 0 ถ้าจุด A อยู่ห่างจากเส้นตรง L1 และ L2 เป็นระยะเท่ากับ 2
ผ่านจุด (0, -13) ถ้า C เป็นจุดบนเส้นตรง L2 โดยที่ CA = CB แล้วพื้นที่ของรูป หน่วย แล้วผลบวกของระยะตัดแกน x ของเส้นตรง L1 และ L2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
สามเหลี่ยม ABC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 พ.ย. 57) (PAT 1 ก.พ. 61)
1. 8.5 ตารางหน่วย 1. -5.6
2. 7.5 ตารางหน่วย 2. -2.8
3. 6.5 ตารางหน่วย 3. 2.8
4. 5.5 ตารางหน่วย 4. 5.6
5. 8.4

Page 44
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
เฉลยคาตอบ
1) 4 2) 1 3) 2 4) 2 5) 17
6) 4 7) 14.5 8) 8.2 9) 1 10) 1
11) 2 12) 4

Page 45
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 7 ภาคตัดกรวย
1) วงกลมวงหนึ่งมีจุดศูนย์กลาง อยู่ที่จุดศูนย์กลางของวงรีที่มีสมการเป็น 3) ถ้า k, l และ m เป็นจานวนจริงที่ทาให้วงรี kx2 + ly2 - 72x - 24y + m = 0 มีจุด
9x2 + 4y2 - 36x - 24y + 36 = 0 ศูนย์กลางอยู่ที่จุด (4,3) และสัมผัสแกน Y แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ผิด (A-Net 2550)
ถ้าวงกลมนี้สัมผัสกับเส้นตรงที่ผ่านจุด (1,3) และ (5,0) แล้ว รัศมีของวงกลมวงนี้ 1. ความยาวแกนเอกเท่ากับ 12 หน่วย
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2549) 2. ความยาวแกนโทเท่ากับ 8 หน่วย
3. ระยะห่างระหว่างจุดโฟกัสทั้งสองเท่ากับ 4 5 หน่วย
1. 3
5 4. จุด (2,6) อยู่บนวงรี
2. 4
5
3. 7
8
4. 9
13

4) วงกลม C มีจุดศูนย์กลางที่จุดกาเนิด และผ่านจุดโฟกัสของพาราโบลาซึ่งมีสมการ


2) กาหนดให้ H เป็นไฮเพอร์โบลาที่มีสมการเป็น 16x2 - 9y2 - 144 = 0 ถ้าจุด เป็น (x - 2)2 = 8y โดยเส้นไดเรกตริกซ์ของพาราโบลาตัดวงกลม C ที่จุด P และจุด
A(6,k) เมื่อ k  0 เป็นจุดอยู่บนเส้นกากับของ H และ F1, F2 เป็นโฟกัสของ H Q ถ้าจุด R อยู่บนพาราโบลาและอยู่ห่างจากจุดโฟกัสเป็นระยะทาง 4 หน่วย แล้ว
แล้ว พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม AF1F2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2549) สามเหลี่ยม PQR มีพื้นที่เท่ากับข้อใด (A-Net 2550)
1. 3 7 ตารางหน่วย 1. 8 หน่วย
2 2. 9 หน่วย
2. 4 5 ตารางหน่วย
2 3. 10 หน่วย
3. 30 ตารางหน่วย 4. 12 หน่วย
4. 40 ตารางหน่วย

Page 46
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) ถ้าเส้นกากับของไฮเพอร์โบลา 16x2 - 9y2 + 32x + 36y = 164 ตัดแกน X ที่จุด 7) ให้ A และ B เป็นจุดยอดของไฮเพอร์โบลา 4x2 - y2 - 24x + 6y + 11 = 0
x1, x2 แล้ว ระยะระหว่าง x1, x2 ยาวกี่หน่วย (A-Net 2550) สมการขอพาราโบลาที่มี A B เป็นเลตัสเรกตัม และมีกราฟอยู่เหนือแกน X คือ
สมการในข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2551)
1. (x - 3)2 = 4(y - 2)
2. (x - 3)2 = 8(y - 1)
3. (x - 2)2 = 4(y - 2)
4. (x - 2)2 = 8(y - 1)

6) กาหนดให้ A = (x,y)  x2 + y2  1 8) ให้ E เป็นวงรีที่มีแกนเอกขนานกับแกน X, มีจุดศูนย์กลางที่ (-2,1), สัมผัสเส้นตรง


B = (x,y)  4x2 + 9y2  1 x = 1 และ y = 3 โดยมี F1 และ F2 เป็นจุดโฟกัสของ E ให้ C เป็นวงกลมที่มี
C = (x,y)  y2 - x2  1 F1F2 เป็นเส้นผ่านศูนย์กลาง ถ้าวงรี E ตัดวงกลม C ที่จุด P, Q, R และ S แล้ว
ข้อใดต่อไปนี้ผิด (A-Net 2551) พื้นที่รูปสี่เหลี่ยม PQRS มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2551)
1. A - B = A 1. 1 2 ตารางหน่วย
2. B - C = B 5
3. B  (A  C) =  2. 2 4 ตารางหน่วย
5
4. A  (B  C) = 
3. 36 ตารางหน่วย
5
4. 48 ตารางหน่วย
5

Page 47
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) กาหนดให้ F1 และ F2 เป็นจุดบนแกน X และ R เป็นจุดบนแกน Y ที่ทาให้ F1F2R 11) กาหนดให้ A = a  เส้นตรง y = ax ไม่ตัดกราฟ y2 = 1 + x2
เป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ถ้าพาราโบลาซึ่งมีจุดยอดอยู่ที่ R และผ่านจุด F1 และ และ B = b  เส้นตรง y = x + b ตัดกราฟ y2 = 1 - x2 สองจุด
F2 มีความยาวเลตัสเรกตัมเท่ากับ 1 หน่วย แล้ว วงรีซึ่งมีจุด F1 และ F2 เป็นจุด เซต d  d = c2, c  B - A เท่ากับช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52)
โฟกัส และผ่านจุด R จะผ่านจุดในข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552) 1. (0,1)
1. (  3 2 ,1) 2. (0,2)
3 3. (1,2)
2. (1, 2 )3
4. (0,4)
3
3. ( ,1)5
3
4. (1,  5 )
3

10) กาหนดให้ C คือวงกลม x2 + y2 - 4x - 6y + 9 = 0 และ P เป็นพาราโบลาซึ่งมี 12) ถ้าเส้นตรงหนึ่งผ่านจุดกาเนิดและจุดยอดของพาราโบลา y2 - 4y + 4x = 0 และตัด


จุดยอดอยู่ที่จุดศูนย์กลางของวงกลม C และมีแกน Y เป็นเส้นไดเรกตริกซ์ ข้อใด เส้นไดเรกตริกซ์ที่จุด (a,b) แล้ว a + b มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52)
ต่อไปนี้คือสมการของ P (A-Net 2552) 1. 4
1. y2 - 4y - 8x + 28 = 0 2. 5
2. y2 - 4y - 8x - 20 = 0 3. 6
3. y2 + 6y - 8x - 7 = 0 4. 7
4. y2 - 6y - 8x + 25 = 0

Page 48
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) กาหนดให้วงกลมรูปหนึ่งมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (2,1) ถ้าเส้นสัมผัสวงกลมที่จุด 15) กาหนดให้เส้นตรง l1 และ l2 สัมผัสวงกลม (x - 5)2 + y2 = 20 ที่จุด P และ Q
x = 1 เส้นหนึ่งมีความชันเท่ากับ 1 แล้ว จุดในข้อใดต่อไปนี้อยู่บนวงกลมที่ ตามลาดับ และจุดศูนย์กลางของวงกลมอยู่บนเส้นตรงที่ผ่านจุด P และ Q ถ้า l1 มี
3 สมการเป็น x - 2y + 5 = 0 แล้วจุดในข้อใดต่อไปนี้อยู่บนเส้นตรง l2
กาหนด (PAT 1 มี.ค. 52) (PAT 1 ก.ค. 52)
1. (0,1)
2. (0,2)  
1. 0, 5
2
3. (1,0) 2. (8,-1)
4. (3,0) 3. (1,-8)
4. (15,0)

 
14) กาหนดให้ วงรีรูปหนึ่งมีโฟกัสอยู่ที่จุด (3,0) และผ่านจุด 2, 2 1 จุดในข้อใด
2
16) กาหนดให้ S = (x,y)  x2 + y2  17
A = (x,y)  x2 - y2 = 1
ต่อไปนี้อยู่บนวงรีที่กาหนด (PAT 1 มี.ค. 52)
B = (x,y)  y2 - x2 = 1
1. (-4,0)
ถ้า p  S  A และ q  S  B แล้วระยะทางน้อยสุดที่เป็นไปได้ระหว่างจุด p

2. 0, 5 2
2  และ q เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
3. (6,0) 1. 3 2  4
4. (0,  3 2 ) 2. 3 2  2
3. 2 3  2
4. 2 3  3

Page 49
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) ระยะทางจากโฟกัสของพาราโบลา y2 = -8x ไปยังเส้นตรง 2x + y = 6 เท่ากับข้อใด 19) กาหนดให้ S = [-2,2] และ r = (x,y)  S  S  x2 + 2y2 = 2 ช่วงในข้อใด
ต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52) ต่อไปนี้ไม่เป็นสับเซตของ Dr - Rr (PAT 1 ต.ค. 52)
1. 2 5 หน่วย 1. (-1,4, -1.3)
2. 5 2 หน่วย 2. (-1.3, -1.2)
2 หน่วย 3. (1.2, 1.4)
3.
5 4. (1.4, 1.5)
4. 2 หน่วย
5

18) กาหนดให้วงรี E มีโฟกัสทั้งสองอยู่บนวงกลม C ซึ่งมีสมการเป็น x2 + y2 = 1 ถ้า 20) กาหนดให้ A = (x,y)  x2 + y2 = 1 และ


E สัมผัสกับ C ที่จุด (1,0) แล้วจุดในข้อใดต่อไปนี้อยู่บน E (PAT 1 ก.ค. 52) B = (x,y)  x2 + y2 - 10x - 10y + 49 = 0
1. 1, 3
2 2  ถ้า p  A และ q  B แล้ว ระยะทางมากสุดที่เป็นไปได้ระหว่างจุด p และ q
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 52)
2. 1, 5
2 2  1. 5 2 หน่วย
2. 2  5 2 หน่วย
3. 1, 2
3 3  3. 2 5 หน่วย
4. 1, 4
3 3  4. 5  2 5 หน่วย

Page 50
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) กาหนดให้ E เป็นวงรีที่มีโฟกัสอยู่ที่จุดยอดของไฮเพอร์โบลา x2 - y2 = 1 23) พาราโบลามีจุดยอดที่ (-1,0) และมีจุดกาเนิดเป็นโฟกัส ถ้าเส้นตรง y = x ตัด
ถ้า E ผ่านจุด (0,1) แล้ว จุดในข้อใดต่อไปนี้อยู่บน E (PAT 1 ต.ค. 52) พาราโบลาที่จุด P และ จุด Q แล้วระยะทางระหว่างจุด P กับจุด Q เท่ากับเท่าใด
1. (1,  2 ) (PAT 1 ต.ค. 52)
2
2. (1, 2 )
3. (1,  1 )
2
4. (1, ) 3
2

22) ให้ a, b และ c เป็นจานวนจริง ถ้าวงกลม x2 + y2 + ax + by + c = 0 มี 24) กาหนดให้วงรีรูปหนึ่งมีสมการเป็น 25x2 + 21y2 + 100x - 42y - 404 = 0 แล้ว
จุดศูนย์กลางที่ (2,1) และมีเส้นตรง x - y + 2 = 0 เป็นเส้นสัมผัสวงกลม แล้ว ไฮเพอร์โบลาที่มีจุดยอดอยู่ที่จุดโฟกัสทั้งสองของวงรีและผ่านจุด (-3, 1  8 ) มี
a + b + c เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52) สมการตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53)
1. 5y2 - 4x2 - 10 8 y - 32x - 25 = 0
2. 3y2 - 2x2 - 6 8 y - 8x + 15 = 0
3. y2 - 4x2 - 2y - 16x - 19 = 0
4. y2 - 7x2 - 2y - 28x - 28 = 0

Page 51
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) กาหนดวงกลมรูปหนึ่งมีจุดปลายของเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่บนจุดศูนย์กลางและจุด 27) ให้เส้นตรง x - y + 2 = 0 ตัดกับวงกลม x2 + y2 + 6x - 4y + 4 = 0 ที่จุด A และ
โฟกัสด้านหนึ่งของไฮเพอร์โบลา 9x2 - 16y2 - 90x + 64y + 17 = 0 แล้ววงกลม จุด B ถ้า (a,b) เป็นจุดโฟกัสของพาราโบลาซึ่งมีเส้นตรง y = 2 เป็นแกนของ
ดังกล่าวมีพื้นที่เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 53) พาราโบลานี้ผ่านจุด A และ จุด B แล้ว a + b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 5  ตารางหน่วย (PAT 1 มี.ค. 54)
4
1. 1 1
2. 2 5  ตารางหน่วย 4
2 9
2.
3. 4 ตารางหน่วย 4
4. 5 ตารางหน่วย 3. 7
4
4. 5
4

26) พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 28) พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. x2 + y2 + 6x - 4y = 23 เป็นสมการวงกลมที่สัมผัสกับเส้นตรงซึ่ง (ก) ไฮเพอร์โบลา 4x2 - 25y2 + 24x - 100y - 164 = 0 มีจุดยอดอยู่ที่จุด
มีสมการเป็น 21x + 20y + 168 = 0 ยอดของวงรี 4x2 + 25y2 + 24x + 100y + 36 = 0 และมีแกนสังยุคยาว
ข. y2 + 16x - 6y = 71 เป็นสมการของพาราโบลาที่มีจุดยอดที่ (-5, 3) และ เท่ากับแกนโทของวงรี
จุดโฟกัสที่ (-1,3) (ข) วงรี 4x2 + 25y2 + 24x + 100y + 36 = 0 มีจุดยอดจุดหนึ่งอยู่บน
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 53) พาราโบลา y2 + 4y - 4x + 12 = 0
1. ก. ถูก และ ข. ถูก ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 54)
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
4. ก. ผิด และ ข. ผิด 3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 52
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) ให้ P เป็นจุดบนวงกลม x2 + y2 + 2x - 4y - 15 = 0 ที่อยู่ใกล้จุด A(1,3) มาก 31) กาหนดให้ M(a,b) เป็นจุดกึ่งกลางของเส้นตรงที่เชื่อมจุดตัดไฮเพอร์โบลา xy = 6
ที่สุด จงหาระยะระหว่างจุด P กับเส้นตรง 3y - 4x + 15 (PAT 1 ธ.ค. 54) กับเส้นตรง x - y - 1 = 0 จงหาระยะระหว่างจุด M กับเส้นตรง
1. 3 6x - 8y + 13 = 0 (PAT 1 ธ.ค. 54)
2. 3.2
3. 3.4
4. 3.5

30) กาหนดให้พาราโบลามีจุดยอดที่ (-3,-2) ผ่านจุดโฟกัสของไฮเพอร์โบลา 32) วงรีที่มีแกนเอกอยู่บนแกน x แกนโทอยู่บนแกน y ระยะระหว่างจุดโฟกัสทั้งสอง


5x2 - 4y2 - 16y + 4 = 0 จงหาสมการไดเรคตริกซ์ของพาราโบลา เท่ากับ 12 หน่วย ถ้าความยาวของคอร์ดที่ผ่านจุดโฟกัสหนึ่งและตั้งฉากกับแกนเอก
(PAT 1 ธ.ค. 54) ของวงรี เท่ากับ 10 หน่วย แล้วสมการของวงรี คือข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 55)
1. 4y + 15 = 0 1. 5x2 + 9y2 = 405
2. 4y + 9 = 0 2. 9x2 + 5y2 = 81
3. 4x + 9 = 0 3. 5x2 + 9y2 = 225
4. 4x + 15 = 0 4. 9x2 + 5y2 = 20

Page 53
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) พาราโบลาที่มีจุดโฟกัส F อยู่ที่จุดศูนย์กลางของวงกลม x2 + y2 - 6x + 4y + 4 = 0 35) ให้พาราโบลา P มีสมการเป็น y2 - 2y + 6x + 4 = 0 ถ้าวงกลมวงหนึ่งผ่านจุด
และมีจุดยอด V อยู่ที่จุดตัดของวงกลมกับแกน y ถ้า A และ B เป็นจุดบน โฟกัสของพาราโบลา P และสัมผัสกับเส้นตรง 3x - 2y - 6 = 0 ณ จุด (4,3) แล้ว
พาราโบลาซึ่งส่วนของเส้นตรง A B ผ่านจุดโฟกัส F และตั้งฉากกับแกนของ สมการของวงกลมตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 56)
พาราโบลา แล้วพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม VAB เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 55) 1. 7x2 + 7y2 - 4x - 82y - 55 = 0
1. 9 ตารางหน่วย 2. 7x2 + 7y2 + 4x + 82y + 55 = 0
2. 12 ตารางหน่วย 3. 7x2 + 7y2 - 4x + 82y - 55 = 0
3. 18 ตารางหน่วย 4. 7x2 + 7y2 + 4x - 82y + 55 = 0
4. 36 ตารางหน่วย

34) แกนเอกของวงรีเป็นส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดตัดของวงกลม x2 + y2 = 25 36) กาหนดให้ 9x2 - 16y2 - 18x + 64y - 199 = 0 เป็นสมการของไฮเพอร์โบลา ถ้า
กับวงกลม x2 + y2 + 6y - 7 = 0 และโฟกัสจุดหนึ่งของวงรีอยู่บนเส้นตรง พาราโบลารูปหนึ่งมีแกนสมมาตรขนานแกน y ตัดแกน x ที่จุด (1,0) และผ่านจุด
x + 2 3 = 0 สมการของวงรีตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 55) ยอดทั้งสองของไฮเพอร์โบลาที่กาหนดให้ แล้วจุดในข้อใดต่อไปนี้ไม่อยู่บนพาราโบลา
1. x2 + 4y2 - 8x = 0 (PAT 1 มี.ค. 56)
2. x2 + 4y2 + 24y + 20 = 0 1. (2, 1 )
3. 4x2 + y2 + 6y - 7 = 0 8
4. 4x2 + y2 - 32x + 48 = 0 2. (  1, 1 )
2
3. (3, 1 )
2
4. (4, 1 )
4

Page 54
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
37) กาหนดให้วงรีมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ (0,0) และมีโฟกัส F1 และ F2 อยู่บนแกน x จุด 39) กาหนดให้ไฮเพอร์โบลารูปหนึ่งมีสมการเป็น x2 - y2 - 2x = 0 ถ้าพาราโบลามี
A(4,1) เป็นจุดบนวงรีโดยที่ผลบวกระยะทางจากจุด A(4,1) ไปยังจุดโฟกัสทั้งสองมี โฟกัสเป็นจุดกึ่งกลางของส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดตัดของเส้นตรง y = 2x
ค่าเท่ากับ 6 2 ให้เส้นตรง L ตัดแกน x ที่จุด (4.5,0) และสัมผัสกับวงรีที่จุด กับเส้นกากับของไฮเพอร์โบลา และมีเส้นไดเรกตริกซ์เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุดยอดทั้ง
A(4,1) ถ้า d เป็นระยะห่างระหว่างจุด (0,0) กับเส้นตรง L แล้ว ค่าของ สองของไฮเพอร์โบลา แล้วสมการของพาราโบลาคือข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 57)
d2AF1AF2 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56) 1. 9x2 + 12x + 12y - 3 = 0
2. 9x2 + 12x + 12y + 8 = 0
3. 9x2 + 6x - 12y - 3 = 0
4. 9x2 + 6x + 12y + 5 = 0

y
38) กาหนดให้ L เป็นเส้นตรงมีสมการเป็น x   1 เมื่อ a, b  0 และให้ C1 40) ให้ F เป็นโฟกัสของพาราโบลา 4y = x2 - 6x + 13 ถ้าไฮเพอร์โบลารูปหนึ่งมีสมบัติ
a b
ดังนี้ (ก) แกนตามขวางขนานแกน y
และ C2 เป็นวงกลมสองวงที่ต่างกัน โดยที่มีรัศมีเท่ากันและวงกลมทั้งสองวงต่าง
(ข) จุดศูนย์กลางของไฮเพอร์โบลาอยู่ที่ F
สัมผัสกับเส้นตรง L ที่จุดเดียวกัน ถ้าวงกลม C1 มีจุดศูนย์กลางที่จุด (0,0) แล้ว
สมการของวงกลม C2 คือข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 57) (ค) โฟกัสหนึ่งของไฮเพอร์โบลาคือ (3, 2  2 1 3 )
1. (a2 + b2)2(x2 + y2) - 4ab(a2 + b2)(bx+ ay) + 3a2b2 = 0 (ง) แกนสังยุคยาว 12 หน่วย
2. (a2 + b2)(x2 + y2) - 4ab(bx + ay) + 3a2b2 = 0 แล้วไฮเพอร์โบลารูปนี้มีสมการตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 เม.ย. 57)
3. (a2 + b2)2(x2 + y2) - 4ab(a2 + b2)(bx+ ay) + 5a2b2 = 0 1. 4x2 - 9y2 - 24x + 36y + 144 = 0
4. (a2 + b2)(x2 + y2) - 4ab(bx + ay) + 5a2b2 = 0 2. 4x2 - 9y2 - 24x + 36y - 36 = 0
3. 9y2 - 4x2 + 24x + 36y - 144 = 0
4. 9y2 - 4x2 + 24x + 36y + 36 = 0

Page 55
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
41) กาหนดให้วงรีรูปหนึ่งมีสมการเป็น x2 + Ay2 + Bx + Cy - 92 = 0 โดยที่มีจุด 43) ให้ C เป็นวงกลมมีสมการ x2 + y2 + Dx + Ey + F = 0 มีจุดศูนย์กลางอยู่ใน
ศูนย์กลางอยู่ที่ (2,1) และแกนเอกยาวเป็น 2 เท่าของแกนโท ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ควอดรันต์ (quadrant) ที่ 1 และวงกลม C สัมผัสแกน y ให้ P เป็นพาราโบลามี
(PAT 1 เม.ย. 57) สมการ Dx = y2 + Ey + F ผ่านจุด (-4,-1) และระยะระหว่างจุดยอดกับโฟกัส
1. A + B + C = 0 เท่ากับ 1 หน่วย พิจารณาข้อความต่อไปนี้
2. ความเยื้องศูนย์กลางของวงรีเท่ากับ 3 (ก) D2 + E2 + F2 = 133
5 (ข) เส้นตรง 4x + 3y - 7 = 0 สัมผัสกับวงกลม C
3. วงรีมีจุดศูนย์กลางร่วมกับจุดศูนย์กลางของวงกลม x2 + y2 - 4x - 2y - 20 = 0 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 พ.ย. 57)
และแกนเอกยาวเท่ากับรัศมีของวงกลม 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
4. ผลบวกของระยะทางจากจุด (2,6) ไปยังโฟกัสทั้งสองของวงรีเท่ากับ 20 หน่วย 2. (ก) ถูก แต่(ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่(ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

42) กาหนดให้ y2 - 2x2 + 8x - 6 = 0 เป็นสมการของไฮเพอร์โบลา ให้เส้นตรง 44) กาหนดให้ 16y2 - 9x2 + 36x + 32y + 124 = 0 เป็นสมการของไฮเพอร์โบลา ให้
y = 2 ตัดกับเส้นกากับของไฮเพอร์โบลาที่จุด A และจุด B เมื่อจุด B อยู่ทาง L เป็นเส้นตรงผ่านจุด (0,0) และจุดศูนย์กลางของไฮเพอร์โบลานี้ ผลบวกของระยะ
ขวามือของจุด A และเส้นตรง y = 2 ตัดกับกราฟ ไฮเพอร์โบลาที่จุด P และจุด จากโฟกัสทั้งสองไปยังเส้นตรง L เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 58)
Q เมื่อจุด Q อยู่ทางขวามือของจุด P สมการของวงรีที่มีจุดยอดอยู่ที่จุด P และจุด 1. 2 5
Q โฟกัสของวงรีอยู่ที่จุด A และจุด B มีสมการตรงกับข้อใดต่อไปนี้ 2. 3 5
(PAT 1 พ.ย. 57) 3. 4 5
1. 2x2 + y2 - 8x + 4 2 y - 4 = 0 4. 5 5
2. 2x2 + y2 - 8x - 2 2 y + 8 = 0
3. x2 + 2y2 - 4x - 4 2 y + 6 = 0
4. x2 + 2y2 + 4x + 4 2 y + 6 = 0

Page 56
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
45) ถ้าจุด (a,b) เป็นจุดบนเส้นตรง 2y - x + 6 = 0 ที่อยู่ใกล้จุด (3,1) มากที่สุด 47) ให้วงกลม C มีสมการเป็น x2 + y2 + ax - 6y - 12 = 0 เมื่อ a  0 โดยระยะทาง
วงกลมที่มีจุด (a,b) เป็นจุดศูนย์กลางและสัมผัสแกน x ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ จากจุดศูนย์กลางของวงกลม C ไปยังเส้นตรง 4x + 3y = 71 เท่ากับ 14 หน่วย ถ้า
(PAT 1 มี.ค. 58) พาราโบลารูปหนึ่ง มีโฟกัสอยู่ที่จุดศูนย์กลางของวงกลม C และมี y = 7 เป็น
1. x2 + y2 - 8x + 2y + 16 = 0 ไดเรกตริกซ์ แล้วสมการของพาราโบลารูปนี้ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 58)
2. x2 + y2 - 8x + 2y + 1 = 0 1. x2 - 4x + 4y - 16 = 0
3. x2 + y2 - 4x + 2y + 16 = 0 2. x2 + 4x + 4y - 16 = 0
4. x2 + y2 - 4x + 2y + 1 = 0 3. x2 + 4x - 4y + 20 = 0
4. x2 + 4x + 8y + 44 = 0
5. x2 + 4x + 8y - 36 = 0

46) กาหนดให้วงรีรูปหนึ่ง ผ่านจุด (8,0) มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ (4,-1) และโฟกัสจุดหนึ่ง 48) ให้พาราโบลารูปหนึ่ง มีสมการเป็น y2 - 4y + 40x - 236 = 0 โดยมี V และ F
อยู่ที่ (1,-1) ถ้าพาราโบลารูปหนึ่งมีโฟกัสอยู่ที่จุดปลายของแกนโทของวงรีใน เป็นจุดยอด และโฟกัสของพาราโบลาตามลาดับ ถ้าวงรีรูปหนึ่ง ผ่านจุด (4,6) และมี
ควอดรันต์(quardrant) ที่ 1 และมีเส้นไดเรกตริกซ์ทับกับแกนเอกของวงรี แล้ว โฟกัสอยู่ที่ V และ F แล้วสมการของวงรีรูปนี้ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 58)
สมการของพาราโบลารูปนี้ตรงกับสมการในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 58) 1. 4x2 + 9y2 + 8x - 36y + 140 = 0
1. x2 - 8x + 4y + 13 = 0 2. 4x2 + 9y2 + 8x + 36y - 140 = 0
2. x2 - 8x - 4y + 20 = 0 3. 4x2 + 9y2 - 8x - 36y - 140 = 0
3. x2 - 8x + 6y - 12 = 0 4. 9x2 + 4y2 - 36x - 8y - 180 = 0
4. x2 - 8x - 6y + 19 = 0 5. 9x2 + 4y2 + 36x - 8y + 180 = 0

Page 57
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
49) ถ้า Ax2 + By2 + Dx + Ey = 21 เป็นสมการของไฮเพอร์โบลารูปหนึ่งมีแกนตาม 51) กาหนดให้ P เป็นพาราโบลารูปหนึ่งมีสมการเป็น x2 + 4x + 3y - 5 = 0 และ
ขวางขนานแกน x มีเส้นตรง 2x - y + 1 = 0 เป็นเส้นกากับ(asymtote) เส้นหนึ่ง พาราโบลา P ตัดแกน x ที่จุด A และ จุด B ถ้า E เป็นวงรีที่มีจุดยอดอยู่ที่จุด A
และมีจุด (1  2 5 , 3) เป็นโฟกัสจุดหนึ่ง แล้วค่าของ A2 + B2 + D2 + E2 เท่ากับ และ จุด B และผลบวกของระยะทางจากจุดยอดของพาราโบลา P ไปยังโฟกัสทั้ง
เท่าใด (PAT 1 ต.ค. 58) สองของวงรี E เท่ากับ 2 1 3 หน่วย แล้วสมการวงรี E ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
(PAT 1 มี.ค. 59)
1. x2 + 4x + 9y2 = 5
2. 3x2 + 12x + 5y2 = 15
3. 5x2 + 20x + 9y2 + 25
4. 6x2 + 24x + 25y2 + 30
5. 9x2 + 36x + 16y2 = 45

50) ให้ C เป็นวงกลมมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด A เส้นตรง 3x + 4y = 35 สัมผัสวงกลมที่ 52) ถ้าพาราโบลารูปหนึ่ง มีแกนสมมาตรทับกับแกน y และผ่านจุดปลายของส่วนของ


จุด (5,5) ถ้าไฮเพอร์โบลารูปหนึ่ง มีแกนตามขวางขนานกับแกน y มีจุดศูนย์กลาง เส้นตรง 2x + 3y - 6 = 0 เมื่อ x สอดคล้องกับสมการ
อยู่ที่จุด A ระยะระหว่างจุดศูนย์กลางกับโฟกัสจุดหนึ่งเป็นสองเท่าของรัศมีของ x 2  x  3  x  x  3  0 แล้วความยาวของเลตัสเรกตัมของพาราโบลา
วงกลม C และเส้นตรง 3x - 4y = 2 เป็นเส้นกากับเส้นหนึ่ง แล้วสมการ
เท่ากับข้อใด่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 59)
ไฮเพอร์โบลารูปนี้ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 59)
1. 9x2 - 16y2 + 32x + 36y + 596 = 0 1. 8
9
2. 9x2 - 16y2 - 32x - 36y + 596 = 0
2. 9
3. 9x2 - 16y2 + 32x + 36y - 596 = 0 4
4. 9x2 - 16y2 - 36x - 32y + 596 = 0 3. 9
5. 9x2 - 16y2 - 36x + 32y + 596 = 0 2
4. 9
10. 18

Page 58
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
53) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ 55) ให้ P เป็นพาราโบลารูปหนึ่ง มีโฟกัสอยู่บนเส้นตรง x + 2y = 4 และสมการของ
r1 = (x,y)  R  R  y  0 และ x2 - y2 - 2x + 4y  3 และ แกนสมมาตรคือ y = 3 ถ้า P มีเส้นไดเรกตริกซ์เป็นเส้นตรงเดียวกันกับเส้น
r2 = (x,y)  R  R  y  0 และ x2 + y2 - 2x  33 ไดเรกตริกซ์ของพาราโบลา y2 + 8y – 24x + 16 = 0 แล้วพาราโบลา P
ถ้าโดเมนของเซต r1  r2 คือช่วงปิด [a,b] เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง โดยที่ ผ่านจุดในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60)
a  b แล้วค่าของ a2 + b2 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 59) 1. (-7 , 1)
2. (-4 , 0)
3. (1 , -1)
4. (2 , -4)
5. (4 , -5)

54) ให้ C เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม x2 + y2 – 2ky = 0 เมื่อ k > 0 ให้ T 56) ให้ E เป็นวงรีรูปหนึ่งมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (1, -2) และโฟกัสทั้งสองอยู่บนเส้นตรง
เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด A(-5 , 4) และสัมผัสวงกลมที่จุด B โดยระยะทางระหว่างจุด ที่ขนานกับแกน x ถ้า (4, 0) เป็นจุดบน E และผลบวกของระยะทางจากจุด (4, 0)
A และจุด B เท่ากับ 1 หน่วย ถ้า H เป็นไฮเพอร์โบลามีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด C ไปยังจุดโฟกัสทั้งสองเท่ากับ 8 หน่วย แล้ววงรี E ผ่านจุดในข้อใดต่อไปนี้
แกนสังยุคยาว 2k หน่วย และขนานกับแกน x และเส้นกากับเส้นหนึ่งผ่านจุด A (PAT 1 ก.พ. 61)
และจุด C แล้วสมการของไฮเพอร์โบลา H ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ 1. (4, 2)
(PAT 1 มี.ค. 60) 2. (2, 4)
1. x2 – 25y2 + 250y – 600 = 0 3. (2, -4)
2. x2 – 25y2 - 250y + 624 = 0 4. (-2, -4)
3. x2 – 25y2 – 250y + 650 = 0 5. (4, -2)
4. 25x2 – y2 + 10y + 50 = 0
5. 25x2 – y2 + 10y - 50 = 0

Page 59
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
57) ให้ H เป็นไฮเพอร์โบลาที่มีแกนสังยุคอยู่บนเส้นตรง x = 1 และมีจุดยอดจุดหนึ่งอยู่
ที่ (0,2) ถ้า H ผ่านจุดศูนย์กลางของวงรีซึ่งมีสมการเป็น 5x2 - 30x + 9y2 = 0 แล้ว
สมการของไฮเพอร์โบลา H ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61)
1. 4x2 - 3y2 - 8x + 12y - 12 = 0
2. 4x2 - 3y2 - 8x + 12y - 13 = 0
3. 4x2 - 3y2 - 8x - 6y - 12 = 0
4. 3x2 - 4y2 - 6x + 16y - 17 = 0
5. 3x2 - 4y2 - 6x + 8y - 17 = 0

เฉลยคาตอบ
1) 1 2) 4 3) 4 4) 1 5) 3
6) 4 7) 1 8) 4 9) 1 10) 4
11) 3 12) 3 13) 1 14) 1 15) 4
16) 1 17) 1 18) 4 19) 4 20) 2
21) 1 22) 5.5 23) 8 24) 3 25) 1
26) 4 27) 4 28) 1 29) 1 30) 4
31) 2 32) 1 33) 3 34) 2 35) 4
36) 4 37) 162 38) 2 39) 4 40) 1
41) 4 42) 3 43) 1 44) 1 45) 1
46) 4 47) 5 48) 3 49) 117 50) 5
51) 3 52) 3 53) 20 54) 1 55) 5
56) 4 57) 1

Page 60
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ 3) กาหนดให้ r = (x,y)  (x - 2)(y - 1) = 1


และ s = (x,y)  xy2 = (y + 1)2
บทที่ 8 ความสัมพันธ์ เซตในข้อใดต่อไปนี้ไม่เป็นสับเซตของ Rr  Rs (A-Net 2551)
1. (-, -1)
1) กาหนดให้ A = 1, 2, {1,2}, (1,2) เมื่อ (1,2) หมายถึงคู่อันดับ และ
B = (A  A) - A จานวนสมาชิกของเซต B เท่ากับเท่าใด (A-Net 2549)  
2.  2,  1
2
 
3. 1 ,2
2
4. (1, )

2) กาหนดให้ r = (x,y)  R  R  x2 + y2 = 16 4) กาหนดให้ r = (x,y)  x  0, x  y, x  3 x  y  3 y 


s = (x,y)  R  R  xy2 + x + 3y2 + 2 = 0 สมาชิกค่ามากที่สุดของ Dr เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552)
เซตในข้อใดต่อไปนี้เป็นสับเซตของ Dr - Ds (A-Net 2550) 1. 4
3 3
1. [-4, -1]
2. 8
2. [-3, 0] 3 3
3. [-2, 1]
3. 4
4. [-1, 2] 9
4. 8
9

Page 61
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

5) กาหนดให้ A = [-2,-1]  [1,2] และ r = (x,y)  A  A  x - y = -1 7) กาหนดให้ r = (x,y)  R  R  y = 1  เมื่อ R แทนเซตของ
ถ้า a, b  0 และ a  Dr, b  Rr แล้ว a + b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 5 3x
(PAT 1 มี.ค. 52) จานวนจริง จงหาโดเมนของ r (PAT 1 ธ.ค. 54)
1. 2.5 1. x  R  -2  x  8
2. 3 2. x  R  -6  x  3
3. 3.5 3. x  R  0  x  3
4. 4 4. x  R  x  8

2
2
8) กาหนดให้ r = (x,y)  I  I  y  2x2  8  เมื่อ I แทนเซตของจานวนเต็ม
6) กาหนดให้ r = (x,y)  x  [-1,1] และ y = x  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ x 1
ก. r-1 = (x,y)  x  [0,1] และ y =  x  จานวนสมาชิกของเซต Dr - Rr เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 55)
ข. กราฟของ r และกราฟของ r-1 ตัดกัน 2 จุด 1. 2
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (PAT 1 ก.ค. 52) 2. 4
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 3. 5
2. ก. ถูก และ ข. ผิด 4. 7
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

Page 62
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

9) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง กาหนดให้ 11) กาหนดให้ I แทนเซตของจานวนเต็ม และ R แทนเซตของจานวนจริง


r = (x,y)  R  R  1 2  x  y  1  3  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ x2  2
ถ้า r = (x,y)  R  R  y   และ
(ก) Dr  Rr  (-1,8) 4  x  2x  1
2
(ข) Dr - Rr = x  R  8  x  12 A = x  x  I  Dr แล้วผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต A เท่ากับข้อใด
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 56) ต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 58)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 1. 6
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 2. 10
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 3. 19
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด 4. 29
5. 30

10) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง และให้ S แทนคอมพลีเมนต์ของเซต S 12) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้


ให้ f = (x,y)  R  R  y2 + 1 - xy2 = 4 และ r = { (x , y)  R x R  y  32x 16x 2 }
g = (x,y)  R  R  y  1  x 4  และให้ A เป็นเรนจ์ของ f และ B เป็น ถ้า A และ B เป็นโดเมนและเรนจ์ของ r ตามลาดับ แล้ว B – A เป็นสับเซตของช่วง
โดเมนของ g พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60)
1. (-1 , 2)
(ก) A  B
2. (0 , 3)
(ข) (A - B)  (B - A) = 
3. (1 , 4)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 58)
4. (2 , 6)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
5. (3 , )
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 63
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

13) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง และ ให้ 15) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง และให้ r = (x,y)  R  R  y  x - 2
r1 = (x, y)  R R y  3  x  2  x  พิจารณาข้อความต่อไปนี้
r2 = (x , y )  R R y  x  1 ก. (5, 7)  r-1
ถ้า A เป็นโดเมนของ r1 และ B เป็นเรนจ์ของ r2 แล้ว A - B เป็นสับเซตของช่วงใน ข. (-6, -3)  r-1
ข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61) ค. r  r-1  
1. (-,-1] ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ก.พ. 61)
2. (-2,0] 1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
3. (-1,1] 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
4. (0,2] 3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
5. (1,) 4. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

14) กาหนดให้ U = -5, -4, 0, 1, 2, 3, 4


A = x  U  2x - 1  U
B = x  U  x2  5x
C = x  U  x  1  U
จานวนสมาชิกของเซต (A - C)  (B  C) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(PAT 1 ก.พ. 61)
1. 6
2. 10
3. 12
4. 20
5. 24

เฉลยคาตอบ
1) 15 2) 4 3) 3 4) 2 5) 2
6) 1 7) 1 8) 2 9) 4 10) 3
11) 4 12) 4 13) 3 14) 3 15) 1

Page 64
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 9 ฟังก์ชัน
1) กาหนดให้ h(x) = 1 - x5 และ g(x) = x5 ถ้า f เป็นฟังก์ชันซึ่ง f(g(x)) = h(x) แล้ว 3) กาหนดให้ f, g เป็นฟังก์ชันซึ่ง f(x) = (x - 1)3 + 3
f(5) มีค่าเท่าใด (A-Net 2549) และ g-1(x) = x2 - 1, x0
-1 2
ถ้า gof (a) = 0 แล้ว a อยู่ในเซตใดต่อไปนี้ (A-Net 2550)
1. [10, 40]
2. [40, 70]
3. [70, 100]
4. [100, 130]

  1  1  4x 2
 เมื่ อ x  0
2x
2) กาหนดให้ f(x)   ถ้า f-1(a) = 2 แล้ว a มีค่า 4) กาหนดให้ f(x) = 3x + 5 และ h(x) = 3x2 + 3x - 1 ถ้า g เป็นฟังก์ชัน ซึ่งทาให้
3
 0d d d d d d d d d เมื่ อ x  0 fog = h แล้ว g(5) มีค่าเท่าใด (A-Net 2550)

เท่าใด (A-Net 2549)

Page 65
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) กาหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน ซึ่งนิยามโดย f(x) = x2 + 1 และ g(x) = ax เมื่อ 7) กาหนดให้ f(x) = x2 และ g เป็นฟังก์ชันพหุนาม โดยที่ (gof)(x) = 3x2 + 1
ถ้าเซต y  y = (g-1of)(x), x  [-10, 10] คือช่วง [a, b] แล้ว 3(a + b) มีค่า
a  (0,1) ถ้า k เป็นจานวนจริงที่ทาให้ (fog)(k) = (gof)(k) แล้ว (fog-1)  12 
k  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552)
มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2551) 1. 88
1. 1 2. 90
2. 2 3. 98
3. 3 4. 100
4. 4

6) กาหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน ซึ่งนิยามโดย 8) กาหนดให้ A = 1, 2 และ B = 1, 2, 3, 4


x  1d d d เมื่ อ x  0 11  B และ f(x)  x ทุก x  A มีจานวนสมาชิกเท่าใด
เซต f  f : A 
f(x) =  3 และ g(x) = x2 + 4x + 13
 x  1 d d เมื ่ อ x  0 (A-Net 2552)
ถ้า a เป็นจานวนจริงบวก ซึ่ง g(a) = 25 แล้ว f-1(-2a) + f-1(13a) มีค่าเท่ากับข้อใด
ต่อไปนี้ (A-Net 2551)
1. 0
2. 2
3. 4
4. 6

Page 66
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
x2 d d , x  0 11) กาหนดให้ f(x) = x - 5 และ g(x) = x2
-1
9) กาหนดให้ f(x) = 3x - 1 และ g (x) =  2 ถ้า a เป็นจานวนจริงซึ่ง gof(a) = fog(a) แล้ว (fg)(a) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 x d , x  0
-1 (PAT 1 ก.ค. 52)
ค่าของ f (g(2) + g(-8)) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52)
1. -25
1. 1  2 2. -18
3
3. 18
2. 1  2
3 4. 25
3. 1  2
3
4. 1  2
3

10) กาหนดให้ f(x) = x2 - 1 เมื่อ x  (-, -1]  [0, 1] 12) กาหนดให้ f(x) = x2 + x + 1 และ a,b เป็นค่าคงตัวโดยที่ b  0
และ g(x) = 2x เมื่อ x  (-, 0] ถ้า f(a + b) = f(a - b) แลว a2 อยู่ในช่วงใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (PAT 1 มี.ค. 52) 1. (0, 0.5)
2. (0.5, 1)
1. Rg  Df
3. (1, 1.5)
2. Rf  Dg
4. (1.5, 2)
3. f เป็นฟังก์ชัน 1-1
4. g ไม่เป็นฟังก์ชัน 1-1

Page 67
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) กาหนดให้ n เป็นจานวนนับ 15) ถ้า f(x) = 3 x และ g(x) = x แล้ว (f-1 + g-1)(2) มีค่าเท่าใด
ถ้า f : 1, 2, ..., n  1, 2, ..., n เป็นฟังก์ชัน 1-1 และทั่วถึง ซึ่งสอดคล้อง 1 x
(PAT 1 ต.ค. 52)
กับเงื่อนไข f(1) + f(2) + ... + f(n) = f(1)f(2)...f(n)
แล้วค่ามากสุดที่เป็นไปได้ของ f(1) - f(n) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
1. 2
2. 5
3. 8
4. 11

16) กาหนดให้ y1 = f(x) = x  1 เมื่อ x เป็นจานวนจริงที่ไม่เท่ากับ 1


14) ถ้า f(x) = 1 และ g(x) = 2f(x) แล้ว gof(3) + fog-1(3) มีค่าเท่าใด x 1
x y2 = f(y1), y3 = f(y2), ..., yn = f(yn-1) สาหรับ n = 2, 3, 4, ...
(PAT 1 ต.ค. 52)
y2553 + y2010 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53)
1. x  1
x1
2
2. x  1
x 1
2
3. x  1
2x
2
4. 1  2x  x
x 1

Page 68
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันจากเซตของจานวนจริงไปยังเซตของจานวนจริง โดยที่ 19) ให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน ซึ่งมีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตของจานวนจริง
f(x)  x2  1 และ g(x)  f(x)  x  1 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ โดยที่ f(x) = x  3 และ (f-1og)(x) =  6x ถ้า g(a) = 2 แล้ว a อยู่ในช่วงใด
x 4 x6 x 1
ก. Dg = (2,) ต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 53)
ข. ค่าของ x  0 ที่ทาให้ g(x) = 0 มีเพียง 1 ค่าเท่านั้น 1. [-1, 1)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 53) 2. [1, 3)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 3. [3, 5)
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด 4. [5, 7)
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

18) กาหนดให้ R เป็นเซตของจานวนจริง 20) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f : R  R เป็นฟังก์ชัน


บทนิยาม ให้ f : R  R และ g : R  R เป็นฟังก์ชันใดๆ โดยที่ f(x) = ax + b เมื่อ a, b เป็นจานวนจริง ถ้า f เป็นฟังก์ชันลด และ
กาหนดการดาเนินการ  ของ f และ g ดังนี้ f(f(f(f(x)))) = 16x + 45 แล้วค่าของ a + b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 53)
(f  g)(x) = f(g(x)) - g(f(x)) 1. -11
สาหรับทุกจานวนจริง x 2. -5
2
ถ้า f(x) = x - 1 และ g(x) = 2x + 1 สาหรับทุกจานวนจริง x แล้ว (f  g)(1) 3. 11
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53) 4. 5

Page 69
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f1, f2, f3, f4, g และ h เป็นฟังก์ชันจาก R ไปยัง R 23) ให้ I แทนเซตของจานวนเต็ม และให้ f : I  I เป็นฟังก์ชัน โดยที่
โดยที่ f1(x) = x + 1, f2(x) = x - 1, f3(x) = x2 + 4, f4(x) = x2 - 4 f(n + 1) = f(n) + 3n + 2 สาหรับ n  I ถ้า f(-100) = 15,000 แล้ว f(0) เท่ากับ
(f1og)(x) + (f2oh)(x) = 2 และ (f3og)(x) - (f4oh)(x) = 4x เท่าใด (PAT 1 ต.ค. 53)
ค่าของ (goh)(1) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53)

22) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ความสัมพันธ์ข้อใดต่อไปนี้เป็นฟังก์ชัน 24) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f = (x,y)  R  R  y = 3x - 5 และ
(PAT 1 ต.ค. 53) g = (x,y)  R  R  y = 2x + 1
1. ความสัมพันธ์ r1 = (x,y)  R R  x = 4  y 2 และ xy  0 ถ้า a  R และ (g-1of-1)(a) = 4 แล้ว (fog)(2a) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 53)
2. ความสัมพันธ์ r2 = (x,y)  R R  x2 + y2 และ xy  0
3. ความสัมพันธ์ r3 = (x,y)  R R  x - y = 1
4. ความสัมพันธ์ r4 = (x,y)  R R  x - y = 1

Page 70
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) กาหนดให้ r = (x,y)  R  R  25x4 + 16y2 + 2 = 10x2 + 8y เมื่อ R แทน 4 2 2
27) กาหนดให้ I แทนเซตของจานวนเต็ม และให้ f(x)  x 5 2x 2 a x  7 5
เซตของจานวนจริง พิจารณาข้อความต่อไปนี้ x  b x  270
(ก) r ไม่เป็นฟังก์ชัน เมื่อ a, b  I ถ้า A = (a,b)  I  I  f(3) = 0 และ
(ข) Dr  Rr
B = (a,b)  I  I  a 2  2a b  b 2  3  แล้ว จานวนสมาชิกของเซต
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 54)
A  B เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

26) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง และให้ f : R  R เป็นฟังก์ชันที่มีสมบัติสอดคล้อง 28) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f : R  R เป็นฟังก์ชัน
 1 x 
กับ f 1  x  x สาหรับทุกจานวนจริง x  1 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
54
โดยที่ xf(x) + f(1 - x) = 2x - x2 เมื่อ x  R แล้วค่าของ  (x  f (x))
x 25
(PAT 1 มี.ค. 54)
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)
1. f(f(x)) = -x สาหรับทุกจานวนจริง x

 
2. f(  x)  f 1  x สาหรับทุกจานวนจริง x  1
1 x
3. f( 1 )  f(x) สาหรับทุกจานวนจริง x  0
x
4. f(-2 - x) = -2 - f(x) สาหรับทุกจานวนจริง x

Page 71
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

29) กาหนดให้ I แทนเซตของจานวนเต็ม ถ้า f : I  I เป็นฟังก์ชันที่มีสมบัติดังนี้ 31) กาหนดให้ f : N  N สอดคล้องกับสมการ f(x + y) = f(x) + f(y) + 4xy
(1) f(1) = 1 โดยที่ f(1) = 4 จงหาค่าของ f(20) (PAT 1 ธ.ค. 54)
(2) f(2x) = 4f(x) + 6
(3) f(x + 2) = f(x) + 12x + 12
แล้วค่าของ f(7) + f(16) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)

30) กาหนด f(x) = 1 - 3x และ S เป็นเซตของจานวนจริง x ทั้งหมด ที่สอดคล้องกับ 32) กาหนด R แทนเซตของจานวนจริง ให้
สมการ (fof)(x) = x จงหาผลบวกของสมาชิกใน S (PAT 1 ธ.ค. 54) r = (x,y)  R  R  xy + y - x - 1 = 0
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. r เป็นความสัมพันธ์ที่มีโดเมน Dr = x  R  x  -1
ข. ความสัมพันธ์ r-1 เป็นฟังก์ชัน
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 55)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

Page 72
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) ให้ f(x) = x5 + ax4 + bx3 + cx2 + dx + e เมื่อ a, b, c, d, e เป็นจานวนจริง 35) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง และให้ I แทนเซตของจานวนเต็ม ให้ f และ
ถ้ากราฟ y = f(x) ตัดกับกราฟ y = 3x + 2 ที่ x = -1, 0, 1, 2 แล้วค่าของ g เป็นฟังก์ชันจาก R ไปยัง R
f(3) - f(-2) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 55) โดยที่ f(x + 5) = x3 - x2 + 2x สาหรับทุกจานวนจริง x
และ g-1(2x - 1) = x + 4 สาหรับทุกจานวนจริง x พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) (f - g)(0)  -169
(ข) x  I  (gof)(x) + 5 = 0 เป็นเซตว่าง
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 55)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

34) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง กาหนด g(x) = x2 + x + 3 สาหรับทุก 36) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง พิจารณาข้อความต่อไปนี้
จานวนจริง x ถ้า f : R  R เป็นฟังก์ชัน และสอดคล้องกับ (ก) ความสัมพันธ์ (x,y)  R  R  x2 + y2 = 4, xy  0 เป็นฟังก์ชัน
(fog)(x) + 2(fog)(1 - x) = 6x2 - 10x + 17  x  2 d d d, x  0
2(fog)(x) + (fog)(1 - x) = 6x2 - 2x + 13 (ข) ถ้า f(x) =  2 และ g(3x - 1) = 2x2 + 3x สาหรับ
d d x d d d , x  0
ค่าของ f(383) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 55) x  R แล้วค่าของ (gof-1)(25) = 14
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 56)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 73
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
d d 1 d d , x  1 39) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f : R  R เป็นฟังก์ชัน ซึ่งสอดคล้อง
37) กาหนดให้ f(x) = 
 x
1  1 d, x  1
2
    ตรงกับข้อใด
ค่าของ f f f  1
3
กับ (fof)(x) = 4 + x(4 - f(x)) สาหรับทุกจานวนจริง x แล้วค่าของ f(4) เท่ากับ
เท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56)
2 x 2
ต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 56)
1. -6
2. 6
3. -3
4. 3

38) สาหรับ x, y  0, 1, 2, 3, ... กาหนดให้ F(x,y) เป็นจานวนเต็มบวก โดยที่ 40) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f เป็นฟังก์ชัน ซึ่งมีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของ
2

 dddd F(1, y  1) dddd , x  0, y  0 จานวนจริง โดยที่ f(x)  2x  4x  4 เมื่อ x  -1 แล้วเรนจ์ของฟังก์ชัน f
F(x, y)   d x  1dddddd, y  0 x1
F(F(x  1), y), y  1d d, x  0, y  0
 เป็นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 57)
ค่าของ F(1,2) + F(3,1) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56) 1. x  R  x2 + 6x - 7  0
2. x  R  x2 + 3x - 10  0
3. x  R  x2 + x - 12  0
4. x  R  x2 - 6x - 16  0

Page 74
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
41) กาหนดให้ f(x) = x3 + ax2 + bx + 3 และ g(x) = bx2 + 3x + a เมื่อ a และ b 43) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f : R  R และ g : R  R เป็น
เป็นจานวนจริง ถ้า f(3) = 0 และ x - 2 หาร f(x) มีเศษเหลือเท่ากับ 5 แล้วค่าของ ฟังก์ชันที่สอดคล้องกับ f(x + g(y)) = 2x + y + 15 สาหรับจานวนจริง x และ y
(gof)(1) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 57) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) (gof)(x) = 2x + 15 สาหรับทุกจานวนจริง x และ y
(ข) g(25 + f(57)) = 75
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

42) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f : R  R และ g : R  R เป็นฟังก์ชัน 44) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง และ a เป็นจานวนจริงโดยที่ a  0 ให้ f : R  R
หนึ่งต่อหนึ่ง โดยที่ (fog)(x) = 4x - 5 และ g-1(x) = 2x + 1 สาหรับทุกจานวนจริง และ g : R  R เป็นฟังก์ชัน ที่นิยามโดย f(x) = ax + 2 และ
x พิจารณาข้อความต่อไปนี้ g(x) = x3 - 3x(x - 1) สาหรับทุกจานวนจริง x ถ้า (f-1og-1)(1) = 1 แล้ว (gof)(a)
(ก) 4(f-1og)(2x + 1) = g(x) + 1 สาหรับทุกจานวนจริง x เท่ากับเท่าใด (PAT 1 เม.ย. 57)
(ข) (g-1o(f-1og))(x) = f-1(x) + 1 สาหรับทุกจานวนจริง x
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 75
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
45) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f : R  R เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง และ 47) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนี้ไม่เป็นฟังก์ชัน
g : R  R เป็นฟังก์ชัน โดยที่ g(x) = 2f(x) + 5 สาหรับทุกจานวนจริง x (PAT 1 ต.ค. 58)
ถ้า a เป็นจานวนจริงที่ (fog-1)(1 + a) = (gof-1)(1 + a) แล้วค่าของ a2 เท่ากับ 1. ความสัมพันธ์ r1 = (x,y)  R  R  xy + 1 = 0
เท่าใด (PAT 1 พ.ย. 57) 2. ความสัมพันธ์ r2 = (x,y)  R  R  y = tanx
3. ความสัมพันธ์ r3 = (x,y)  R  R  x 2  y 2  1 
4. ความสัมพันธ์ r4 = (x,y)  R  R  y = 2 - x
y
5. ความสัมพันธ์ r5 = (x,y)  R  R  x 2  
y 1

46) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริงให้ f, g และ h เป็นฟังก์ชันพหุนามจาก


R ไปยัง R โดยที่ f(x) = 2x - 5, (f-1og)(x) = 4x และ (goh)(x) หารด้วย x - 1
 9  x ff,x  0
48) ให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน โดยที่ f(x)  7  x d d d, x  4

แล้ว เหลือเศษเท่ากับ -21 ให้ c เป็นจานวนเต็มบวกที่น้อยที่สุดที่สอดคล้องกับ 


x  2 dd, x  1
และ g(x)  x  4 df, x  1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
h(x - c) = x3 - 3x2 - 2 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) ถ้า x  0 แล้ว (gof)(x) = 9  x - 4
(ก) (foh)(c) = 23
(ข) ถ้า 4  x  6 แล้ว (gof)(x) = 3 - x
(ข) (h + g)(c) = 35
(ค) ถ้า x  6 แล้ว (gof)(x) = 9 - x
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 58)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 58)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ(ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ(ค) ผิดทั้งสามข้อ

Page 76
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
49) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f เป็นฟังก์ชันซึ่งมีโดเมนและเรนจ์เป็น 51) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f : R  R และ g : R  R เป็น
สับเซตของจานวนจริง และ g : R  R โดยที่ g(1 + x) = x(2 + x) และ ฟังก์ชัน มีนิยามโดย f(x) = x - 1 + x + 1 และ g(x)  2 x สาหรับทุก
(fog)(x) = x2 + 1 สาหรับ x  R พิจารณาข้อความต่อไปนี้ x 1
(ก) x  R  (gof)(x) = (fog)(x) เป็นเซตว่าง จานวนจริง x ถ้า a และ b เป็นจานวนจริงบวก โดยที่ a + b = 1 แล้ว
(ข) (gof)(x) + 1  0 สาหรับทุกจานวนจริง x  -1 (gof)(a) + (fog)(b) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60)
1. 1.4
(ค) (f + g)(x)  1 สาหรับทุกจานวนจริง x  -1
2. 1.8
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 59)
3. 2.4
1. ข้อ (ก) ถูกเพียงข้อเดียว
4. 2.8
2. ข้อ (ข) ถูกเพียงข้อเดียว
5. 3.4
3. ข้อ (ค) ถูกเพียงข้อเดียว
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

50) กาหนดให้ R เป็นเซตของจานวนจริง ให้ f : R  R และ g : R  R เป็น 52) กาหนดให้ I แทนเซตของจานวนเต็ม และ R แทนเซตของจานวนจริง
ฟังก์ชัน โดยที่ f(x + 3) = x + 4 และ (f-1og)(x) = 3xf(x) - 3x - 4 สาหรับจานวน สาหรับจานวนจริง x ใดๆ นิยาม [x] หมายถึงจานวนที่มีค่ามากที่สุดของเซต
จริง x ถ้า A เป็นเรนจ์ของ gof และ B เป็นเรนจ์ของ fog แล้ว A - B เป็นสับเซต n  I  n  x ถ้า f : R  R เป็นฟังก์ชันกาหนดโดย
ของช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 59) f(x) = 1 0  x  5    x  1   1  5  6x  เมื่อ x  R แล้วค่าของ
1. (0, 2)  10   2  10
2. (-2, 1) f(2.4) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60)
3. (-3, 0) 1. 3.2
4. (-4, -2) 2. 2.1
5. (-6, -3) 3. 2
4. 1.1
5. 1

Page 77
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
53) กาหนดให้ I เป็นเซตของจานวนเต็ม ให้ f : I  I เป็นฟังก์ชัน โดยที่ 55) กาหนดให้ a(0) = 1 และสาหรับ n = 0, 1, 2, 3, ... ให้

f(n)  
(f o f )(n  4),n  6 0
n  3 ,n  6 0 ค่าของ f  f  f  6 0    เท่ากับเท่าใด a(n  1)  
 3  5a(n) d d เมื่ อa (n )  5
2  1 a(n) d dเมื่ อa (n )  5
 5
(PAT 1 มี.ค. 60)
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. a(3) - a(1) เป็นจานวนเฉพาะ
ข. a(4)  a(5)
ค. a(7) = 1 4 6
25
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ก.พ. 61)
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

54) ให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน ซึ่งมีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตของจานวนจริง 56) กาหนดให้ f(x) = 1  1 สาหรับจานวนจริง x  0


1 1
โดยที่ f(x) = x  1 สาหรับทุกจานวนจริง x  1 และ g(x) = 6x + 5 สาหรับทุก 1 1
x 1 1 x
จานวนจริง x ถ้า a เป็นจานวนจริงที่ a  1 และ g(f(a)) = g-1(f(a)) ถ้า a เป็นจานวนจริงบวก ที่สอดคล้องกับ
แล้ว f(g-1(a)) + f(g(a)) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61) f(1 + a) + f(2 + a) + f(3 + a) + ... + f(60 + a) = 2250 แล้ว a มีค่าเท่ากับ
1. 3 1 เท่าใด (PAT 1 ก.พ. 61)
22
2. 1 6
11
3. 3 7
22
4. 2 0
11
5. 4 1
22

Page 78
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
เฉลยคาตอบ
1) 4 2) 0.5 3) 1 4) 28 5) 2
6) 1 7) 3 8) 7 9) 1 10) 1
11) 2 12) 1 13) 1 14) 7.5 15) 6
16) 2 17) 4 18) 7 19) 3 20) 1
21) 1 22) 2 23) 50 24) 262 25) 3
26) 4 27) 8 28) 30 29) 911 30) 1.35
31) 840 32) 4 33) 135 34) 763 35) 4
36) 1 37) 2 38) 10 39) 4 40) 3
41) 721 42) 1 43) 4 44) 9 45) 36
46) 2 47) 3 48) 4 49) 2 50) 4
51) 3 52) 5 53) 63 54) 1 55) 4
56) 6

Page 79
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 11 ตรีโกณประยุกต์
1) sin(arctan2 + arctan3) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2549) 3) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1.  1 ก. tan14 + tan76 = 2cosec28
2
2.  1 5 3 
ข. ถ้า x  0 และ sin(2arctanx) = 4 แล้ว x  1 ,3
2
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A-Net 2550)
3. 1
2 1. ก. ถูก และ ข. ถูก
1 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
4.
2 3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

2) ถ้า sec + cosec = 1 แล้ว sin2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2549) 4) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมซึ่งมีด้านตรงข้ามมุม A, B, C ยาว 2a, 3a, 4a
1. 2(1 - 2 ) ตามลาดับ ถ้า sinA = k แล้ว cotB + cotC มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2. 2( 2 - 1) (A-Net 2550)
3. 1- 3 1. 1
6k
4. 3-1
2. k
6
3. 1
3k
4. k
3

Page 80
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) ให้ A, B และ C เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม ABC และ Â  B̂  Ĉ 7) กาหนดให้ 0    30 ถ้า sin2(7) - sin2(5) = sin(2)sin(6) แล้ว 
โดยที่ tanA tanB tanC = 3 + 2 3 และ tanB + tanC = 2 + 2 3 พิจารณา เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552)
ข้อความต่อไปนี้ 1. 10
ก. tanC = 2 + 3 2. 15
3. 20
ข. Ĉ = 5 
12 4. 25
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A-Net 2551)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

6) ให้  เป็นจานวนจริง ซึ่งสอดคล้องกับสมการ 8) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมซึ่งมี 2sinA + 3cosB = 4 และ


1  1  1  1  7 แล้ว tan22 มีค่าเท่าใด 3sinB + 2cosA = 1 ค่าของ sinC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552)
tan2  cot 2  si n2  cos 2  1. 1
(A-Net 2551) 6
2. 1
3
3. 1
2
4. 1

Page 81
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) ถ้า cos - sin = 5 แล้วค่าของ sin2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 11) ให้ -1  x  1 เป็นจานวนจริงซึ่ง arccosx - arcsinx = 
3 2552
(PAT 1 มี.ค. 52) แล้วค่าของ sin  2 55 2  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52)
1. 4
13 1. 2x
2. 9 2. 1 - 2x2
13 3. 2x2 - 1
3. 4 4. -2x
9
4. 1 3
9

10) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีมุม A เท่ากับ 60, BC = 6 และ  


12) ค่าของ si n3 0   co s 3 0  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
si n1 0  co s1 0 
AC = 1 ค่าของ cos(2B) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52) 1. -1
1. 1 2. 1
4
3. 2
2. 1
2 4. -2
3. 3
2
4. 3
4

Page 82
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมและ D เป็นจุดกึ่งกลางด้าน BC 15) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้าน AB ยาว 2 หน่วย
ถ้า AB = 4 หน่วย, AC = 3 หน่วย และ AD = 5 หน่วย แล้วด้าน BC ยาว ถ้า BC3 + AC3 = 2BC + 2AC แล้ว cot C มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52)
2
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52) 1. 1
3
1. 3 2. 1
2. 4 2
3. 1
3. 5
4. 6 4. 3

14) ถ้า arcsin(5x) + arcsin(x) =  แล้วค่าของ tan(arcsinx) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 16) ถ้า 1 - cot20 = x แล้ว x มีค่าเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52)
2 1  c o t 2 5
(PAT 1 ก.ค. 52)
1. 1
5
2. 1
3
3. 1
3
4. 1
2

Page 83
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) ถ้า (sin + cos)2 = 3 เมื่อ 0     แล้ว arccos(tan3) มีค่าเท่าใด
2 4
19) กาหนดให้ f  x x 1  x1 เมื่อ x  0 และ x  1 ถ้า 0     แล้ว
2
(PAT 1 ต.ค. 52) f(sec2) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53)
1. sin2
2. cos2
3. tan2
4. cot2

18) กาหนดให้ x เป็นจานวนจริง ถ้า sinx + cosx = a และ sinx - cosx = b 20) ให้  และ  เป็นมุมแหลมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยที่ tan = a
b
แล้วค่าของ sin4x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53)
       
1. 1 (a 3 b  a b 3 ) ถ้า co s  a rcsi n  2 a 2    si n  a rcco s  2 a 2    1 แล้ว
2   a  b    a  b 
2. 1 (a b 3  a 3 b ) sin มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53)
2
3. ab3 - a3b
4. a3b - ab3

Page 84
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) ค่าของ co s 3 6   co s 7 2  เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53) 23) ในรูปสามเหลี่ยม ABC ใดๆ ถ้า a, b และ c เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม A
si n3 6  t a n1 8   co s 3 6 
มุม B และ มุม C ตามลาดับ แล้ว 1 co s A  1 co s B  1 co s C เท่ากับข้อใด
a b c
ต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 53)

1. a2  b 2  c2
2a b c
(a  b  c) 2
2.
abc
(a  b  c) 2
3.
2a b c

4. a2  b 2  c2
abc

22) กาหนดให้ x เป็นจานวนจริง ถ้า arcsinx =  แล้วค่าของ 24) ถ้า sin15 และ cos15 เป็นคาตอบของสมการ x2 + ax + b = 0 แล้ว ค่าของ
4
a4 - b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 53)
si n
15
2

 a rcco s(x ) อยู่ในช่วงใด (PAT 1 ก.ค. 53) 1. -1

 
1. 0, 1
2
2. 1
3. 2
2.  
1, 1
2 2
4. 1  3 2

3.  
1, 3
2 2
4.  
2
3 ,1

Page 85
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
44 44 27) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง และ ถ้า
 co s n   si n n 
25) ค่าของ n441  n441 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53) B = x  R  log2(-x2 + 7x - 10) + 3 co s(  x 2  7 )  1  1 
 si n n   co s n  แล้ว ผลบวกของสมาชิกในเซต B เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 53)
n1 n1

t a n [ a rc c o t 1  a rc c o t 1  a rc t a n 7 ]
28) ค่าของ 5 3 9 เท่ากับเท่าใด
26) ให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม ดังรูป s i n [ a rc s i n 5  a rc s i n 1 2 ]
13 13
(PAT 1 ต.ค. 53)

ถ้า A Bˆ C = 30 B Aˆ C = 135 และ AD และ AE แบ่งมุม B Aˆ C ออกเป็น 3


ส่วนเท่าๆกัน แล้ว EC มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 53)
BC
1. 1
3
2. 3
3. 1
2
4. 2

Page 86
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) กาหนดให้ (sin1)(sin3)(sin5)...(sin89) = 1n ค่าของ 4n เท่ากับเท่าใด
2
 
31) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์ คือ ช่วงเปิด  ,  พิจารณาข้อความต่อไปนี้
4 2
(PAT 1 ต.ค. 53) ก. ค่าความจริงของ x(cosx)sinx  (sinx)cosx เป็นจริง
ข. ค่าความจริงของ x(cosx)cosx  (sinx)cosx เป็นเท็จ
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 54)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

30) กาหนดให้ a เป็นจานวนจริง และสอดคล้องกับสมการ 32) ให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยที่ sinA = 3 และ cosB = 5 ค่าของ cosC
5 13
5(sin a + cos a) + 2sin acos a = 0.04 ค่าของ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54)
125(sin3a + cos3a) + 75sin acos a เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 53)
1. 16
65
2. - 16
65
3. 48
65
4. - 33
65

Page 87
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) ค่าของ cot(arccot7 + arccot13 + arccot21 + arccot31) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 35) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมใดๆ มีความยาวตรงข้ามมุม A, B และ C เป็น
(PAT 1 มี.ค. 54) a, b และ c หน่วยตามลาดับ ถ้า a2 + b2 = 31c2 แล้วค่าของ 3tanC(cotA + cotB)
1. 1 1 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)
4
2. 1 3
4
3. 9
2
4. 2 5
2

34) ค่าของ log2(1 + tan1) + log2(1 + tan2) + ... + log2(1 + tan44) เท่ากับ
4
36) ให้ A เป็นเซตคาตอบของ cosx = cos x จานวนสมาชิกในเซต A  (0, 24)
เท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)

Page 88
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
co se c 1 0  3  cos 2 70  si n 40   39) กาหนดให้ 180    270
37) กาหนดให้ A =  se c 1 0  1  , B =  และ
 
 0 cos 2 50  cos 2 

 co s 2 2 0  0 

ถ้า 3(2) sin  4
9
 2(3) sin  แล้วจงหาค่าของ 3tan2 - 2sin3
C=  2  ค่าของ det[A(B + C)] เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ธ.ค. 54)
 si n8 0  co s 1 0  1. 1
(PAT 1 มี.ค. 54) 2. 3
3. 7
4. 9

38) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง และให้ f : R  R เป็นฟังก์ชันที่มีสมบัติสอดคล้อง 40) กาหนดให้ c = arcsin 3 + arccot 5 - arctan 8
5 3 19
 1
 d 0 d d d, x   1 ถ้า A เป็นเซตคาตอบของสมการ arccot + arccot 1 = c จงหาผลคูณของ
กับ f(x) =  ถ้า A = x  R  (fof)(x) = cot75 แล้วข้อใด 2x 3x
x  1d,x  1 สมาชิกใน A (PAT 1 ธ.ค. 54)
x  1
1.  1
ไม่เป็นเซตว่าง (PAT 1 ธ.ค. 54) 4
1. A  (-3, -2) 2. 1
4
2. A  (-4, -3)
3.  1
3. A  (2, 3) 6
4. A  (3, 4) 4. 1
6

Page 89
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
41) จงหาค่าของ t a n2 0   4 si n2 0  (PAT 1 ธ.ค. 54) 43) กาหนดให้รูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านตรงข้ามมุม A, B, C ยาว a, b, c ตามลาดับ
si n2 0  si n 4 0  si n8 0  และ (sinA - sinB + sinC)(sinA + sinB + sinC) = 3sinAsinC
จงหาค่าของ 3 co s e c 2 B  3 se c 2 B (PAT 1 ธ.ค. 54)

42) กาหนดให้ a, b  R+ และ tan = a 44) สาหรับ 0  x  2 กาหนดให้ A = x  log2(-3cosx) = 1 + 2log2sinx


b
และ B = sec3x - cos2x  x  A จงหาค่าของผลบวกของสมาชิกทั้งหมดที่อยู่
   
4 4
ถ้า co s   si n   si n2  แล้ว
a b ใน B (PAT 1 ธ.ค. 54)
a b(a 2  b 2 )

    2ab 
3 2
จงหาค่าของ 3a (PAT 1 ธ.ค. 54)
b

Page 90
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
45) กาหนดให้ 0    45 และให้ A = ( s i n ) t a n  B = ( s i n ) c o t  47) จงหาค่าของ 2sin260(tan5 + tan85) - 12sin70 (PAT 1 มี.ค. 55)
C = ( c o t ) s i n  D = ( c o t ) c o s 
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 55)
1. A  B  C  D
2. B  A  C  D
3. A  C  D  B
4. C  D  B  A

46) ให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยมี a, b และ c เป็นความยาวของด้านตรงข้าม 48) ให้ A เป็นเซตคาตอบของสมการ arccos(x) = arccos( x 3 ) + arccos( 1  x 2 )
มุม A มุม B และ มุม C ตามลาดับ ถ้ามุม C เท่ากับ 60 b = 5 และ a - c = 2 และให้ B เป็นเซตคาตอบของสมการ arccos(x) = arcsin(x) + arcsin(1 - x)
แล้วความยาวของเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ จานวนสมาชิกของเซต P(A - B) เท่ากับเท่าใด เมื่อ P(S) แทนเพาเวอร์เซตของ
(PAT 1 มี.ค. 55) เซต S (PAT 1 มี.ค. 55)
1. 25
2. 29
3. 37
4. 45

Page 91
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
49) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
17 5 2  
51) ถ้า arcsecx = arcsin 1 - 2arccos 2 แล้ว cot   a rc se c x เท่ากับ
(ก) co s   co s 3   co s   1
5 5 2 ข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 55)
7  3  
(ข) t a n  t a n
16 8
 co s e c
8 1.  1 3
9
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 55) 1 3
2.
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 9
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 3.  1 3
16
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. 1 3
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด 16

50) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 55) 52) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้า a, b และ c เป็นความยาวด้านของ
1. cos75 = (2 - 3 )cos15 ด้านตรงข้ามมุม A มุม B และ มุม C ตามลาดับ โดยที่
2. cos10 + sin40 = cos20 1  1  3 แล้ว sinC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 55)
ac bc abc
3. ถ้า A เป็นจานวนจริงใดๆ แล้ว t a n3A  co s 2A  co s 4A
co t A co s 2A  co s 4A 1. 2
4. ถ้า A และ B เป็นจานวนจริงใดๆแล้ว 2
2. 1
sin2A + cos2B = 2sin(A - B)cos(A + B) 2
3. 3
2
4. 1

Page 92
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
 
53) ค่าของ sec2 2 a rct a n 1  a rct a n 1 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55)
3 7
55) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) co s1 0   si n1 0   se c 2 0   ta n2 0 
co s1 0   si n1 0 
(ข) 3 c o t 2 0   1  4 c o s 2 0 
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 56)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

54) ให้  เป็นจานวนจริงใดๆ ถ้า a และ b เป็นค่ามากที่สุดของ cos4 - sin4 และ 56) ถ้า x เป็นจานวนจริงที่มากที่สุด โดยที่ 0  x  1 และสอดคล้องกับ
3sin + 4cos ตามลาดับ แล้ว a + b เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55)
 
arctan(1 - x) + arccot 1 = 2arcsec 1  2x(1  x ) แล้ว ค่าของ cosx
2x
ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 56)
1. -1
2. 0
3. 1
2
4. 3
2

Page 93
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
57) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้าด้านตรงข้ามมุม A ยาว 14 หน่วย
ความยาวของเส้นรอบรูปสามเหลี่ยมเท่ากับ 30 หน่วยและ 3sinB = 5sinC แล้ว  
59) กาหนดให้ 0     โดยที่  = arctan x  1  arctan( x ) เมื่อ
2 1 x
sin2A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 56) 0  x  1 ค่าของ tan + cot เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56)
1.  1
2
2.  3
2
3. 1
2
4. 3
2

58) กาหนดให้ x เป็นจานวนจริง โดยที่ sinx + cosx = 4 60) กาหนดให้  เป็นจานวนจริงใดๆ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
3
(ก) 16sin3cos2 = 2sin + sin3 - sin5
2
ถ้า (1 + tan x)cotx = a เมื่อ a และ b เป็นจานวนเต็ม โดยที่ ห.ร.ม. ของ
b (ข) sin3 = (sin2 + sin)(2cos - 1)
a และ b เท่ากับ 1 แล้ว a + b2 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56)
2
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 94
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

61) co t a rcco s 2  a rcco s 1  6
3 2 3  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 63) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมใดๆ โดยที่มีความยาวของด้านตรงข้ามมุม A
มุม B และ มุม C เท่ากับ a หน่วย b หน่วย และ c หน่วย ตามลาดับ ถ้ามุม A มี
(PAT 1 มี.ค. 57) ขนาดมากกว่า 90 มุม B มีขนาด 45 และ 2c  ( 3  1) a แล้ว
1. 2 cos2(A - B - C) + cos2B + cos2c เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 57)
3
2. 1
3
3. 1 6
2 3
4. 3

62) ถ้า x และ y เป็นจานวนจริงที่สอดคล้องกับสมการ 3sin(x - y) = 2sin(x + y) 64) ให้ A แทนเซตคาตอบของจานวนจริง x  [0, 2) ทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมการ
แล้ว (tan3x)(cot3y) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 57) 2(1 3 s i n x )  5  2 2 s i n x  2(2  s i n x )  1
1. 8 จานวนสมาชิกของเซต A เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 57)
2. 27
3. 64
4. 125

Page 95
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
65) กาหนดให้ sin - sin2 + sin3 = 0 โดยที่ 0     67) กาหนดให้ 0    15 ค่าของ
2
ถ้า a  t a n   t a n2  และ b  si n3   si n 4   si n 5   
1  3 si n  
y = a rcta n 3 co s   a rc co t co s 
3  si n  
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
co s   co s 2  co s 3   co s 4   co s 5  (PAT 1 เม.ย. 57)
แล้วค่าของ a4 + b4 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 57)
1. arctan(cot)
2. arctan(tan)
3. arctan(sin)
4. arctan(cos)

66) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยที่มีความยาวของด้านตรงข้ามมุม A มุม B 68) พิจารณาข้อความต่อไปนี้


มุม C เท่ากับ a หน่วย b หน่วย และ c หน่วย ตามลาดับ และมุม A มีขนาดเป็น (ก) ถ้า A และ B เป็นจานวนจริง สอดคล้องกับสมการ sin2B = sinAcosA
สองเท่าของมุม B ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57) แล้ว cos2B = 2cos2(45 + A)
1. c2 = a2 + ab
(ข) ถ้า 0  A, B   สอดคล้องกับ sinA = 2 sinB และ
2. c2 = b2 + ab 2
3. a2 = b2 + bc 3 secB = 2 secA แล้ว sin10A + cos10B = 0.5
4. a2 = c2 + bc ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 96
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
69) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีมุม B และ มุม C เป็นมุมแหลม โดยที่ 71) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมโดยมีความยาวของด้านตรงข้ามมุม A มุม B
25cosB - 13cosC = 15, 65(cosB + cosC) = 77 และด้านตรงข้ามมุม C ยาว 20 และมุม C เท่ากับ a หน่วย b หน่วย และ c หน่วย ตามลาดับ สมมุติว่ามุม A มี
หน่วย ความยาวของเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับเท่าใด (PAT 1 เม.ย. 57) ขนาดเป็นสามเท่าของมุม B และ a = 2b พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
(ข) ถ้า a = kc แล้ว k สอดคล้องกับ 3x3 - 9x2 - x + 3 = 0
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 พ.ย. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

70) ถ้า cos5 = a cos5  + b cos3  + c cos เมื่อ  เป็นจานวนจริงใดๆ 72) si n2 5  si n8 5  si n3 5  ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 พ.ย. 57)
si n7 5 
แล้วค่าของ a2 + b2 + c2 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 เม.ย. 57) 1. tan15
2. sin15sin75
3. cos20cos40cos80
4. sec420

Page 97
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
4 4 75) กาหนดให้ 8cos(2) + 8sec(2) = 65 เมื่อ 0    90 ค่าของ
73) ถ้า si n x  co s x  1 สาหรับบาง x  0 แล้วค่าของ
5 7 12
si n2 (2 x) co s 2 (2x)
   
1 6 0 si n  si n 5  เท่ากับเท่าใด (PAT 1 พ.ย. 57)
2 2
 ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 พ.ย. 57)
5 7
1. 1
144
2. 2 5
126
3. 2
9
4. 1
6

74) ให้ A = cos15 + cos87 + cos159 + cos231 + cos303 76) กาหนด 0    90 และ f(x) = 12x - 9x2 เมื่อ 0  x  1

 
และ B = si n a rcta n ( 1 5 )  a rcco s( 4 )
8 5
ถ้า sin = a เมื่อ a เป็นจานวนจริงที่ f(a) มีค่ามากที่สุด แล้ว
(co t 2 )(se c   1) (se c 2 )(si n   1)
ค่าของ  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ถ้า A + B = a เมื่อ ห.ร.ม. ของ a และ b เท่ากับ 1 แล้วค่าของ a + b เท่ากับ 1  si n  1  se c 
b
(PAT 1 มี.ค. 58)
เท่าใด (PAT 1 พ.ย. 57)
1. 1  5
2. 5
3. 1  5
4. 0

Page 98
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
77) กาหนด ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยที่ จุดยอด A จุดยอด B และจุดยอด C อยู่ 79) ถ้า  และ  เป็นจานวนจริงโดยที่ 0      90 และสอดคล้องกับสมการ
บนเส้นรอบวงของวงกลมวงหนึ่งมีรัศมีเท่ากับ R หน่วย ถ้าความยาวของด้านตรง tan( + ) = 5tan( - ) แล้ว (sin2)(cosec2) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ข้ามมุม A และมุม B เท่ากับ a และ b หน่วยตามลาดับ มุม A Bˆ C เท่ากับ 18 (PAT 1 มี.ค. 58)
และมุม A Cˆ B เท่ากับ 36 แล้วค่าของ a - b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 5
6
(PAT 1 มี.ค. 58)
1. R 2. 5
4
2. 1 R 3. 3
2 2
3. 1 R 4. 2
4 3
4. 1 R
16

 
78) ค่าของ a rcta n 2 co s1 0   co s 5 0  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 58)
si n7 0   co s 8 0 
80) ถ้า
1. 15 si n2 0   si n2 1 0   si n2 2 0   ...  si n 2 1 7 0   si n 2 1 8 0   a
2. 30 co s 2 0   co s 2 1 0   co s 2 2 0   ...  co s 2 1 7 0   co s 2 1 8 0  b
3. 45 เมื่อ a และ b เป็นจานวนเต็มบวก โดยที่ ห.ร.ม. ของ a และ b เท่ากับ 1 แล้วค่า
ของ a2 + b2 กับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 58)
4. 60

Page 99
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
81) (3 - 4sin29)(3 - 4sin227)(3 - 4sin281)(3 - 4sin2243) มีค่าเท่ากับข้อใด 83) ค่าของ sec2(arctan2) + cosec2(arccot3) + cosec(2arccot2 + arccos 3 )
ต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 58) 5
1. 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 58)
2. 1 1. 3 3 5
24
3. 2 3 51
2.
4. tan9 24
5. cot9 3. 3 7 5
24
4. 3 85
24
5. 3 9 9
24

82) ถ้า 2 co t   (1  co t ) 2 และ 0     แล้วค่าของ


2 2
 3
84) กาหนดให้ A = a rcsi n co s  และ 0  B  
2
sin2B + sin2(A + B) + sin2(5A + B) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 58)
(1  si n ) se c 2 
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 58) 1. 0
co s 2 
1. 0.125 2. 1
2. 0.25 3. 3  s i n 2B
2
3. 1
4. 3  c o s 2B
4. 2 2
5. 4
5. 3  2 co s 2B
2

Page 100
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
     
85) ให้ a  si n2  si n2 3  และ b  si n2 3   si n2  ข้อใด
8 8 8 8  87) ค่าของ 4sin40 - tan40 ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 59)
1. cos405
ต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 59)
2. sin420
1. b2 - 4a = 0
3. sec(-60)
2. 4b2 - 8a = 3
4. tan(-120)
3. 16a2 - 8b2 = 1
5. cot(-135)
4. 4a2 + b2 = 1
5. 4a2 + 4b2 = 1

 
86) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีมุม C เป็นมุมแหลม ถ้า a, b และ c เป็น 88) กาหนด 0    90 และ ให้ A  a rcsi n  si n   ,
2
ความยาวด้านตรงข้ามมุม A มุม B และมุม C ตามลาดับ โดยที่  1  si n  
a4 + b4 + c4 = 2(a2 + b2)c2 แล้วมุม C สอดคล้องกับสมการในข้อใดต่อไปนี้ B = arctan(1 - sin) และ C  a rc t a n s i n   s i n2 
(PAT 1 มี.ค. 59) ถ้า A + B = 2C แล้วค่าของ 3sin4 + cos4 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 59)
1. sin2C = cosC
2. 2tanC = cosec2C
3. secC + 2cosC = 4
4. 4cosec2C - cos2C = 1
5. tan2C + 2cos(2C) = 2

Page 101
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

89) ค่าของ 2 a r c t a n 1 - a r c t a n 2
8 3  ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60) 91) กาหนดให้ 0    90 ถ้า m = 1 ( 1 + s i n ) c o t  และ
4
4 1
n = ( 1 - s i n ) c o t  พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. a r c s i n 4
5
(ก) (m2 – n2)2 = mn
2. - a r c s i n 4 m n
5 (ข) s i n   m n
3.  - a r c s i n 4 2 2 1 2 2
5 (ค) m + n = c o t  c o s 
8
4. - a r c t a n 3 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 60)
4
1. ข้อ (ก) และข้อ (ข) ถูก แต่ข้อ (ค) ผิด
5.  - a r c t a n 3 2. ข้อ (ก) และข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ข) ผิด
4
3. ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

90) กาหนดให้ a = cos50 + cos20 และ b = sin50 - sin20 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 92) ถ้า 2sin2 = 3cos เมื่อ 0     แล้วค่าของ
2
(PAT 1 มี.ค. 60) 2  2 t a n 
2 2 co s e c (  ) co s   เท่ากับเท่าใด
2 co s e c2 
1. s i n 2 0  °= a 2+b
(PAT 1 มี.ค. 60)
2 2
2. s i n 3 5  °= a +b
2
4
2
3. c o s 3 5  °= a b
2 +b 2
t a n 3 5  °= a 4ab
2
4.

5. c o s 7 0  °=  a  b  2  1

Page 102
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
   
93) ค่าของ si n 4 a rct a n 1 t a n 2 a rct a n 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3 7
95) ถ้า 0  A, B   สอดคล้องกับ (1 + tan A)(1 + tan B) = 2
2
(PAT 1 ก.พ. 61) แล้วค่าของ t a n2 AB
2 
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61)
1. 5
24 1. 3  2 2
2. 7 2. 3  2 2
25
3. 52 2
3. 7
24 4. 1  2
4. 1 2 5. 1  2 2
25
5. 13
25

    
94) ถ้า A  a rct a n 2 si n1 3 0   co s 2 0  แล้ว si n   A co s   A
co s 2 9 0  6 6  96) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยมีความยาวของเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61) เท่ากับ 60 หน่วย ถ้ายาวความของด้านตรงข้ามมุม A และ มุม B เท่ากับ a หน่วย

1.  3
2
  
และ b หน่วย ตามลาดับ แล้วค่าของ a si n2 A  C  b si n2 B  C
2 2 
1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61)
2. 
2 1. 30
3. 0 2. 30 + a
4. 1 3. 60
2
4. 60 + a + b
5. 3
2 5. 150

Page 103
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
เฉลยคาตอบ
1) 3 2) 1 3) 1 4) 3 5) 1
6) 8 7) 1 8) 2 9) 3 10) 4
11) 2 12) 3 13) 3 14) 1 15) 1
16) 2 17) 0 18) 3 19) 1 20) 0.5
21) 0.5 22) 4 23) 1 24) 3 25) 2
26) 1 27) 3 28) 1 29) 178 30) 1
31) 2 32) 1 33) 2 34) 22 35) 0.2
36) 20 37) 3 38) 2 39) 2 40) 4
41) 8 42) 27.25 43) 4 44) 1.5 45) 2
46) 4 47) 6 48) 1 49) 3 50) 1
51) 4 52) 3 53) 2 54) 6 55) 1
56) 3 57) 2 58) 373 59) 2 60) 1
61) 4 62) 4 63) 2 64) 3 65) 153
66) 3 67) 2 68) 2 69) 54 70) 681
71) 2 72) 2 73) 2 74) 169 75) 55
76) 4 77) 1 78) 4 79) 4 80) 181
81) 2 82) 5 83) 4 84) 4 85) 1
86) 2 87) 4 88) 0.75 89) 2 90) 3
91) 1 92) 2.5 93) 2 94) 5 95) 1
96) 1

Page 104
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
เฉลยคาตอบ
ตัวอย่างข้อสอบ 1) 3 2) 4

บทที่ 12 เลขยกกาลัง และ


กรณฑ์
1) ให้ A เป็นเซตของจานวนจริง x ทั้งหมด ที่สอดคล้องกับสมการ
6x  2  2x  7  1 ผลบวกของกาลังสองของสมาชิกทั้งหมดในเซต A
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60)
1. 10.5
2. 14.25
3. 20.25
4. 21.25
5. 30.5

2) เซตคาตอบของอสมการ ( 1  x  1)( 1  x  x 2  x  1 3)  x เป็นสับเซต


ของช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61)
1. (-5,0)
2. (-4,1)
3. (-3,2)
4. (-2,4)
5. (-1,5)

Page 105
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 13 เอ็กซ์โพแนนเชียลและ
ลอการิทึม
1) ถ้า x และ y เป็นจานวนจริงบวกที่ต่างกัน ซึ่งสอดคล้องสมการ xy = yx แล้ว ข้อใด 3) จานวนเต็ม ที่สอดคล้องกับอสมการ l o g 1 [ l o g 3 (x  1)]   1 มีจานวนเท่ากับ
2
ต่อไปนี้ผิด (A-Net 2549)
ข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2549)
1.
x
y y x 1. 6

2.
y
x x y
2. 7
3. 8
3. (x y ) y  x (x  y) 4. มากกว่า 8


y
4. x  y (x  y)
y

2) ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A-Net 2549)


1. log73  log53  log710

4) กาหนดให้ A  z  R z  x d และ d 6 l o g (x  2 y)  l o g x 3  l o g y 3
y 
ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2550)
2. log53  log73  log710 1. 3
3. log73  log710  log53 2. 4
4. log710  log53  log73 3. 5
4. 6

Page 106
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) ถ้า log23 = 1.59 แล้ว ค่าของ x ซึ่งสอดคล้องสมการ 7) ถ้า A = x  a  x  b เป็นเซตคาตอบของอสมการ

 
2x 1 2x  2 2x
2 3  12 เท่ากับเท่าใด (A-Net 2550) log2(2x - 1) - log4 x 2  1  1 แล้ว a + b มีค่าเท่าใด (A-Net 2551)
2 2

6) ผลบวกของรากทั้งหมดของสมการ l o g 3 (31/x  2 7)  l o g 3 4  1  1 8) จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้


2x
3
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2551) ก. ถ้า (loga)3 = x - 1 และ (logb)3 = x + 1 แล้ว log(a + b) = x 2  1
1. 0 ข. กราฟของ y = x2 และกราฟของ y = 2x ตัดกันเพียง 2 จุดเท่านั้น
2. 1 ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A-Net 2552)
2
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
3. 3 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
4
4. 1 3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

Page 107
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
2 3 11) ถ้า 4x - y = 128 และ 32x + y = 81 แล้ว ค่าของ y เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
9) กาหนดให้ A = n  n เป็นจานวนนับ และ nn  9  nn 9 
(PAT 1 มี.ค. 52)
B = n  n เป็นจานวนนับ และ log n = log(n + 1)
1. -2
ผลบวกของสมาชิกทุกตัวในเซต A  B เท่ากับเท่าใด (A-Net 2552)
2. -1
3. 1
4. 2

10) กาหนดให้ a  1 และ b, c  0 ถ้า a2 + b2 = c2 12) ผลบวกของคาตอบทั้งหมดของสมการ log3x = 1 + logx9 อยู่ในช่วงใดต่อไปนี้


และ x เป็นจานวนจริงซึ่ง logc+ba + logc-ba = x(logc+ba)(logc-ba) แล้ว x มีค่า (PAT 1 มี.ค. 52)
เท่าใด (A-Net 2552) 1. [0, 4)
2. [4, 8)
3. [8, 12)
4. [12, 16)

Page 108
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
 245    295  15) กาหนดให้ x, y  0 ถ้า xy = yx และ y = 5x แล้ว ค่าของ x อยู่ในช่วงใดต่อไปนี้
x x
13) กาหนดสมการ  1 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
(PAT 1 ก.ค. 52)
ก. ถ้า a เป็นคาตอบของสมการ แล้ว a  1 1. [0, 1)
ข. ถ้าสมการมีคาตอบ แล้วคาตอบจะมีเพียงค่าเดียว 2. [1, 2)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (PAT 1 มี.ค. 52) 3. [2, 3)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 4. [3, 4)
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

14) คาตอบของสมการ l o g 2 (4  x )  l o g 2 (9  4 x )  1 อยู่ในช่วงใดต่อไปนี้ 16) กาหนดให้ a, b, c  1


(PAT 1 ก.ค. 52) ถ้า logad = 30, logbd = 50 และ logabcd = 15 แล้วค่าของ logcd เท่ากับข้อใด
1. [-10, -6) ต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
2. [-6, -2) 1. 75
3. [-2, 2) 2. 90
4. [2, 6) 3. 120
4. 150

Page 109
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) ถ้า x  0 และ 8x + 8 = 4x + 2x+3 แล้ว ค่าของ x อยู่ในช่วงใดต่อไปนี้ 19) รากที่มีค่าน้อยที่สุดของสมการ 2 l o g (x 2)  2 l o g (x 3)  2 l o g 2 มีค่าเท่าใด
(PAT 1 ต.ค. 52) (PAT 1 ต.ค. 52)
1. [0, 1)
2. [1, 2)
3. [2, 3)
4. [3, 4)

18) กาหนด logyx + 4logxy = 4 แล้ว logyx3 มีค่าเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52) 20) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 53)
1. ถ้าเอกภพสัมพัทธ์คือ -1, 0, 1 ค่าความจริงของ xyx2 + x = y2 + y
เป็นเท็จ
2. ถ้าเอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตของจานวนจริง ค่าความจริงของ x3x = log3x
เป็นจริง
3. ถ้าเอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตของจานวนจริง นิเสธของข้อความ
xy(x  0  y  0)  (xy  0) คือ
xy(xy  0)  (x  0  y  0)
4. ถ้าเอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตของจานวนเต็ม นิเสธของข้อความ
xx  0  x3  x2 คือ x(x  0)  (x3  x)

Page 110
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
 
21) กาหนดให้ x และ y เป็นจานวนจริงบวกและ y  1 x x 1
23) ถ้าสมการ 1  1  a  0 มีคาตอบเป็นจานวนจริงบวก แล้วค่าของ a
ถ้า logy2x = a และ 2y = b แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53) 4 2
ที่เป็นไปได้อยู่ในช่วใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53)
1. 1 (l o g 2 b ) a
2 1. (-, -3)
2. 2( l o g 2 b ) a 2. (-3, 0)
3. a (l o g 2 b ) 3. (0, 1)
2 4. (1, 3)
4. 2 a ( l o g 2 b )

7
22) เซตคาตอบของอสมการ 72x + 72  23x+3 + 32x+2 เป็นสับเซตของช่วงใดต่อไปนี้ 24) กาหนดให้ A  7(7 ) , B  7 7 7 , C  7 7 7 และ D  (7 7 7 ) 7 ข้อใดต่อไปนี้
(PAT 1 มี.ค. 53) ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 53)
1. (log87, log98) 1. B  A  C  D
2. (log98, log89) 2. B  C  A  D
3. (log89, log78) 3. C  B  D  A
4. (log910, log89) 4. C  A  D  B

Page 111
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) ถ้า S = x  R  3x  1  x  1  7x  1  เมื่อ R แทนเซตของจานวน 27) ถ้า A เป็นเซตคาตอบของสมการ 32x+2 - 28(3x) + 3 = 0 และ
จริงแล้ว ผลบวกของสมาชิกใน S เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53) B เป็นเซตคาตอบของสมการ log x + log(x - 1) = log(x + 3)
แล้วผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต A  B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(PAT 1 ก.ค. 53)
1. 1
2. 2
3. 3
4. 4

2
26) พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 28) กาหนดให้ x เป็นจานวนจริงบวกที่สอดคล้องกับสมการ 3 5x  9 x  2 7 และ
3 4 (l o g 2 3)(l o g 4 5)(l o g 6 7)
y ค่าของ xy เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ก. 2 2  3 3 (l o g 4 3)(l o g 6 5)(l o g 8 7)

 
ข. l o g 2 3  l o g 3 1
8 2
(PAT 1 ก.ค. 53)
1.  1
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ก.ค. 53) 8
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. 1
8
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. -27
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
4. 27
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

Page 112
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) กาหนด a = 248, b = 336 และ c = 524 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ก.ค. 53) 31) ถ้า a, b และ c เป็นรากของสมการ x3 + kx2 - 18x + 2 = 0 เมื่อ k เป็นจานวน
1. 1  1  1
b c a  
จริง แล้ว l o g 2 7 1  1  1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 53)
a b c
2. 1  1  1 1. 1
a b c 9
3. 1  1  1 2. 1
b a c 3
4. 1  1  1 3. 2
a c b 3
4. 1

30) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง 32) เซตคาตอบของสมการ l o g 23 x  l o g 2 7 x 3  6 ตรงกับเซตคาตอบของสมการใน


ถ้า S = x  R  x  1  3x  1  7x  1  ข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 53)
และ T = y  R  y = 3x + 1, x  S 1. l o g 1 l o g 1 l o g 1 3 1 0
2
แล้ว ผลบวกของสมาชิกใน T เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53) 4 3 2 9x  2 4 4x  2 9
2. 2 l o g 2 (x  1)  l o g 2 (x 2  1 4 x  4 1)  1
x 2 8x  5 ) 2
3. 3(1  3(2  x 8x  5 )  2 8
4. l o g 3x 3  l o g 2 7 3x  4  0
3

Page 113
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 35) กาหนดให้ a, b, c และ d เป็นจานวนจริงที่มากกว่า 1 ถ้า (logba)(logdc) = 1 แล้ว
2 (l o g c 1) (l o g d 1) (l o g d a 1) (l o g a b 1)
A = x  R  2x2 - 2x + 9 - 2 x  x  3 = 15 ค่าของ a b b c c d เท่ากับเท่าใด
แล้วผลบวกของกาลังสองของสมาชิกในเซต A เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 53) (PAT 1 ต.ค. 53)

1
34) ให้ R แทนเซตของจานวนจริงและให้ 36) ถ้า A แทนเซตคาตอบของ 2(l o g 3 x  1) 2  l o g 1 x 3  4  0 แล้วเซตของ A
3
2 (3 x 2  4 x 1) เป็นสับเซตของช่วงใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54)
C = x  R  (3 x  1 1x  7) = 1 จานวนสมาชิกของเซต C
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 53) 1. (0, 3)
2. (1, 4)
3. (2, 5)
4. (2, 9)

Page 114
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
37) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง 39) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง และ ถ้า
 2x 2  3x  7 2x 1 1  A  {x  R 3 2x  3 4(1 5 x 1 )  5 2x  0} และ
A  x  R 1
2  
 1
4 

  1
2 B  {x  R l o g 5 (5 x  1 2 5)  l o g 5 6  1  1 } แล้ว จานวนสมาชิกของ
  2x
B  x  R x  6x  5  0 
 x1  เซต A  B เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)
B  A เป็นสับเซตในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54)
1. x  R  -1  x  0
2. x  R  -1  x  2
3. x  R  0  x  1
4. x  R  0  x  3

x 1
38) กาหนดให้ A, B และ C เป็นเซตจากัด โดยที่ n(P(A)) = l o g 2 4, 40) กาหนดให้ A = x  R  2 2x  2 x 2  2 2  3 2  เมื่อ R แทนเซตของ
log 256 2log9 32 จานวนจริง จงหาจานวนสมาชิกที่เป็นจานวนเต็มของ R - A (PAT 1 ธ.ค. 54)
n(P(B)) = ( 5 ) 5 และ n(P(A  B)) = 3 เมื่อ P(S) แทน
1. 1
เพาเวอร์เซตของเซต S จงหาค่าของ n(P(A)  P(B)) (PAT 1 มี.ค. 54)
2. 2
3. 3
4. 4

Page 115
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
41) กาหนดให้ A = x  R  2 3x 1  1 7(2 2x )  2 x  3  0  43) กาหนดให้ x  1, a  1, b  1 และ c  1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
และ B = x  R  x2 - 3x - 8 = x2 + 3x จงหาผลบวกของสมาชิกใน ก. ถ้า b2 = ac แล้ว (logax)(logbx - logcx) = (logcx)(logax - logbx)
A  B (PAT 1 ธ.ค. 54) ข. ถ้า c  b + 1 และ a2 + b2 = c2 แล้ว
l o g(c b) a  l o g(c b ) a  2(l o g(c b) a )(l o g(c b) a )
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 55)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

42) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า A เป็นเซตคาตอบของอสมการ 44) ให้ A เป็นเซตคาตอบของสมการ l o g ( x  1  5)  l o g x


(5 x 2 2 3 x  3) และ B เป็นเซตคาตอบของสมการ log2(3x) + log4(9x) + log8(27x) = 3 + 2log64(x)
 35  
(x  5)
 5 แล้ว A เป็นสับเซตในข้อใดต่อไปนี้ ผลคูณของสมาชิกทั้งหมดในเซต A  B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 55)
3
(PAT 1 มี.ค. 55) 1. 1 2
9
1. x  R  (5x - 1)(x - 3)  0
2. 1 6
2. x  R  (4x - 1)(x - 4)  0 9
3. x  R  (2x - 1)(x - 5)  0
3. 32
4. x  R  x - 1  2 9
4. 96
9

Page 116
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
45) กาหนดให้ a  7  4 3 , b  2 2 2 2 . . . และ c  2  3 ข้อ 47) กาหนดให้ A แทนเซตคาตอบของสมการ 3(1+2x) + 9(2-x) = 244 แล้ว เซต A เป็น
ใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 55) สับเซตของช่วงใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 55)
1. (-1, 4)
1. 1  1  1
c a b 2. (-2, 0.5)
2. 1  1  1 3. (0, 5)
c b a 4. (-3, 0)
3. 1  1  1
b a c
4. 1  1  1
b c a

2
46) ถ้า A เป็นเซตคาตอบของอสมการ (x  2) x  2  (x  2) 2x 1 0 เมื่อ x  2 48) ให้ A เป็นเซตคาตอบของสมการ
แล้ว A เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 55) 3x  2  2 3x  1  3x  1 0  6 3x  1  1 4 และให้
1. (2, 3)
B เป็นเซตคาตอบของสมการ 2x 2  6x  1 1  2 x 2  3x  5  2 5
2. (3.5, 5)
ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต A  B เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55)
3. (2.5, 4)
4. (4, 7)

Page 117
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
49) กาหนดให้ A แทนเซตคาตอบของสมการ
2 2 2
x l o g 4 (x  2 x  1)  xl o g 1 (x  2 x  1)  2 x  x 2
51) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า A เป็นเซตคาตอบของอสมการ l o g x  x 2 1  1
2 แล้ว A เป็นสับเซตในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 56)
2
และให้ B = x  x  A ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต B เท่ากับเท่าใด 1. x  R  x2 + 2x - 3 = 3 - 2x - x2
(PAT 1 ต.ค. 55) 2. x  R  2x + 5  9
3. x  R  0  x + 3  5 
4. x  R  x3  3x2

50) ถ้า x, y และ z เป็นจานวนเต็มบวกที่สอดคล้องกับ x + y + z = 16, yx+z = x2(x+z) 52) กาหนดให้ A  7 3 5 , B  5 3 7 , C  3 5 7 และ D  3 7 5 ข้อใด
และ 3y = 3(9z) แล้วผลคูณของ xyz เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55) ต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 56)
1. D  C  A  B
2. A  C  B  D
3. A  B  D  C
4. C  A  D  B

Page 118
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
A 55) กาหนดให้ A แทนเซตคาตอบของสมการ
53) ถ้า x และ y เป็นจานวนจริงบวกที่สอดคล้องกับสมการ 5(x 2 ) 2y A  (1 6)6 4
 5  4x  x 2 
log y  
เมื่อ A  แล้ว ค่าของ x + y เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56) (1 x 2  4x 1) 2
logx 5  5  2  x  4x 1 
 126
ผลบวกของสมาชิกในเซต A ทั้งหมดเท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56)

54) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 56) ให้ R แทนเซตของจานวนจริงถ้า A = x  R  x 2  x 2  3x  4  3x  2 


A = x  R  l o g 3 (x  1)  l o g 3 3 (x  1)  1  และ แล้วเซต A เป็นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 57)
1. (-, 2)  (3, 4)
B = x  R  x  1  x  1  2 
2. (-, 0)  (3, )
แล้วสามเท่าของผลคูณของสมาชิกในเซต A  B ทั้งหมดเท่ากับเท่าใด
3. (-, -1)  (4, )
(PAT 1 มี.ค. 56)
4. (-1, )

Page 119
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
57) ถ้า x เป็นจานวนจริงที่มากที่สุดที่เป็นคาตอบของสมการ 59) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1 2 (ก) ถ้า x เป็นจานวนจริงที่สอดคล้องกับสมการ
1 4  3x  x 2  9  5x  x 2  1 แล้วค่าของ 4  1 2x2  9x
3x  2x  1 log2x + log4x + log8x + log16x - 2log64x = 7 แล้ว x สอดคล้องกับสมการ
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 57) x3 x  4
(ข) ถ้า a, b และ c เป็นจานวนจริงที่สอดคล้องกับ (1 - a)log32 = 2 - log35
(3 + b)log52 = 2 - log53 และ
(3 + c)log72 = 4log73 - log75
แล้ว 2a + b - c = 2 + 5log25 - 9log23
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

58) กาหนดให้ A แทนเซตคาตอบของสมการ 60) กาหนดให้ A แทนเซตคาตอบของสมการ


(2 x 2  2 x) log2(x + 7)2 + 4log4(x - 3) = 3log8(64x2 - 256x + 256)
l o g 3 (3  9)  x 2  x  1 และให้ B = x2  x  A ผลบวก
log3 ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต A เท่ากับเท่าใด (PAT 1 เม.ย. 57)
ของสมาชิกทั้งหมดในเซต B เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 57)

Page 120
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
61) กาหนดให้ A แทนเซตคาตอบของสมการ log6(34x + 29x) = x + log65 63) ถ้า x และ y เป็นจานวนจริงบวกและสอดคล้องกับสมการ


2
และให้ B แทนเซตคาตอบของสมการ x  1  x 2  1  2x 1  x 2 2 l o g 2 (x  2 y)  l o g 1 x  l o g 1 y  0 แล้ว x  1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2 2 y
จานวนสมาชิกของเซต A  B เท่ากับเท่าใด (PAT 1 เม.ย. 57)
(PAT 1 พ.ย. 57)
1. 2
2. 5
3. 10
4. 17

62) กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนจริงบวกที่มากกว่า 1 และสอดคล้องกับ 64) กาหนดให้ a, b, c และ d เป็นจานวนจริงบวก โดยที่ ab = 24 และ cd = 8
2
  พิจารณาข้อความต่อไปนี้
loga4 + logb4 = 9logab2 ค่ามากสุดของ loga(ab5) + logb  a  เท่ากับข้อใด
 b (ก) ถ้า d  b แล้ว a  c
ต่อไปนี้ (PAT 1 พ.ย. 57) (c  1)b (a  1)d
1. 13.5 (ข) ถ้า a  c แล้ว (0.01)b  (0.05)d
2. 11.5 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 พ.ย. 57)
3. 9 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
4. 7 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 121
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
65) ให้ a และ b เป็นจานวนจริง โดยที่ a  0 และ b  1 ถ้า ab = ba และ b = ab3a 67) ให้ A แทนเซตคาตอบของสมการ (4x + 2x - 6)3 = (2x - 4)3 + (4x - 2)3 ผลบวก
แล้ว 20a + 14b เท่ากับเท่าใด (PAT 1 พ.ย. 57) ของสมาชิกทั้งหมดในเซต A เท่ากับเท่าใด (PAT 1 พ.ย. 57)

66) ให้ S แทนเซตคาตอบของสมการ 3 2  x  6 2  x  4 4  x 2  1 0  3x 68) ถ้า A เป็นเซตของจานวนจริง x ทั้งหมดที่สอดคล้องกับอสมการ


ถ้าผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต S เท่ากับ a เมื่อ ห.ร.ม. ของ a และ b x  6  x  x 2  1  x  3 แล้วเซต A เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้
b
เท่ากับ 1 แล้ว a + b เท่ากับเท่าใด (PAT 1 พ.ย. 57) (PAT 1 มี.ค. 58)
1. (-1, 2)
2. (0, 3)
3. (1, 4)
4. (2, 5)

Page 122
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
69) กาหนดให้ A เป็นเซตคาตอบของสมการ 71) ให้ S แทนเซตคาตอบของสมการ
l o gm 4x 2  4x  1  l o gn (6 x 2  1 1x  4)  4 x  3 3x  2  x 2  3  2 x  1  2 2  x
เมื่อ m  3x  4 และ n = 2x + 1 และให้ B = 8x  x  A2 ให้ a และ b เป็นค่าสูงสุด และค่าต่าสุดของสมาชิกในเซต S ตามลาดับ แล้ว ค่า
ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต B เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 58) ของ 25b + 58a เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 58)

70) ให้ A แทนเซตของ (x, y) ทั้งหมด ที่สอดค้องกับระบบสมการ 72) กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนจริงบวกที่มากกว่า 2 และสอดคล้องกับ
2 2x l o g 1 y  1  2 4x 1 l o g a (b  2)  l o g a 3  l o g a 2 (b  2) และ
4
(l o gb2 a )(l o g a b )  1  l o g a b แล้ว a + b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
9(2 2x )l o g 1 y  9  l o g 21 y
8 (PAT 1 ต.ค. 58)
2

 
1. 183
และให้ B  x (x, y)  A ค่าน้อยที่สุดของสมาชิกในเซต B เท่ากับเท่าใด 2. 210
y
(PAT 1 มี.ค. 58) 3. 216
4. 225
5. 239

Page 123
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
73) ให้ A แทนเซตคาตอบของสมการ 3(9  3 x  x  4 )  3 x  4  3 x  4 75) ให้ A เป็นเซตของจานวนจริง x ทั้งหมด ที่สอดคล้องกับอสมการ
และให้ B = 59 - x  x  A ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต B เท่ากับเท่าใด 2x  1  x ถ้า a เป็นขอบเขตบนน้อยสุดของเซต A และ b เป็น
(PAT 1 ต.ค. 58) 1 x  1 x
ขอบเขตล่างมากสุดของเซต A แล้วค่าของ a2 + b2 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 58)

74) กาหนดให้ a  1 และ นิยาม L(n) = l o g 2n ( n a ) สาหรับ n = 1, 2, 3, ... 76) ให้ A เป็นเซตของคู่อันดับ (x,y) โดยที่ x และ y เป็นจานวนจริงบวกที่สอดคล้องกับ
ถ้า 1  1  . . .  1  7 7 แล้วค่าของ a เท่ากับเท่าใด 2  x  y  2 และ 3 l o g 4 1 6x 2  6  6 l o g 2 y
L(1) L(2) L(1 0)
(PAT 1 ต.ค. 58) ให้ B = x2 + y2  (x,y)  A ค่ามากที่สุดของสมาชิกในเซต B เท่ากับเท่าใด
(PAT 1 ต.ค. 58)

Page 124
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
77) ให้ m, n, r และ s เป็นจานวนเต็มบวกที่แตกต่างกันทั้งหมด โดยที่ 1  m  r 79) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า
ให้ a  1 และ b  1 สอดคล้องกับ am = bn และ ar = bs พิจารณาข้อความ 
A  x  R 3 2x 1 0  4(3 x 6 )  2 7  0
ต่อไปนี้
แล้วเซต A เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 59)
(ก) m + n  r + s
1. (-9, -4)
(ข) mn  rs 2. (-5, -2)
 ns    ns 
m r
(ค) 3. (-3, 3)
4. (0, 5)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 59)
5. (2, 10)
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ(ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ(ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ(ค) ผิดทั้งสามข้อ

3 1
2 4
80) กาหนดให้ A  4  3 , B  3 และ
78) กาหนดให้ x และ y เป็นจานวนจริงบวกที่สอดคล้องกับ 3 43  1
3
2log2 y  4  log 2 x และ 4 (x 1)  2  9( 4 2 ) y
C 2 4 3 ค่าของ A - B + C เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 59)
1. x2 + y2 = 17 3  4 3  1  27
 3
2. x3 + y3 = 9 (PAT 1 มี.ค. 59)
3. x2 = y - 1 1. - 3
4. y2 = x + 4
2. 3
5. x + 2y = 7
3. -1
4. 1
5. 0

Page 125
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
81) ให้ A แทนเซตคาตอบของสมการ 2 5  3(1 5) x  5 x  2 5(3 x 1 ) 83) ถ้า x และ y เป็นจานวนจริงที่สอดคล้องกับ 3(8 2 x) 4(x  y)  3 8 4(9 y )
เมื่อ x เป็นจานวนจริง และให้ B = 3x + 5x  x  A ค่ามากที่สุดในเซต B และ 5(3 x 2 y 3)  1 แล้วค่าของ xy เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60)
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 59) 1. 2
2. 3
3. 3.5
4. 5
5. 7.5

82) ถ้า A เป็นเซตคาตอบของอสมการ 84) ให้ x, y และ z เป็นจานวนเต็มบวกโดยที่ x + y + z = 15 และสอดคล้องกับ


2 (z + 1)x = y2x และ (0.1)z = (0.01)x ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 60)
(x  2x  1 6) l o g 2 (2  3 )  l o g 2 (2  3 )
1. x  y  z
แล้ว A เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60)
2. y  x  z
1. (- , -3)  (4 , )
3. x  z  y
2. (- , -4)  (3 , )
4. y  z  x
3. (-4 , 3)
4. (-3 , 6) 5. z  y  x
5. (-1 , 9)

Page 126
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
85) ให้ A เป็นเซตของจานวนจริง x ทั้งหมดที่สอดคล้องกับอสมการ 87) ให้ a เป็นจานวนจริงที่สอดคล้องกับอสมการ l o g 3 (5(6 a )  2 2a 1 )  2 a  1
log2x + log3x  (log2x)(log3x) และให้ a เป็นขอบเขตล่างมากที่สุดของเซต ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ก.พ. 61)
A  [0,9] และให้ b เป็นขอบเขตบนน้อยที่สุดของเซต A  [0,9] ค่าของ a + b 1. 2a + 1  0
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 60) 2. a  1
3. 2a  1
4. 1  a - 1  2
5. 2 a 1  1

86) ให้ A เป็นเซตของจานวนจริง x ทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมการ 88) ถ้า a และ b เป็นจานวนจริงบวก และ n เป็นจานวนเต็มบวก ที่สอดคล้องกับ
4 x  4(4 x )  3(2 x  x ) ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต A เท่ากับเท่าใด log a3b2n = 1, log a2nb3 = 1 และ log anbn = 6 แล้ว nlog an - log b2n
7
(PAT 1 มี.ค. 60) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61)
1. 1
7
2. 6
7
3. 1
4. 2
5. 3

Page 127
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
89) ถ้า A เป็นเซตคาตอบของสมการ 2 l o g 3 x  1  l o g 9 (x  1) 2  l o g 3 2x
แล้วผลคูณของสมาชิกทั้งหมดในเซต A เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.พ. 61) เฉลยคาตอบ
1) 3 2) 1 3) 2 4) 2 5) 2.09
6) 3 7) 2.5 8) 4 9) 4 10) 2
11) 2 12) 3 13) 3 14) 3 15) 2
16) 1 17) 2 18) 6 19) 4 20) 3
21) 1 22) 2 23) 2 24) 3 25) 5
26) 1 27) 2 28) 2 29) 4 30) 2
31) 3 32) 1 33) 13 34) 5 35) 1
36) 4 37) 2 38) 18 39) 4 40) 2
41) 4 42) 2 43) 1 44) 3 45) 4
46) 3 47) 1 48) 11 49) 10.5 50) 108
51) 3 52) 3 53) 20 54) 5 55) 4
56) 2 57) 4 58) 5 59) 1 60) 5
61) 3 62) 2 63) 4 64) 3 65) 66
66) 11 67) 3.5 68) 2 69) 4.5 70) 4
71) 112 72) 2 73) 126 74) 32 75) 1.5
76) 2 77) 4 78) 1 79) 2 80) 5
81) 34 82) 1 83) 2 84) 2 85) 7
86) 4 87) 4 88) 5 89) 1 90) 125

90) ถ้า A เป็นเซตของคู่อันดับ (x,y) โดยที่ x และ y เป็นจานวนจริงบวกที่สอดคล้องกับ


สมการ 2xlog5y = 4log255 + 4x
2xlog5y3 = (log5y)2 + 9
และให้ B = xy  (x,y)  A ค่ามากที่สุดของสมาชิกในเซต B เท่ากับเท่าใด
(PAT 1 ก.พ. 61)

Page 128
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 14 เมทริกซ์ 1 a 1 3
1) ถ้า x, y, z สอดคล้องกับระบบสมการ 3) กาหนดให้ a, b เป็นจานวนจริง และ A = 1 b  , B =  2 3 
   
x + 2y - 2z = -2 2 2 2
ถ้า (A + B) - 2AB = A + B แล้ว det(A) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2550)
2x + y + 2z = 5
1. 0.5
x - 3y - 2z = 3
2. 1.5
2 1 3 3. 3.5
แล้ว ดีเทอร์มิแนนต์ 2 2  2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
x  2y 2x  y x  3y 4. 4.5

(A-Net 2549)

1. 60
2. 75
3. 90
4. 105

3 x 3  x 1 1 
2) กาหนดให้ A = 2 0 9  เมื่อ x เป็นจานวนจริง 4) กาหนดให้ A = 3 1 1  ถ้า C12(A) = 4 แล้ว det(2A) มีค่าเท่าใด
 1 1 2   x 0  1

3 x 3 1 0 0   1 0 0 9 5  36  (A-Net 2550)
ถ้า 2 0 9 0 1 0  0 1 0  5  3 21  แล้ว x มีค่าเท่ากับเท่าใด
 1 1 2 0 0 1 0 0 1  2  1 8 
(A-Net 2549)

Page 129
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) กาหนดเมทริกซ์ A และ B ดังนี้ 7) กาหนดให้ n เป็นจานวนนับ และ x เป็นจานวนจริงซึ่งไม่เท่ากับ 1 ถ้า A คือตัว
2
 x 2 2  x x2 xn 
A=    2  4x 
2 2 x  และ B =  2 0  โดยที่ x เป็นจานวนจริง ผกผันการคูณของเมทริกซ์  0 x x 2  แล้วค่าของ n ที่ทาให้
 
ถ้า det(2A) = -76 แล้ว  0 0 x 
เมทริกซ์ C ในข้อใดต่อไปนี้ ที่ทาให้ค่าของ det(BC) อยู่ภายในช่วง (-100, -50)
0  0 
(A-Net 2551) 1 0 0  A 0   2 0 0  A 0  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552)
1 1 2  3 
1. C = 1 2 
  1. 1
1 2 2. 3
2. C =  1 1
  3. 6
2 1 4. 9
3.   1 4 
 
4. 2 1 
 3  1

 2 x 1 a / 2 b c 
6) กาหนดเมทริกซ์ A =   1 0 1  โดยที่ x เป็นจานวนจริง 8) กาหนดให้ A =  0 c / 2 a  ถ้า A + At เป็นเมทริกซ์เอกฐาน และ
1  x 2 2x   0 0 b / 2 
ถ้า C22(A) = 14 แล้ว det(adj(A)) มีค่าเท่าใด (A-Net 2551) a + b + c = 1 แล้ว det(A-1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552)
3 3 3

1. 24
2. 8
3. 2
4. 0

Page 130
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
 1 2  1 11) กาหนดให้ x, y, z สอดคล้องกับระบบสมการ
9) กาหนดให้ A = 2 x 2  โดยที่ x และ y เป็นจานวนจริง 2x - 2y - z = -5
2 1 y  x - 3y + z = -6
ถ้า C11(A) = 13 และ C21(A) = 9 แล้ว det(A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ -x + y - z = 4
(PAT 1 มี.ค. 52) ข้อใดต่อไปนี้ถูก (PAT 1 มี.ค. 52)
1. -33 1. x2 + y2 + z2 = 6
2. -30 2. x + y + z = 2
3. 30 3. xyz = 6
4. 33 xy
4.  2
z

 2 2 3
10) กาหนดให้ AT =  1  1 0  สมาชิกในแถวที่ 2 และหลักที่ 3 ของ A-1 12) กาหนดให้ A เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ 2 x 2 และ det(A) = 4
 0 1 4  ถ้า I เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ และ A - 3I เป็นเมทริกซ์เอกฐาน แล้ว det(A + 3I)
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
1.  2 1. 0
3 2. 6
2. -2 3. 13
3. 2 4. 26
3
4. 2

Page 131
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) ถ้า x, y, z เป็นจานวนจริงซึ่งสอดคล้องกับระบบสมการเชิงเส้น x 
2x - 2y - z = 1 15) กาหนดให้ X =  y  สอดคล้องกับสมการ AX = C เมื่อ
 z 
x - 3y + z = 7
-x + y - z = -5  1 2 1 1 1 0  2 
A =   2 0 1 , B = 2 0  1 และ C =  2 
แล้ว 1  2  3 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)  0 1 2   1 4 0   3 
x y z
1. 0 a 
2. 2 ถ้า (2A + B)X = b  แล้ว a + b + c มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 c 
3. 5
4. 8 (PAT 1 ต.ค. 52)
1. 3
2. 6
3. 9
4. 12

 0 x 0   1 
3 4 1 2
14) ถ้า A และ B เป็นเมทริกซ์ซึ่ง 2A - B = 3 6  และ A + 2B =  4  2  16) ถ้า d e t  2 0 2 2    1 แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
      3 1 5   x  1
-1
แล้ว (AB) คือเมทริกซ์ในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)    
(PAT 1 ต.ค. 52)
 1 
1.   4 0  1. 1
 1  1 2. 2
  1 0  3. 3
2. 
1  1 4. 4
 4
 1
3.  1 4 
0  1
1  1 
4. 
0  1
 4

Page 132
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
1 2 4 19) ให้ x, y, z และ w สอดคล้องกับสมการ
17) กาหนดให้ A =   3 8 0  สมาชิกในแถวที่ 3 หลักที่ 1 ของ A-1 เท่ากับ  1 0   x  1  2y  1  1 0  ค่าของ 4w - 3z + 2y - x
 1 2  1
  1 w  0 y   z 2    1 w 
เท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53)

4 4 0 1  1 1 และ C =  1  1
18) ให้ A และ B เป็นเมทริกซ์ที่มีขนาด 2x2 โดยที่ 2A - B =  5 6  และ 20) กาหนดให้ A = 0 1 , B =
    0 0   0 2 
5 8 ค่าของ det(2At + BC2 + BtC) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 53)
A - 2B =  4 0  ค่าของ det(A4B-1) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53)
  1. -1
2. 0
3. 2
4. 6

Page 133
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
1 1 x y
23) กาหนดให้ A = 1  1 และ B =  y z  ถ้า A-1BA =   2 0  แล้วค่า
a
5 b   a a      0 4 
  4 5  b
21) ให้ a, b, c, d เป็นจานวนจริง ถ้า 3  c    5 6    c
2 d 
d  1 3  2 2d  ของง xyz เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 53)
1. -3
แล้วค่าของ b + c เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53)
2. -1
3. 0
4. 1

a b
22) ให้ a, b, c, d, t เป็นจานวนจริง ถ้า A =  c d  โดยที่ detA = t  0 และ 24) กาหนดให้ X เป็นเมทริกซ์ที่สอดคล้องกับสมการ
 
 3 2
det(A + t2A-1) = 0 แล้วค่าของ det(A - t2A-1) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53)  1  2   4X  2 1  2   1 4  แล้วค่าของ det(2Xt(X + Xt)) เท่ากับ
 4 3   0 1 3    3 1
 
เท่าใด (PAT 1 ต.ค. 53)

Page 134
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
2x 1 2x 1 0 
25) กาหนดให้ x เป็นจานวนเต็มและ A =  x x  เป็นเมริกซ์ที่มี detA = 3 ถ้า B
  27) กาหนดให้ A =  0  1 3  และ det(I - A-1) = 0, x  0
-1  0 0  x 
เป็นเมทริกซ์มีมิติ 2 x 2 โดยที่ BA + BA = 2I เมื่อ I เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์การ
คูณมิติ 2 x 2 แล้วค่าของ detB อยู่ในช่วงใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54) จงหาค่าของ det  1 A  1(3I 2 A t )  (PAT 1 ธ.ค. 54)
1. [1, 2] 2 
2. [-1, 0]
3. [0, 1]
4. [-2, -1]

0 3
26) กาหนดให้ A = a b  , a  0 B เป็นเมทริกซ์ 2 x 2 และ I เป็นเมทริกซ์ 28) กาหนดให้ a, b, c, d, x และ y เป็นจานวนจริง และ
 
1 x a b 1 0 1 0
เอกลักษณ์มิติ 2 x 2 ถ้า A2B = I และ 2A-1 - 3B = I แล้ว จงหาค่าของ 3a + 3b A =  y  1 , B =  c d  , C =  0 1 และ I = 0 1
       
(PAT 1 ธ.ค. 54)
ถ้า A2 = I และ AB = 2C แล้ว ค่าของ det(B-1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4
(PAT 1 มี.ค. 55)
2. 3
1. 0.25
3. 2
2. 0.5
4. 1
3. 2
4. 4

Page 135
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) กาหนดให้ A, B และ C เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน(nonsingular matrix) มิติ 3 x 3 31) กาหนดให้ A, B และ C เป็นเมทริกซ์มีมิติ 3 x 3 โดยที่ detB  0
และ I เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์การคูณ มิติ 3 x 3  1 2  3 
a b c  ถ้า A =  2 1 1  และ det(BtCB-1) = -4 แล้ว det(CtAC) เท่ากับเท่าใด
ถ้า A =  d e f  เมื่อ a, b, c, d, e, f, g, h และ i เป็นจานวนจริง และ  3  1 0 
 g h i  (PAT 1 ต.ค. 55)
  3g  3h  3i 
A3 = 2I, det(C-1) = 4 และ BtC =  a b  c  แล้ว det(B) เท่ากับ
 2d 2e 2f 
เท่าใด (PAT 1 มี.ค. 55)

30) กาหนดให้ A เป็นเมทริกซ์ ที่มีมิติ 3 x 3 และ det(A)  0 พิจารณาข้อความ 32) กาหนดให้ A และ B เป็นเมทริกซ์ มีมิติ 3 x 3 โดยที่ det(A) = 2 และ
ต่อไปนี้ 1 3 2
(ก) (det(A))3 = det(adj(A)) B =  0  1 x  เมื่อ x และ y เป็นจานวนจริง ถ้า AB + 3A = 2I เมื่อ
(ข) ถ้า A2 = 2A แล้ว det(A) = 2  0  2 y 
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 55) I เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ ที่มีมิติ 3 x 3 แล้ว x + y เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก (PAT 1 มี.ค. 56)
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 1. 0
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 2. -1
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด 3. -2
4. -2.5

Page 136
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
4  2 7 
33) ให้ S เป็นเซตของจานวนจริง x ทั้งหมดที่ทาให้เมทริกซ์  x  1 3  35) กาหนดให้ A และ B เป็นเมทริกซ์จัตุรัสมิติเท่ากัน โดยที่ det(A)  0 และ
 2 0 x 
det(B)  0 ถ้า det(A-1 + B-1)  0 และ det(A + B)  0 แล้ว (A + B)-1 ตรงกับ
เป็นเมทริกซ์เอกฐานและให้ y เท่ากับผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต S ข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 57)
y 1 1. B-1(A-1 + B-1)A-1
ถ้า A =   1 y  แล้ว ค่าของ det(((At)-1)t)-1 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56)
  2. B-1(A-1 + B-1)-1A-1
3. B(A-1 + B-1)A
4. B(A-1 + B-1)-1A

1 2 1 0 1 a 1 0
34) กาหนดให้ A =  0  1 , I = 0 1 และ B เป็นเมทริกซ์ใดๆ มีมิติ 2 x 2 36) กาหนดให้ A = b 4  , I = 0 1 เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริงที่ ab  0
       
ให้ x เป็นจานวนจริงที่สอดคล้องกับ det(A2 + xI) = 0 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ และเมทริกซ์ A สอดคล้องกับสมการ 2(A - I)-1 = 4I - A พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) det(A + xI) = 0 (ก) ab = 2
(ข) det(A2 + xI - B) = det(Bt) (ข) det(3A2AtA-1) = 324
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 57) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 137
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
37) พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 39) ถ้า x และ y เป็นจานวนจริงที่สอดคล้องกับ
t
0 0 a  x 1 
 2  y 3   1 0  x 0  แล้วค่าของ x + y เท่ากับ
(ก) ถ้า A = b 0 0  เมื่อ a, b, c เป็นจานวนจริงบวกที่ abc = 1  2 x  y    1 y   7 7  y 
0 c 0 
เท่าใด (PAT 1 พ.ย. 57)
และ I เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์การคูณมิติ 3x3 แล้ว det(A2 + A + I) = 0
a1 a 2 a 3 
(ข) ให้ A = b 1 b 2 b 3  และ
 c1 c 2 c 3 
a1  2b 1  3c 1 a 2  2b 2  3c 2 a 3  2b 3  3c 3 
B=  2b 1 2b 2 2b 3 
 3c 1 3c 2 3c 3 
เมื่อ a1, a2, a3, b1, b2, b3, c1, c2, c3 เป็นจานวนจริง ถ้า det(A) = 3
แล้ว det(B) = -18
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

1 2
38) กาหนดให้ A เป็น 2 x 3 เมทริกซ์ B เป็น 3 x 2 เมทริกซ์ และ C เป็น 2 x 2 40) กาหนดให้ A และ B เป็นเมทริกซ์มิติ 2x2 โดยที่ AB = 3 4  และ
 
1 6
เมทริกซ์ โดยที่ ABC = 1 1 4  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 1 2
  ABA =   1 4  พิจารณาข้อความต่อไปนี้
 
(ก) det(AB) - det(BA) = 0
7 10
1 2 5 7 (ก) BAB =  2 2 3 2 
(ข) ถ้า C =  1 2  แล้ว CAB =  6 1 0   
   
(ข) (A - B)(A + B)  A2 - B2
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 พ.ย. 57)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 58)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 138
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
41) กาหนดให้ A และ B เป็นเมทริกซ์มิติ 3x3 โดยที่ det(A)  0, 1 b 0
det(AadjA) - 2(detA)2 - 3detA = 0 และ AB = I เมื่อ I เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ 43) ถ้า a และ b เป็นจานวนจริงที่สอดคล้องกับ a 4 1   1 7
การคูณมิติ 3x3 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 5 a a
(ก) 7detB - detAt  0 5  2a 2 5
(ข) det(2A - 3adjB) = 2 แล้วค่าของ 8  a 2b a เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 58)
2  a 0 a
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 58)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

1 2 a b a 0 1 0
42) กาหนดให้ A = 2 1 และ B =  c d  เมื่อ a, b, c และ d เป็นจานวนจริง 44) กาหนดให้ A-1 =   2 1 และ B-1 = b 1 เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริงที่
       
บวก โดยที่ abcd = 9 และ ad  bc ถ้า AB-1 = B-1A และ det(AtB) = -24 แล้ว 8 2
ไม่เป็นศูนย์ โดยที่ (At)-1B =   3 1  ค่าของ det(2A + B) เท่ากับข้อใด
ค่าของ a + b + c + d เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 58)  
1. 5 ต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 59)
2. 6 1. 3
3. 7 2. 6
4. 8 3. 9
5. 9 4. 12
5. 14

Page 139
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
 2  2 1 1 2 2 
45) กาหนดให้ A = a b 2  เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง ถ้า AAt = 9I เมื่อ I 47) กาหนดให้ AX = B เป็นสมการเมทริกซ์ โดยที่ A  b a 0 
 1 2 2  3  1  1
เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ที่มีมิติ 3x3 แล้วค่าของ a2 - b2 เท่ากับเท่าใด x   9 
(PAT 1 มี.ค. 59) X   y  และ B   a  เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง ถ้า
 z    1 0 
det A = 15 และ y = 1 เป็นคาตอบของระบบสมการนี้ แล้ว (a - b)2
มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 60)

1 2 3 1
46) กาหนดให้ A และ B เป็น n x n เมทริกซ์ เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก 48) กาหนดให้ A    1 3  และ B   a b  เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง
   
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ถ้า (A - B)B = B(A - B) แล้วค่าของ det(A + B) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(ก) det(AB - BA) = 0
(PAT 1 ก.พ. 61)
(ข) ถ้า det(A)  0 และ det(B) = 0 แล้ว det(A + B)  0
(ค) ถ้า det(A)  0 , det(B)  0 และเมทริกซ์ A + B มีอินเวอร์สการคูณ 1.  3
2
แล้ว (A + B)-1 = B-1 + A-1 2.  1
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 60) 2
3. 5
1. ข้อ (ก) ถูกเพียงข้อเดียว 2
2. ข้อ (ข) ถูกเพียงข้อเดียว 7
4.
3. ข้อ (ค) ถูกเพียงข้อเดียว 2
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ 5. 1 3
2
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

Page 140
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
 3 1  1
49) กาหนดให้ A เป็นเมทริกซ์มิติ 3 x 3 โดยที่ det A = 1 และ B   20 2 0 
4 a 0 b 
 
เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง ถ้า 2AB + 3I = A เมื่อ I เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์การ
คูณมิติ 3 x 3 แล้วค่าของ a + b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61)
1. 3
2
2.  5
2
3. 1
2
4.  1 7
2
5. 1 9
2

เฉลยคาตอบ
1) 1 2) 4 3) 3 4) 16 5) 1
6) 36 7) 2 8) 1 9) 4 10) 3
11) 1 12) 4 13) 1 14) 4 15) 3
16) 4 17) 0.2 18) 32 19) 6 20) 3
21) 4 22) 4 23) 1 24) 396 25) 3
26) 1 27) 5 28) 1 29) 48 30) 4
31) 320 32) 4 33) 2 34) 1 35) 2
36) 3 37) 2 38) 4 39) 3 40) 1
41) 2 42) 4 43) 68 44) 2 45) 3
46) 5 47) 9 48) 3 49) 4

Page 141
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 15 เวคเตอร์
1) กาหนดให้ u  i  3k 3) ให้ u  a i  b j  2 k และ v  2a i  3b j โดยที่ a, b เป็นจานวนเต็ม
v  2 j  x k เมื่อ x เป็นจานวนจริง บวก และ  เป็นมุมระหว่าง u และ v ถ้า u = 3 และ cos = 1 แล้ว u x v มี
3
และ w  3 i  j  k ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2550)
ถ้า u , v และ w อยู่บนระนาบเดียวกัน แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 6 i  8 j  1 0 k
(A-Net 2549) 2. 6 i  8 j  10k
1. -12
3. 1 2 i  4 j  1 0 k
2. -8
4.  1 2 i  4 j  1 0 k
3. 8
4. 16

2) กาหนดให้ u  3 i  4 j ถ้า w  a i  b j โดยที่ w มีทิศเดียวกันกับ 4) กาหนดให้ P(-8,5), Q(-15,-19), R(1,-7) เป็นจุดบนระนาบ ถ้า v  a i  b j
u และ w = 10 แล้ว a + b เท่ากับเท่าใด (A-Net 2549) (a,b เป็นจานวนจริง) เป็นเวกเตอร์ซึ่งมีทิศทางขนานกับเส้นตรงซึ่งแบ่งครึ่งมุม
Q Pˆ R แล้ว a มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2550)
b
1. 2
2. -2
3. 2
11
4.  2
11

Page 142
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) ให้ A , B และ C เป็นเวกเตอร์ ซึ่ง A = 3, B = 2 และ C = 1 7) กาหนดให้ u และ v ไม่เป็นเวกเตอร์ศูนย์ และ u  v  u  v ถ้า

ถ้า A  B  4C  0 แล้ว A  B  B  C  C  A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ v  1 u แล้ว มุมระหว่างเวกเตอร์ u  v และเวกเตอร์ u  v เท่ากับข้อใด


3
(A-Net 2551) ต่อไปนี้ (A-Net 2552)
1.  5 1. 30
2
2. -1 2. 45
3. 0 3. 60
4. 90
4. 1
2

6) กาหนดทรงสี่เหลี่ยมหน้าขนาน มีจุดยอดอยู่ที่จุด O(0,0,0), A(1,5,7), B(2a,-b,-1) 8) กาหนดให้ ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน M เป็นจุดบนด้าน AD ซึ่ง
และ C(a,3b,2) โดยที่ a และ b เป็นจานวนเต็ม ถ้า O A ตั้งฉากกับฐานที่ A M  1 A D และ N เป็นจุดบนเส้นทแยงมุม AC ซึ่ง A N  1 A C ถ้า
5 6
ประกอบด้วย O B และ O C และ  เป็นมุมระหว่าง O B และ O C แล้ว ข้อใด
M N  aA B  bA D แล้ว a + b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52)
ต่อไปนี้ถูก (A-Net 2551)
1. 2
1. sin = 5 15
3 7
2. 1
2. O B O C  2 1 5
3. 1
3. พื้นที่ฐานของทรงสี่เหลี่ยมหน้าขนาน เท่ากับ 5 3 ตารางหน่วย 3
2
4. ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมหน้าขนาน เท่ากับ 75 ลูกบาศก์หน่วย 4. 1

Page 143
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) กาหนดให้ u และ v เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาดหนึ่งหน่วย ถ้าเวกเตอร์ u  2 v ตั้ง 11) กาหนดให้ u และ v เป็นเวกเตอร์ซึ่ง u  v  u v
ฉากกับเวกเตอร์ 2 u  v แล้ว u  v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52) ถ้า a( v  2 u )  3 u  b(2 u  v ) แล้วค่าของ a อยู่ในช่วงใดต่อไปนี้
1.  4 (PAT 1 ก.ค. 52)
5
2. 0 1. 0, 1
 2 
3. 1
5 2.  1 ,1
2 
4. 3
5 3. 1, 3
 2 
4.  3 ,2
2 

10) กาหนดให้ u และ v เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาดหนึ่งหน่วย 12) กาหนดให้ u และ v เป็นเวกเตอร์ที่ไม่เท่ากับเวกเตอร์ศูนย์ซึ่ง u ตั้งฉากกับ v และ
ถ้าเวกเตอร์ 3 u  v ตั้งฉากกับเวกเตอร์ u  3 v แล้วเวกเตอร์ 5 u  v มีขนาด u  v ตั้งฉากกับ u  v พิจารณาข้อความต่อไปนี้
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52) ก. u  v
1. 3 หน่วย ข. u  2 v ตั้งฉากกับ 2 u  v
2. 3 2 หน่วย ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง (PAT 1 ต.ค. 52)
3. 4 หน่วย 1. ก. ถูก และ ข. ถูก
4. 4 2 หน่วย 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

Page 144
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มี D เป็นจุดบนด้าน AC และ F เป็นจุดบน 15) ให้ u , v และ w เป็นเวกเตอร์ กาหนดโดย u  i  2 j  3 k ,
ด้าน BC ถ้า A D  1 A C , B F  1 B C และ D F  aA B  bB C แล้ว a มีค่า v  2 i  d j  k , w  a i  b j  c k เมื่อ a, b, c และ d เป็นจานวนจริง
3 3 b
เท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52) ถ้า u  w = 2, u  ( v  w) = 3, v  w  i  q j  r k
เมื่อ q, r เป็นจานวนจริง และ w ขนานกับ  2 i  1 j  1 k แล้วค่าของ
3 2 3
a + 4b + 2c เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53)

14) ให้ a และ b เป็นเวกเตอร์ กาหนดโดย 16) กาหนด u และ v เป็นเวกเตอร์ โดยที่ u  i  3 j , v = 3 และ u  v = 4
a  i  1 j  3p k และ b   2p i  2 j  p k เมื่อ p เป็นจานวนจริง ค่าของ u  v เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53)
2
1. 6
ถ้า a ตั้งฉากกับ b และ ขนาดของ b เท่ากับ 3 แล้ว ค่าของ p อยู่ในช่วงข้อใด
ต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53) 2. 10
3. 1 3
1. (  3,  3 )
2 4. 4
2. (  ,0)3
2
3. (0, 3 )
2
3
4. ( ,3)
2

Page 145
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) กาหนดให้ u  2 i  5 j และ v  i  2 j ให้ w เป็นเวกเตอร์ โดยที่ 19) กาหนดให้ u , v และ w เป็นเวกเตอร์ในระนาบ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
u  w = -11และ v  w = 8 ถ้า  เป็นมุมแหลมที่เวกเตอร์ w ทามุมกับเวกเตอร์ (PAT 1 ต.ค. 53)
5 i  j แล้ว tan + sin2 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53) 1. ( u  v )2  ( u  u)( v  v )
2. ถ้า ( u  v ) 2  ( u v ) 2 แล้ว u ตั้งฉากกับ v
3. ถ้า u  v  w  0 , u  3 , v  4 และ w  7 แล้ว u  v = 12
4. uv2  u2 v2

18) กาหนดให้ u , v และ w เป็นเวกเตอร์ในระนาบและ x, y เป็นจานวนจริง 20) กาหนดให้ u และ v เป็นเวกเตอร์ใดๆ โดยที่ u  1 , v  3 และ u ทามุม 60
โดยที่ u  x i  y j , v  4 i  3 j และ w  2 i  j uv
กับ v ค่าของ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54)
2u  v
ถ้า u  v 2  u 2  v 2 และ 5x + 5y = 21 แล้วค่าของ u  w เท่ากับข้อใด
1. 13
ต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 53)
19
1. 5
2. 13
2. 6 7
3. 10 3. 1
4. 14 7
4.
19

Page 146
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) กาหนดให้ A(a,b), B(4,-6) และ C(1,-4) เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม ABC ถ้า 23) กาหนดให้ A, B, C เป็นจุดยอดของสามเหลี่ยม P เป็นจุดกึ่งกลางของ AC
P เป็นจุดบนด้าน AB ซึ่งอยู่ห่างจากจุด A เท่ากับ 3 ของระยะระหว่าง A และ B Q อยู่บน AB ทาให้ AQ : QB = 1 : 2 ถ้า A B  6 i  3 j และ B C  2 i  3 j
5
จงหา P Q (PAT 1 ธ.ค. 54)
และเวกเตอร์ CP  i  2 j แล้ว a + b เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)
1.  i  2 j
2. 2 i  j
3. 2 i  j
4. i 2 j

22) จากรูป a  b  c  0 24) กาหนดจุด A(3,0), B( 3  3 ,1) และ C(a,b) โดยที่ C อยู่ในจตุภาคที่ 4
A B กับ A C ทามุมกัน 60 และ A C = 2 3 A B จงหาค่าของ a2 + b2
(PAT 1 ธ.ค. 54)

ข้อใดต่อไปนี้ถูก (PAT 1 ธ.ค. 54)


1. a co s e c3 5   c 1  co t 2 0 
co t 3 5  

2. a co s e c2 0   c 1  co t 3 5 
co t 2 0  

3. a co s e c3 5   c 1  t a n2 0 
t a n3 5  

4. a co s e c2 0   c 1  t a n3 5 
t a n2 0  

Page 147
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) กาหนดให้ จุดA(-1,1), B(2,5) และ C(2,-3) เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม ABC 27) กาหนดให้ u , v และ w เป็นเวกเตอร์บนระนาบซึ่ง u  v  w  0 , u  w  8
ให้ L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด A และ จุด B ลากส่วนเส้นตรง CD ตั้งฉากกับเส้นตรง และ v  w   2 ถ้าเวกเตอร์ w ทามุม a rc s i n 1 กับเวกเตอร์ u และเวกเตอร์
3
L ที่จุด D แล้วเวกเตอร์ A D เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 55)
2
w ทามุม   a rcsi n กับเวกเตอร์ v แล้วค่าของ u 2  v 2 เท่ากับข้อใด
1.  7 (3 i  4 j ) 3
25
7 ต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 55)
2. (3 i  4 j )
25 1. 6
3.  7 (3 i  4 j ) 2. 10
25 3. 14
4. 7 (3 i  4 j )
25 4. 18

26) กาหนดให้ u และ v เป็นเวกเตอร์ใดๆ ซึ่งไม่ใช่เวกเตอร์ศูนย์ พิจารณาข้อความ 28) พาราโบลารูปหนึ่งมีจุดยอดอยู่ที่ A(-3,2) มีแกนสมมาตรขนานกับแกน x และโฟกัส
ต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 55) F อยู่บนเส้นตรง L ซึ่งมีสมการเป็น 4x - 3y + 14 = 0 ถ้าพาราโบลานี้ตัดกับ
ก. uv2  u2  v2 เส้นตรง L ที่จุด B(a,b) โดยที่ a  0 แล้วผลคูณของเวกเตอร์ A F  F B เท่ากับ
2 เท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55)
ข. ถ้า u ตั้งฉากกับ v แล้ว u  v  u2  v2
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 55)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

Page 148
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 31) กาหนดให้ u , v และ w เป็นเวกเตอร์ใดๆในสามมิติ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) ให้เวกเตอร์ w  a i  b j  c k เมื่อ a, b และ c เป็นจานวนจริงและ (ก) u  ( v  w)  w  ( u  v )
ให้เวกเตอร์ u  i  2 j  k และ v  i  j  k ถ้าเวกเตอร์ w ตั้ง (ข) ถ้า u  w , u  v  v  w และเวกเตอร์ u ตั้งฉากกับ
ฉากกับเวกเตอร์ u และเวกเตอร์ v แล้ว a + b + c = 1 เวกเตอร์ v ตั้งฉากกับเวกเตอร์ w
(ข) ให้เวกเตอร์ u  2 i  j และ v  a i  b j เป็นเวกเตอร์ในระนาบ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
ถ้า v  3 และ u  v = 3 แล้วเวกเตอร์ u ทามุม 60กับเวกเตอร์ v
5 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 56) 3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

30) กาหนดให้ a , b และ c เป็นเวกเตอร์บนระนาบซึ่งกาหนดโดย a  x i  1 2 j , 32) กาหนดให้ a , b และ c เป็นเวกเตอร์ ซึ่ง a  b  c  0 , a  b  5 ,


5
b  6 i  y j และ c  2 i  j เมื่อ x และ y เป็นจานวนจริง ถ้า b  c = 5, b  c = 3 และ b  1 0 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
2 (ก) ถ้าเวกเตอร์ a ทามุม  กับเวกเตอร์ b เมื่อ 0     แล้ว tan = 3
เวกเตอร์ a ตั้งฉากกับเวกเตอร์ b และ a  c  0 แล้วค่าของ 5 a  b เท่ากับ
(ข) a  c = -12
เท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 149
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) กาหนดเวกเตอร์ u  a i  2 j  b k เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง 35) ให้ a , b และ c เป็นเวกเตอร์บนระนาบ โดยที่ a  b  c  0
ถ้า u x j = 2 แล้ว u 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 เม.ย. 57) เวกเตอร์ a ทามุม 135 กับ เวกเตอร์ b
1. 5 เวกเตอร์ b ทามุม 105 กับ เวกเตอร์ c และ
2. 6 เวกเตอร์ c ทามุม 120 กับเวกเตอร์ a
3. 7 ถ้าขนาดของเวกเตอร์ a เท่ากับ 5 หน่วย แล้วผลบวกของขนาดของเวกเตอร์ b กับ
4. 8 เวกเตอร์ c เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 58)
1. 1 0  2 6
1 3
2. 1 0  3 6
1 3
3. 1 0 4 6
1 3
4. 1 0  5 6
1 3

34) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยที่ด้าน AB ยาว 5 หน่วย ด้าน BC ยาว 36) กาหนดให้ A และ B เป็นเวกเตอร์ในระนาบ โดยที่ A  1 6 i  a j และ
12 หน่วย และมุม A Bˆ C เท่ากับ 60 ถ้าเวกเตอร์ u  A B เวกเตอร์ v  B C และ B  8 i  b j เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง ถ้า A  B และเวกเตอร์ B ทามุม
เวกเตอร์ w  C A แล้ว (2 u  v )  w เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 พ.ย. 57) 60 กับเวกเตอร์ A แล้วค่าของ (a + b)2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 58)
1. 64 1. 8
2. 109 2. 16
3. 114 3. 64
4. 124 4. 192
5. 320

Page 150
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
37) กาหนดให้ a และ b เป็นเวกเตอร์ใดๆ ที่ไม่เป็นเวกเตอร์ศูนย์ พิจารณาข้อความ 39) กาหนดให้ a , b และ c เป็นเวกเตอร์ในสามมิติ โดยที่ a  b  t c โดยที่ t เป็น
ต่อไปนี้ จานวนจริงบวก ถ้า a  i  j  k , b  a 2 , c  2 และ
(ก) ถ้า a ขนานกับ b แล้ว a  b  a  b
a  b  b  c  c  a  9 แล้วค่าของ t เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 59)
2 2 2
(ข) ถ้า a  b  a  b แล้ว a ตั้งฉากกับ b
(ค) ถ้าเวกเตอร์ a + b ตั้งฉากกับเวกเตอร์ a - b แล้ว a  b
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 58)
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ช้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

38) กาหนดให้ A และ B เป็นจุดสองจุดบนเส้นตรง y = 2x + 1 ถ้าจุด C(-2,2) เป็นจุด 40) ให้ u , v และ w เป็นเวคเตอร์ที่ไม่เท่ากับเวคเตอร์ศูนย์อยู่บนระนาบเดียวกัน
ที่ทาให้ C A  C B และ C A  C B  0 แล้วสมการของวงกลมที่ผ่านจุด A, B โดยที่ u - v - w = 0 , u = 3 w ถ้า  เป็นมุมระหว่าง u และ v
และ C ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 59) แล้ว sin เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60)
1. x2 + y2 - 2y - 4 = 0 1. 1
2. x2 + y2 + 2y - 12 = 0 2
3. x2 + y2 + 2x - 4 = 0 3
2.
4. x2 + y2 - 2x - 12 = 0 2
3
5. x2 + y2 - 8 = 0 3.
3
2
4.
3

5. 1
3

Page 151
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
41) กาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยมี A, B และ C เป็นจุดยอดของรูป 43) ให้ a , b และ c เป็นเวกเตอร์ในสามมิติ โดยที่ a  i  j ,
สามเหลี่ยม ให้ a  AB , b  B C และ c  CA ถ้า a  b   1 5 b  3 i  2 j  3 2 k เวกเตอร์ c ทามุม 45 และ 60 กับเวกเตอร์ a และ
b  c   2 1 และ c  a   1 0 แล้วพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC เวกเตอร์ j ตามลาดับ และ c  k  0 ถ้า u เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่มีทิศทาง
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60) เดียวกับเวกเตอร์ c แล้ว u  b เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.พ. 61)
1. 7 2
2. 8 2
15 2
3. 2
4. 5 3
15 3
5. 2

42) กาหนดให้เวกเตอร์ a  i  j  2 k ถ้า b เป็นเวกเตอร์ในสามมิติ โดยที่


( b  a )  ( b  a )  1 0 และเวกเตอร์ a ทามุม 60 กับเวกเตอร์ b แล้วขนาด
ของเวกเตอร์ a  b อยู่ในช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61)
1. (0,2]
2. (2,4]
3. (4,6]
4. (6,8]
5. (8,10]

เฉลยคาตอบ
1) 4 2) 14 3) 1 4) 4 5) 1
6) 4 7) 3 8) 1 9) 1 10) 4
11) 2 12) 1 13) 9 14) 2 15) 3
16) 2 17) 2 18) 2 19) 3 20) 2
21) 3 22) 4 23) 3 24) 93 25) 3
26) 3 27) - 28) 3 29) 4 30) 200
31) 1 32) 1 33) 4 34) 4 35) 4
36) 4 37) 3 38) 1 39) 3 40) 3
41) 5 42) 5 43) 3.5

Page 152
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 16 จานวนเชิงซ้อน
 
3
1) จานวนเชิงซ้อน z = 1 + i เป็นคาตอบของสมการในข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2549) 3) ให้ z1, z2, z3 เป็นคาตอบของสมการ 1 + 1  1 = 0 แล้ว Re(z1 + z2 + z3) มี
z
1. z4 - 2z2 + 4z = 0 ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2550)
2. z4 - 2z2 - 4z = 0 1. 1
3. z4 + 2z2 - 4z = 0 2. -1
4. z4 + 2z2 + 4z = 0
3. 3
2
4. - 3
2

2) กราฟของจุด z ทั้งหมดในระนาบเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมการ (z + i)( z - i) = 1 4) ให้ z1, z2 เป็นจานวนเชิงซ้อน ซึ่ง z1z2 = 2i และ z1 1  co s   i si n  แล้ว
6 6
เป็นรูปใดต่อไปนี้ (A-Net 2549) 2
1. เส้นตรง z1  3 z 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2550)
2
2. วงกลม
1. 4
3. วงรี
2. 5
4. ไฮเพอร์โบลา
3. 7
4. 8

Page 153
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) ให้ (x - 1 + i) และ (x + 2) เป็นตัวประกอบของฟังก์ชัน f(x) = x3 + ax2 + bx + c
 
3
7) ถ้า z1, z2 เป็นคาตอบที่ไม่ใช่จานวนจริงของสมการ z  1  8 แล้ว z1z2 มีค่า
แล้ว (x - 3) หาร f(x) เหลือเศษเท่าไร (A-Net 2550) z 1
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2551)
1. 3
2. 3
7
3. -3
4. - 3
7

6) ถ้า z เป็นจานวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมการ zz + 2z + i = 0 แล้ว 8) กาหนดให้ z1 และ z2 เป็นจานวนเชิงซ้อน ซึ่ง z1  z 2  z1  z 2  3


ส่วนจินตภาพของ z มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2551)
ถ้า z 2 = 2 แล้ว z1  2z 2 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552)
1. -1
1. 18
2. 2
2. 19
3. 2-1
3. 20
4. 1 - 2 4. 21

Page 154
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) ถ้า z เป็นจานวนเชิงซ้อนซึ่งสอดคล้องกับสมการ z2 + z + 1 = 0 แล้ว 11) กาหนดให้ z1 และ z2 เป็นจานวนเชิงซ้อนซึ่ง z1 + z22 = 5 และ z1 - z22 = 1
2z3 + z2 + z + 3 มีค่าเท่าใด (A-Net 2552) ค่าของ z12 + z22 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52)
1. 1
2. 2
3. 3
4. 4

10) กาหนดให้ S เป็นเซตคาตอบของสมการ z2 + z + 1 = 0 เมื่อ z เป็นจานวน 12) กาหนดให้ z เป็นจานวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมการ z4 + 1 = 0


เชิงซ้อน เซตในข้อใดต่อไปนี้เท่ากับเซต S (PAT 1 มี.ค. 52) 2
ค่าของ z  1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
1. -cos120 - isin60, cos60 + isin60 z
2. cos120 + isin60, -cos60 + isin60 1. 1
3. -cos120 - isin120, -cos60 + isin60 2. 2
4. cos120 + isin120, -cos60 - isin60 3. 3
4. 4

Page 155
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) กาหนดให้ z1, z2 เป็นจานวนเชิงซ้อนซึ่ง z1  z 2 = 3 และ z1  z 2 = 3 + 4i 15) กาหนดให้ w, z เป็นจานวนเชิงซ้อนซึ่ง w  z  2i และ w 2  z  6
ค่าของ z12 + z22 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52) ถ้าอาร์กิวเมนต์ของ w อยู่ในช่วง [0,  ] และ w = a + bi เมื่อ a, b เป็นจานวนจริง
1. 3 2
แล้ว a + b มีค่าเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52)
2. 4
3. 5
4. 6

14) กาหนดให้ z เป็นจานวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับ z3 - 2z2 + 2z = 0 และ z  0 16) ให้ z1, z2, z3, ... เป็นลาดับของจานวนเชิงซ้อน โดยที่
4 z1 = 0
ถ้า อาร์กิวเมนต์ของ z อยู่ในช่วง (0,  ) แล้ว z 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2 z z n1  z n2  i สาหรับ n = 1, 2, 3, ... เมื่อ i   1
(PAT 1 ต.ค. 52) ค่าสัมบูรณ์ของ z111 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53)
1. -2i 1. 1
2. 1 - i 2. 2
3. 1 + i 3. 3
4. 2i 4. 110

Page 156
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
 22  i 22  = 1 เมื่อ i = -1
n
17) ให้ z1 และ z2 เป็นจานวนเชิงซ้อนใดๆ และ z 2 แทนสังยุค(conjugate) ของ z2 19) ถ้า n เป็นจานวนเต็มบวกที่น้อยที่สุดที่ทาให้ 2

2 -1
ถ้า 5z1 + 2z2 = 5 และ z 2  1  2i เมื่อ i = -1 แล้ว ค่าของ 5z1  เท่ากับ
แล้ว n มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53)
เท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53)

18) ให้ z1 และ z2 เป็นจานวนเชิงซ้อน ถ้า z1 1  3  4 i เมื่อ i2 = -1 และ 20) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
5 5
ก. ถ้า z เป็นจานวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมการ
5z1 + 2z2 = 5 แล้ว z 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
z2 = 2  i  3  4i  5  1 5i เมื่อ i =  1
(เมื่อ z 2 แทนสังยุค(conjugate) ของ z2) (PAT 1 ก.ค. 53) 2  i 1  2i 3i
1. 3 - 2i ข. ถ้า x และ y เป็นจานวนจริงที่สอดคล้องกับสมการ
2. 3 + 2i  5  2i  10 แล้วค่าของ x + y = 15
x  yi i(i 1)(i 2)(i  3)(i  4)
3. 1 - 2i
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 53)
4. 1 + 2i
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

Page 157
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) ถ้า (1 + bi)3 = -107 + ki เมื่อ b, k เป็นจานวนจริง และ i =  1 แล้วค่าของ k 23) ถ้า x - 1 + i เป็นตัวประกอบของพหุนาม P(x) = x3 + ax2 + 4x + b เมื่อ a และ
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 53) b เป็นจานวนจริง แล้วค่าของ a2 + b2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54)
1. 17
2. 13
3. 8
4. 5

22) กาหนดให้ a, b และ z เป็นจานวนเชิงซ้อน โดยที่ a  b, a  1 และ b  1 24) กาหนดให้ z1 และ z2 เป็นจานวนเชิงซ้อน โดยที่ z1 = z1 + z2 = 3 และ
ถ้า az + b =  b z  a  แล้ว z เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54) 1 1z1  5z 2
1. 1 z1 - z2 = 3 3 ค่าของ เท่ากับเท่าใด
z1 z 2  z1z 2
2. 2
3. 3 ( z แทนสังยุค(conjugate) ของ z) (PAT 1 มี.ค. 54)
4. 4

Page 158
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) กาหนดให้ z1, z2, z3 เป็นรากของสมการ (z + 2i)3 = 8i จงหาค่าของ 27) กาหนดให้ z1 และ z2 เป็นจานวนเชิงซ้อน โดยที่ z1 + z2 = 3 และ z1 - z2 = 1
z1 + z2 + z3 (PAT 1 ธ.ค. 54) (เมื่อ z แทนค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน z) ค่าของ z12 + z22 เท่ากับเท่าใด
1. 6 (PAT 1 มี.ค. 55)
2. 8
3. 6 + 2 3
4. 24

 
1
26) กาหนดให้ z = i  1 จงหาค่าของ 16z2 - 8z + 3 - 8i (PAT 1 ธ.ค. 54) 28) ให้ A เป็นเซตของจานวนเชิงซ้อน z ทั้งหมดที่สอดคล้องกับ 2z - 3z = 9i - 2
i2

และ B = w 2 w 
(1  i ) z
2i 
เมื่ อ z  A เมื่อ i2 = -1
ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต B เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 55)

Page 159
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) กาหนดให้ z1 และ z2 เป็นจานวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมการ z2 - 3z + 4 = 0 31) ถ้า z เป็นจานวนเชิงซ้อนที่อยู่ในควอดรันต์(quadrant) ที่หนึ่งบนระนาบเชิงซ้อน
ค่าของ  z1 2  z 2 2
  z11  z12  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 55) โดยที่
(z  1)(1  i )
z(1  i )  5  i
= 1 และ z = 6 5 แล้วผลบวกของส่วนจริงและส่วน
1. 3 จินตภาพของ z เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 56)
2. 4
3. 5
4. 6

30) กาหนดให้ z เป็นจานวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมการ 2z + 1 = z + 4 32) กาหนดให้ z = x + yi เป็นจานวนเชิงซ้อน เมื่อ x และ y เป็นจานวนจริงที่
ค่าของ z เท่ากับเท่าใด (เมื่อ z แทนสังยุค(conjugate) ของ z) (PAT 1 ต.ค. 55) สอดคล้องกับสมการ x(3 + 5i) + y(1 - i)3 = 3 + 7i พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) Im  i z    Re (i z )
(ข) 1  8  6i
z 7
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 160
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) กาหนดให้ A เป็นเซตของจานวนเชิงซ้อนทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมการ 35) กาหนดให้ z เป็นจานวนเชิงซ้อน ที่สอดคล้องกับสมการ z + 2 z - 3z = 3 - 45i
3z2 - (28 - i)z + 4z2 = 0 และให้ B = z + i  z  A ผลบวกของสมาชิก เมื่อ z แทนค่าสัมบูรณ์(absolute value) ของ z และ z แทนสังยุค(conjugate)
ทั้งหมดในเซต B เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 57) ของ z ค่าของ z 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 พ.ย. 57)
1. 95
2. 225
3. 245
4. 375

34) กาหนดให้ z เป็นจานวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมการ z  1  4i  3i( z  i ) ข้อ 36) ให้ z1 และ z2 เป็นจานวนเชิงซ้อน โดยที่ z1  2 , z 2  3
ใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57) และ z1  z 2  1 แล้วค่าของ z1  z 2 เท่ากับเท่าใด เมื่อ z แทนค่าสัมบูรณ์
1. z  z  i(z  z ) ของ z (PAT 1 พ.ย. 57)
2. z + 2 = 2
3. z 2  8i  0
4. z(1 - i)3 - 8i = 0

Page 161
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
37) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ z1 = a + bi และ z2 = c + di เป็นจานวน 39) กาหนดให้ z เป็นจานวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมการ
เชิงซ้อน โดยที่ a, b, c, d  R - 0 และ i =  1 (9  7 i )( z  z)
(1  i ) z   6  2i เมื่อ i2 = -1 และ z แทนสังยุค(conjugate)
3i
สมมติว่า มีจานวนจริง t และ s ที่ว่า z12  z 22  t และ z1 - z2 = s พิจารณา
ของ z พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ข้อความต่อไปนี้
(ก) z + 8 = 2
(ก) z1 = z2
(ข) z + 3i = 10
(ข) Im(z1z2) = 0
(ค) iz + 2 = 8
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 58)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 58)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

38) กาหนดให้ z = a + bi โดยที่ a และ b เป็นจานวนจริงที่ ab  0 และ i =  1 40) กาหนดให้ z เป็นจานวนเชิงซ้อน โดยที่ z = z - 1 + i และ Re  (1 3 2 ii) z  = 0
ถ้า z3 = i แล้วค่าของ iz5 + 22 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ เมื่อ i2 = -1 แล้วค่าของ 2z + 12 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 59)
(เมื่อ z แทนค่าสัมบูรณ์(absolute value) ของ z) (PAT 1 มี.ค. 58)
1. 5 + 2 3
2. 7
3. 5 - 2 3
4. 3

Page 162
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
41) กาหนดให้ z เป็นจานวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมการ เฉลยคาตอบ
(1 + i) z + (3 - i)z = 6 + 2i เมื่อ i2 = -1 และ z แทนสังยุค (conjugate) 1) 1 2) 2 3) 4 4) 3 5) 25
ของ z ค่าของ (z  z )(z  z ) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 60) 6) 4 7) 2 8) 4 9) 4 10) 4
11) 3 12) 2 13) 1 14) 1 15) 4
16) 2 17) 5 18) 4 19) 8 20) 4
21) 198 22) 1 23) 2 24) 2 25) 2
26) 5 27) 5 28) 10 29) 4 30) 2
31) 11 32) 4 33) 5 34) 4 35) 2
36) 3 37) 1 38) 4 39) 2 40) 5
41) 4 42) 2

42) ให้ z1  1  7i2 และ z 2  1  3i เมื่อ i2 = -1


(2  i ) 1  2i

ถ้า a และ b เป็นจานวนจริง ที่สอดคล้องกับ a z1  bz 2 = 2 แล้วค่าของ


a2 + b2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61)
1. 1
2. 2
3. 4
4. 8
5. 12

Page 163
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 17 ลาดับ และอนุกรม n 1 n1
1) พิจารณา ลาดับ an และ bn ซึ่ง 3) กาหนดให้ a n  2 n 3 และ b n  1 ถ้า A และ B เป็น
4 1 2  ...  n
 n2 d d เมื่ อ d d n  1 0 0   
 2n  1 2 d d d d d d เมื่ อ d d n  1 0 0 ผลบวกของอนุกรม  a n และ  b n ตามลาดับ แล้ว A + B เท่ากับข้อใด
an   bn   n1 n1
2 d d d d d d เมื่ อ d d n  1 0 0  n2 (A-Net 2550)
  2n  1 d d เมื่ อ d d n  1 0 0
1. 4.5
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A-Net 2549)
2. 5
1. an และ bn เป็นลาดับลู่เข้า
3. 5.5
2. an และ bn เป็นลาดับลู่ออก
4. 6
3. an เป็นลาดับลู่เข้า และ bn เป็นลาดับลู่ออก
4. an เป็นลาดับลู่ออก และ bn เป็นลาดับลู่เข้า

 nพจน์ 
2
2) ถ้า 1  1  a2  a 3  ... เป็นอนุกรมเรขาคณิต ซึ่งมีผลบวกเท่ากับ 4 แล้ว a 4) กาหนดให้ a n  1k 1  (2  2)  (3  3  3)  ...  (n ...  n)  โดยที่
a 3 3 3 3 n  
มีค่าเท่าใด (A-Net 2549) k เป็นค่าคงตัวที่ทาให้ l i m a n  L , L  0 แล้ว 6(L + k) มีค่าเท่าใด
n
(A-Net 2551)

Page 164
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) กาหนดให้ an เป็นลาดับลู่เข้า และ bn เป็นลาดับเลขคณิตที่มีผลต่างร่วมไม่กับ 0 2  
n
7) ถ้า l i m n 2b  1  1 แล้วผลบวกของอนุกรม   2 a b 2  เท่ากับข้อใด
 
 2 a b b  n 2n a  1 n1 a  b 
ถ้า l i m  a n  1  n n n1   0 แล้ว l i m (2 a n  1) 2 มีค่า
n  bn bn  n ต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52)
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552) 1. 1
1. 1 3
2. 2 2. 2
3
3. 4 3. 1
4. 5 4. หาค่าไม่ได้

a n 2
6) กาหนดให้ min(a,b) แทนจานวนที่มีค่าน้อยที่สุดในเซต {a,b} 8) กาหนดให้ an เป็นลาดับที่สอดคล้องกับ  2 สาหรับทุกจานวนนับ n
an
และ max(a,b) แทนจานวนที่มีค่ามากที่สุดในเซต {a,b} 10 2552
เช่น min(-1,2) = -1 และ min(-1,2) = -1 เป็นต้น ถ้า  a n  3 1 แล้ว  a n เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52)
n 1 n1
   1. 21275 - 1
ค่าของ  (mi n  1n , 1   ma x  1 n , 1n ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
n1  2 3n   (  2) 3  2. 21276 - 1
(A-Net 2552) 3. 22551 - 1
4. 22552 - 1
1. 1 3
9
2. 4 1
24
3. 3
2
4. -2

Page 165
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) กาหนดแบบรูป  2nk 
11) ถ้า A = l i m   มีค่าเป็นจานวนจริงบวกแล้ว แล้วค่าของ
1, 1, 2, 1, 2, 3, 1, 2, 3, 4, 1, 2, 3, 4, 5, ... n  1  8  2 7  ...  n3 
จานวนในพจน์ที่ 5060 ของรูปแบบนี้มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52) A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
1. 1 1. 0
2. 10 2. 2
3. 100 3. 4
4. 1000 4. 8

a 
 a1  
10) กาหนดให้ an เป็นลาดับเลขคณิตที่สอดคล้องกับเงื่อนไข l i m n 5 12) ถ้า  4 1 2  A แล้ว  12 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
n n n 2 n  n n 2 n
ถ้า a9 + a5 = 100 แล้ว a100 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52) (PAT 1 ก.ค. 52)
1. 500
1. 3  A
2. 515 4
3. 520 2. 5  A
4
4. หาไม่ได้เพราะข้อมูลไม่เพียงพอ
3. 3 A
4
4. 5  A
4

Page 166
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

13) จานวนเต็มที่มีค่าตั้งแต่ 100 ถึง 999 ที่หารด้วย 2 ลงตัว แต่หารด้วย 3 ไม่ลงตัว 15) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
มีจานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52) 
ก. ถ้าลาดับ an ลู่เข้าแล้ว อนุกรม  a n ลู่เข้า
1. 250 n1
2. 283  
ข. ถ้าอนุกรม  a n ลู่เข้า แล้ว อนุกรม   1  nn  ลู่เข้า
a
3. 300 n1 n 1  2 
4. 303 ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง (PAT 1 ต.ค. 52)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

 a2  a2  a  a9
14) กาหนดให้ an เป็นลาดับที่สอดคล้องกับเงื่อนไข 1  1  1 สาหรับทุกจานวน 16) ถ้า an เป็นลาดับเลขคณิตซึ่ง l i m  n1 n   4 แล้ว 1 7
a n a n1 n  n  2
นับ n ถ้า a1 + a2 + ... + a100 = 250 แล้ว a2552 - 2.5 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ มีค่าเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52)
(PAT 1 ก.ค. 52)
1. 1  5
2. 2  5
3. 5
2
4. 2 5

Page 167
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
19) ถ้า {an} เป็นลาดับของจานวนจริงที่ a n  2  4  6 2 . . .  2n สาหรับทุก
 3 
17) l i m  3n  1 2n  2 7n  . . . 33n  มีค่าเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52)
n  1 8  27  ...  n  n
จานวนเต็มบวก n แล้ว l i m a n มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53)
n

n n n
18) ผลบวกของอนุกรม 3  1 1  3 3  . . .  3  n21  2  . . . เท่ากับข้อใด 20) กาหนดให้ S n    1  สาหรับ n = 1, 2, 3, ... ค่าของ

4 16 4 k 1 k (k  1)  k k  1 
ต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53) l i m S n เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53)
n
1. 20
3
2. 29
3
3. 3 1
3
4. 40
3

Page 168
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) พิจารณารูปต่อไปนี้ 23) กาหนดให้อนุกรมต่อไปนี้


1000 20 100  k
A   (  1)k B   k2 C   k D 2 1
k 1 k 3 k 1 k 1 2
ค่าของ A + B + C + D เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 53)
1. 7917
2. 7919
3. 7920
ให้เติมจานวนเต็มบวก 1, 2, 3, ..., 11 ลงในช่องรูปสี่เหลี่ยมช่องละ 1 จานวน โดย 4. 7922
ให้ผลบวกของจานวนในแนวตั้งเท่ากับ 43 และผลบวกของจานวนในแนวนอน
เท่ากับ 28 จานวน x ในช่องรูปสี่เหลี่ยมมุม เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53)

22) กาหนดให้ x, y, z เป็นลาดับเรขาคณิต มีอัตราส่วนร่วมเท่ากับ r และ x  y 24) พิจารณาการจัดเรียงลาดับของจานวนคี่ 1, 3, 5, 7, 9, ... ในตารางดังต่อไปนี้


ถ้า x, 2y, 3z เป็นลาดับเลขคณิต แล้วค่า r เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 53)
1. 1
4
2. 1
3
3. 1
2
4. 2
จากตารางจะเห็นว่า จานวน 15 อยู่ตาแหน่งที่ 2 (จากซ้าย) ของแถวที่ 4
อยากทราบว่า จานวน 361 จะอยู่ตาแหน่งใดในแถวที่เท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53)
1. ตาแหน่งที่ 9 (จากซ้าย) ของแถวที่ 18
2. ตาแหน่งที่ 10 (จากซ้าย) ของแถวที่ 19
3. ตาแหน่งที่ 11 (จากซ้าย) ของแถวที่ 20
4. ตาแหน่งที่ 12 (จากซ้าย) ของแถวที่ 21

Page 169
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) ให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ a1 + a2 + a3 + ... + an = n2an สาหรับ
   
2 2
2 27) กาหนดให้ a n  1  1  1  1  1  1 สาหรับ n = 1, 2, 3, ...
n = 1, 2, 3, ... ถ้า a1 = 100 แล้ว l i m n a n มีค่าเท่ากับเท่าใด n n
n 1 1 1
(PAT 1 ก.ค. 53) ค่าของ   . . .  เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53)
a1 a 2 a2 0

26) กาหนดให้  เป็นจานวนจริง และให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริงที่นิยามโดย 28) ให้ k เป็นค่าคงที่ และถ้า
n  7  k(n5  n )  3 n4  2 

n1
an  สาหรับ n = 1, 2, 3, ... ถ้าผลบวก 9 พจน์แรกมีค่ามากกว่า lim   1 5  6  1 2  ...  1 5 2  ...
n2 n  5  5 5
ผลบวก 7 พจน์แรกของลาดับ {an} เป็นจานวนเท่ากับ a108 แล้ว l i m a n (n 2) 
n แล้ว k มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53)
มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53)

Page 170
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) จากตารางที่กาหนดให้ มีช่องว่างทั้งหมด 16 ช่องดังรูป 31) ให้ T(x) = sinx - cos2x + sin3x - cos4x + sin5x - cos6x + ...

 
แล้วค่าของ 3T  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 53)
3
1. 4 3  1
2. 5 3 1
3. 6 3  1
4. 7 3  1

ให้เติมจานวนเต็มบวก 1, 2, 3, ..., 16 ลงในช่องสี่เหลี่ยมช่องละ 1 จานวน โดยให้


ผลบวกของจานวนในแต่ละแถว ((ก) และ (ข)) และในแต่ละหลัก ((ค) และ (ง)) มีค่า
เท่าๆกัน ถ้าเติมจานวนเต็มบวก 1, 5, 13 ดังปรากฏในตารางแล้ว จานวน x ใน
ตาราง เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53)

n
32) กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ a n   k2
30) พิจารณาการจัดเรียงลาดับของจานวน 2, 5, 8, 11, 14, ... ในตารางดังต่อไปนี้ k 1 (2 k  1)(2 k  1)
สาหรับ n = 1, 2, 3, ...
l i m 1 6 a n เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 53)
n n
1. 4
2. 1 6
3
3. 8
จานวน 2012 อยู่ในหลักที่เท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53) 4. 16

Page 171
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) กาหนดให้ {an} เป็นลาดับเลขคณิต โดยมีสมบัติ ดังนี้ 35) บทนิยาม ให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง
(ก) a15 - a13 = 3 เรียกพจน์ an ว่า พจน์คู่ ถ้า n เป็นจานวนคู่ และ
(ข) ผลบวก m พจน์แรกของลาดับเลขคณิตนี้ เท่ากับ 325 และ เรียกพจน์ an ว่า พจน์คี่ ถ้า n เป็นจานวนคี่
(ค) ผลบวก 4m พจน์แรกของลาดับเลขคณิตนี้ เท่ากับ 4900 กาหนดให้ {an} เป็นลาดับเลขคณิต โดยที่มีจานวนพจน์เป็นจานวนคู่ และผลบวก
แล้วพจน์ a2m เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 53) ของพจน์คี่ทั้งหมด เท่ากับ 36 และผลบวกของพจน์คู่ทั้งหมดเท่ากับ 56 ถ้าพจน์
1. 6 1 สุดท้ายมากกว่าพจน์แรก เป็นจานวนเท่ากับ 38 แล้วลาดับเลขคณิต {an} นี้ มี
2 ทั้งหมดกี่พจน์ (PAT 1 ต.ค. 53)
2. 1 2 1
2
3. 1 25
2
4. 119

1  bn
34) กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ a1 = 2 และ 36) ให้ {bn} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ b1 = -3 และ bn+1 = สาหรับ
1  bn
 
a n  n  1 (a1  a 2  a 3  . . .  a n1 ) สาหรับ n = 2, 3, ... แล้วค่าของ
n1
n = 1, 2, 3, ... ค่าของ b1000 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 53)

lim n เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 53)


n a1  a 2  . . .  a n

Page 172
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9999
1 39) ถ้าผลคูณของลาดับเรขาคณิต 3 จานวนที่เรียงติดกัน เท่ากับ 343 และผลบวกของ
37) ค่าของ  เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 53)
n1 ( n  n  1)( 4 n  4 n  1) ทั้งสามจานวนนี้ เท่ากับ 57 แล้วค่ามากที่สุดในบรรดา 3 จานวนนี้ เท่ากับเท่าใด
(PAT 1 ต.ค. 53)

38) กาหนดให้ Sk = 13 + 23 + 33 + ... + k3 สาหรับ k = 1, 2, 3, ... 40) กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ an+1 = n2 - an สาหรับ
n = 1, 2, 3, ... ค่าของ a1 ที่ทาให้ a101 = 5100 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ค่าของ l i m  1  1  1  . . .  1  เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)
n  s1 s2 s3 sn 
(PAT 1 ต.ค. 53) 1. 50
2. 25
3. 1
4. 0

Page 173
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
41) กาหนดให้ 4 พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 2a + 1, 2b - 1, 3b - a และ 43) กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ a1 = 1 และ an + 1  an+1 และ
a + 3b เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง พจน์ที่ 1000 ของลาดับเลขคณิตนี้เท่ากับข้อ  n 
ใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54) an+5  an + 5 สาหรับ n = 1, 2, 3, ... แล้วค่าของ l i m 1   (a k  6  k) 
n n  k 1 
1. 3,997 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)
2. 3,999
3. 4,001
4. 4,003

42) ให้ a, b, c เป็นจานวนจริงโดยที่ 2a, 3b, 4c เป็นลาดับเรขาคณิต และ 1 , 1 , 1 44) กาหนดอนุกรมเลขคณิตa1 + a2 + a3 + ... + a201 ถ้า a1 + a3 + a5 + ... + a201 = 303
a b c
แล้วจงหาค่าของ a2 + a4 + a6 + ... + a200 (PAT 1 มี.ค. 54)
a c
เป็นลาดับเลขคณิต ค่าของ  เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)
c a 1. 287
2. 290
3. 297
4. 300

Page 174
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
45) จงหาค่าของ x  0 ที่ทาให้ 1  6  15 2  28 3  ...  2 7 47) กาหนดให้ 12  2 2  3 2  ...  n2  2 3 1 จงหาค่าของ n
1  x (1  x) (1  x ) 4 1(2)  2(3)  3(4)  ...  (n  1)(n) 2 2 8
(PAT 1 ธ.ค. 54) (PAT 1 ธ.ค. 54)

46) กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ 48) พิจารณาข้อความต่อไปนี้

 2  3   
a1 = 1 และ an =   1n l o gn 1 l o gn1 1 . . . l o g 2 1 , n  1
n
 n n
ก. สาหรับ a และ b เป็นจานวนเต็มบวกจะได้ว่า  a  b n  a  b
n1 (a  b )
2
ab
2

n
b n    4 k 2  จงหาค่า c ที่ทาให้ l i m  a  c b   4
 n n ข. ถ้า a1, a2, a3, ... เป็นลาดับเลขคณิตของจานวนจริง โดยที่
k 1 k  k  1  n
2
a1  a 2  ...  a n
(PAT 1 ธ.ค. 54)  n สาหรับจานวนเต็มบวก n และ m ที่
a1  a 2  a 3  ...  a m m2
a
แตกต่างกันแล้ว m  2m  1
an 2n  1
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 55)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

Page 175
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
49) ลาดับเรขาคณิตชุดหนึ่ง มีอัตราส่วนร่วมเป็นจานวนจริงบวก 51) กาหนดให้ tn = 2n เมื่อ n = 1, 2, 3, ... และ a n  5 tn  5  tn เมื่อ
ถ้าผลบวกของสองพจน์แรก เท่ากับ 20 และผลบวกของสี่พจน์แรก เท่ากับ 65 a n 1
n = 1, 2, 3, ... ค่าของ l i m เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 55)
แล้ว ผลบวกของหกพจน์แรก เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 55) n a1a 2 . . .a n

50) จงหาค่าของ
 
 2 
52) กาหนดให้ a n  si n n     co s n  สาหรับ n = 1, 2, 3, ...
l i m 1  1  12  12  1  12  12  ...  1  12  1 2 
n n  1 2 2 3 n (n 1)   3 
และ b n  6 co s 2n    สาหรับ n = 1, 2, 3, ....

     
(PAT 1 มี.ค. 55) a1 a 2 a 3 a n
ผลบวกของอนุกรม  2  3  ...  n  ... เท่ากับข้อใด
b1 b2 b3 bn
ต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 55)
1. 2
5
2. - 2
5
3. 2
4. -2

Page 176
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
53) สาหรับ n = 1, 2, 3, ... กาหนดให้ an = 2 + 4 + 6 + ... + 2n และ 55) สาหรับ n = 1, 2, 3, ... กาหนดให้ a n  1  1  12 และ b n  1  1  12
n n n n
bn = a1 + a2 + a3 + ... + an ค่าของ l i m  2  3  4  . . .  n  1
n  b 1 b 2 b3 b n  จงหาจานวนเต็มบวก n ที่ทาให้
a 2 a 3 . . .a n
= 1331 (PAT 1 ต.ค. 55)
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55) b 2b 3 . . .b n

54) ถ้าลาดับเลขคณิตชุดหนึ่งมีผลบวก 10 พจน์แรกเท่ากับ 205 และผลบวกอีก 10 56) กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริงโดยที่ a n  1


4  8  1 2  . . .  4n
พจน์ถัดไปเท่ากับ 505 แล้วผลบวก 55 พจน์แรกของลาดับเลขคณิตนี้เท่ากับเท่าใด
สาหรับ n = 1, 2, 3, ... ผลบวกของอนุกรม a1 + a2 + a3 + ... เท่ากับข้อใด
(PAT 1 ต.ค. 55)
ต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 56)
1. 1
2
2. 3
4
3. 3
2
4. 2

Page 177
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
57) ค่าของ l i m
n
 x(x  1)  x  2  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 56) 59) กาหนดให้ a1, a2, a3, a4, a5 และ b1, b2, b3, b4, b5, b6 เป็นลาดับเลขคณิตของ
จานวนจริงบวก โดยที่ a1 = b2, a5 = b5 และ a1  a5 ถ้า
1. 0
(b 6  b 4 )  (b 6  b 1 ) x
2. 1  เมื่อ ห.ร.ม. ของ x กับ y เท่ากับ 1 แล้ว
2 a 4  a2 y
3. 1 x2 + y2 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56)

4. 3
2

58) กาหนดให้ a1, a2, a3, ..., an, ... เป็นลาดับเรขาคณิตของจานวนจริงบวก โดยที่ r 60) สาหรับ n = 2, 3, 4, ... ให้ an = 1 + 2 + 3 + ... + n
เป็นอัตราส่วนร่วม และ a 2 a 3 a 4 ...a n
a1  a 3 a 3  a 5 a 5  a 7 a a ค่าของ l i m เท่ากับเท่าใด
   . . .  2011 2013  2 0 1 2 n (a 2  1)(a 3  1)(a 4  1)...(a n  1)
a2  a 4 a 4  a6 a6  a8 a 2012  a 2014 (PAT 1 มี.ค. 56)
ค่าของ 1 + 5r + 12r2 + 22r3 + ... เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56)

Page 178
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
61) กาหนดให้ a n  n2  1 6n  3  n2  2 เมื่อ n = 1, 2, 3, ... ค่าของ n 2 n (6  3 a n )
63) กาหนดให้ a n   kk เมื่อ n = 1, 2, 3, ... ค่าของ l i m
k 1 2 n n2  5n  1
l i m 3 a n เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 57)
n
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 57)
1. 0
2. 1
3. 2
4. 8

62) กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่มี a1 = 2 และ an = 3an-1 + 1 64) หนังสือเล่มหนึ่งมี 500 หน้า หน้าแรกมีคาผิด 1 คา เว้นไป 1 หน้า หน้าที่สามมี
สาหรับ n = 2, 3, 4, ... และกาหนดให้ Sn = a1 + a2 + a3 + ... + an ข้อใดต่อไปนี้ คาผิด 1 คา เว้นไป 3 หน้า หน้าที่เจ็ดมีคาผิด 1 คา เว้นไป 5 หน้า เป็นเช่นนี้
ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 57) ต่อๆไป จานวนหน้าที่ไม่มีคาผิดจะเพิ่มขึ้นทีละ 2 หน้า จานวนคาผิดในหนังสือเล่มนี้
1. 2Sn = 5(3n-1) - 2n + 1 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 57)
2. 2Sn = 2(3n) + 3n-1 - n - 1
3. 4Sn = 4(3n) + 3n-1 - 4n - 1
4. 4Sn = 5(3n) - 2n - 5

Page 179
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
n2 67) กาหนดให้ a1, a2, a3, ... เป็นลาดับของจานวนเต็ม โดยมีสมบัติดังนี้
65) กาหนดให้ a n  เมื่อ n = 1, 2, 3, ... ถ้า
1 6n2  4 ak + ak+1 + ak+2 = 2576 - k เมื่อ k = 1, 2, 3, ...
a  a  a 3  . . .  an a ถ้า a1 = 12, a2 = 2556 และ a3 = 7 แล้วค่าของ a2558 เท่ากับเท่าใด
lim 1 2  โดยที่ a และ b เป็นจานวนเต็มบวก ซึ่ง
n n b (PAT 1 เม.ย. 57)
ห.ร.ม. ของ a และ b เท่ากับ 1 แล้ว a2 + b2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 เม.ย. 57)
1. 17
2. 25
3. 145
4. 257

66) ถ้า a1, a2, a3, ..., a1000 เป็นลาดับของจานวนจริงที่สอดคล้องกับ 68) ถ้า A  1  1  . . .  1 และ
1 2 3  4 (2 0 1 5)(2 0 1 6)
a1 a a a1000 1 1 1
 2  3  ...  และ B   ... 
a1  2 a 2  3 a 3  4 a1000  1001 (1 0 0 9)(2 0 1 6) (1 0 1 0)(2 0 1 5) (2 0 1 6)(1 0 0 9)
a1 + a2 + a3 + ... + a1000 = 250000 แล้วค่าของ a1 + a1000 เท่ากับเท่าใด
แล้วค่าของ 2 0A เท่ากับเท่าใด (PAT 1 เม.ย. 57)
(PAT 1 เม.ย. 57) 1 1B

Page 180
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
69) กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ a1 = 1 และ a n  a n1  1n 71) ให้ {an} เป็นลาดับเลขคณิต โดยที่ a1 = 2 และ a1  a2  a3  ... สมมุติว่า
6 3 a2, a4, a8 เรียงกันเป็นลาดับเรขาคณิต จงหาค่าของ n ที่ทาให้
สาหรับ n = 2, 3, 4, ... พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(a1  1)3  (a 2  1)3  ...  (a n  1)3 3 9 1
(ก) l i m a n  0  (PAT 1 พ.ย. 57)
n a13  a 32  ...  a n3 450
(ข) อนุกรม a1 + a2 + a3 + ... เป็นอนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 0.75
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 พ.ย. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

70) ให้ a เป็นจานวนจริงบวก และให้ {bn} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ 72) กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนจริงบวกที่สอดคล้องกับ
bn = (a + n - 1)(a + n) สาหรับ n = 1, 2, 3, ... ถ้า a สอดคล้องกับ l o g a 2  l o g a 4 2  l o g a 8 2  . . .  1 และ 4 l o g b  2b l o g 2  8
 
3
l i m a  1  a  2  . . .  a  n  1 แล้วค่าของ a2 + 57 เท่ากับ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
n b 1b 2 b 2 b 3 b nb n1 312
เท่าใด (PAT 1 พ.ย. 57) (ก) a + b = 102
(ข) alog b = 16
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 58)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 181
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
73) ให้ {an} และ {bn} เป็นลาดับเลขคณิตของจานวนจริง โดยที่ 75) กาหนดให้ {an} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ a1 = 1 และ
a1  a 2  . . .  a n
 
2b
 n  1 สาหรับ n = 1, 2, 3, ... ค่าของ 1 0 0 เท่ากับ
b 1  b 2  . . .  b n 2n  1 a1 0 0 
a n  1  1 1  1 . . .  1  12  สาหรับ n = 2, 3, 4, ...
4 9  n 
เท่าใด (PAT 1 มี.ค. 58) ค่าของ l i m a n เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 58)
n


74) ถ้า {an} และ {bn} เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ a n  2 n และ 76) กาหนดให้ a n  n2
3n
เมื่อ n = 1, 2, 3, ... อนุกรม  a n ตรงกับข้อใด
n(n  2) 3 2n1 n1

bn  3 n สาหรับ n = 1, 2, 3, ... แล้ว อนุกรม a1  a 2  a 3  . . . (PAT 1 ต.ค. 58)


5n  1 8 b1 b 2 b 3
1. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 8
มีผลบวกเท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 58) 3
2. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 4
3. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 24
4. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 64
3
5. อนุกรมลู่ออก

Page 182
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
2
2 3  ...  2 n เมื่อ n = 1, 2, 3, ... 79) กาหนดให้ a1, a2, a3, ..., an, ... เป็นลาดับเลขคณิตของจานวนจริง
77) กาหนดให้ a n  1  2  2 2n
3 25  an
โดยที่  a n  1 9 0 0 และ   8 ค่าของ a100 ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
ค่าของ l i m (a 1  a 2  a 3  . . .  a n ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 58) n1 n1 4 n1
n
2 (PAT 1 มี.ค. 59)
1. 1. 298
9
2. 1 2. 302
8 3. 400
3. 9 4. 499
56
2 5. 598
4.
7
5. 25
56

 
n 
78) ให้ {an} เป็นลาดับเลขคณิตของจานวนจริง 80) กาหนดให้ a n  2   1 สาหรับ n = 1, 2, 3, ... อนุกรม  a n ตรง
2
4n  1 3 n1
โดยที่ a1 + a3 + a5 + ... + a49 = a2 + a4 + a6 + ... + a50 = 1275 และ
กับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 59)
a100 = 200 ค่าของ a51 + a52 + a53 + ... + a100 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 58)
1. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 5
4
2. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 3
4
3. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 5
6
4. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 1
6
5. อนุกรมลู่ออก

Page 183
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
81) กาหนดให้ {an} และ {bn} เป็นลาดับของจานวนจริง 
n 1 n
83) ให้ x > 0 และให้ S แทนอนุกรม  (  1) ( l o g x )
โดยที่ 3an+1 = an และ 2nbn = an สาหรับ n = 1, 2, 3, ... n1
ถ้า a5 = 2 แล้ว อนุกรม b1 + b2 + b3 + ... มีผลบวกเท่ากับเท่าใด พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(PAT 1 มี.ค. 59) (ก) ถ้า x < 10 แล้วอนุกรม S เป็นอนุกรมลู่เข้า
(ข) ถ้า x = 100 แล้ว S เป็นอนุกรมลู่ออก
(ค) ถ้า x = 1 แล้วผลบวก 100 พจน์แรกของอนุกรม S เท่ากับ -100
10
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 60)
1. ข้อ (ก) และข้อ (ข) ถูก แต่ข้อ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

82) ให้ L เป็นจานวนจริงบวก และ a1 , a2 , a3 , … , an , … เป็นลาดับเรขาคณิต 84) กาหนดให้ a1, a2, a3, ..., an, ... เป็นลาดับเลขคณิตของจานวนเต็มบวก โดยที่
 3 a1 = 1 และ a8 = 36 ถ้า
ของจานวนจริงโดยที่  a n  L และ  a n  L3 ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
n1 n1 1  1  1  ...  1 3
(PAT 1 มี.ค. 60) a1  a 2 a2  a3 a3  a4 a n1  a n
แล้ว n เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 60)
1. a4 = 2 a1
3
2. a14 = 1 6 a2
81
3. 3(a7 + a8 + a9) = 2(a4 + a5 + a6)
12
4.  a n  16 81 L
n7

5. 8 L
 a n  27
n10

Page 184
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
85) ให้ a1, a2, a3, ..., an, ... เป็นลาดับเรขาคณิตของจานวนเต็มบวก โดยที่ มีผลบวก 43) ให้ a1, a2, a3, ..., an, ... เป็นลาดับเลขคณิตของจานวนจริง โดยที่มีผลบวกสี่
ของพจน์ที่สองและพจน์ที่สี่เท่ากับ 60 และ พจน์ที่สามเท่ากับ 18 และให้ Sn เป็น พจน์แรกของลาดับเท่ากับ 14 และ a20 = a10 + 30 และให้ b1, b2, b3, ..., bn, ...
S S เป็นลาดับของจานวนจริง โดยที่ b1 = a3 และ bn+1 = bn + 1 สาหรับ
ผลบวก n พจน์แรกของลาดับ a1, a2, a3, ..., an, ... แล้วค่าของ 8  4
S4 S2 a
n = 1, 2, 3, ... ค่าของ l i m n เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.พ. 61)
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61) n b n

1. 1 7 2
81
2. 37
16
3. 22
4. 88
5. 92

86) กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนจริงบวก และให้ a1, a2, a3, ..., an, ... เป็นลาดับ
a  a  a 3  ...  a n1
ของจานวนจริง โดยที่ a1 = a, a2 = b และ a n  1 2
n1
10
สาหรับ n = 3, 4, 5, ... ถ้า a1 + 2a2 + 3a3 + 4a4 = 3 1 และ  a i  3 0
8 i 1 8

 
2
แล้วค่าของ 1  1 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.พ. 61)
a b

เฉลยคาตอบ
1) 3 2) 1.5 3) 2 4) 20 5) 4
6) 1 7) 2 8) 2 9) 2 10) 2
11) 4 12) 3 13) 3 14) 3 15) 4
16) 24 2 17) 4 18) 4 19) 1 20) 1
21) 5 22) 2 23) 1 24) 2 25) 200
26) 2 27) 7 28) 25 29) 9 30) 2
31) 3 32) 1 33) 2 34) 0 35) 20
36) 2 37) 9 38) 2 39) 49 40) 1
41) 3 42) 2.5 43) 6 44) 4 45) 2
46) 10 47) 115 48) 1 49) 166.25 50) 1
51) 24.96 52) 3 53) 2.25 54) 4840 55) 36
56) 1 57) 4 58) 16 59) 205 60) 3
61) 3 62) 4 63) 3 64) 22 65) 4
66) 500 67) 1704 68) 2750 69) 2 70) 201
71) 14 72) 3 73) 3.97 74) 8 75) 0.5
76) 3 77) 5 78) - 79) 5 80) 1
81) 97.2 82) 4 83) 3 84) 52 85) 5
86) 36 87) 3

Page 185
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 18 ลิมิตและความต่อเนื่อง
 x2 ; x0
  1 1 
1) กาหนดให้ f(x) = 2x-1 ; 0 x1 3) lim  -  มีค่าเท่าใด (A-Net 2550)
x1 1 - x 2 - 3x + x 
2

 3x ; x 1
2
ค่าของ lim f(x )  lim f(1- x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2549)
x 0  x 0
1. 0
2. 1
3. 2
4. 3

2) กาหนดให้ a, b เป็นจานวนจริง และ f เป็นฟังก์ชันซึ่งนิยามโดย 4) กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนจริง และ f เป็นฟังก์ชัน ซึ่งกาหนดโดย
 (x-1)2 1  x3 - 3x - 2
 ; x0 
  x-2 ; x2
f(x) = x3 + ax + b ; 0  x 1 
 f(x) =  a-b ; x =2
 x-b ; x 1 
  x2 + ax + 1 ; x2

 1
ถ้า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง [-2,2] แล้ว f   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2 ถ้า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริงแล้ว ค่าของ a2 + b2 เท่ากับเท่าใด
(A-Net 2550) (PAT 1 มี.ค. 53)
1. 0
2. 0.25
3. 0.5
4. 0.75

Page 186
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนจริง และให้ f เป็นฟังก์ชัน โดยที่
x3 +x2 +x
7) ค่าของ lim เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54)
x3 -1 x 0  x2
 x-1 ; -1  x  1

1
f(x) =  ax+b ; 1 x5 1. -
 2
 5 ; x5
1
ถ้า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (-1,) แล้วค่าของ ab เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 2.
2
(PAT 1 มี.ค. 53)
3. -1
1. 5 4. 1
4
2.  7
4
3. 15
4. -10

 x-3 ; x3

6) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f : R  R เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง 8) กาหนดให้ f(x) =  2x+10 - x+13 โดยที่ a เป็นจานวนจริง
ที่ x = 1 และให้ g เป็นฟังก์ชันที่กาหนดโดย  a ; x=3

 x+3-2 ถ้า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่จุด x = 3 แล้ว a เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)
 ; x 1
 x -1
g(x) = 
 f(x) ; x 1
 x +7

ถ้าฟังก์ชัน g มีความต่อเนื่องที่ x = 1 แล้วค่าของ (gof)(1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(PAT 1 ต.ค. 53)
1. 2 - 3
2. 2
3. 2- 7
4. 7 2

Page 187
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
x 2
9) จงหาค่าของ lim 3 (PAT 1 ธ.ค. 54) 1+ x - 2x
x0 x + 8 + 3 x - 8 11) ค่าของ lim+ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 55)
1
x® x+3 -2
1. -12
2. 0
3. 12
4. หาค่าไม่ได้

(cot3 x - 1) cosec2x 12) กาหนดให้ P(x) เป็นพหุนามโดยที่ P(0) = 1 และสอดคล้องกับ


10) จงหาค่าของ lim (PAT 1 มี.ค. 55)
x
 1 + cos2x - 2sin2x 3hx + 2h
4 lim =1
0 P(x + h + 2) + P(h + 2) - P(x + 2) - P(2)

®
ค่าของ P(12) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55)

Page 188
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
 2x-8 15) กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชัน นิยามโดย
 ; x4
 2x- 4x2 -3x+12
13) กาหนดให้ f(x) =  โดยที่ k เป็นจานวนจริง
 kx ; x4  d  x  adddd........., .......... x  2

 3  2
ถ้า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่จุด x = 4 แล้ว f(k+1) เท่ากับเท่าใด f(x)  dd  x  bdddddd, ..  2  x  3
(PAT 1 มี.ค. 56)  2 5
 x  6x  11dd......, .............x  3
เมื่อ a, b เป็นจานวนจริง ถ้าฟังก์ชัน f มีความต่อเนื่องที่ x = -2 และ lim f(x)
x 3
หาค่าได้ แล้วค่าของ a + 5b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 เม.ย. 57)
1. 8
2. 18
88
3.
5
102
4.
5

5x + 1  5x - 1
14) ให้ a และ b เป็นจานวนจริง และให้
16) กาหนดให้ a เป็นจานวนจริงบวก สอดคล้องกับ lim  80
0
x® x+a- a
x2 + ax + b ; x2 ค่าของ a2 + a + 58 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 58)

f(x) =  x - 1 ; 2 x5 1. 64
 2. 78
 ax + b ; x5
3. 130
ถ้า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริง แล้ว a – b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4. 330
(PAT 1 มี.ค. 57)
1. 5
2. 8
3. 11
4. 12

Page 189
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชัน นิยามโดย x2  x  2
e 2x + 2a..........................; ........x < 0 19) ค่าของ lim 3
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 59)

x 2  2  x2  4

 a + b...............................; ........x = 0
f(x)  

 1 + bx + 5x 2 - 1
 .......; .......x > 0
x
เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง ถ้าฟังก์ชัน f มีความต่อเนื่องที่ x = 0 แล้วค่าของ
15a + 30b เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 58)

3
1  2x  x (x 1)
18) ค่าของ lim 
 x 2  1  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 58)
1 20) ค่าของ l i m 33 x  3 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 60)
x 1 1 x   x 3 x  2  1
1. 0
2. 0.5
3. 1
4. 2
5. 4

Page 190
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
x  x 2  5 d , x  a 3 x


21) กาหนดให้ a เป็นจานวนจริง และ f(x)   1 5 d d d , x  a 23) กาหนดให้ฟังก์ชัน f(x)   3  x ddd เมื่ อ d x  3 เมื่อ a เป็นจานวนจริง
 x 2  5 ax  10 dd d เมื ่อ dx  3

ถ้าฟังก์ชัน f ต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริง แล้วค่าของ f(a - 6) + f(a) + f(a + 6)
ถ้าฟังก์ชัน f มีความต่อเนื่องทุกจานวนจริง x แล้วค่าของ f(a) + f(-a) เท่ากับเท่าใด
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.พ. 61)
(PAT 1 มี.ค. 60)

x 2 3 x
22) l i m 2 x  2 x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61)
x 4 x 2
1. 32
2. 64
3. 80
4. 96
5. 128

เฉลยคาตอบ
1) 3 2) 0.125 3) 1 4) 53 5) 4
6) 4 7) 1 8) 8 9) 6 10) 3
11) 3 12) 157 13) 24 14) 2 15) 2
16) 4 17) 15 18) 1 19) 9 20) 81
21) 10 22) 4 23) 0.5

Page 191
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 19 อนุพันธ์และการ
ประยุกต์
1) ถ้า P(x) เป็นพหุนามดีกรีสาม ซึ่งมี 1, 2, 3 เป็นคาตอบของสมการ P(x) = 0 3) กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันพหุนามกาลังสาม ซึ่งนิยามบนช่วง [-2 , 2] โดยที่ f(0) = 1
และ P(4) = 5 แล้ว P’(1) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2549) f(1) = 0 และ f มีค่าต่าสุดที่ x =1 , มีค่าสูงสุดที่ x = -1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
6 ก. f(-2) ≤ f(x) ทุก x  [-2 , 2]
1. -
7 ข. f(2) ≥ f(x) ทุก x  [-2 , 2]
5 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (A-Net 2551)
2. - 1. ก. ถูก และ ข. ถูก
6
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
4 3. ก. ผิด และ ข. ถูก
3.
5 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
5
4.
3

a 1
2) กาหนดให้ f(x) = 1+ และ g(x) = x2 + b ถ้า (fog)(0) = และ f’’(-1) = 2 4) กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง ที่นิยามโดย
x 2
 2
f
' ax +b ; x ³ 0
แล้ว   (a + b) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2550) f(x) = 
g  x3 +1 ; x  0

1  
1
1. - ถ้า f’(1) = 4 แล้ว (fof)  -  มีค่าเท่าใด (A-Net 2551)
3 3
2

1
2. -
4
1
3.
4
1
4.
3

Page 192
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
 2 ; x ³ 1 
 (x - 1) 7) ถ้า a1, a2, a3 , … เป็นลาดับเรขาคณิตซึ่ง  an = 4 แล้วค่ามากที่สุดที่
5) กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนจริง ถ้า f(x) = 
ax3 + bx2 + x ; x  1 n=1
 เป็นไปได้ของ a2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52)
เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องและหาอนุพันธ์ได้ที่จุด x = 1 แล้ว f(-1) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 4
ต่อไปนี้ (A-Net 2552)
2. 2
1. -6
3. 1
2. -4
4. หาค่าไม่ได้เพราะ a2 มีค่ามากได้อย่างไม่มีขีดจากัด
3. 0
4. 4

6) กาหนดให้ f(x) = x3 – 3x + 6 ถ้า P เป็นจุดบนกราฟของ y = f(x) ที่ให้ค่าสูงสุด 8) กาหนดให้ f(x) = x4 – 3x2 + 7 f เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนเซตในข้อใดต่อไปนี้
สัมพัทธ์ของ f แล้ว เส้นตรงที่ผ่านจุด P และจุด (2 , 6) มีความชันเท่ากับ (PAT 1 มี.ค. 52)
ข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552) 1. (-3 , -2)  (2 , 3)
1. -1 2. (-3 , -2)  (1 , 2)
2 3. (-1 , 0)  (2 , 3)
2. -
3 4. (-1 , 0)  (1 , 2)
2
3.
3
4. 2

Page 193
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
1 1 1  f(1+ h) - f(1) 3 1
9) ถ้า f'(x) = แล้วค่าของ lim 11) เส้นตรงซึ่งตั้งฉากกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y = 2x - ที่จุด x = 1
 +  x
2 x 3 0 f(4 + h) - f(4)

x  คือเส้นตรงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52) 1. 13x – 2y – 11 = 0
1. 1 2. 13x + 2y – 15 =0
16 3. 2x – 13y + 11 = 0
2.
5 4. 2x + 13y – 15 = 0
7
3.
5
1
4.
5

10) ถ้า f,g และ h สอดคล้องกับ f(1) = g(1) = h(1) = 1 และ f’(1) = g’(1) = h’(1) = 2 2
12) กาหนดให้ f(x) = ax + b x เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริงที่ b  0
แล้วค่าของ (fg + h)’(1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52) f(4)
ถ้า 2f’(1) = f(1) แล้ว มีค่าเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52)
1. 1 f'(9)
2. 2
3. 4
4. 6

Page 194
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f : R  R และ g : R  R 15) โรงงานผลิตตุ๊กตาแห่งหนึ่ง มีต้นทุนในการผลิตตุ๊กตา x ตัว โรงงานจะต้องเสีย
2 ค่าใช้จ่าย x3 – 450x2 + 60,200x + 10,000 บาท ถ้าขายตุ๊กตาราคาตัวละ
2 200 บาท โรงงานจะต้องผลิตตุ๊กตากี่ตัวจึงจะได้กาไรมากที่สุด (PAT 1 ก.ค. 53)
เป็นฟังก์ชัน โดยที่ f(x) = 3x 3 , g(1) = 8 และ g'(1) = ค่าของ (fog)’(1)
3
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53)
1
1.
3
2
2.
3
3. 1
4
4.
3

14) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f : R  R เป็นฟังก์ชันโดยที่ 16) ให้ f เป็นฟังก์ชันซึ่งมีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของจานวนจริง โดยที่


f(2x + 1) = 4x2 + 14x ค่าของ f(f’(f’’(2553))) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 53)
f'(x) = 3 x + 5 สาหรับทุกจานวนจริง x และ f(1) = 5 แล้วค่าของ
2
f(x ) - 2
lim เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53)
x®4 f(x)

Page 195
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ g : R  R เป็นฟังก์ชันกาหนดโดย 2

1 3 19) กาหนดให้ f : R  R โดยที่ f(x) = x 3


g(x) = เมื่อ x   ถ้า f : R  R เป็นฟังก์ชันที่ (fog)(x) = x
2x + 3 2 ถ้า N เป็นเส้นตรงที่ตั้งฉากกับเส้นสัมผัสกราฟของ f(x) ที่จุด (a , f(a)) , a > 0
 1 5
สาหรับทุกจานวนจริง x แล้ว f''   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54) และ N มีระยะตัดแกน y เท่ากับ หน่วย แล้วข้อใดเป็นพิกัดของจุดบนเส้นตรง N
2 2
(PAT 1 ธ.ค. 54)
1
1.  1. (-2 , 7)
2
2. (-1 , 4)
1 3. (2 , -4)
2.
2 4. (3 , -5)
3. -8
4. 8

18) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f : R  R และ g : R  R 20) ฟังก์ชัน f , g , h มีสมบัติว่า (fog)(x) = 3x – 14


เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ทุก x  R โดยที่ g(x) = x2 – 2x + 5 x + 6
f  = x - 2 , h(2x - 1) = 6g(x) + 12 จงหาค่าของ h’(0)
(gof)(x) = x6 + 2x4 – 2x3 + x2 – 2x + 5 และ f(0) = 0  3 
ค่าของ (f’og’)(1) + (g’of’)(0) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54) (PAT 1 ธ.ค. 54)

Page 196
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f : R  R , g : R  R และ h : R  R 23) กาหนดให้ f(x) = x3 – 26x2 + bx – 216 เมื่อ b เป็นจานวนจริง
เป็นฟังก์ชัน โดยที่ ถ้า a1 , a2 , a3 เป็นจานวนจริงสามจานวนเรียงกันแบบลาดับเรขาคณิต
ax + 1 และเป็นคาตอบของสมการ f(x) = 0 แล้วค่าของ f’(1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
f(x) = 2 เมื่อ a เป็นจานวนจริง g(x) = (x2 + 1)f’(x) และ
x +1 (PAT 1 ต.ค. 55)
 f(x) ; x  2 1. 211
h(x) =  ถ้าฟังก์ชัน h ต่อเนื่องที่ x = 2 แล้ว ค่าของ 2. 107
g(x) ; x  2
3. 101
2h(-2) - h(2) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 55)
4. 85
1. 0.6
2. 0.8
3. 1
4. 3

22) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f : R  R , g : R  R และ h : R  R 24) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f : R  R เป็นฟังก์ชัน โดยที่
เป็นฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์ทุกอันดับ โดยที่ h(x) = x2 + 4 , g(x) = h(f(x) – 1) 1. (f g)(x) = 2x + 3 สาหรับทุกจานวนจริง x
และ f’(1) = g’(1) = 1 แล้วค่าของ f(1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 55) 2. ฟังก์ชัน f และ g มีอนุพันธ์ทุกอันดับสาหรับทุกจานวนจริง x
1. 2 3. ฟังก์ชัน f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์เท่ากับ 2 ที่ x = 1
2. 1.5 4. g’’(x) = 2 สาหรับทุกจานวนจริง x
3. 1 ฟังก์ชัน g มีค่าต่าสุดสัมพันธ์เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55)
4. 0.5

Page 197
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) กาหนดให้ P(x) เป็นพหุนามโดยที่ P(0) = 1 และสอดคล้องกับ 27) ให้ f เป็นฟังก์ชันซึ่งมีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของจานวนจริง โดยที่อัตราการ
3hx + 2h เปลี่ยนแปลงของ f(x) เทียบกับ x เท่ากับ ax3 + bx เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง
lim =1 และให้ g(x) = (x3 + 2x)f(x) ถ้า f’(1) = 18 , f’’(0) = 6 และ f(2) = f(1) + f(0)
0 P(x + h + 2) + P(h + 2) - P(x + 2) - P(2)

แล้วค่าของ g’(-1) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56)
ค่าของ P(12) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55)

4
3x - 2
26) กาหนดให้ C เป็นเส้นโค้ง y = เมื่อ x > 0 และให้ L เป็นเส้นตรงที่ 28) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
3
x (ก) ให้ P(x,y) เป็นจุดใดๆในระนาบ ถ้าผลบวกของระยะทางจากจุด P(x,y)
สัมผัสกับเส้นโค้ง C ที่จุด (1,1) ถ้าเส้นตรง L ตัดกับพาราโบลา x(x-1) = y-1
ไปยังจุด (0,-2) และระยะทางจากจุด P(x,y) ไปยังจุด (2,-2) เท่ากับ 2 5
ที่จุด A และจุด B แล้วระยะห่างระหว่างจุด A และจุด B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
แล้ว เซตของจุด P(x,y) คือ {(x,y)  4x2 + 5y2 – 8x + 20y – 12 = 0}
(PAT 1 มี.ค. 56)
(ข) จุด (1,1) เป็นจุดบนพาราโบลา y = x2 อยู่ใกล้กับเส้นตรง y = 2x – 4
1. 4 82 มากที่สุด
2. 8 82 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 57)
3. 4 41 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
4. 8 41 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 198
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
3 b
4x 31) ให้ a และ b เป็นจานวนจริง และกาหนดให้ f(x) = ax + เมื่อ x  0
29) กาหนดให้ f(x) = เมื่อ x เป็นจานวนจริงบวกใดๆ x
6 3
x  3x  64 โดยที่ y = f(x) เป็นเส้นโค้งที่สัมผัสกับเส้นตรง y = 1 ที่จุด (1,1) พิจารณา
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อความต่อไปนี้
(ก) f เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง (0,3) (ก) f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่ x = -1
4 2 2
(ข) ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ของ f เท่ากับ (ข) lim (fof)(x) = f(2a + 2b )
13 x 1
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 57) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 พ.ย. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

30) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f : R  R เป็นฟังก์ชัน โดยที่ f(3) = 111 32) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f : R  R , g : R  R และ s : R  R
xf(x) - 333 เป็นฟังก์ชัน โดยที่ f(x) = x+1 สาหรับทุก x  R g(f(x)) = x2 + 2x – 1
และ lim = 2013 แล้วอัตราการเปลี่ยนแปลงของ f(x) เทียบกับ x 2 2
x 3 x-3 (g(x + h)) - (g(x))
ขณะที่ x = 3 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 เม.ย. 57) สาหรับทุก x  R และ s(x) = lim สาหรับทุก x  R
h0 h
ค่าของ (sg)(1) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 พ.ย. 57)

Page 199
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f : R  R เป็นฟังก์ชันที่สอดคล้องกับสมการ 35) ให้ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ซึ่งมีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของจานวนจริง โดยที่
f(x+y) = f(x) + f(y) + 3x2y + 3xy2 สาหรับทุกจานวนจริง x และ y และ 2x
f-1(x) = สาหรับทุกสมาชิก x ในเรนจ์ของ f พิจารณาข้อความต่อไปนี้
f(x) x+1
lim = 2 ค่าของ f’(1) + f’’(5) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 58)
x 0 x (ก) 2f’(4) – f(4) = 3
(ข) f’’(f(4)) = f(f’’(4))
(ค) f เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง (0,2)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 58)
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

34) กาหนดให้ C เป็นเส้นโค้ง y = 2 + xx-1 เมื่อ x เป็นจานวนจริง ถ้า L 36) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f : R  R เป็นฟังก์ชันที่สามารถหา
เป็นเส้นตรงที่สัมผัสกับเส้นโค้ง C ที่จุด (0,2) และให้ N เป็นเส้นตรงที่ตั้งฉาก 2
x +x-6
กับเส้นตรง L ณ จุด (0,2) แล้วเส้นตรง N ผ่านจุดในข้อใดต่อไปนี้ อนุพันธ์ได้ และสอดคล้องกับ lim = 6 และ 1 + f(x) ≥ 0
x 2 1+ f(x) - 3
(PAT 1 ต.ค. 58)
สาหรับทุกจานวนจริง x ถ้าเส้นตรง 6x – y = 4 ตัดกราฟ y = f(x) ที่ x = 2
1. (-1,3)
แล้วค่าของ f’(2) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 58)
2. (1,5)
3. (-2,5)
4. (3,-2)
5. (-3,4)

Page 200
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
 x+b-4 ; xa 39) ให้ f เป็นฟังก์ชันซึ่งมีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของจานวนจริง โดยที่

37) ให้ f เป็นฟังก์ชัน โดยที่ f(x) = x2 + bx + a ; a x b f(x) = 2ax + b x + 1 เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง ถ้า f(0) = 1 และ
 f(1) = f(4) = 0 แล้ว (fof)(4) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61)
 2bx - a ; x b
1. 1.25
เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง และ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริง 2. 1.75
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 3. 2.25
(ก) (fof)(a-b) = a - b 4. 2.75
(ข) f(a+b) = f(a) + f(b)
(ค) f’(f(2)) = f(f’(2))
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 59)
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

38) กาหนดให้ R เป็นเซตของจานวนจริง ให้ f : R  R และ g : R  R


เป็นฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์ทุกอันดับ และสอดคล้องกับ g(x) = xf(x) และ
g’(x) = 4x3 + 9x2 + 2 สาหรับทุกจานวนจริง x
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ของ f เท่ากับ 6
(ข) ค่าต่าสุดสัมพัทธ์ของ f เท่ากับ 2
(ค) อัตราการเปลี่ยนแปลงของ (f+g)(x) เทียบกับ x ขณะที่ x = 1 เท่ากับ 12
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 59)
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

เฉลยคาตอบ
1) 4 2) 4 3) 1 4) 1.5 5) 2
6) 2 7) 3 8) 3 9) 2 10) 4
11) 4 12) 12 13) 2 14) 6 15) 0
16) 120 17) 4 18) 1 19) 2 20) 3
21) 4 22) 2 23) 2 24) 2.25 25) 157
26) 2 27) 354 28) 3 29) 3 30) 634
31) 1 32) 4 33) 35 34) 1 35) 5
36) 5 37) 1 38) 1 39) 1

Page 201
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 20 ปฏิยานุพันธ์ a 2
1) กาหนดให้ กราฟของ y = f(x) มีความชันที่จุด (x , y) ใดๆ เป็น 2x + 2 และ f 3) กาหนดให้ I(a) =  (x - 1)dx สาหรับ a  [0 , )
มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์เท่ากับ -3 พื้นที่ของอาณาบริเวณที่ปิดล้อมด้วยกราฟของ -a
ประโยคในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง เมื่อเอกภพสัมพัทธ์คือช่วง [0 , )
y = f(x) แกน x เส้นตรง x = -1 และเส้นตรง x = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(A-Net 2551)
(A-Net 2549)
1. a [I(a) > 0]
7
1. ตารางหน่วย 2. a [(I(a) = 0)  (a = 0)]
3 3. a [(a > 2)  (I(a) < 0)]
8 4. a [(a  0)  (I(a) = 0)]
2. ตารางหน่วย
3
3. 9 ตารางหน่วย
4. 12 ตารางหน่วย

2) พื้นที่ของบริเวณที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง y = x3 – 2x2 + 2x และแกน x จาก x = 0 4) กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันที่นิยามบนช่วง (0 , ) โดยที่ f(2) = 2f(1)


ถึง x = 4 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2550) 1
และ f'(x) = 27x - 2 ถ้า L เป็นเส้นสัมผัสกราฟของ y = f(x) ที่จุด (1 , f(1))
1. 16 ตารางหน่วย x
2. 16.25 ตารางหน่วย แล้ว จุดในข้อใดต่อไปนี้อยู่บน L (A-Net 2551)
3. 16.5 ตารางหน่วย 1. (2 , 64)
4. 17 ตารางหน่วย 2. (2 , 66)
3. (3 , 94)
4. (3 , 96)

Page 202
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
 x+3 ; x  -1 7) กาหนดให้
5) กาหนดให้ f(x) =  A แทนพื้นที่ของอาณาบริเวณที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง y = 1 – x2 และแกน x
-2x 3 ; x  ³-1
พื้นที่ปิดล้อมด้วยกราฟของ f บนช่วง [-4 , 0] มีค่าเท่าใด (A-Net 2551) x2
B แทนพื้นที่ของอาณาบริเวณที่ใต้เส้นโค้ง y = เหนือแกน x จาก x = -c
4
ถึง x = c
ค่าของ c ที่ทาให้ A = B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52)
1. 2
2. 2
3. 2 2
4. 4

1
3 8) ถ้า f’(x) = 3x2 + x – 5 และ f(0) = 1 แล้ว  f(x) dx มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
6) พื้นที่ของอาณาบริเวณที่อยู่ระหว่างเส้นโค้ง y = x – 4x และแกน x เมื่อ x -1
อยู่ในช่วง [-2 , 1] มีค่าเท่าใด (A-Net 2552) (PAT 1 ก.ค. 52)
5
1.
3
7
2.
3
2
3.
3
1
4.
3

Page 203
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
1 11) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f : R  R เป็นฟังก์ชัน
9) ถ้า f’(x) = x2 – 1 และ  f(x) dx  0 แล้ว f(1) มีค่าเท่ากับเท่าใด
0 โดยที่ f’’(x) = 6x + 4 สาหรับทุกจานวนจริง x
(PAT 1 ต.ค. 52) และความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y = f(x) ที่จุด (2 , 19) เท่ากับ 19
แล้วค่าของ f(1) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53)

10) กาหนดให้ y = f(x) เป็นฟังก์ชันซึ่งมีค่าสูงสุดที่ x = 1 12) กาหนดให้ f(x) เป็นฟังก์ชันพหุนามกาลังสอง ถ้าความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง


ถ้า f’’(x) = -4 ทุก x และ f(-1) + f(3) = 0 แล้ว f มีค่าสูงสุดเท่าใด 2
y = f(x) ที่จุด (1 , 2) มีค่าเท่ากับ 4 และ  f(x) dx  12 แล้ว f(-1) + f’’(-1)
(PAT 1 ต.ค. 52) -1
มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53)

Page 204
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) กาหนดให้ h(x) = f(x)g(x) โดยที่ความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y = f(x) ที่จุด 15) กาหนด f เป็นฟังก์ชันพหุนามที่มี f’’(x) = ax + b เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง
(x , y) เท่ากับ 2 – 2x และเส้นโค้ง y = f(x) มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ เท่ากับ 5 ถ้า g ถ้า f(0) = 2 และกราฟของ f มีจุดต่าสุดสัมพัทธ์ที่ (1 , -5) แล้ว 2a + 3b
เป็นฟังก์ชันพหุนาม ซึ่งมีสมบัติ g(2) = g’(2) = 5 แล้ว h’(2) มีค่าเท่ากับเท่าใด เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54)
(PAT 1 ก.ค. 53) 1. -12
2. 20
3. 42
4. 48

14) กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนจริง และให้ f เป็นฟังก์ชันพหุนาม โดยที่ 16) กาหนดเส้นโค้ง y = f(x) สัมผัสกับเส้นตรง 2x – y + 3 = 0 ที่จุด (0 , 3)
f(x) = x4 + 2x3 – x2 + ax + b ถ้ามีฟังก์ชันพหุนาม Q(x) โดยที่ f(x) = (Q(x))2 2
1 และ  f''(x) dx = - 3 ถ้า g(x) = x+2 f(x) และ g’(2) = 0 แล้ว f(2)
แล้วค่าของ  f(x) dx เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 53) 0
0 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)
71
1.
30
31
2.
30
11
3.
30
1
4.
30

Page 205
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
1 3 19) ให้ L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด (0,10) และมีความชันมากกว่า -1 แต่น้อยกว่า 0
17) กาหนดให้ A(0,0) , B(1,0) และ C  ,  เป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม ABC ถ้าพื้นที่ของอาณาบริเวณที่ถูกปิดล้อมด้วยเส้นตรง L กับแกน x จาก x = 0
2 2 
ถ้ากราฟของ f(x) = ax2 + bx + c ผ่านจุด A(0,0) , B(1,0) โดยที่ AC และ BC ถึง x = 6 มีค่าเท่ากับ 51 ตารางหน่วยแล้ว จงหาพื้นที่ของอาณาบริเวณที่ถูก
เป็นเส้นสัมผัสกราฟของ f ที่จุด A(0,0) , B(1,0) ตามลาดับ แล้วพื้นที่ที่ปิดล้อม ปิดล้อมด้วยเส้นตรง L กับแกน x จาก x = 0 ถึง x = 3 (PAT 1 ธ.ค. 54)
ด้วยกราฟของ f และเส้นตรง AB มีค่าเท่าใด (PAT 1 ธ.ค. 54)
3
1.
6
3
2.
3
3
3.
2
2 3
4.
3

18) กาหนดให้ f : R  R f’’(x) = 0 ทุกๆจานวนจริง 20) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง กาหนดให้ f : R  R เป็นฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์


1 ทุกอันดับ โดยที่ f’’(x) = 2x + 1 และ f’(2) = 2
ถ้า f(0) = 23 และ f(1) = 103 แล้ว จงหาค่าของ  f(x) dx (PAT 1 ธ.ค. 54) สมการของเส้นตรงที่ตั้งฉากกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y = f(x) ที่จุด (1,3)
0
คือข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 55)
1
1. y =- x+2
2
1 5
2. y = x+
2 2
1 5
3. y =- x+
2 2
1
4. y = x+2
2

Page 206
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f : R  R และ g : R  R 23) กาหนดให้ f(x) เป็นพหุนามกาลังสอง โดยที่ f(0) = 1 และ f(x+1) = f(x-1) + x + 1
เป็นฟังก์ชัน โดยที่ f(x) = 2x + 3 และ (gof)(x) = 8x3 + 44x2 + 80x + 48 1
6 สาหรับจานวนจริง x ใดๆ ค่าของ  f(x) dx เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
-2
สาหรับทุกจานวนจริง x แล้วค่าของ  f(g(x)) dx เท่ากับเท่าใด
0 (PAT 1 ต.ค. 55)
(PAT 1 มี.ค. 55) 1. 3
2. 2
2
3.
3
1
4.
3

22) กาหนดให้ f(x) = x3 + ax + b เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริงที่แตกต่างกัน และให้ 24) กาหนดให้ P(x) เป็นพหุนามที่สอดคล้องกับ P(x2 + 3) = 3x4 + 24x2 + 40 และให้
L1 และ L2 เป็นเส้นสัมผัสเส้นโค้งที่ x = a และ x = b ตามลาดับ x
2 f(x) =  P(t) dt ค่าของ lim P(x) - f(x) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55)
9h 0 2

ถ้า L1 ขนานกับ L2 และ lim  1 แล้วค่าของ  f(x) dx
0 f(1+ h) - f(1)
h® 0
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 55)

Page 207
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) กาหนดให้ f(x) เป็นพหุนามกาลังสาม ซึ่งมีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนจริง โดยที่มี 27) กาหนดให้ f(x) = x2 + ax + b เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง ถ้า f(1) = 2
x + 1 เป็นตัวประกอบของ f(x) 5 + 2i เป็นคาตอบของสมการ f(x) = 0 2
2 และ (fof)(0) = 10 แล้วค่าของ  f(x) dx เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 57)
และ f(0) = 58 ค่าของ  [f(x) - f(-x)] dx เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56) -1
0

2 2 a
26) ถ้า  x - 7x + 6 dx  เมื่อ a และ b เป็นจานวนเต็มที่ b  0 28) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า f : R  R เป็นฟังก์ชันซึ่ง f’’(x) = 3 + 6x
-2 b
สาหรับทุกจานวนจริง x และความชันของเส้นสัมผัสโค้ง y = f(x) ณ จุด (2 , 22)
และ ห.ร.ม. ของ a และ b เท่ากับ 1 แล้วค่าของ a + b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(PAT 1 มี.ค. 57) เท่ากับ 20 แล้วค่าของ lim f(x) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 57)
x 4
1. 33
2. 69
3. 102
4. 104

Page 208
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
b x-1 31) กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง และ a, b เป็นจานวนจริง และให้
29) กาหนดให้ b > 1 และ  dx = 4 ค่าของ 1 + b + b2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1x+ x f : R  R เป็นฟังก์ชันที่นิยามโดย f(x) = a + bx + x3 สาหรับทุกจานวนจริง x
(PAT 1 เม.ย. 57) 2
ถ้าเส้นตรง 5x – y + 13 = 0 สัมผัสกราฟของ f ที่ x = 1 แล้ว  f(x) dx
1. 21 0
2. 31 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 เม.ย. 57)
3. 91
4. 111

30) กาหนดให้ f(x) = ax2 + bx + c เป็นพหุนามกาลังสอง เมื่อ a, b, c เป็นจานวนจริง 32) กาหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชันซึ่งมีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของจานวนจริง
1 โดยทั้ง f และ g เป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ได้ และสอดคล้องกับ
และ a  0 โดยที่ f(1) = 0 และ f มีคา่ สูงสุดที่ x = ให้
3
 (fog)(x) = x2 +5 สาหรับทุก x ที่อยู่ในโดเมนของ fog และ
F( , ) =  f(x) dx โดยที่ F(0,t) = F(1,t) + 1 สาหรับจานวนจริง t > 1 g(x) dx = x2 - 4x + C เมื่อ C เป็นค่าคงตัว ถ้า L เป็นเส้นตรงที่สัมผัสเส้นโค้ง

y = f(x) ณ x = 0 แล้วเส้นตรง L ตั้งฉากกับเส้นตรงที่มีสมการตรงกับข้อใดต่อไปนี้
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(PAT 1 พ.ย. 57)
(ก) F(1,2) = F(2,3) + 10
1. x + y – 3 = 0
f(x) -3x2 - 2x - 2 2. 2x + y – 7 = 0
(ข) อนุพันธ์ของ เท่ ากั บ
x2 x3 3. 3x + y – 5 = 0
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57) 4. 5x + y – 2 = 0
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 209
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) กาหนดให้ f(x) = 4x3 + bx2 + cx + d เมื่อ b, c และ d เป็นจานวนจริง โดยที่ 1+ x 
2 35) กาหนดให้ f(x) = log   เมื่อ -1 < x < 1
64 1- x 
 f(x) dx  - ถ้า g(x) เป็นพหุนามซึ่ง g’(x) = f(x) และ
-2 3  2x 
ถ้า  f(x) dx = A แล้ว  f   dx ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 58)
g’(1) = g’(0) = g(0) = 0 แล้ว g’’(x) = g’(x) + g(x) ตรงกับสมการในข้อใดต่อไปนี้  1 + x2 
(PAT 1 พ.ย. 57) 1. A2
1. x4 – 4x3 + 12x2 – 6x = 0 2. -A2
2. x4 – 8x3 – 12x2 – 6x = 0 3. 2A
3. 3x4 – 16x3 + 48x2 – 24x = 0 4. -2A
4. 3x4 + 8x3 – 48x2 + 24x = 0

34) ให้ f เป็นฟังก์ชันซึ่งมีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของจานวนจริง โดยที่ 36) ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันซึ่งมีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของจานวนจริง โดยที่


f(2x -1) = 4x2 – 10x + a เมื่อ a เป็นจานวนจริง และ f(0) = 12 ค่าของ 4
2x - x
4 2
f'(x) = 3 เมื่อ x  0 g(x) = (1 + x )f(x) และ g(1) = 2
 f(x) dx เท่ากับเท่าใด (PAT 1 พ.ย. 57) x
1 2 3
ค่าของ  x g''(x) dx เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 58)
-1

Page 210
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
 3 39) กาหนดให้ f(x) = x3 + ax + b เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริง ถ้าอัตราการ
 x , x  -1
 เปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ f(x) เทียบกับ x เมื่อค่าของ x เปลี่ยนจาก -1 เป็น 1
37) กาหนดให้ฟังก์ชัน f(x) =  ax+b , -1  x  1 เมื่อ a และ b
 1 f(3 + h) - f(3 - h)
3x2 +2 , x 1 เท่ากับ -2 และ  f(x) dx = 2 แล้วค่าของ lim
-1 0
h® h
เป็นจานวนจริง ถ้าฟังก์ชัน f ต่อเนื่อง สาหรับทุกจานวนจริง x แล้วค่า เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 59)
2
 f(x) dx เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 58)
-2

-2 x3 + x2 + x
38) ค่าของ  dx เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 59) 40) ให้ a, b และ c เป็นจานวนจริงถ้ากราฟของ f(x) = ax2 + bx + c ผ่านจุด (0 , 1)
-4 x x+2 - x2 - 2 (1 , 3) และจุด (2 , 2) แล้วพื้นที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง y = f(x) และเส้นตรง y = x
จาก x = 0 ถึง x = 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60)

1. 5 ตารางหน่วย
2
2. 8 ตารางหน่วย
3
3. 3 ตารางหน่วย
4. 7 ตารางหน่วย
2
5. 5 ตารางหน่วย

Page 211
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
41) กาหนดให้ f(x) = 2x + 5 และ g(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b และ c เป็นจานวน 43) กาหนดให้ฟังก์ชัน f(x) = ax3 + bx2 + 1 เมื่อ a, b เป็นจานวนจริง
1 1
f(x)  f (2) f (x)  f (4)
จริง ถ้า (f-1og)(0) = 2,  f  1(g (x)) d x  1 และ (f-1og)(x) มีค่าต่าสุดสัมพัทธ์ที่ ถ้า l i m  0 และ  f(x)d x  1 แล้ว l i m เท่ากับ
0 x 2 x  2 0 4 x  4 x4
x = 1 แล้วค่าของ g(1) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 60) เท่าใด (PAT 1 ก.พ. 61)

42) กาหนดให้ฟังก์ชัน f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจานวนจริง


ถ้า f(-1) + f(1) = 14, f(1) = 2f(1) และ f(0) + f(0) = 6
1
แล้ว  f(3x)d x เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.พ. 61)
0

เฉลยคาตอบ
1) 2 2) 37.33 3) 4 4) 2 5) 3
6) 5.75 7) 2 8) 2 9) 0.25 10) 8
11) 7 12) 18 13) 10 14) 3 15) 3
16) 8 17) 1 18) 63 19) 27.75 20) 2
21) 990 22) 4 23) 1 24) 3 25) 168
26) 4 27) 12 28) 100 29) 3 30) 2
31) 38 32) 3 33) 4 34) 34.5 35) 3
36) 132 37) 9.25 38) 3 39) 48 40) 3
41) 6 42) 11 43) 18

Page 212
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 21 เรียงสับเปลี่ยน จัดหมู่
และทฤษฎีบทวินาม
55
  51   101  
1) ในการกระจาย  2   + 3    จานวนพจน์ที่เป็นจานวนเต็มเท่ากับ 3) จัดคน 8 คน ซึ่งมีสมชาย สมคิด และสมศรี รวมอยู่ด้วย เข้านั่งเรียงกันเป็นแถวตรง
 
  โดยที่สมศรีนั่งกลางติดกับสมชายและสมคิดเสมอ จานวนวิธีการจัดที่นั่งดังกล่าวมีค่า
ข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2549) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2550)
1. 5 พจน์ 1. 360
2. 6 พจน์ 2. 720
3. 7 พจน์ 3. 1080
4. 8 พจน์ 4. 1440

2) กาหนดให้ A = {1, 2, 3, 4, 5} B = {a, b} 4) สองครอบครัวซึ่งแต่ละครอบครัวประกอบด้วย พ่อ แม่ และลูก 2 คน จะต้องถูกจัด


ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B มีจานวนทั้งหมดกี่ฟังก์ชัน (A-Net 2549) ให้นั่งรอบโต๊ะกลม 8 ที่นั่ง โดยที่เด็กแต่ละคนต้องนั่งติดกับพ่อหรือแม่ของตนเอง
จะมีจานวนวิธีจัดได้กี่วิธี (A-Net 2552)

Page 213
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) กาหนดให้ A = {1, 2, 3, 4} และ B = {a, b, c} 7) ต้องการสร้างจานวนคู่บวก 4 หลัก จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 7, 8 โดยแต่ละจานวน
เซต S = {f f : A  B เป็นฟังก์ชันทั่วถึง} มีจานวนสมาชิกเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ที่สร้างขึ้นไม่มีเลขโดดในหลักใดที่ซ้ากันเลย จะมีจานวนวิธีที่สร้างได้เท่ากับ
(PAT 1 มี.ค. 52) ข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
1. 12 1. 180
2. 24 2. 156
3. 36 3. 144
4. 39 4. 136

6) คุณลุง คุณป้า ลูกชาย และลูกสาว มาเยี่ยมครอบครัวเราซึ่งมี 4 คนคือ คุณพ่อ 8) มีสิ่งของซึ่งแตกต่างกันทั้งอยู่ 8 ชิ้น ต้องแบ่งให้คน 2 คน คนหนึ่งได้ 6 ชิ้น
คุณแม่ ตัวฉัน และน้องชาย ในการจัดที่นั่งรอบโต๊ะอาหารกลมที่มี 8 ที่นั่ง โดยให้ และอีกคนหนึ่งได้ 2 ชิ้น จะมีจานวนวิธีแบ่งกี่วิธี (PAT 1 ต.ค. 52)
คุณลุงนั่งติดกับคุณพ่อ คุณป้านั่งติดกับคุณแม่ ลูกชายของคุณลุงนั่งติดกับน้องชาย
ของฉัน และลูกสาวของคุณลุงนั่งติดกับฉัน จะมีจานวนวิธีจัดได้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(PAT 1 มี.ค. 52)
1. 96 วิธี
2. 192 วิธี
3. 288 วิธี
4. 384 วิธี

Page 214
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) ในการแข่งขันฟุตบอลฤดูกาลหนึ่ง มีทีมเข้าร่วมแข่งขัน 7 ทีม จัดแข่งแบบ 11) กาหนดให้ A = {0, 1, 2, 3, 4} จานวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยกว่า 300 โดยสร้าง
พบกันหมด (แต่ละทีมต้องลงแข่งกับทีมอื่นทุกทีม) จะต้องจัดการแข่งขันกี่นัด มาจากตัวเลขในเซต A และตัวเลขแต่ละหลักไม่ซ้ากัน เท่ากับเท่าใด
(PAT 1 ต.ค. 52) (PAT 1 มี.ค. 53)

10) ให้ A เป็นเซตของจานวนเฉพาะบวกที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 12) คณะกรรมการชุดหนึ่งมี 7 คน ประกอบด้วยประธาน รองประธาน เลขานุการและ


B เป็นเซตของจานวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 กรรมการอีก 4 คน จานวนวิธีที่จัดกลุ่มคน 7 คนนี้นั่งประชุมรอบโต๊ะกลม โดยให้
และ C เป็นเซตของฟังก์ชัน f : A  B ทั้งหมดที่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ประธานและรองประธานนั่งติดกันเสมอ แต่เลขานุการไม่นั่งติดกับรองประธาน
และ ห.ร.ม. ของ a และ f(a) ไม่เท่ากับ 1 สาหรับทุกค่า a  A จานวนสมาชิกใน เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53)
เซต C เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53)

Page 215
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) มีข้อสอบปรนัย 20 ข้อ คะแนนเต็ม 50 คะแนน โดยกาหนดข้อ 1-10 ข้อละ 15) มีเลขโดด 3, 4 ,6 และ 7 นามาจัดเรียงสร้างจานวน 4 หลักโดยที่แต่ละหลักไม่ซ้ากัน
4 คะแนน และข้อ 11-20 ข้อละ 1 คะแนน ถ้าหากนักเรียนตอบข้อใดถูกต้อง จะได้ จะมีจานวน 4 หลักทั้งหมดกี่จานวนที่หารด้วย 44 ไม่ลงตัว (PAT 1 ต.ค. 53)
คะแนนเต็มของข้อนั้น แต่ถ้าตอบผิดหรือไม่ตอบ จะได้ 0 คะแนน จะมีกี่วิธีที่นักเรียน
คนหนึ่งจะทาข้อสอบชุดนี้ได้คะแนนรวม 45 คะแนน (PAT 1 ก.ค. 53)

14) กาหนดให้ A = {1, 2, 3, … , 9, 10} จงหาจานวนสับเซตของ A ทั้งหมดที่ 16) จงหาว่าจานวนสับเซต {a1 , a2 , a3} ของเซต {1, 2, 3, … , 14} ทั้งหมดที่
ประกอบด้วยสมาชิก 8 ตัวที่แตกต่างกันโดยที่ ผลรวมของสมาชิกทั้ง 8 ตัว สอดคล้องกับ a2 – a1 ≥ 3 และ a3 – a2 ≥ 3 (PAT 1 มี.ค. 54)
เป็นพหุคูณของ 5 (PAT 1 ก.ค. 53)

Page 216
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) ถ้า S เป็นผลบวกของจานวนเต็มบวกทั้งหมดที่สร้างจากเลขโดด 1, 2, 3 หรือ 4 19) บัตร 8 ใบ ได้แก่ 1 , 1 , 2 , 2 , 3 , 3 , 4 , 4 เลือกมา 4 ใบเพื่อสร้างจานวนเต็ม
โดยที่ตัวเลขในแต่ละหลักไม่ซ้ากัน แล้วเศษเหลือจากการหาร S ด้วย 9 4 หลัก จะสร้างได้กี่จานวน (PAT 1 ธ.ค. 54)
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 54)

18) สุ่มเลือกจานวนตั้งแต่ 1 ถึง 15 มา 5 จานวน จงหาจานวนวิธีที่จะได้จานวนซึ่งมี 20) ให้ S เป็นเซตของพหุนาม f(x) = ax3 + bx2 + cx + d โดยที่ a, b, c, d
ผลรวมของทั้ง 5 จานวนหารด้วย 3 ลงตัว (PAT 1 ธ.ค. 54) เป็นสมาชิกในเซต {0, 1, 2, …} ซึ่งมีสมบัติสอดคล้องกับ 2a + b + c + d = 4
จานวนสมาชิกของเซต S เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 55)

Page 217
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) จงหาจานวนวิธีทั้งหมดในการจัดชาย 3 คนและหญิง 3 คน ซึ่งมีนาย ก. 23) กาหนดให้ A = {1, 2, 3, … , k} เมื่อ k เป็นจานวเต็มบวก และให้
และนางสาว ข. รวมอยู่ด้วย ให้ยืนเป็นแถวตรง 2 แถว แถวละ 3 คน โดยที่นาย ก. B = { (a,b)  A x A 0 < b – a ≤ 7 }
และนางสาว ข. ไม่ได้ยืนติดกันในแถวเดียวกัน (PAT 1 มี.ค. 55) ค่าของ k เท่ากับเท่าใดที่ทาให้จานวนสมาชิกของเซต B เท่ากับ 714
(PAT 1 ต.ค. 55)

22) กาหนด S เป็นเซตของ (a, b, c, d, e, f) 24) นักเรียนกลุ่มหนึ่งมี 16 คน ซึ่งแต่ละคนเป็นสมาชิกของชมรมวิชาการ


โดยที่ a, b, c, d, e, f  {0, 1, 2, … , 9} ซึ่งมีสมบัติสอดคล้องกับ หรือชมรมกีฬา หรือชมรมดนตรี อย่างน้อย 1 ชมรม และพบว่า มี 8 คน
a3 – c2 = 4 , 2b – d2 = 7 และ e3 – f2 = -1 จานวนสมาชิกของเซต S เป็นสมาชิกของชมรมวิชาการ มี 10 คน เป็นสมาชิกของชมรมกีฬา มี 10 คน
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 55) เป็นสมาชิกของชมรมดนตรี มี 6 คน เป็นสมาชิกของชมรมดนตรีและชมรมกีฬา
มี 5 คน เป็นสมาชิกของชมรมวิชาการและชมรมกีฬา และมี 3 คน เป็นสมาชิก
ของชมรมวิชาการและชมรมดนตรี ต้องการเลือกผู้แทน 1 คน ของแต่ละชมรมโดยที่
แต่ละคนต้องเป็นสมาชิกเพียงชมรมเดียวเท่านั้น จานวนวิธีเลือกดังกล่าวมีทั้งหมด
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55)

Page 218
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) ให้ A และ B เป็นเซต โดยที่จานวนสมาชิกของเซต A และ B เท่ากับ 4 และ 5 27) จังหวัดแห่งหนึ่งมีอาเภอ 6 อาเภอ แต่ละอาเภอส่งผู้แทนอาเภอละ 2 คนเป็นชาย
ตามลาดับและจานวนสมาชิกของ A  B เท่ากับ 7 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 1 คน และเป็นหญิง 1 คน ถ้าต้องการคัดเลือกกรรมการ 4 คน เป็นชาย 2 คน
(ก) ความสัมพันธ์ใน A  B มี 4 ความสัมพันธ์ และหญิง 2 คน จากตัวแทนทั้ง 12 คน โดยในบรรดากรรมการ 4 คนนี้จะต้องเป็น
(ข) ความสัมพันธ์จาก A – B ไป B – A มี 64 ความสัมพันธ์ ชายและหญิงอย่างน้อย 1 คู่ มาจากอาเภอเดียวกัน จะมีวิธีการคัดเลือกกี่วิธี
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 56) (PAT 1 มี.ค. 56)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

26) ต้องการนาเลขโดด 1, 1, 2, 2, 3, 3 ทั้ง 6 ตัวมาจัดเรียงเป็นจานวนที่มี 6 หลัก 28) ต้องการสร้างจานวนสามหลัก โดยมีตัวเลข 5 อย่างน้อย 1 หลัก แต่ไม่มีตัวเลข 7
จะสร้างจานวนที่มี 6 หลักได้ทั้งหมดกี่จานวน เมื่อเลข 1 ทั้งสองตัวไม่ติดกัน ในหลักใดเลย มีจานวนวิธีสร้างจานวนสามหลักเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
และเลข 3 ทั้งสองตัวไม่ติดกัน (PAT 1 มี.ค. 56) (PAT 1 มี.ค. 57)
1. 128
2. 136
3. 153
4. 200

Page 219
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) มีเก้าอี้สีขาวเหมือนกัน 3 ตัวและเก้าอี้สีแดงเหมือนกัน 3 ตัว นามาจัดเรียงรอบ 31) ต้องการเขียนจานวนที่มีหกหลัก ABCDEF โดยที่
โต๊ะกลม จานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนที่แตกต่างกันทั้งหมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ A, B, C, D, E, F  {1, 2, … , 9}
(PAT 1 เม.ย. 57) A + B = 14 และ C – D > D – E > E – F > 0 จะสร้างได้ทั้งหมดกี่จานวน
1. 4 วิธี (PAT 1 เม.ย. 57)
2. 6 วิธี
3. 10 วิธี
4. 20 วิธี

30) ต้องการจัดเรียงตัวอักษร P, P, P , A, A, A, T, T, T ทั้งหมด 32) นิยาม จานวนสามหลักลด คือ จานวน ABC โดยที่ A, B, C  {0, 1, … , 9}
(ไม่คานึงถึงความหมาย) โดยมีเงื่อนไขว่า ตัวอักษร P ทั้งสามตัวต้องอยู่แยกกัน และ A > B > C จานวนวิธีสร้างจานวนสามหลักลด ที่มีค่ามากกว่า 500
ทั้งหมดและตัวอักษร T ทั้งสามตัวต้องอยู่แยกกันทั้งหมด จะมีวิธีการเรียงตัวอักษร มีจานวนทั้งหมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 พ.ย. 57)
ดังกล่าวได้ทั้งหมดกี่วิธี (PAT 1 เม.ย. 57) 1. 119
2. 117
3. 114
4. 110

Page 220
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) กาหนดให้ U = {1, 2, 3, 4, 5} ให้ S เป็นเซตของคู่อันดับ (A , B) ทั้งหมด 35) มีกระเบื้องสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีแดง สีขาว และสีเขียว เป็นจานวนอย่างน้อยสีละ 5 แผ่น
โดยที่จานวนสมาชิกของเซต A  B เท่ากับ 2 เมื่อ A และ B เป็นสับเซตของ U (แต่ละสีเหมือนกันและมีขนาดเท่ากันทั้งหมด) ต้องการนากระเบื้อง 7 แผ่น
จานวนสมาชิกของเซต S เท่ากับเท่าใด (PAT 1 เม.ย. 57) มาจัดเรียงเป็นแถวตรง โดยมีกระเบื้องแต่ละสีอย่างน้อยหนึ่งแผ่น จะจัดเรียง
กระเบื้องดังกล่าวได้ทั้งหมดกี่วิธี (PAT 1 มี.ค. 58)

34) กาหนดให้ S = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} จงหาจานวนสับเซต A  S ทั้งหมดที่เซต A 36) ต้องการสร้างจานวนห้าหลัก จากเลขโดด 1, 2, 3 โดยที่แต่ละหลักมีตัวเลขซ้ากันได้


มีจานวนสมาชิกอย่างน้อย 2 ตัวและ a – b > 1 สาหรับทุกสมาชิก a และ b ใน A และจานวนห้าหลักต้องประกอบด้วยตัวเลข 1 อย่างน้อย 1 หลัก ตัวเลข 2
(PAT 1 มี.ค. 58) อย่างน้อย 1 หลัก และตัวเลข 3 อย่างมาก 2 หลัก จะมีจานวนห้าหลักดังกล่าว
ได้ทั้งหมดกี่จานวน (PAT 1 ต.ค. 58)

Page 221
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
37) นาย ก. และนางสาว ข. พร้อมด้วยเพื่อนผู้ชายอีก 3 คน และเพื่อนผู้หญิงอีก 3 คน 39) คนกลุ่มหนึ่งมีผู้ชาย n คน ผู้หญิง n + 1 คน เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก ต้องการ
นั่งรับประทานอาหารรอบโต๊ะกลมโดยที่ นาย ก. และนางสาว ข. นั่งตรงข้ามกัน จัดคนกลุ่มนี้ยืนเรียงแถวเป็นแนวตรงเพียงหนึ่งแถว ถ้าจานวนวิธีจัดคนกลุ่มนี้ยืน
และมีเพื่อผู้หญิง 2 คน นั่งติดกันกับ นางสาว ข. จะมีจานวนวิธีจัดที่นั่งรอบโต๊ะกลม เรียงแถวแนวตรง โดยไม่มีผู้ชายสองคนใดยืนติดกัน เท่ากับสองเท่าของจานวนวิธีจัด
ดังกล่าวได้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 59) คนกลุ่มนี้ยืนเรียงแถวเป็นแนวตรงโดยผู้ชายยืนติดกันทั้งหมด แล้วคนกลุ่มนี้มี
1. 30 วิธี ทั้งหมดกี่คน (PAT 1 ก.พ. 61)
2. 72 วิธี
3. 96 วิธี
4. 120 วิธี
5. 144 วิธี

38) มีลูกแก้วขนาดเดียวกัน 7 ลูก เป็นลูกแก้วสีแดง 2 ลูก ลูกแก้วสีเขียว 2 ลูก และ


ลูกแก้วสีขาว 3 ลูก ต้องการจัดเรียงลูกแก้วทั้ง 7 ลูกเป็นแถวตรง โดยที่ลูกแก้วสอง
ลูกใดๆ ที่เรียงติดกัน มีสีแตกต่างกัน จานวนวิธีจัดเรียงลูกแก้วดังกล่าวเท่ากับเท่าใด
(PAT 1 มี.ค. 60)

เฉลยคาตอบ
1) 2 2) 30 3) 4 4) 544 5) 3
6) 1 7) 2 8) 56 9) 21 10) 25
11) 44 12) 192 13) 352 14) 9 15) 22
16) 120 17) 4 18) 1001 19) 204 20) 22
21) 528 22) 6 23) 106 24) 6 25) 3
26) 42 27) 135 28) 4 29) 1 30) 340
31) 35 32) 4 33) 270 34) 0 35) 1806
36) 160 37) 5 38) 38 39) 7

Page 222
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 22 ความน่าจะเป็น
1) กล่องใบหนึ่งมีบัตร 10 ใบ แต่ละใบเขียนหมายเลข –4, -3, -2, … , 4, 5 3) กล่องใบหนึ่งมีบัตร 10 ใบ แต่ละใบมีหมายเลข 0, 1, 2, … , 9 บัตรละหนึ่ง
ใบละ 1 หมายเลข ถ้าสุ่มหยิบบัตร 2 ใบพร้อมกันจากกล่องใบนี้ ความน่าจะเป็น หมายเลข ถ้าหยิบบัตรจากกล่องพร้อมกัน 3 ใบ ความน่าจะเป็นที่จะได้บัตร
ที่จะได้บัตรที่มีหมายเลขบนบัตรทั้งสองซึ่งมีผลคูณมากกว่าหรือเท่ากับ 0 หมายเลขคู่ทุกใบ และมีแต้มรวมกันมากกว่า 10 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2549) (A-Net 2550)
2 1
1. 1.
3 12
5 1
2. 2.
9 15
32 1
3. 3.
45 20
41 1
4. 4.
45 30

2) ให้ S เป็นเซตของจุด 10 จุดบนวงกลมวงหนึ่ง ซึ่งมีสมบัติดังนี้ 4) กล่องใบหนึ่งมีหลอดไฟอยู่ 10 หลอด เป็นหลอดดี 8 หลอด และหลอดเสีย


เมื่อลากเส้นตรงเชื่อมระหว่างจุด 2 จุดใดๆใน S 2 หลอด สุ่มหยิบหลอดไฟขึ้นมาครั้งละ 1 หลอด 3 ครั้ง โดยที่ในการหยิบแต่ละครั้ง
จะมีเพียง 3 เส้นเท่านั้นที่ผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลมนี้ ให้ใส่คืนหลอดไฟลงไปในกล่องก่อนที่จะหยิบครั้งต่อไป แล้วความน่าจะเป็นที่จะได้
ถ้าสร้างรูปสามเหลี่ยมโดยเลือกจุด 3 จุดใน S มาเป็นจุดยอดของรูปสามเหลี่ยม หลอดเสีย 2 ครั้ง มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2551)
ความน่าจะเป็นที่จะได้รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2549)
1. 0.1 3
1.
2. 0.2 125
3. 0.3 6
2.
4. 0.4 125
12
3.
125
16
4.
125

Page 223
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) ให้ S แทนปริภูมิตัวอย่าง และ A, B และ C เป็นเหตุการณ์ 7) ถ้า A และ B เป็นเหตุการณ์ซึ่ง P(AB) = P(AB) = P(AB) = 0.15
โดยที่ A  B  C = S และ A  B = A  C = B  C =  แล้ว P(AB) มีค่าเท่าใด (A-Net 2552)
ถ้า P(A  B) = 0.7 และ P(B  C) = 0.5 แล้ว P(A  C)
มีค่าเท่าใด (A-Net 2551)

6) กล่องใบหนึ่งบรรจุสลาก 10 ใบ แต่ละใบมีตัวเลขกากับไว้ มีสลาก 5 ใบที่ตัวเลข 8) ข้าวสารบรรจุถุงแล้วกองหนึ่งประกอบด้วย ข้าวหอมมะลิ 4 ถุง ข้าวเสาไห้ 3 ถุง


กากับเป็นจานวนลบ และอีก 5 ใบมีตัวเลขกากับเป็นบวก ถ้าสุ่มหยิบสลากจาก ข้าวขาวตาแห้ง 2 ถุง และข้าวบัสมาตี 1 ถุง สุ่มหยิบข้าวจากกองนี้มา 4 ถุง
กล่องนี้มา 4 ใบ ความน่าจะเป็นที่ผลคูณของตัวเลขที่กากับสลากทั้งสี่ใบเป็น ความน่าจะเป็นที่จะได้ข้าวครบทุกชนิด เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52)
จานวนลบ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552) 4
1.
10 35
1.
21 3
2.
11 35
2.
21 2
3.
13 5
3.
21 1
4.
17 4
4.
21

Page 224
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) กิตติและสมาน กับเพื่อนๆรวม 7 คน ไปเที่ยวต่างจังหวัดด้วยกัน ในการค้างแรมที่มี 11) ถุงใบหนึ่งบรรจุลูกกวาดรสสตอเบอรี่ 5 ลูก รสชอคโกแลต 4 ลูก รสกาแฟ
บ้านพัก 3 หลัง หลังแรกพักได้ 3 คน ส่วนหลังที่สองและหลังที่สามพักได้หลังละ และรสมิ้นท์อย่างละ 2 ลูก หากสุ่มหยิบลูกกวาดจากถุงใบนี้มา 3 ลูก
2 คน ซึ่งแต่ละหลังมีความแตกต่างกัน พวกเขาจึงตกลงที่จะจับสลากว่าใครจะได้ ความน่าจะเป็นที่จะหยิบลูกกวาดต่างรสกันทั้งหมด เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
บ้านพักหลังใด ความน่าจะเป็นที่กิตติและสมานจะได้พักบ้านหลังเดียวกันในหลังที่ (PAT 1 ก.ค. 52)
หนึ่งหรือหลังที่สามเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52) 57
1.
4 143
1.
21 58
2.
5 143
2.
21 59
3.
8 143
3.
21 60
4.
10 143
4.
21

10) กาหนดให้ n เป็นจานวนนับ ในการสุ่มหยิบเลข n จานวนพร้อมๆกันจากเซต 12) กาหนด A = {(0,n)n = 1, 2, … , 10 } และ B = {(1,n)n = 1, 2, … , 10}
1 ในการเลือกจุดสองจุดที่แตกต่างกันจากเซต A และอีกหนึ่งจุดจากเซต B เพื่อเป็น
{1, 2, … , 2n} ถ้าความน่าจะเป็นที่จะได้เลขคู่ทั้งหมดเท่ากับ แล้ว
20 จุดยอดของรูปสามเหลี่ยมบนระนาบ ความน่าจะเป็นจะได้รูปสามเหลี่ยมที่มีพื้นที่
ความน่าจะเป็นที่จะได้เลขคู่เพียง 1 จานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52) 1 ตารางหน่วยเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
1 8
1. 1.
20 45
3 9
2. 2.
20 45
9 10
3. 3.
20 45
11 11
4. 4.
20 45

Page 225
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) ในลิ้นชักมีถุงเท้าสีขาว 4 คู่ สีดา 3 คู่ และสีน้าเงิน 2 คู่ แต่ไม่ได้จัดเรียงไว้เป็นคู่ๆ 15) กล่องใบหนึ่งบรรจุหลอดไฟ 12 หลอด เป็นหลอดชารุด 3 หลอด ถ้าหยิบหลอดไฟ
ถ้าสุ่มหยิบถุงเท้ามา 2 ข้าง ความน่าจะเป็นที่จะได้ถุงเท้าสีเดียวกันเท่ากับ จากกล่องมา 4 หลอด แล้วความน่าจะเป็นที่จะได้หลอดชารุดไม่เกิน 1 หลอด
ข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 52)
1 1
1. 1.
2 3
2 1
2. 2.
3 4
43 14
3. 3.
153 99
49 14
4. 4.
153 55

14) ถุงใบหนึ่งบรรจุลูกแก้วสีแดง 5 ลูก สีเขียว 4 ลูก และสีเหลือง 3 ลูก 16) ในการโยนลูกเต๋า 2 ลูกหนึ่งครั้ง ความน่าจะเป็นที่จะได้แต้มรวมเป็น 7 โดยที่มี
ถ้าหยิบลูกแก้วจากถุงทีละลูก 3 ครั้งโดยไม่ใส่คืน แล้วความน่าจะเป็น ลูกเต๋าลูกหนึ่งขึ้นแต้มไม่น้อยกว่า 4 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 52)
ที่จะหยิบได้ลูกแก้ว ลูกที่หนึ่ง สอง และสาม เป็นสีแดง สีเขียว และสีเหลือง 1
1.
ตามลาดับเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 52) 3
1 1
1. 2.
21 4
1 1
2. 3.
22 6
3 1
3. 4.
22 12
3
4.
25

Page 226
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) กล่องใบหนึ่งบรรจุเสื้อยืด 13 สีสีละ 4 ตัว โดยที่เสื้อยืดในแต่ละสีมีขนาด S, M, L 19) ในการทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมๆกัน ความน่าจะเป็นที่ผลบวกของหน้าลูกเต๋าทั้งสอง
และ XL ตามลาดับ สุ่มหยิบเสื้อจากกล่องมา 3 ตัวพร้อมๆกัน ความน่าจะเป็น เท่ากับ 7 หรือผลคูณของหน้าลูกเต๋าทั้งสองเท่ากับ 12 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ที่จะได้เสื้อยืดมีสีเหมือนกัน 2 ตัว เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53) (PAT 1 ก.ค. 53)
72 1
1. 1.
425 18
72 1
2. 2.
5525 6
3 2
3. 3.
221 9
3 4
4. 4.
22100 9

18) กาหนดให้ S เป็นแซมเปิลสเปซ และ A, B เป็นเหตุการณ์ใดๆใน S 20) ในการสอบถามนักเรียน จานวน 100 คน ปรากฏว่า มี 50 คน ชอบวิชา
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ คณิตศาสตร์ มี 40 คน ชอบวิชาฟิสิกส์ มี 33 คน ชอบวิชาภาษาอังกฤษ มี 5 คน
ก. P(A) = P(AB) + P(AB) ชอบทั้งสามวิชามี 10 คน ชอบวิชาภาษาอังกฤษอย่างเดียวมี 12 คน ชอบวิชาฟิสิกส์
ข. ถ้า P(A) = 0.5 , P(B) = 0.6 และ P(AB) = 0.7 แล้ว P(A - B) = 0.4 อย่างเดียว และมี 20 คนชอบวิชาคณิตศาสตร์และวิชาฟิสิกส์ พิจารณาข้อความ
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 53) ต่อไปนี้
1. ก ถูก และ ข. ถูก ก. ความน่าจะเป็นที่นักเรียนคนหนึ่งไม่ชอบทั้งสามวิชา เท่ากับ 0.15
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด ข. ความน่าจะเป็นที่นักเรียนคนหนึ่งชอบวิชาคณิตศาสตร์อย่างเดียว เท่ากับ 0.40
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 53)
4. ก. ผิด และ ข. ผิด 1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

Page 227
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) โยนเหรียญบาท (เที่ยงตรง) หนึ่งเหรียญ จานวน 10 ครั้ง ความน่าจะเป็นที่ได้หัว 23) ในการจัดคน 12 คน (มี GAT และ PAT รวมอยู่ด้วย) นั่งรับประทานอาหาร
อย่างน้อย 2 ครั้งติดกันเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54) รอบโต๊ะกลม จงหาความน่าจะเป็นที่ GAT และ PAT ไม่ได้นั่งติดกัน
193 (PAT 1 ธ.ค. 54)
1.
512 1
1.
314 11
2.
512 2
2.
9 11
3.
64 9
3.
55 11
4.
64 10
4.
11

22) มีถุงยังชีพ 5 ถุง ต้องการแจกให้ครอบครัวที่ถูกน้าท่วม 4 ครอบครัว ครอบครัวละ 24) กาหนดให้ A และ B เป็นเหตุการณ์ในปริภูมิตัวอย่าง
ไม่เกิน 2 ถุง ความน่าจะเป็นที่ครอบครัวของสมชายซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ครอบครัวนั้น ถ้า P(B - A) = 0.2 , P(B) = 0.6 และ P(AB) = 0.8 แล้ว จงหา P(AB)
ไม่ได้รับของแจกเลยเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54) (PAT 1 ธ.ค. 54)
1. 0.15 1. 0.2
2. 0.2 2. 0.4
3. 0.4 3. 0.6
4. 0.6 4. 0.8

Page 228
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) กาหนด A = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} สุ่มหาสับเซตของ A ที่มีสมาชิก 3 ตัว 27) ในการทอดลูกเต๋าสองลูกพร้อมกัน ความน่าจะเป็นที่หน้าลูกเต๋าลูกหนึ่งขึ้นแต้ม a
ความน่าจะเป็นที่จะได้สับเซต {a, b, c}  A โดยที่ a < b < c และ a, b, c 1 1 1
และหน้าลูกเต๋าอีกลูกหนึ่งขึ้นแต้ม b โดยที่   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
เป็นลาดับเลขคณิต เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 55) a b 2
6 (PAT 1 ต.ค. 55)
1. 1
210 1.
9 9
2. 1
210 2.
6 6
3. 1
35 3.
9 18
4. 1
35 4.
12

26) มีหนังสือที่แตกต่างกัน 5 เล่ม คือ หนังสือ ก หนังสือ ข หนังสือ ค หนังสือ ง 28) กาหนด A และ B เป็นเหตุการณ์ใดๆ ในแซมเปิลสเปซ และกาหนดให้ P(E)
และหนังสือ จ สุ่มเลือกหนังสือเหล่านี้มาครั้งละ 3 เล่ม ความน่าจะเป็นที่จะได้ แทนความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E ถ้า P(B) = 0.30 , P(AB) = 0.06
หนังสือ ก หรือหนังสือ ข เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 55) และ P((AB) – (AB)) = 0.38 แล้วค่าของ P(A - B) เท่ากับเท่าใด
(PAT 1 ต.ค. 55)

Page 229
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) กาหนดให้ P(E) แทนความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E ถ้า A และ B เป็นเหตุการณ์ 31) ในคนกลุ่มหนึ่งประกอบด้วยชาย 6 คน และหญิงจานวนหนึ่ง ความน่าจะเป็นที่เลือก
1 5 1 1
ใดๆในแซมเปิลสเปซ โดยที่ P(A) = , P(B) = และ P(AB) = กรรมการ 2 คน เป็นชายทั้งสองเท่ากับ ความน่าจะเป็นที่จะเลือกกรรมการ
2 8 4 8
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 5 คน เป็นชายไม่น้อยกว่า 3 คน เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 57)
5 171
(ก) P(AB) = 1.
8 728
3 22
(ข) P(AB) = 2.
4 91
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 56) 175
4.
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 728
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 43
5.
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 91
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

30) ในการโยนลูกเต๋าสองลูกจานวนหนึ่งครั้ง ความน่าจะเป็นที่จะได้ผลคูณของแต้มบน 32) จากตัวเลข 1, 2, 3, … , 9 นามาสร้างจานวนห้าหลักใช้เลขซ้ากันได้


ลูกเต๋าทั้งสอง หารด้วย 4 ลงตัว เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 56) ความน่าจะเป็นที่จะได้จานวน 5 หลัก โดยที่ในแต่ละหลักเป็นตัวเลขที่แตกต่าง
6 กันเพียง 3 จานวนเท่านั้น มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 เม.ย. 57)
1. 280
36 1.
11 2187
2. 560
36 2.
15 2187
3. 1400
36 3.
27 6561
4. 5040
36 4.
6561

Page 230
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) ให้ S = {1, 2, 3, … , 15} และให้ A เป็นสับเซตของ S โดยที่มีจานวนสมาชิกของ 35) ในการจัดนักเรียนชาย 4 คน และนักเรียนหญิง 4 คน มายืนเรียงเป็นแถวตรง
เซต A เท่ากับ 4 ความน่าจะเป็นที่จะได้เซต A โดยที่สมาชิกในเซต A จัดเรียงเป็น เพียงหนึ่งแถว ความน่าจะเป็นที่ไม่มีนักเรียนชายสองคนใดเลยยืนติดกัน
ลาดับเลขคณิต ซึ่งมีผลต่างร่วมเป็นจานวนเต็มบวก เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ หรือ ไม่มีนักเรียนหญิงสองคนใดเลยยืนติดกัน มีค่าตรงกับข้อใดต่อไปนี้
(PAT 1 มี.ค. 57) (PAT 1 ต.ค. 58)
3 1
1. 1.
455 70
4 1
2. 2.
455 35
1 4
3. 3.
91 35
2 1
4. 4.
91 7
2
5.
7

34) กล่องใบหนึ่งบรรจุลูกบอลขนาดเดียวกัน 7 ลูก เป็นบอลสีขาว 4 ลูก 36) กล่องใบหนึ่งบรรจุลูกแก้วสีแดง 2 ลูก ลูกแก้วสีขาว 3 ลูก และลูกแก้วสีเขียว 3 ลูก
และเป็นลูกบอลสีแดง 3 ลูก สุ่มหยิบลูกบอลจากกล่องใบนี้มา 6 ลูก นามาจัดเรียง สุ่มหยิบลูกแก้วออกมาจากกล่อง 8 ครั้ง ครั้งละลูกโดยไม่ต้องใส่คืน ความน่าจะเป็น
เป็นแถวตรง พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ที่สุ่มหยิบลูกแก้ว 8 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 ได้ลูกแก้วสีขาวหรือหยิบครั้งที่ 8 ไม่ได้ลูกแก้ว
(ก) ความน่าจะเป็นที่การจัดเรียงแถวตรงของลูกบอล โดยหัวแถวเป็นลูกบอลสีขาว สีแดง เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 59)
11 3
หรือท้ายแถวของลูกบอลสีแดง เท่ากับ 1.
42 4
(ข) ความน่าจะเป็นที่การจัดเรียงแถวตรงของลูกบอล โดยหัวแถวเป็นลูกบอลสีขาว 5
2.
มากกว่าความน่าจะเป็นที่ท้ายแถวเป็นลูกบอลสีแดง 8
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 58) 29
3.
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 56
7
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 4.
8
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
6
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด 5.
7

Page 231
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
37) กล่องใบหนึ่งมีบัตร 7 ใบ แต่ละใบเขียนจานวน –3, -2, -1, 0, 1, 2, 3
กากับบนบัตรใบละ 1 จานวน สุ่มหยิบบัตร 2 ใบ พร้อมกันจากกล่องใบนี้ เฉลยคาตอบ
ความน่าจะเป็นที่จะได้บัตร 2 ใบ มีผลรวมของจานวนบัตรทั้งสองเป็นจานวนคู่ 1) 2 2) 2 3) 3 4) 3 5) 0.2
หรือเป็นจานวนเต็มบวก เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60) 6) 1 7) 0.5 8) 1 9) 1 10) 3
11) 2 12) 1 13) 4 14) 2 15) 42/55
1. 2
7 16) 3 17) 1 18) 2 19) 4 20) 4
2. 3 21) 4 22) 1 23) 3 24) 4 25) 4
7 26) 0.9 27) 4 28) 0.14 29) 1 30) 3
3. 4 31) 2 32) 3 33) 4 34) 3 35) 3
7
36) 5 37) 4 38) 3
4. 5
7
5. 6
7

38) กาหนดให้ S เป็นปริภูมิตัวอย่าง และ P(E) แทนความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E


และ E แทนคอมพลีเมนต์ของเหตุการณ์ E ถ้า A และ B เป็นเหตุการณ์ใน S โดย
ที่ P(A  B) = 0.8 และ P(A  B) = 0.4 แล้วค่าของ P(A) + P(B) เท่ากับข้อ
ใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61)
1. 0.4
2. 0.6
3. 0.8
4. 1.2
5. 1.6

Page 232
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 23 สถิติ 1
1) โรงงานแห่งหนึ่งมีพนักงานจานวน 40 คน และตารางแจกแจงความถี่สะสมของอายุ 3) ข้อมูลชุดหนึ่งมี 99 จานวน เรียงลาดับจากน้อยไปมากได้เป็น x1 , x2 , … , x99
พนักงานเป็นดังนี้ ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับมัธยฐาน แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก
อายุ (ปี) ความถี่สะสม (PAT 1 มี.ค. 52)
11-20 6 49 99
1.  xi =  x i
21-30 14 i=1 i=51
31-40 26 49 99
2.  (x 50  xi ) =  (x 50  xi )
41-50 36 i=1 i=51
51-60 40 49 99
3.  x 50  xi =  x 50  xi
ถ้าผู้จัดการมีอายุ 48.5 ปี แล้ว พนักงานที่มีอายุระหว่าง ค่ามัธยฐานของอายุ i=1 i=51
49 2 99 2
พนักงาน และอายุของผู้จัดการมีจานวนประมาณ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 4.  (x 50  xi ) =  (x 50  xi )
(A-Net 2549) i=1 i=51
1. 31.5%
2. 33.7%
3. 35.0%
4. 37.0%

2) กาหนดให้ x1 , x2 , … , x11 เป็นข้อมูล 11 จานวนซึ่งเรียงค่าจากน้อยไปมาก 4) ตารางแจกแจงความถี่แสดงน้าหนักของเด็กจานวน 40 คน เป็นดังนี้


ถ้าข้อมูลชุดนี้มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับมัธยฐาน และมีส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับ น้าหนัก (กิโลกรัม) จานวน
5 11 9-11 15
5.2 โดยที่  x i = 42.8 แล้ว  xi มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
i=1 i=6 12-14 5
(A-Net 2552) 15-17 5
1. 100 18-20 10
2. 114.28 21-23 5
3. 142.80
4. 157.20 ถ้า x แทนค่าเฉลี่ยของน้าหนักเด็กกลุ่มนี้ แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก (PAT 1 มี.ค. 52)
1. x = 17.444 และมัธยฐานน้อยกว่าฐานนิยม
2. x = 14.875 และมัธยฐานน้อยกว่าฐานนิยม
3. x = 17.444 และมัธยฐานมากกว่าฐานนิยม
4. x = 14.875 และมัธยฐานมากกว่าฐานนิยม

Page 233
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) กาหนดตารางแจกแจงความถี่แสดงอายุของคนในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง เป็นดังนี้ 7) สร้างตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง โดยให้ความกว้าง
ของแต่ละอันตรภาคชั้นเป็น 10 แล้วปรากฏว่ามัธยฐานของคะแนนสอบเท่ากับ
อายุ (ปี) 0-9 10-19 20-29 30-39 40-49 50-59
57 คะแนน ซึ่งอยู่ในช่วง 50-59 ถ้ามีนักเรียนที่สอบได้คะแนนต่ากว่า 49.5 คะแนน
จานวน (คน) 5 10 A 20 10 10
อยู่จานวน 12 คน และมีนักเรียนได้คะแนนต่ากว่า 59.5 คะแนน อยู่จานวน 20 คน
ถ้าอายุเฉลี่ยของคนในหมู่บ้านนี้เท่ากับ 33.33 ปี แล้ว จานวนคนในหมู่บ้านนี้ จงหาว่านักเรียนกลุ่มนี้มีทั้งหมดกี่คน (PAT 1 ก.ค. 53)
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52)

6) นักเรียนห้องหนึ่งสอบวิชาคณิตศาสตร์ได้คะแนนเฉลี่ยเลขคณิต เท่ากับ 40 คะแนน 8) นักเรียนกลุ่มหนึ่ง จานวน 50 คน มีส่วนสูงแสดงดังตารางต่อไปนี้


ถ้านักเรียนชายสอบได้คะแนนเฉลี่ยเลขคณิต 35 คะแนนและนักเรียนหญิงสอบได้
ส่วนสูง (เซนติเมตร) จานวนนักเรียน (คน)
คะแนนเฉลี่ยเลขคณิต 50 คะแนน อัตราส่วนของนักเรียนชายต่อนักเรียนหญิง
156-160 6
ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 53)
161-165 15
1. 3 : 2
2. 2 : 3 166-170 21
3. 2 : 1 171-175 8
4. 1 : 2 ให้ a เป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิตของส่วนสูง และ
b เป็นส่วนสูง โดยที่มีจานวนนักเรียน 75% ของนักเรียนทั้งหมดที่มีส่วนสูง
น้อยกว่า b
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 53)
1. a = 166.1 และ b = 168.73
2. a = 166.1 และ b = 169.43
3. a = 166.7 และ b = 168.73
4. a = 166.7 และ b = 169.43

Page 234
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) ข้อมูลชุดหนึ่งมี 6 จานวน คือ 2, 3, 6, 11, a, b ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล 11) ตารางต่อไปนี้ เป็นข้อมูลเกี่ยวกับอายุของพนักงานจานวน 50 คน
ชุดนี้เท่ากับ 8 และค่ามัธยฐาน เท่ากับ 7 แล้ว a - b เท่ากับเท่าใด
อายุไม่เกิน (ปี) จานวน (คน)
(PAT 1 ต.ค. 53)
25 9
30 17
35 24
40 37
45 43
50 50

ถ้าอายุต่าสุดของพนักงาน คือ 21 ปี แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ


ข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 55)
1. 35
2. 37.5
3. 41
4. 43

10) ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์คะแนนเต็ม 60 คะแนน มีนักเรียนเข้าสอบ 30 คน 12) ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วยจานวน 11, 3, 6, 3, 5, 3, x ให้ S เป็นเซตของ x


นาย ก. เป็นนักเรียนคนหนึ่งที่เข้าสอบในครั้งนี้ นาย ก. สอบได้ 53 คะแนน ที่เป็นไปได้ทั้งหมด ซึ่งทาให้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม ของข้อมูลชุดนี้
และมีจานวนนักเรียนที่มีคะแนนสอบน้อยกว่า 53 คะแนนอยู่ 27 คน ถ้ามีการ มีค่าแตกต่างกันทั้งหมด และ ในบรรดาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม
จัดกลุ่มคะแนนสอบเป็นช่วงคะแนนโดยมีอันตรภาคชั้นกว้างเท่าๆกัน คะแนนสอบ เหล่านี้นามาจัดเรียงกันใหม่จากน้อยไปมากแล้วเป็นลาดับเลขคณิต จงหาผลบวก
ของนาย ก. อยู่ในช่วงคะแนน 51-60 จานวนนักเรียนที่สอบได้คะแนนในช่วงคะแนน ของสมาชิกทั้งหมดในเซต S (PAT 1 มี.ค. 55)
51-60 นี้ มีทั้งหมดกี่คน (PAT 1 มี.ค. 54)
1. 3
2. 4
3. 5
4. 9

Page 235
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีการแจกแจงดังนี้ 15) เงินเดือนของพนักงานจานวน 50 คนของบริษัทแห่งหนึ่งมีการแจกแจงความถี่ ดังนี้
คะแนน จานวน (คน) เงินเดือน (บาท) จานวนพนักงาน (คน)
5-9 40 10,000-19,999 5
10-14 50 20,000-29,999 10
15-19 30 30,000-49,999 25
20-24 20 50,000-59,999 10

a พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ถ้าคะแนนเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบนี้เขียนในรูป k + เมื่อ k, a และ b (ก) ฐานนิยมของเงินเดือนเท่ากับ 39,999.50 บาท
b
เป็นจานวนเต็มบวก โดยที่ a < b และ ห.ร.ม. ของ a และ b เท่ากับ 1 (ข) มัธยฐานของเงินเดือนเท่ากับ 37,999.50 บาท
แล้วค่าของ k + a + b เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

14) กาหนดให้ข้อมูลชุดหนึ่งมีดังนี้ 2, 4, 3, 5, 12, 5, 18, 6, 4, 2, 9, 4 16) ให้ S เป็นเซตของข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วยจานวนเต็ม n จานวนที่แตกต่างกัน


ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 56) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลใน S เท่ากับ 22 ถ้านาค่าต่าสุดของข้อมูลออกจาก S
1. มัธยฐานน้อยกว่าฐานนิยม จะได้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 24 ถ้านาค่าสูงสุดของข้อมูลออกจาก S จะได้ค่าเฉลี่ย
2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตมากกว่ามัธยฐาน เลขคณิตเท่ากับ 15 แต่ถ้านาทั้งค่าต่าสุดและค่าสูงสุดออกจาก S จะได้ค่าเฉลี่ย
3. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับมัธยฐาน เลขคณิตเท่ากับ 16 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
4. ฐานนิยมมากกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิต (ก) พิสัยของข้อมูลเท่ากับ 96
(ข) n = 9
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 พ.ย. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

Page 236
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) กาหนดข้อมูลชุดหนึ่ง ดังตารางต่อไปนี้ 19) ผลการสารวจกลุ่มคนจานวน 120 คน เกี่ยวกับสายตาปกติและสายตาสั้น พบว่า
คะแนน จานวน อัตราส่วนของจานวนคนที่มีสายตาปกติต่อจานวนคนที่มีสายตาสั้นเป็น 3 : 2 ใน
กลุ่มคนที่มีสายตาปกติ มีอัตราส่วนจานวนผู้หญิงต่อจานวนผู้ชาย เป็น 5 : 1 ใน
0-2 3
กลุ่มคนที่มีสายตาสั้น มีอัตราส่วนของจานวนเด็กต่อจานวนผู้ใหญ่เป็น 1 : 3
3-5 5
ผลรวมของจานวนผู้หญิงที่มีสายตาปกติและจานวนเด็กที่มีสายตาสั้นเท่ากับเท่าใด
6-8 a
(PAT 1 มี.ค. 60)
9-11 3

เมื่อ a เป็นจานวนเต็มบวก ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 5


แล้วมัธยฐานของข้อมูลชุดนี้เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 58)
1. 3.8
2. 4.3
3. 4.8
4. 4.9
5. ไม่มีคาตอบ

18) ให้ x1 , x2 , x3 , … , x10 เป็นข้อมูลที่เรียงค่าจากน้อยไปหามาก โดยมีค่ากึ่งกลาง


พิสัยเท่ากับ 15 และให้ y i  21 ( x i  x i 1 ) สาหรับ i = 1, 2, … , 9 ถ้า

y1 , y2 , … , y9 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 5 5 แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ
3
x1 + 1 , x2 + 2 , x3 + 3 , … , x10 + 10 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60)
1. 23.5
2. 28
3. 29

4. 88
3
5. 100
3

เฉลยคาตอบ
1) 3 2) 2 3) 3 4) 4 5) -
6) 3 7) 36 8) 2 9) 10 10) 2
11) 1 12) 22 13) 28 14) 2 15) 1
16) 4 17) 2 18) 1 19) 72

Page 237
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 24 สถิติ 2
1) ถ้าข้อมูลชุดหนึ่งมีสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับ 0.12 3) ในการทดสอบวิชาคณิตศาสตร์พบว่า คะแนนสอบของนักเรียนมีการแจกแจงปกติ
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับ 6 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 แล้ว ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับ 6 สัมประสิทธิ์ควอไทล์เท่ากับ 0.6 คะแนนเฉลี่ยของ
สัมประสิทธิ์ของการแปรผันมีค่าเท่ากับเท่าใด (A-Net 2549) การสอบครั้งนี้มีค่าเท่ากับเท่าใด (A-Net 2550)

2) ตารางต่อไปนี้เป็นคะแนนสอบวิชาหนึ่งของนักเรียน 40 คน 4) กาหนดตารางแสดงเงินค่าอาหารกลางวันที่นักเรียนห้องหนึ่งได้รับจากผู้ปกครองดังนี้
คะแนน จานวนนักเรียน (fi) ค่าอาหารกลางวัน (บาท) จานวนนักเรียน (คน)
10 - 14 4 29 - 31 1
15 - 19 6 32 – 34 4
20 - 24 a 35 – 37 5
25 - 29 8 38 – 40 5
30 - 34 4 41 - 43 5
35 - 39 6
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ตามลาดับ
3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2551)
โดยมีคะแนนเฉลี่ย () เท่ากับ 24.5 และ  fi  xi    = -125 1. 37.35 , 37.5 และ 3
i=1
ถ้าส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับ b และส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับ c แล้ว 2. 37.5 , 37.5 และ 3
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A-Net 2550) 3. 37.35 , 37.5 และ 3.5
1. b = 5 และ c = 6.25 4. 37.5 , 37.0 และ 3
2. b = 6.25 และ c = 5
3. b = 4.5 และ c = 5
4. b = 5 และ c = 4.5

Page 238
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) พิจารณาข้อมูลชุดหนึ่งซึ่งเรียงลาดับจากน้อยไปมาก ดังต่อไปนี้ 7) คะแนนสอบของนักเรียน 2 กลุ่ม จานวน 7 คน และ 5 คน ซึ่งได้มีการเรียงลาดับ
8 a 12 17 22 b 26 คะแนนจากน้อยไปมาก ดังนี้
ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 17 และควอไทล์ที่ 1 เท่ากับ 10 แล้ว กลุ่มที่ 1 : 2, 3.6, 4.5, 5.5, 6, 7, 8
สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยและสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ กลุ่มที่ 2 : 2, 5, 5.4, a, 8
ตามลาดับ เท่ากับค่าในข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2551) ถ้าส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ของคะแนนสอบของนักเรียนทั้งสองกลุ่มเท่ากันแล้ว
1. 0.35 , 0.45 ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง (A-Net 2552)
2. 0.35 , 0.41 1. 5.5 ≤ a ≤ 6.0
3. 0.42 , 0.45 2. 6.1 ≤ a ≤ 6.6
4. 0.42 , 0.41 3. 6.7 ≤ a ≤ 7.2
4. 7.3 ≤ a ≤ 7.9

6) ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 9 จานวน ดังนี้ 8) โรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่งมีนักเรียน 80 คน โดยการแจกแจงของอายุนักเรียน


185, 180, 190, 175, 193, 187, y, 200, 199 เป็นดังตาราง
ถ้า y เป็นเดไซล์ที่ 6 ของข้อมูลชุดนี้ แล้ว หากสุ่มข้อมูลชุดนี้มา 5 จานวน อายุ (ปี) 3.5 4 4.5 5 5.5 6
ความน่าจะเป็นที่ข้อมูล 5 จานวนนี้มีค่ามัธยฐานเป็น y เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ จานวนนักเรียน (คน) a 15 10 20 B 5
(A-Net 2552)
ถ้าค่าเฉลี่ยของอายุนักเรียนมีค่า 4.5 ปี แล้วส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของอายุนักเรียน
2
1. มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 52)
21
4 5
2. 1.
21 16
5 7
3. 2.
21 16
8 9
4. 3.
21 16
11
4.
16

Page 239
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) ถ้าความยาวรัศมีของวงกลม 10 วงมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 3 11) จากการแจกแจงข้อมูลเงินเดือนของพนักงานบริษัทแห่งหนึ่งพบว่า
และมีความแปรปรวนเท่ากับ 5 แล้วผลรวมของพื้นที่วงกลมทั้ง 10 วงนี้ เดไซล์ที่ 1 3 5 7 9
มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52) เงินเดือน (บาท) 10,000 15,000 20,000 25,000 40,000
1. 90
ถ้านายเอกและนายยศมีเงินเดือนรวมกันเท่ากับ 40,000 บาท และมีจานวน
2. 95
พนักงานที่ได้เงินเดือนมากกว่านายยศอยู่ประมาณ 30% ของพนักงานทั้งหมด
3. 140
แล้วเปอเซนต์ของจานวนพนักงานที่ได้เงินเดือนน้อยกว่านายเอกเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4. 340
(PAT 1 ก.ค. 52)
1. 10%
2. 30%
3. 50%
4. 70%

10) กาหนดตารางแจกแจงความถี่แสดงความสูงของนักเรียนในโรงเรียนแห่งหนึ่ง 12) ข้อมูลชุดหนึ่งเรียงจากน้อยไปมากเป็นดังนี้ 1, 4, x, y, 9, 10


เป็นดังนี้ ถ้ามัธยฐานของข้อมูลชุดนี้เท่ากับค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
ความสูง (เซนติเมตร) จานวนนักเรียน (คน) 8
ของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ แล้ว y – x มีค่าเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52)
3
120 – 129 10
130 – 139 20
140 – 149 40
150 – 159 50
160 - 169 30
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (PAT 1 ก.ค. 52)
1. มัธยฐานของความสูงมีค่าน้อยกว่า 149 เซนติเมตร
2. ฐานนิยมของความสูงมีค่าน้อยกว่า 147 เซนติเมตร
3. ควอไทล์ที่ 3 ของความสูงมีค่ามากกว่า 150 เซนติเมตร
4. เปอร์เซนไทล์ที่ 20 ของความสูงมีค่ามากกว่า 145 เซนติเมตร

Page 240
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) ข้อมูลชุดหนึ่งมี 5 จานวนและมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 12 ถ้าควอไทล์ที่ 1 และ 3 15) จากการสารวจน้าหนักของนักเรียนกลุ่มหนึ่งจานวน 4 คน มี 2 คนน้าหนักเท่ากัน
ของข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่ากับ 5 และ 20 ตามลาดับ แล้วเดไซล์ที่ 5 ของข้อมูลชุดนี้ และน้อยกว่าอีก 2 คนที่เหลือ ถ้าฐานนิยม มัธยฐานและพิสัยของนักเรียน 4 คนนี้
มีค่าเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52) คือ 45, 46 และ 6 กิโลกรัม ตามลาดับ แล้วความแปรปรรวนของน้าหนักของ
นักเรียน 4 คนนี้เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53)

14) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มหนึ่งเท่ากับ 72 คะแนน 16) มีนักเรียน 5 คน ร่วมกันบริจาคเงินได้เงินรวม 360 บาท ความแปรปรวน


ความแปรปรวน (ประชากร) เท่ากับ 600 ถ้ามีนักเรียนมาเพิ่มอีก 1 คน ซึ่งสอบได้ (ประชากร) เท่ากับ 660 ถ้ามีนักเรียนเพิ่มอีก 1 คน มาร่วมบริจาคเป็นเงิน
60 คะแนน ทาให้ค่าเฉลี่ยเปลี่ยนไปเป็น 70 คะแนน ความแปรปรวนของข้อมูล 60 บาท ความแปรปรวนจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงตรงกับข้อใดต่อไปนี้
ชุดใหม่เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 53) (PAT 1 ก.ค. 53)
1. เพิ่มขึ้น 80
2. เพิ่มขึ้น 90
3. ลดลง 80
4. ลดลง 90

Page 241
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 19) จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้
ก. ในการสอบของนักเรียน 3 คน พบว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ คะแนน ความถี่
เท่ากับ 80 คะแนน ค่ามัธยฐานเท่ากับ 75 คะแนน และ พิสัยเท่ากับ 10-14 2
25 คะแนน คะแนนสอบของนักเรียนที่ได้คะแนนต่าสุดเท่ากับ 70 คะแนน 15-19 5
ข. ข้อมูลชุดที่หนึ่งมี 5 จานวน คือ x1, x2, x3, x4, x5 และข้อมูลชุดที่สอง 20-24 8
มี 4 จานวน คือ x1, x2, x3, x4 โดยค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลทั้งสองชุด 25-29 6
เท่ากัน ถ้า a และ b เป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดที่หนึ่ง 30-34 4
b 5 ถ้า a เป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ และ b เป็น P88
และชุดที่สองตามลาดับ แล้ว 
a 2 จงหาค่าของ a-b (PAT 1 ธ.ค. 54)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 53) 1. 8.50
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. 7.75
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด 3. 6.50
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก 4. 6.25
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

18) ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 2 ห้องซึ่งทาคะแนนเฉลี่ยได้ 60 คะแนน 20) ข้อมูลชุดหนึ่งมี 5 จานวน มีมัธยฐาน = ฐานนิยม = 15 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 16
โดยห้องแรกมีนักเรียนจานวน 40 คน และห้องที่สองมีนักเรียนจานวน 30 คน ควอไทล์ที่ 1 เท่ากับ 14 และพิสัยเท่ากับ 7 จงหาความแปรปรวนของข้อมูลชุดนี้
ถ้าคะแนนสอบในห้องแรก เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 50 มีค่า 64 คะแนนและฐานนิยม (PAT 1 ธ.ค. 54)
มีค่าเป็น 66 คะแนน แล้วคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนห้องที่สองมีค่าเท่ากับเท่าใด
(PAT 1 ต.ค. 53)

Page 242
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) ข้อมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีมัธยฐานเท่ากับ 12 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 23) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 20 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน
N 2 ทาแบบทดสอบวัดความถนัดฉบับหนึ่งมีคะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนของ
เท่ากับ 8 และ  (xi - 10) = 5440 จงหาค่าของ N (PAT 1 ธ.ค. 54)
i=1 นักเรียนแต่ละคนดังนี้
กลุ่มที่ 1 7 6 5 8 3 6 9 7 6 10
กลุ่มที่ 2 6 9 15 12 1 8 7 7 5 6
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ความสามรถของนักเรียนกลุ่มที่ 1 มีความแตกต่างกันมากกว่านักเรียนกลุ่มที่ 2
ข. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ของกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 เท่ากับ
5 3
และ ตามลาดับ
14 14
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 55)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

22) คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนจานวน 30 คน มีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 24) ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง มีนักเรียนจานวน 30 คน


และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 25 คะแนนและ 5 คะแนน ตามลาดับ ปรากฏว่ามีนักเรียน 17 คนสอบได้คะแนนในช่วง 10-39 คะแนน มีนักเรียน
ถ้านาคะแนนของนายสายชลและนางสาวฟ้าซึ่งสอบได้ 20 คะแนนและ 30 คะแนน 10 คน สอบได้คะแนนในช่วง 40-49 คะแนน และมีนักเรียน 3 คน
ตามลาดับ มารวมด้วยแล้วส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ สอบได้คะแนนในช่วง 50-59 คะแนน ถ้าแบ่งคะแนนเป็นเกรด 3 ระดับ คือ
(PAT 1 มี.ค. 55) เกรด A เกรด B และเกรด C โดยที่ 10% ของนักเรียนได้เกรด A และ 20%
1. 4 ของนักเรียนได้เกรด B แล้ว คะแนนสูงสุดของเกรด C เท่ากับกี่คะแนน
2. 5 (PAT 1 มี.ค. 55)
3. 6
4. 7

Page 243
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) นาข้อมูล 3 จานวนที่แตกต่างกันมารวมกันมีผลรวมเท่ากับ 195 ถ้าข้อมูลชุดนี้ 27) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
มีค่ามัธยฐานและสัมประสิทธิ์ของพิสัยเท่ากับ 60 และ 0.2 ตามลาดับ (ก) ถ้าข้อมูลชุดหนึ่งมีส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับ 20 และสัมประสิทธิ์ของ
แล้วความแปรปรวนของข้อมูลชุดนี้เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 55) 2
ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับ แล้วสรุปได้ว่าร้อยละ 50 ของข้อมูลชุดนี้
3
มีค่าระหว่าง 10 กับ 50
(ข) ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง มีนักเรียนชาย 20 คน
และนักเรียนหญิง 40 คน นักเรียนชายสอบได้คะแนนสอบคนละ 32 คะแนน
ส่วนคะแนนสอบของนักเรียนหญิง มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบเท่ากับ
20 คะแนน และความแปรปรวนของคะแนนสอบเท่ากับ 90 สรุปว่าความ
แปรปรวนของคะแนนสอบของนักเรียนห้องนี้เท่ากับ 36 คะแนน
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 57)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

26) ครอบครัวหนึ่งมีสมาชิก 6 คน มีอายุเฉลี่ย 34 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุ 28) ข้อมูลชุดหนึ่งเรียงจากน้อยไปหามาก ดังนี้ a, 3, 5, 7, b


เท่ากับ 8 ปี อีก 6 ปีต่อมามีญาติสองคนมาขออาศัยอยู่ด้วย โดยญาติทั้งสองคนนี้ ถ้าข้อมูลชุดนี้มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 7 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
มีอายุเท่ากัน เท่ากับอายุเฉลี่ยของคนทั้ง 6 คนในครอบครัวนี้พอดี สัมประสิทธิ์การ เท่ากับ 2 10 แล้วค่าของ 2a + b เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 57)
แปรผันของคนทั้ง 8 คนนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 56)
3
1.
10
10
2.
3
3
3.
20
20
4.
3

Page 244
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) กาหนดข้อมูล 10 จานวน ดังนี้ 30 32 28 35 42 45 40 48 50 65 31) ข้อมูลชุดหนึ่งมีค่าสังเกต (x) และร้อยละของความถี่สะสมสัมพัทธ์
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ แสดงดังตารางต่อไปนี้
(ก) ถ้า D7 แทนข้อมูลที่เป็นเดไซล์ที่ 7 และ M แทนค่ามัธยฐานของข้อมูลแล้ว ค่าสังเกต (x) ร้อยละของความถี่สะสมสัมพัทธ์
D7 – M เท่ากับ 6.5 1 20
(ข) ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ เท่ากับ 8.6 2 40
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 เม.ย. 57) a 70
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
6 90
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
10 100
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด เมื่อ a เป็นจานวนจริง ถ้าข้อมูลชุดนี้มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 4
แล้วความแปรปรวนของข้อมูลชุดนี้เท่ากับเท่าใด (PAT 1 เม.ย. 57)

30) กาหนดให้ x1, x2, x3, … , xn เป็นข้อมูลชุดที่ 1 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 6 32) กาหนดให้ x1, x2, … , xn เป็นจานวนจริงบวก
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2 ให้ y1, y2, y3, … , yn เป็นข้อมูลชุดที่ 2 ข้อมูลชุดที่ 1 คือ x1, x2, … , xn และ
โดยที่ yi = axi + b เมื่อ i = 1, 2, 3, … , n และ a, b เป็นจานวนจริง a > 0 ข้อมูลชุดที่ 2 คือ 2x1 + 1 , 2x2 + 1 , … , 2xn + 1
ถ้านาข้อมูลทั้งสองชุดมารวมกัน x1, x2, … , xn , y1, y2, … , yn พบว่าค่าเฉลี่ย พิจารณาข้อความต่อไปนี้
เลขคณิตเท่ากับ 7 และความแปรปรวนเท่ากับ 21 แล้วค่าของ a2 + b2 (ก) สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลชุดที่ 1 มากกว่าสัมประสิทธิ์
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 เม.ย. 57) ของการแปรผันของข้อมูลชุดที่ 2
(ข) สัมประสิทธิ์พิสัยของข้อมูลชุดที่ 1 น้อยกว่า สัมประสิทธิ์พิสัยของข้อมูลชุดที่ 2
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 พ.ย. 57)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด
3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

Page 245
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) ข้อมูลชุดหนึ่งมี 5 จานวนที่แตกต่างกัน โดยที่ค่าเฉลี่ยของควอไทล์ที่หนึ่ง 35) คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 3 คน มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ
และควอไทล์ที่สาม เท่ากับมัธยฐาน ถ้าส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับ 2.8 และมัธยฐาน 45 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับศูนย์ มีนักเรียนอีก 2 คน
เท่ากับ 15 แล้วส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 พ.ย. 57) ได้คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์นี้ เท่ากับ a และ b คะแนน โดยอัตราส่วนของ a
1. 3.5 ต่อ b เป็น 2 : 3 ถ้านาคะแนนของนักเรียนทั้งสองคนนี้รวมกับคะแนนสอบของ
2. 5.25 นักเรียน 3 คน ได้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 50 คะแนน แล้วความแปรปรวนของ
3. 7.5 นักเรียนทั้ง 5 คนนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 58)
4. 11.25 1. 90
2. 90.4
3. 90.6
4. 92

34) ข้อมูลชุดหนึ่งมี 60 จานวน มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตและสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน 36) ข้อมูลชุดที่ 1 มี 4 จานวน คือ x1, x2, x3, x4 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตของควอไทล์ที่ 1
เท่ากับ 40 และ 0.125 ตามลาดับ ถ้านาย ก. คานวณค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้น้อยกว่า และควอไทล์ที่ 3 เท่ากับ 18 และมัธยฐานเท่ากับ 15 ข้อมูลชุดที่ 2 มี 5 จานวน
40 และคานวณความแปรปรวนเท่ากับ 34 แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่นาย ก. คือ y1, y2, y3, y4, y5 มีควอไทล์ที่ 3 มัธยฐาน ฐานนิยม และพิสัย เท่ากับ
คานวณได้ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 58) 18.5, 15, 12 และ 8 ตามลาดับ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล 9 จานวน คือ
1. 30 x1, x2, x3, x4, y1, y2, y3, y4, y5 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 58)
2. 33
3. 37
4. 39

Page 246
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
37) กาหนดให้ข้อมูลชุดที่ 1 คือ x1 + 4 , x2 + 4 + … + x20 + 4 39) ถ้าข้อมูล 10 จานวน คือ x1, x2, … , x10 เมื่อ x1, x2, … , x10 เป็นจานวนจริง
และข้อมูลชุดที่ 2 คือ 2x1 + 4 , 2x2 + 4 , … , 2x20 + 4 โดยที่ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล x12 , x22 , x32 , … , x102 เท่ากับ 70 และ
เมื่อ x1, x2, … , x20 เป็นจานวนจริง 10 2
 (xi - 3) = 310 แล้วค่าความแปรปรวนของข้อมูล
ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1 เท่ากับ 50 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ i=1
ข้อมูลชุดที่ 1 เท่ากับ 10 แล้วข้อมูลชุดที่ 2 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิต และความแปรปรวน 3x1-1 , 3x2-1 , … , 3x10-1 ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 59)
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 58) 1. 6
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 96 และความแปรปรวนเท่ากับ 400 2. 18
2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 96 และความแปรปรวนเท่ากับ 576 3. 45
3. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 100 และความแปรปรวนเท่ากับ 400 4. 54
4. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 104 และความแปรปรวนเท่ากับ 400 5. 63
5. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 104 และความแปรปรวนเท่ากับ 576

38) กาหนดให้ข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง 5 จานวน คือ x1, x2, x3, x4, x5 โดยที่ 40) ให้ x1, x2, … , x20 เป็นข้อมูลที่เรียงค่าจากน้อยไปหามาก และเป็นลาดับเลขคณิต
5 2 5 2 ของจานวนจริงถ้าควอไทล์ที่ 1 และเดไซล์ที่ 6 ของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 23.5 และ
 x i = 214 และ  (xi - x ) = 34 เมื่อ x คือค่าเฉลี่ยเลขคณิตของกลุ่ม 38.2 ตามลาดับ แล้วส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 59)
i=1 i=1
ตัวอย่างนี้ และ x > 0 ถ้าข้อมูลกลุ่มตัวอย่างใหม่ 5 จานวน 1. 9.75
คือ x1 + 2x2 , x2 + 2x3 , x3 + 2x4 , x4 + 2x5 , x5 + 2x1 2. 10.25
มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 16 แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล 3. 10.50
x1x2 , x2x3 , x3x4 , x4x5 , x5x1 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 58) 4. 11.50
5. 11.75

Page 247
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
41) ให้ n เป็นจานวนเต็มบวก ถ้า A เป็นเซตของข้อมูล 2n จานวน คือ 43) ให้ R1, R2, R3, R4, R5 เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 5 รูป มีข้อมูล ดังนี้
1, 2, 3, … , n, -1, -2, -3, … , -n โดยที่ความแปรปรวนของข้อมูล
R1 R2 R3 R4 R5
ในเซต A เท่ากับ 46 แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ 13 , 23 , 33 , … , n3
ความกว้าง(x) x1 x2 x3 x4 x5
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 59)
ความยาว(y) y1 y2 y3 y4 y5

โดยที่ 0  xi  10 สาหรับ i = 1, 2, 3, 4, 5 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของความกว้างของ


รูปสี่เหลี่ยม 5 รูปเท่ากับ 5 หน่วย ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของความยาวของรูปสี่เหลี่ยม 5
รูป เท่ากับ 8 หน่วย ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม 5 รูป เท่ากับ 51.8
ตารางหน่วย และความแปรปรวนของความกว้างเท่ากับ 12 สมมติว่ากราฟ
แผนภาพการกระจายที่แสดงความสัมพันธ์ความกว้างและความยาว อยู่ในรูปแบบ
เส้นตรง ถ้าสร้าง รูปสี่เหลี่ยมมีความกว้าง 2 หน่วย แล้วความยาว(โดยประมาณ)
ของรูปสี่เหลี่ยมนี้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60)
1. 5.05 หน่วย
2. 5.55 หน่วย
3. 5.75 หน่วย
4. 6.05 หน่วย
5. 6.55 หน่วย

42) กาหนดให้ข้อมูลชุดที่ 1 คือ x1 , x2 , x3 , … , x10 และข้อมูลชุดที่ 2 คือ 44) คะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มหนึ่งมีการแจกแจง ความถี่ ดังนี้ เมื่อ a และ b เป็น
y1 , y2 , y3 , … , y10 โดยที่ x1 , x2 , x3 , … , x10 เป็นจานวนจริงบวก และ จานวนเต็มบวกถ้าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 ของคะแนนสอบนี้เท่ากับ 80.5 คะแนน และ
yi = 2xi + 1 สาหรับ i = 1, 2, 3, … , 10 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับ 7.5 แล้ว จานวนนักเรียนที่สอบได้ คะแนนมากกว่า
(ก) ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลชุดที่ 2 มีค่ามากกว่าส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูล 80 คะแนน เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 60)
ชุดที่ 1 ช่วงคะแนน จานวนนักเรียน
(ข) สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลชุดที่ 2 มีค่าน้อยกว่า สัมประสิทธิ์ของ
66 - 70 2
การแปรผันของข้อมูลชุดที่ 1
71 - 75 3
(ค) ถ้าแต่ละ xi มีค่าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย แล้วส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดที่ 2
76 - 80 a
มีค่าเพิ่มขึ้น
81 - 85 5
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 60)
86 - 90 7
1. ข้อ (ก) และข้อ (ข) ถูก แต่ข้อ (ค) ผิด
91 - 95 B
2. ข้อ (ก) และข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ข) ผิด
96 - 100 8
3. ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

Page 248
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
45) จากการสารวจรายได้และรายจ่ายของพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง จานวน 8 คน ดังนี้ 47) ข้อมูลประชากรชุดหนึ่งมี 10 จานวน ดังนี้ x1, x2, x3, ..., x10 โดยที่ xi  0 สาหรับ
พนักงานคนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 10 10
i = 1, 2, 3, ..., 10 ถ้า  (x i  4)  4 0 และ  (x i  4)2  1 7 0
รายได้ (x) i1 i1
x1 x2 x3 x4 x5 x6 x7 x8
(หน่วยหมื่นบาท) แล้วความแปรปรวนของข้อมูล 2(x1 + 3), 2(x2 + 3), 2(x3 + 3), ..., 2(x10 + 3)
รายจ่าย(y) เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.พ. 61)
y1 y2 y3 y4 y5 y6 y7 y8
(หน่วยหมื่นบาท)

ปรากฏว่ารายได้ (x) และรายจ่าย (y) มีความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันแบบเส้นตรงเป็น


8 8
y = 8x + 13.5 ถ้า  y i  4 9 2 และ  x i y i  3 4 3 2 แล้วความแปรปรวน
i 1 i1
ของรายได้ของพนักงาน 8 คนนี้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61)
1. 6.5
2. 7.5
3. 8.5
4. 9.5
5. 10.5

46) กาหนดข้อมูล x1, x2, x3, x4 โดยที่ 0  x1  x2  x3  x4 ถ้าข้อมูลชุดนี้มี 48) กาหนดข้อมูลชุดหนึ่ง ดังนี้ คะแนน ความถี่
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 7 พิสัยเท่ากับ 9 และมัธยฐานและฐานนิยมมีค่าเท่ากัน เมื่อ a และ b เป็นจานวนเต็มบวก 0-4 4
และมีค่าเท่ากับ 6 แล้วสัมประสิทธิ์ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ของข้อมูลชุดนี้ เท่ากับข้อ ถ้าข้อมูลชุดนี้มีตาแหน่งควอไทล์ที่ 3(Q3) 5-9 3
ใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.พ. 61) เท่ากับ 13.5 แล้วมัธยฐานข้อมูลชุดนี้ 10 - 14 5
เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.พ. 61) 15 - 19 a
1. 3
19 20 - 24 b
2. 5
19
3. 6
19
4. 7
20
5. 9
20

Page 249
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
เฉลยคาตอบ
1) 0.2 2) 1 3) 10 4) 1 5) 2
6) 3 7) 1 8) 4 9) 3 10) 3
11) 2 12) 2 13) 10 14) 520 15) 6
16) 4 17) 1 18) 56 19) 2 20) 5.6
21) 80 22) 2 23) 4 24) 43.5 25) 134
26) 1 27) 2 28) 21 29) 4 30) 109
31) 7 32) 4 33) 1 34) 3 35) 2
36) 16 37) 1 38) 78.7 39) 4 40) 3
41) 396 42) 5 43) 1 44) 24 45) 2
46) 5 47) 4 48) 11.5

Page 250
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 25 สถิติ 3
1) บริษัทแห่งหนึ่งมีพนักงาน 20 คน เงินเดือนเฉลี่ยของพนักงานเท่ากับ 60,000 บาท 3) สมศักดิ์สอบวิชาคณิตศาสตร์สองครั้ง โดยที่ได้ค่ามาตรฐานของคะแนนสอบครั้งที่
และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10,000 บาท ถ้าผลรวมของค่ามาตรฐานของ หนึ่งเป็น 1.96 และได้คะแนนในการสอบครั้งที่สองคิดเป็นตาแหน่งเปอร์เซนไทล์
เงินเดือนพนักงานจานวน 19 คน มีค่าเท่ากับ 2.5 แล้ว พนักงานอีก 1 คนที่เหลือ ที่ 98.3 ในการสอบทั้งสองครั้งนี้ คะแนนสอบมีการแจกแจงปกติ โดยมีคะแนนเฉลี่ย
มีเงินเดือนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2549) เท่ากัน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สองเท่ากับ
1. 35,000 บาท 10 และ 5 ตามลาดับ
2. 57,500 บาท พิจารณาข้อความต่อไปนี้
3. 62,500 บาท ก. คะแนนสอบที่ได้ในครั้งที่หนึ่ง น้อยกว่า ครั้งที่สอง
4. 85,000 บาท ข. ค่ามาตรฐานของคะแนนสอบครั้งที่หนึ่ง น้อยกว่า ครั้งที่สอง
ตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง z เป็นดังนี้
Z 1.53 1.96 2.12 2.35
พื้นที่ใต้โค้ง 0.4370 0.4750 0.4830 0.4906
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A-Net 2550)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

2) ตารางแสดงพื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง z เป็นดังนี้ 4) ถ้าน้าหนักของนักเรียนชั้นประถมปีที่ 1 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งมีการแจกแจงปกติ


Z 0.016 0.168 1.5 2.5 โดยมีมัธยฐานเท่ากับ 10 กิโลกรัม และสัมประสิทธิ์ของการแปรผันเท่ากับ 0.2
พื้นที่ใต้โค้ง 0.0062 0.0668 0.4332 0.4938 นักเรียนที่หนักมากกว่า 13 กิโลกรัม และหนักน้อยกว่า 8 กิโลกรัม
คิดเป็นเปอร์เซ็นต์เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ถ้าคะแนนสอบเข้ามหาวิทยาลัยของนักเรียนจานวน 10,000 คน มีการแจกแจง
ตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง z เป็นดังนี้ (A-Net 2550)
แบบปกติ และมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 58 คะแนน โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
Z 0.75 1 1.25 1.5
เท่ากับ 6 คะแนน แล้ว นักเรียนที่มีคะแนนระหว่าง 49-73 คะแนน
พื้นที่ใต้โค้ง 0.2734 0.3413 0.3944 0.4332
มีจานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2549)
1. 4,394 คน 1. 9.19 %
2. 5,606 คน 2. 22.55 %
3. 7,300 คน 3. 40.81 %
4. 9,270 คน 4. 69.19 %

Page 251
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) นักเรียนห้องหนึ่งเป็นนักเรียนหญิง 20 คน นักเรียนชาย 30 คน มีค่าเฉลี่ยของ 7) คะแนนสอบของนักเรียนห้องหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยที่
น้าหนักของนักเรียนห้องนี้เท่ากับ 24.6 กิโลกรัม สมศรีเป็นนักเรียนหญิงที่มีน้าหนัก 12.3% ของนักเรียน สอบได้คะแนนตั้งแต่ 86 คะแนนขึ้นไป
a กิโลกรัม คิดเป็นค่ามาตรฐานของน้าหนักในกลุ่มนักเรียนหญิงเท่ากับ b สมชาย 50% ของนักเรียน สอบได้คะแนนตั้งแต่ 74.4 คะแนนขึ้นไป
เป็นนักเรียนชายที่มีน้าหนัก a กิโลกรัม คิดเป็นค่ามาตรฐานของน้าหนักในกลุ่ม ตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง z เป็นดังนี้
นักเรียนชายเท่ากับ b Z 1.00 1.16 2.04 3.09
ถ้า สัมประสิทธิ์ของการแปรผันเฉพาะกลุ่มนักเรียนหญิง เท่ากับ 0.125 พื้นที่ใต้โค้ง 0.3413 0.3770 0.4793 0.4990
สัมประสิทธิ์ของการแปรผันเฉพาะกลุ่มนักเรียนชาย เท่ากับ 0.16
แล้วเปอร์เซ็นต์ของนักเรียนที่สอบได้คะแนนน้อยกว่า 54 คะแนน มีค่าเท่ากับ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเฉพาะกลุ่มนักเรียนชาย เท่ากับ 4 แล้ว
ข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A-Net 2551)
1. 2.00
1. a = 22 , b = -1.1
2. 2.04
2. a = 22 , b = -1
3. 2.07
3. a = 21 , b = -1.1
4. 2.10
4. a = 21 , b = -1

6) คะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีฐานนิยมเท่ากับ 8) คะแนนสอบแข่งขันครั้งหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน


66.2 คะแนน ถ้า 39% ของนักเรียนกลุ่มนี้สอบได้คะแนนระหว่าง 56 และ เท่ากับ 0.5 ค่ามาตรฐานของคะแนนสอบของนาย ก และนาย ข เท่ากับ 1 และ
76.4 คะแนน แล้วส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบครั้งนี้เท่ากับ 1.5 ตามลาดับ ถ้านาย ก สอบได้ 45 คะแนน แล้วนาย ข สอบได้กี่คะแนน
ข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2552)
ตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง z เป็นดังนี้ (A-Net 2551)
Z 0.40 0.51 0.85 1.23
พื้นที่ใต้โค้ง 0.1554 0.1950 0.3023 0.3907
1. 8
2. 12
3. 20
4. 25

Page 252
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) ข้อมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ ถ้าหยิบข้อมูล a, b, c, d มาคานวณค่ามาตรฐาน 11) กาหนดให้ข้อมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ ถ้าหยิบข้อมูล x และ y
ปรากฏว่าได้ค่าดังตาราง จากข้อมูลนี้มาพิจารณา พบว่า 13.14% ของข้อมูลมีค่ามากกว่า x และ x
ข้อมูล a b c d มากกว่า y อยู่ 2% ของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วจานวนข้อมูล
ค่ามาตรฐาน (z) -3 -0.45 0.45 1 (คิดเป็นเปอร์เซนต์) ที่มีค่าน้อยกว่า y เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ เมื่อกาหนดตาราง
แสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่า 0 ถึง z เป็นดังนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (PAT 1 มี.ค. 52)
1. -a + 2b + 2c - 3d = 0 Z 1.00 1.10 1.12 1.14 1.16
2. -a + b + c – 3d = 0 พื้นที่ใต้โค้ง 0.3413 0.3643 0.3686 0.3729 0.3770
3. a – 2b + 3c – 3d = 0 1. 36.43 %
4. a – b + c – d = 0 2. 37.29 %
3. 86.43 %
4. 87.29 %

10) ข้อมูลความสูงของนักเรียนชั้น ม.6 โรงเรียนแห่งหนึ่งมีการแจกแจงปกติ ถ้าจานวน 12) คะแนนสอบวิชาความถนัดของนักเรียนหลุ่มหนึ่งมีการแจกแจงปกติ ถ้าผลรวมของ


นักเรียนที่มีความสูงน้อยกว่า 140.6 เซนติเมตร มีอยู่ 3.01% และจานวนนักเรียน ค่ามาตรฐานของนายแดงและนายดาเท่ากับ 0 และผลรวมของคะแนนของนายแดง
ที่มีความสูงมากกว่าค่ามัธยฐานแต่น้อยกว่า 159.4 เซนติเมตร มีอยู่ 46.99% และนายดาเป็น 4 เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วสัมประสิทธิ์ของความ
แล้วจานวนนักเรียนที่มีความสูงไม่น้อยกว่า 155 เซนติเมตร แต่ไม่เกิน แปรผันของคะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52)
160 เซนติเมตร มีเปอร์เซ็นต์เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ เมื่อกาหนดตารางแสดงพื้นที่ 1. 0.5
ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน ระหว่าง 0 ถึง z เป็นดังนี้ (PAT 1 มี.ค. 52) 2. 1
Z 1.00 1.12 1.88 2.00 3. 1.5
พื้นที่ใต้โค้ง 0.3413 0.3686 0.4699 0.4772 4. 2

1. 12.86 %
2. 13.14 %
3. 15.87 %
4. 13.59 %

Page 253
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) กาหนดให้ความสูงของคนกลุ่มหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ ถ้ามีคนสูงกว่า 145 15) ในการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อของโรงเรียนแห่งหนึ่ง ถ้าสอบได้ 700 คะแนน
เซนติเมตร และ 165 เซนติเมตรอยู่ 84.13% และ 15.87% ตามลาดับแล้ว แปลงคะแนนเป็นค่ามาตรฐานได้ 4 แต่ถ้าสอบได้ 400 คะแนน แปลงเป็น
สัมประสิทธิ์ของความแปรผันของความสูงของคนกลุ่มนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ค่ามาตรฐานได้ -2 แล้วสัมประสิทธิ์การแปรผันเท่ากับร้อยละเท่าใด
เมื่อกาหนดตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่า 0 ถึง z เป็นดังนี้ (PAT 1 มี.ค. 53)
(PAT 1 ต.ค. 52)
Z 1.00 1.12 1.14 1.16
พื้นที่ใต้โค้ง 0.3413 0.3686 0.3729 0.3770
1
1.
31
2
2.
31
3
3.
31
4
4.
31

14) กาหนดให้ข้อมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ หยิบข้อมูล x1, x2, x3 มาคานวณ 16) ถ้าคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 30 คน มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ


ค่ามาตรฐานปรากฏว่าได้ค่าเป็น z1, z2, z3 ตามลาดับ ถ้า z1 + z2 = z3 แล้ว 60 คะแนน และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 ถ้าผลรวมของค่ามาตรฐาน
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ต.ค. 52) ของคะแนนนักเรียนกลุ่มนี้เพียง 29 คน เท่ากับ 2.5 แล้วนักเรียนอีก 1 คน
1. x1 + x2 – x3 ที่เหลือสอบได้คะแนนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 53)
2. x1 - x2 – x3 1. 35
3. x3 - x2 – x1 2. 58
4. x1 + x2 + x3 3. 60
4. 85

Page 254
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง ถ้านักเรียนคนหนึ่งในห้องนี้ 19) บริษัทผลิตหลอดไฟต้องการรับประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ์ของบริษัท
สอบได้ 55 คะแนน คิดเป็นคะแนนมาตรฐาน ได้เท่ากับ 0.5 และสัมประสิทธิ์ของ โดยจะเปลี่ยนเป็นหลอดใหม่ถ้าหลอดเดิมชารุด บริษัทจะรับประกันไม่เกิน
การแปรผัน (cofficient of variation) ของคะแนนนักเรียนห้องนี้เท่ากับ 20% 4.1% ของจานวนที่ผลิต หลอดไฟมีอายุการใช้งานเฉลี่ย 2500 ชั่วโมง
คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนห้องนี้เท่ากับเท่าใด (PAT 1 ก.ค. 53) มีสัมประสิทธิ์ของความแปรผันเท่ากับ 0.20 ถ้าคาดว่าตามปกติคนจะใช้หลอดไฟ
วันละ 5 ชั่วโมง บริษัทนี้ควรกาหนดเวลาประกันมากที่สุดกี่วัน
กาหนดตารางแสดงพื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐาน ที่อยู่ระหว่าง 0 ถึง z
(PAT 1 มี.ค. 54)
Z 1.34 1.44 1.54 1.74 1.84
พื้นที่ใต้โค้ง 0.410 0.425 0.438 0.459 0.467
1. 362 วัน
2. 352 วัน
3. 346 วัน
4. 326 วัน

N
18) กาหนดตารางแสดงพื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐาน ที่อยู่ระหว่าง 0 ถึง z 20) กาหนด  x i = 1125 , N = 45 x เป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิต และความแปรปรวน
i=1
Z 1.14 1.24 1.34 1.44 เท่ากับ 6.25 ถ้า A และ B เป็นนักเรียนของห้องนี้ A ได้ 30 คะแนน มีค่ามาตรฐาน
พื้นที่ใต้โค้ง 0.373 0.392 0.410 0.425 มากกว่าค่ามาตรฐานของ B อยู่ 0.8 แล้ว B ได้กี่คะแนน (PAT 1 ธ.ค. 54)
ความสูงของนักเรียน 2 กลุ่ม มีการแจกแจงปกติ ดังนี้ 1. 26
กลุ่ม ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2. 27
3. 28
นักเรียนหญิง 158 เซนติเมตร 4 เซนติเมตร
4. 30
นักเรียนชาย 169.06 เซนติเมตร 5 เซนติเมตร
ถ้านักเรียนหญิงคนหนึ่งมีความสูงตรงกับเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 91 ของกลุ่มนักเรียนหญิง
นี้แล้วจานวนนักเรียนชายที่มีความสูงน้อยกว่าความสูงของนักเรียนหญิงคนนี้
คิดเป็นร้อยละเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54)
1. 12.7
2. 11.4
3. 10.7
4. 9.4

Page 255
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
21) คะแนนสอบของนักเรียน 500 คน กลุ่มหนึ่ง มีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ย 23) จากการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง ปรากฏว่าคะแนนสอบของ
เลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 60 และ 6 คะแนน ตามลาดับ นักเรียนมีการแจกแจงปกติ และกาหนดพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง 0 ถึง z
จงหาจานวนนักเรียนที่ได้คะแนนมากว่า 51 คะแนน แต่น้อยกว่า 66 คะแนน ดังตารางต่อไปนี้
กาหนด (PAT 1 ธ.ค. 54) Z 0.5 1.0 1.5 2.0
Z 0.5 1.0 1.5 2.0 พื้นที่ใต้โค้ง 0.192 0.341 0.433 0.477
พื้นที่ใต้โค้ง 0.191 0.341 0.433 0.477 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) ถ้านักเรียนคนหนึ่งในห้องนี้สอบได้คะแนนน้อยกว่าค่าฐานนิยมอยู่สองเท่า
ของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแล้ว ค่ามาตรฐานของคะแนนสอบของนักเรียน
คนนี้เท่ากับ -2
(ข) ถ้าคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องนี้ มีค่ามัธยฐานเท่ากับ
60 คะแนน และมีนักเรียนในห้องนี้สอบได้คะแนนน้อยกว่า 54 คะแนน
คิดเป็นร้อยละ 15.9 ของนักเรียนในห้องนี้ แล้วสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน
ของคะแนนสอบนี้เท่ากับ 0.1
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 55)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

22) ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง มีจานวนนักเรียน 30 คน 24) ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนสองห้อง ปรากฏว่า ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ


ปรากฏว่ามีนักเรียน 17 คน สอบได้คะแนนในช่วง 10-39 คะแนน มีนักเรียน คะแนนสอบเท่ากับ 65 คะแนน นักเรียนห้องแรกมี 40 คน ห้องที่สองมีนักเรียน
10 คน สอบได้คะแนนในช่วง 40-49 คะแนน และมีนักเรียน 3 คน สอบได้คะแนน 30 คน ถ้าคะแนนสอบของนักเรียนห้องแรกมีสัมประสิทธิ์ของการแปรผันเท่ากับ 0.2
ในช่วง 50-59 คะแนน ถ้าแบ่งคะแนนเป็นเกรด 3 ระดับ คือ เกรด A เกรด B นาย ก. เป็นนักเรียนห้องแรกสอบได้ 65 คะแนน คิดเป็นค่ามาตรฐานเท่ากับ 1.5
และเกรด C โดยที่ 10% ของนักเรียนได้เกรด A และ 20% ของนักเรียนได้เกรด B คะแนนสอบของนักเรียนห้องที่สองมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 12 คะแนน
จากข้อมูลข้างต้น สมมุติว่าคะแนนมีการแจกแจงปกติ มีสัมประสิทธิ์การแปรผันเป็น และนาย ข. เป็นนักเรียนห้องที่สองสอบได้คะแนนคิดเป็นค่ามาตรฐานเท่ากับ -2
1 แล้วนาย ข. สอบได้กี่คะแนน (PAT 1 ต.ค. 55)
ถ้าคะแนนสูงสุดของเกรด B มีคะแนนมาตรฐานเป็น 1.5 แล้ว คะแนนเฉลี่ยของ
3
นักเรียนห้องนี้เท่ากับกี่คะแนน (PAT 1 มี.ค. 55)

Page 256
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
25) ถ้าคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่งมีการแจกแจงปกติ นาย ก. 27) คะแนนสอบของนักเรียนห้องหนึ่งมีการแจกแจงปกติ คะแนนเต็ม 100 คะแนน
และนาย ข. เป็นนักเรียนห้องนี้ ถ้ามีนักเรียนในห้องนี้ร้อยละ 9.48 สอบได้คะแนน มัธยฐานเท่ากับ 45 คะแนน และมีนักเรียนร้อยละ 34.14 ที่สอบได้คะแนนระหว่าง
มากกว่าคะแนนสอบของ นาย ก. มีนักเรียนร้อยละ 10.64 สอบได้คะแนนน้อยกว่า 5
คะแนนสอบของ นาย ข. และ นาย ข. สอบได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนสอบของ มัธยฐานกับ 54 คะแนน ถ้านักเรียนคนหนึ่งมีคะแนนสอบเป็น เท่า
3
นาย ก. อยู่ 51 คะแนน แล้วส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบครั้งนี้เท่ากับ ของคะแนนเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 33 แล้วนักเรียนคนนี้สอบได้คะแนนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
เท่าใด (PAT 1 มี.ค. 56) เมื่อกาหนดพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง 0 ถึง z ดังตารางต่อไปนี้
เมื่อกาหนดพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ ระหว่าง 0 ถึง z ดังตารางต่อไปนี้ (PAT 1 เม.ย. 57)
Z 0.24 0.27 1.24 1.31
Z 0.33 0.36 0.41 0.44 0.50 1.0
พื้นที่ใต้โค้ง 0.0948 0.1064 0.3936 0.4052
พื้นที่ใต้โค้ง 0.1293 0.1406 0.1591 0.1700 0.1915 0.3413
1. 41.04 %
2. 48.96 %
3. 68.40 %
4. 81.60 %

26) คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์และวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนกลุ่มหนึ่งมีการ 28) คะแนนสอบของนักเรียน 160 คน มีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ


แจกแจงปกติ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและความแปรปรวนของคะแนนแต่ละวิชามีดังนี้ 60 คะแนน มีนักเรียนเพียง 4 คนที่สอบได้คะแนนมากกว่า 84.5 คะแนน นักเรียนที่
วิชา ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (คะแนน) ความแปรปรวน (คะแนน) สอบได้ 55 คะแนนจะอยู่ในตาแหน่งเปอร์เซ็นต์ไทล์เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
วิชาคณิตศาสตร์ 63 25 เมื่อกาหนดพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง 0 ถึง z ดังตารางต่อไปนี้
วิชาภาษาอังกฤษ 72 9 (PAT 1 พ.ย. 57)
Z 0.3 0.4 0.5 1.0 1.1 1.96 2.0
ถ้านักเรียนคนหนึ่งในกลุ่มนี้สอบทั้งสองวิชาได้คะแนนเท่ากัน พบว่าคะแนนสอบวิชา พื้นที่ 0.1179 0.1554 0.1915 0.3413 0.3643 0.4750 0.4773
คณิตศาสตร์ของเขาเป็นตาแหน่งเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 88.49 คะแนนสอบวิชา
ภาษาอังกฤษเป็นตาแหน่งเปอร์เซ็นต์ไทล์เท่ากับเท่าใด 1. 19.15
เมื่อกาหนดพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ ระหว่าง 0 ถึง z ดังตารางต่อไปนี้ 2. 15.54
(PAT 1 มี.ค. 57) 3. 34.46
4. 30.85
Z 0.9 1.0 1.1 1.2 1.3
พื้นที่ใต้โค้ง 0.3159 0.3413 0.3643 0.3849 0.4032

Page 257
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
29) คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง มีการแจกแจงปกติ โดยมีค่า 31) คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง จานวน 30 คน มีการแจกแจง
มัธยฐานเท่ากับ 60 คะแนน ถ้านักเรียนที่สอบได้คะแนนน้อยกว่า 55.5 คะแนน ปกติ และมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 64 คะแนน นักเรียนชายห้องนี้มี 18 คน
มีอยู่ร้อยละ 18.41 แล้ว นักเรียนที่สอบได้คะแนนสูงกว่า 64 คะแนน มีจานวน คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชายห้องนี้มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ
คิดเป็นร้อยละเท่าใดต่อไปนี้ เมื่อกาหนดพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ ระหว่าง 0 ถึง z 64 คะแนน และความแปรปรวนเท่ากับ 10 ส่วนคะแนนสอบของนักเรียนหญิง
ดังนี้ (PAT 1 มี.ค. 58) มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5 คะแนน ถ้านางสาว ก. เป็นนักเรียนคนหนึ่งใน
Z 0.7 0.8 0.9 1.0 ห้องนี้สอบได้เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 22.66 ของนักเรียนทั้งห้องแล้ว แล้วคะแนนสอบของ
พื้นที่ใต้โค้ง 0.2580 0.2881 0.3159 0.3413 นางสาว ก. เท่ากับเท่าใด เมื่อกาหนดพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง 0 ถึง z ดังนี้
(PAT 1 มี.ค. 59)
1. 21.19
2. 24.20 Z 0.5 0.6 0.75 1.0 1.25
3. 25.80 พื้นที่ใต้โค้ง 0.1915 0.2257 0.2734 0.3413 0.3944
4. 28.81

30) คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่งมีการแจกแจงปกติ 32) ถ้าคะแนนสอบวิชาหนึ่งของนักเรียนจานวน 80 คน มีการแจกแจงปกติ


โดยมีสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของคะแนนสอบวิชานี้ เท่ากับ 25% และมีสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับ 1 มีนักเรียนคนหนึ่งในห้องนี้
และมีนักเรียนร้อยละ 15.87 ที่สอบได้คะแนนมากกว่า 85 คะแนน ถ้านาย ก 3
เป็นนักเรียนคนหนึ่งในห้องนี้ สอบได้คะแนน 47.6 คะแนน จะอยู่ในตาแหน่ง สอบได้ 39 คะแนนคิดเป็นค่ามาตรฐานเท่ากับ 1.5 และมีนักเรียนจานวน 60 คน
เปอร์เซ็นต์ไทล์ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ ที่มีคะแนนสอบมากกว่า 15 คะแนน แล้วส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบ
เมื่อกาหนดพื้นที่ใต้โค้งปกติ ระหว่าง 0 ถึง z ดังนี้ (PAT 1 ต.ค. 58) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 60)
1. 9.5 คะแนน
Z 0.4 0.9 1.0 1.1 1.2 1.3 2. 10 คะแนน
พื้นที่ใต้โค้ง 0.1554 0.3159 0.3413 0.3643 0.3849 0.4032 3. 10.5 คะแนน
4. 11 คะแนน
1. 34.46 5. 11.5 คะแนน
2. 18.41
3. 13.57
4. 11.51
5. 9.68

Page 258
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
33) คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มหนึ่งมีการแจกแจงปกติ ถ้านักเรียนที่ เฉลยคาตอบ
สอบได้คะแนนน้อยกว่า 74 คะแนน มีจานวนคิดเป็นร้อยละ 97.73 และนักเรียนที่ 1) 1 2) 4 3) 3 4) 2 5) 4
สอบได้คะแนน 53 คะแนน จะตรงกับเปอร์เซ็นไทล์ที่ 6.68 แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ 6) 3 7) 3 8) 52.5 9) 1 10) 4
คะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มนี้เท่ากับเท่าใด 11) 3 12) 1 13) 2 14) 1 15) 10
กาหนดตารางแสดงพื้นทีใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง Z ดังนี้ 16) 1 17) 50 18) 1 19) 4 20) 3
(PAT 1 มี.ค. 60) 21) 387 22) 33 23) 1 24) 61 25) 20
26) 15.87 27) 3 28) 3 29) 1 30) 4
Z 0.5 1 1.5 2 2.5
31) 61 32) 4 33) 62 34) 1
A 0.1915 0.3413 0.4332 0.4773 0.4938

34) กาหนดตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง z ดังนี้

Z 0.35 0.5 0.85 1.00 1.20


พื้นที่ใต้เส้นโค้ง 0.1368 0.1915 0.3023 0.3413 0.3849
จากการสอบถามอายุของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนแห่งหนึ่ง
พบว่าอายุของนักเรียนมีการแจกแจงปกติ มีนักเรียนร้อยละ 30.85 ที่มีอายุมากกว่า
17 ปี และมีนักเรียนร้อยละ 53.28 ที่มีอายุตั้งแต่ 14 ปี แต่ไม่เกิน 17 ปี แล้ว
สัมประสิทธิ์การแปรผันของอายุนักเรียนกลุ่มนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(PAT 1 ก.พ. 61)
1. 0.125
2. 1.25
3. 4.0
4. 8.0
5. 12.5

Page 259
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์

ตัวอย่างข้อสอบ
บทที่ 26 กาหนดการเชิงเส้น
1) ในการผลิตสินค้าตามโครงการ OTOP ของตาบลหนึ่ง ในแต่ละวันผลิตผ้าฝ้ายได้ x 3) กาหนดฟังก์ชันจุดประงค์ และอสมการข้อจากัดดังนี้
ชิ้น และผลิตผ้าไหมได้ y ชิ้น โดย มีอสมการข้อจากัดคือ C = 6x + 2y, x + y  2, x + 3y  9, 0xy
2x + y  12 ค่าสูงสุดของ C เท่ากับเท่าใด (A-Net 2551)
x+y8
x0
และ 0  y  6
ถ้าผ้าฝ้ายและผ้าไหมมีราคาขายชิ้นละ 90 บาท และ 300 บาท ตามลาดับ แล้ว
โครงการนี้จะขายสินค้าได้เงินมากที่สุดต่อวัน เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(A-Net 2549)
1. 1,560 บาท
2. 1,800 บาท
3. 1,980 บาท
4. 2,400 บาท

2) กาหนดฟังก์ชันจุดประสงค์และอสมการข้อจากัดเป็นดังนี้ 4) ถ้า C = 4x + 2y เมื่อ 3x + y  6, x + 3y  6, x + y  4


C = 40x + 32y แล้วค่าต่าสุดของ C เท่ากับเท่าใด (A-Net 2552)
6x + 2y  12
2x + 2y  8
4x + 12y  24
ค่าต่าสุดของ C เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (A-Net 2550)
1. 108
2. 112
3. 136
4. 152

Page 260
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
5) ถ้า C เป็นปริมาณที่มีค่าขึ้นกับค่าของตัวแปร x และ y ด้วยความสัมพันธ์ 7) กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนจริงบวกซึ่ง a  b
C = 3x + 5y เมื่อ x, y เป็นไปตามเงื่อนไข 3x + 4y  5, x + 3y  3, ถ้าค่ามากสุดและค่าน้อยสุดของ P = 2x + y เมื่อ x, y เป็นไปตามเงื่อนไข
X  0 และ y  0 แล้วค่าต่าสุดของ C ตามเงื่อนไขข้างต้นมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ a  x + 2y  b, x  0 และ y  0 มีค่าเท่ากับ 100 และ 10 ตามลาดับ
(PAT 1 มี.ค. 52) แล้ว a + b มีค่าเท่าใด (PAT 1 ต.ค. 52)
1. 2 1
5
2. 29
5
3. 2 5
4
4. 2 7
4

6) ถ้า P = 5x + 4y เมื่อ x, y เป็นไปตามเงื่อนไข x + 2y  40, 3x + 2y  60, 8) จงหาผลคูณของค่าสูงสุดและค่าต่าสุดของฟังก์ชัน f(x,y) = x + y + 2 ภายใต้เงื่อนไข


X  0 และ y  0 แล้วค่าสูงสุดของ P เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 ก.ค. 52) ข้อจากัดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 54)
1. 90 (1) x + 2y  8
2. 100 (2) 5x + 2y  20
3. 110 (3) x + 4y  22
4. 115 (4) x  1
(5) 1  y  8

Page 261
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
9) ร้านค้าผลิตถุงแบบ A วันละ x ชิ้น และแบบ B วันละ y ชิ้น โดยที่ 11) กาหนดให้ P = 3x + 4y เป็นฟังก์ชันจุดประสงค์ โดยมีอสมการข้อจากัดดังนี้
40  2x + y  60 2x + 3y  6
105  2x + 3y  150 2x - y  10
X  0, y  0 0yx
ถ้าถุง A ขายชิ้นละ 40 บาท ในแต่ละวันขายถุงทั้ง 2 แบบ ได้เงินมากสุด 750 บาท พิจารณาข้อความต่อไปนี้
แล้วขายถุง B ชิ้นละกี่บาท (PAT 1 ธ.ค. 54) (ก) P มีค่ามากสุด เท่ากับ 70
1. 5 (ข) ถ้าจุด (a,b) ที่ทาให้ P มีค่าต่าสุด แล้ว จุด (a,b) สอดคล้องกับสมการ
2. 10 x-y=3
3. 15 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ต.ค. 55)
4. 20 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4) (ก) ผิด และ (ข) ผิด

10) กาหนดสมการจุดประสงค์ คือ P = 3x + 2y โดยมีอสมการข้อจากัด ดังนี้ 12) กาหนดให้ P = a(x + y) + 6y เป็นฟังก์ชันจุดประสงค์ โดยมีอสมการข้อจากัดดังนี้
x + 2y  6, 2x + y  8, -x + y  1, x  0 และ 0  y  2 3x + 4y  48, x + 2y  22, 3x + 2y  42, x  0 และ y  0
ค่าของ P มีค่ามากสุด เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 55) ถ้า P มีค่ามากสุดเท่ากับ 288 แล้ว ค่ามากที่สุดของ a ที่เป็นจานวนเต็มบวก
1. 10 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 มี.ค. 56)
2. 12 1. 20
3. 38 2. 18
3 3. 16
4. 18 4. 14

Page 262
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
13) กาหนดให้ P = Ax + By เป็นฟังก์ชันจุดประสงค์ 15) กาหนดให้ฟังก์ชันจุดประสงค์ P1 = 5x + 2y และ P2 = 4x + 3y โดยมีอสมการ
เมื่อ A และ B เป็นจานวนจริงบวกที่สอดคล้องกับ 3A = 2B โดยมีอสมการข้อจากัด ข้อจากัดดังนี้
ดังนี้ x + 2y  20, 7x + 9y  105, 5x + 3y  15, x  0 และ y  0 2x + 3y  6, 3x - y  15, -x + y  4, 2x + 5y  27, x  0 และ y  0
ถ้า P มีค่ามากที่สุดเท่ากับ M และ P มีค่าน้อยที่สุดเท่ากับ N แล้วข้อใดต่อไปนี้ ให้ค่ามากที่สุดของ P1 และ P2 เท่ากับ M1 และ M2 ตามลาดับ
ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 57) และค่าน้อยที่สุดของ P1 และ P2 เท่ากับ N1 และ N2 ตามลาดับ พิจารณาข้อความ
1. 2M = 11N ต่อไปนี้
2. 5M = 11N (ก) M1 มีค่ามากกว่า M2
3. 2M = N (ข) N1 มีค่าน้อยกว่า N2
4. 5M = N ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 พ.ย. 57)
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

14) มีปุ๋ยอยู่ 2 ชนิด คือชนิด A และ ชนิด B โดยแต่ละชนิดบรรจุถุงละ 100 กรัม 16) นาย ก. วางแผนจะปลูกมันหรือสับปะรดบนที่ดิน 150 ไร่ โดยมีข้อมูลในการลงทุน
ส่วนประกอบและราคาแต่ละชนิดเป็น ดังนี้ ดังนี้ ในการปลูกมัน จะต้องลงทุนค่าต้นกล้าไร่ละ 200 บาท และใช้แรงงานไร่ละ 10
ชั่วโมง ในการปลูกสับปะรดจะต้องลงทุนค่าต้นกล้าไร่ละ 300 บาท และใช้แรงงานไร่
ชนิดปุ๋ย สารอาหาร N สารอาหาร P สารอาหาร K ราคาถุงละ
ละ 12.5 ชั่วโมง นาย ก. มีเงินลงทุนสาหรับค่าต้นกล้า 40,000 บาท และมีแรงงาน
ชนิด A 2 หน่วย 1 หน่วย 80 หน่วย 10 บาท
ไม่เกิน 1,850 ชั่วโมง ถ้าปลูกมันจะได้กาไรไร่ละ 1,500 บาท ปลูกสับปะรดจะได้
ชนิด B 3 หน่วย 3 หน่วย 60 หน่วย 12 บาท
กาไรไร่ละ 2,000 บาท ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 58)
นักวิจัยทดลองผสมปุ๋ยชนิด A และชนิด B ให้พืชในแปลงทดลอง โดยส่วนผสมปุ๋ยที่
1. ปลูกสับปะรดเพียงอย่างเดียว จะได้กาไรสูงสุด 300,000 บาท
ได้ประกอบด้วยสารอาหาร N อย่างน้อย 18 หน่วย สารอาหาร P อย่างน้อย 12
2. ปลูกมัน 10 ไร่ ปลูกสับปะรด 140 ไร่ จะได้กาไรสูงุสด 295,000 บาท
หน่วย และสารอาหาร K อย่างน้อย 480 หน่วย ค่าใช้จ่ายน้อยสุดในการผสมปุ๋ยทั้ง
3. ปลูกมัน 50 ไร่ ปลูกสับปะรด 100 ไร่ จะได้กาไรสูงสุด 275,000 บาท
สองชนิดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT 1 เม.ย. 57)
4. ปลูกมัน 110 ไร่ ปลูกสับปะรด 40 ไร่ จะได้กาไรสูงสุด 245,000 บาท
1. 74 บาท
2. 78 บาท
3. 84 บาท
4. 96 บาท

Page 263
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
17) ภายใต้อสมการข้อจากัดต่อไปนี้ x + 2y  4, x - y  1, x + y  1, x  0 19) ให้ a และ b เป็นจานวนจริงบวก กาหนดให้ P = ax - 15y เป็นฟังก์ชันจุดประสงค์
และ y  0 สมการจุดประสงค์ในข้อใดต่อไปนี้ ที่มีค่ามากที่สุด (PAT 1 ต.ค. 58) โดยมีอสมการข้อจากัดดังนี้ 3x + by  9
1. z = 2x + 2y 3x + 2by  18
2. z = 3x + 2y 1  x  5 และ y  0
3. z = 2x + 3y ถ้าค่าของ P มีค่าน้อยที่สุด เท่ากับ -8.25 และ ค่าของ P มีค่ามากที่สุดเท่ากับ 15
4. z = x + 4y แล้วค่าของ a2 + b2 เท่ากับเท่าใด (PAT 1 มี.ค. 60)
5. z = 2x + y

18) กาหนดสมการจุดประสงค์ P = 7x - 5y และอสมการข้อจากัดดังนี้ 20) กาหนดให้ a และ b เป็นจานวนจริงบวก และให้ P = ax + by เป็นฟังก์ชัน


x + 3y - 12  0, 3x + y - 12  0, x - 2y + 17  0 และ 9x + y - 56  0 จุดประสงค์ ภายใต้อสมการข้อจากัดต่อไปนี้
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ x + 2y  12
(ก) ถ้า (a,b) เป็นจุดมุมที่สอดคล้องกับอสมการข้อจากัดและให้ค่า P มาก x+y6
ที่สุด แล้ว a2 + b2 = 40 x - 2y  0
(ข) ผลต่างระหว่างค่ามากที่สุดและค่าน้อยที่สุดของ P เท่ากับ 70 x  0 และ y  0
(ค) ถ้า A และ B เป็นพิกัดของจุดมุมที่สอดคล้องกับอสมการข้อจากัด โดยที่ ถ้า P มีค่ามากที่สุด ที่จุด A และ B โดยที่จุด A และ จุด B เป็นจุดสองจุดที่ต่างกัน
P มีค่ามากที่สุดที่จุด A และ P มีค่าน้อยที่สุดที่จุด B แล้วจุด A และ B อยู่บนเส้นตรง x + 2y = 12 และเป็นจุดมุมที่สอดคล้องกับอสมการที่กาหนดให้
อยู่บนเส้นตรง 7x + 5y = 52 แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 ก.พ. 61)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT 1 มี.ค. 59) 1. b = a
1. ข้อ (ก) และข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. b = 2a
2. ข้อ (ก) และข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด 3. b = 3a
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. b = 4a
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ 5. b = 5a
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

Page 264
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ PAT1 ตะลุยโจทย์
เฉลยคาตอบ
1) 3 2) 1 3) 18 4) 9 5) 2
6) 3 7) 70 8) 157.5 9) 1.25 10) 3
11) 2 12) 2 13) 1 14) 2 15) 1
16) 3 17) 5 18) 4 19) 109 20) 2

Page 265
วิชาคณิตศาสตร์
วิชาPAT 1 62
ปี 2562
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ตอนที่ 1 ข้อ 1-30 ข้อละ 6 คะแนน 3) ให้ A เป็นเซตของจำนวนเต็มทั้งหมดที่สอดคล้องกับอสมการ x 2 − 2x − x  4
1) กำหนดให้ P แทน 267 < 530 และ Q แทน 269 > 531
จำนวนสมาชิกของเพาเวอร์เซตของ A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ประพจน์ (Q  P) → Q มีค่าความจริงตรงกับค่าความจริงของประพจน์ในข้อ 1. 4 2. 8
ใดต่อไปนี้ 3. 16 4. 32
1. (Q  P) → P 2. (P  Q) → (P  Q) 5. 64
3. (Q → P) → Q 4. (P  Q)  P
5. P  (Q  P)

4) เซตคำตอบของอสมการ 2 2 x + 1 + 3 2 x +1  5(6 x ) เป็นสับเซตของช่วงในข้อใด


2) ให้ ℝ แทนเซตของจำนวนจริง ประพจน์ x[4 x + 2 x = 72] มีค่าความจริง ต่อไปนี้
เป็นจริง เมื่อเอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตในข้อใดต่อไปนี้ 1. (−, −3)  (3, ) 2. (−, −3)  (−1,3)
1. x  2x − 3  7 2. x  3x − 2  7 3. (−5, −1)  (0,5) 4. (−3,0)  (1, )
5. (−2,1)  (3, )

3. x  x 2 + 8 = 6x  4. x  x − 3  1

5. x  x + 1  3

Page 2
ปี 2562
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
5) ให้ ℝ แทนเซตของจำนวนจริง 7) ถ้า x และ y เป็นจำนวนจริงที่สอดคล้องกับสมการต่อไปนี้
ให้ f = (x, y)   y + x = x  และ 2
(x + y)3 y − x = และ 2log2(x + y) = x - y
9
g = (x, y)   y −x = x แล้วค่าของ x2+y2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 1. 4 2. 8
(ก) g (f g) = (f g) g 3. 9 4. 10
(ข) (g f) − f = (f g) + f 5. 16
(ค) f (f g) = fg
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

17    10   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 8) ให้พาราโบลารูปหนึ่งมีสมการ y = x2 + 1 สร้างรูปสามเหลี่ยม ABC โดยที่จุด A


6) ค่าของ arccos  sin  − arcsin  sin 
 7   7  เป็นจุดยอดของพาราโบลา จุด B(x,y) และจุด C(2,5) เป็นจุดบนพาราโบลา ถ้ามุม
5  ˆ เป็นมุมฉาก แล้วพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ABC
1. − 2.
14 14 1. 2 2 ตารางหน่วย 2. 3 ตารางหน่วย
2 
3. 4. 3. 3 2 ตารางหน่วย 4. 4 ตารางหน่วย
7 2
3 5. 4 3 ตารางหน่วย
5.
2

Page 3
ปี 2562
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
9) กำหนดให้ a = cos 15๐ + cos 50๐ และ b = sin 15๐ + sin 50๐ ค่าของ 11) กล่องใบหนึ่งมีลูกบอลขนาดเดียวกัน 3 สี สีละ n ลูก เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก
(a + b)2 สุ่มหยิบลูกบอล 3 ลูกจากกล่องนี้โดยหยิบทีละลูก แบบไม่ใส่กลับคืนลงในกล่อง ถ้า
ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
a2 + b 2 2
ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกบอลสีละลูก เท่ากับ แล้วความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกบอล
1. 1 + cos 25๐ 2. 1 + cos 35๐ 5
3. 1 + cos 65 ๐
4. 1 + cos 75๐ 3 ลูกโดยมีเพียง 2 สีเท่านั้นเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
5. 1 + cos 85 ๐ 2 4
1. 2.
15 15
7 8
3. 4.
15 15
9
5.
15

10) ให้ y = f(x) เป็นเส้นโค้งผ่านจุด (0,1) และจุด (1,1) และเส้นสัมผัสของเส้นโค้งที่จุด 12) เมื่อ a, b, c และ d เป็นจำนวนเต็มบวกที่แตกต่างกันและสอดคล้องกับอสมการ
(x,y) ใดๆ มีความชันเท่ากับ ax2 + bx + c เมื่อ a,b และ c เป็นจำนวนจริง ถ้า ต่อไปนี้
f'(0) = 1 และ f"(1) = 2 แล้วฟังก์ชัน f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (ก) log2 a < log2 b
11 13 (ข) 2b x 3d > 2d x 3b
1. 2.
27 27 (ค) 6a – 9c > 3c(2a - 3a)
31 34 ผลบวกในข้อใดต่อไปนี้ ที่มีค่ามากที่สุด
3. 4.
27 27 1. a + b 2. b + d
43 3. a + c 4. c + d
5.
27 5. a + d

Page 4
ปี 2562
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
13) ลูกอมรสนม ราคาเม็ดละ 5 บาท และลูกอมรสน้ำผึ้ง ราคาเม็ดละ 7 บาท ต้องการ 15) กำหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยที่มีความยาวของด้านตรงข้ามมุม A มุม B
ซื้อลูกอมทั้งสองรสเป็นเงินทั้งสิ้น 287 บาท (โดยมีลูกอมรสนมอย่างน้อย 1 เม็ดและ และมุม C เท่ากับ a หน่วย b หน่วย และ C หน่วย ตามลำดับ ถ้า
ลูกอมรสน้ำผึ้งอย่างน้อย 1 เม็ด) พิจารณาข้อความต่อไปนี้ b = a( 3 − 1) และมุม C มีขนาด 30๐ แล้วค่าของ sin3B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(ก) จำนวนวิธีที่ได้ลูกอมทั้งสองรส มีทั้งหมด 9 วิธี 3 2
(ข) ได้จำนวนลูกอมทั้งสองรส อย่างน้อย 43 เม็ด 1. − 2. −
2 2
(ค) ได้ลูกอมทั้งสองรส มีจำนวนมากที่สุด 57 เม็ด
2
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 3. 1 4.
2
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
3
2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด 5.
2
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

14) วงกลมวงหนึ่งมีสมการเป็น x2 + y2 - 4x - 2y + 1 = 0 และสัมผัสกับแกน y ที่จุด


16) กำหนดให้ H เป็นไฮเพอร์โบลา ซึ่งมีสมการเป็น x2 – 3y2 - 3 = 0 และให้ F เป็น
P ให้ L เป็นเส้นตรงผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลมและขนานกับเส้นตรง 2x - 2y = 1
โฟกัสของไฮเพอร์โบลา H ทีอ่ ยู่ทางขวาของจุด (0,0) ให้ E เป็นวงรีที่มีจุดยอดอยู่ที่
ระยะระหว่างจุด P กับเส้นตรง L เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(0,0) และโฟกัสอยู่ที่ F โดยที่จุด (0,0) และจุด F อยู่ทางซ้ายของจุดศูนย์กลางของ
5 2 วงรี E ถ้าผลต่างของความยาวแกนเอกและความยาวแกนโท เท่ากับ 2 แล้วความ
1. 2.
5 2 เยื้องศูนย์กลางของวงรี E ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
3 2 1. 0.2 2. 0.3
3. 2 4.
2 3. 0.4 4. 0.5
5. 5 5. 0.6

Page 5
ปี 2562
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
1 5   −2 0  19) ให้ a, b และ c เป็นเวกเตอร์บนระนาบโดยที่ a + b + c = 0 และ มุมระหว่าง
17) กำหนดให้ A =   ,B =   และ C เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ 2 x 2 ที่ เวกเตอร์ a กับ b เท่ากับ 60๐ ถ้าขนาดของเวกเตอร์ a และเวกเตอร์ b เท่ากับ
1 1  0 2
สอดคล้องกับ CA = AB ถ้า x เป็นจำนวนจริงบวกที่สอดคล้องกับ 2 หน่วย และ 1 หน่วย ตามลำดับ แล้วมุมระหว่างเวกเตอร์ b กับเวกเตอร์ c
det(C2 + xB) = -20 แล้วค่าของ x2 + x + 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 7  2 3
1. + arccos 2.  − arcsin
3. 13 4. 21 2 7 7
5. 31  3 3
3. + arcsin 4.  − arccot
2 7 2
2 3
5. + arctan
3 2

18) ให้ n(S) แทนจำนวนสมาชิกของเซต S ถ้า A, B และ C เป็นเซต โดยที่


n(A) = 10, n(AB) = 4, n(AC) = 3 และ n(ABC) = 18 แล้วค่ามากที่สุด 20) ให้ z เป็นจำนวนเชิงซ้อน โดยที่ z − 2 + i = z + 2 − 2i และ z + 1 = z + i
ที่เป็นไปได้ของ n(BC) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 2
เมื่อ z แทนค่าสัมบูรณ์ของ z ค่าของ 2z เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 10 2. 12
1. 10 2. 12
3. 13 4. 14
3. 15 4. 18
5. 15
5. 32

Page 6
ปี 2562
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
23) ให้ a และ b เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วย ถ้า a + b เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยแล้ว
21) กำหนดให้ a1,a2,a3,…,an,… เป็นลำดับเรขาคณิตของจำนวนจริง โดยที่ มีผลบวก ขนาดของเวกเตอร์ a  b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 
1 1
5 พจน์แรกเป็น 275 ถ้า  a n = 243 แล้วค่าของ  n −1 a n เท่ากับข้อใด 1. 0 2.
n =1 n =1 2 2
ต่อไปนี้ 2 3
3. 4.
1. 0 2. 60.75 2 2
3. 121.5 4. 303.75 5. 1
5. 607.5

24) ผลการสอบของนักเรียนห้องหนึ่ง มีการแจกแจงความถี่ ดังนี้


22) กำหนดให้ f(x) เป็นพหุนามกำลังสอง ซึ่งมีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนจริง ถ้าเส้นโค้ง เมื่อ a, b และ c เป็นจำนวนเต็มบวก
2
คะแนน ความถี่
y = f(x) ผ่านจุด (2,2) และมีจุดสูงสุดสัมพัทธ์ที่จุด (1,3) แล้วค่าของ  f(x)dx
−1
30-39 2
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 40-49 5
1. 7 2. 6 50-59 8
16 14 60-69 7
3. 4.
3 3 70-79 a
8 80-89 b
5.
3 90-99 c

ถ้าควอร์ไทล์ที่ 1 (Q1) ของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 54.5 แล้วนักเรียนทั้งหมดในห้องนี้ มี


จำนวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 36 คน 2. 40 คน
3. 44 คน 4. 48 คน
5. 52 คน

Page 7
ปี 2562
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
25) กำหนดข้อมูลของประชากรชุดหนึ่ง ดังนี้ 2, 2+d, 2+2d, 2+3d, …, 2+30d 27) กำหนดให้  แทนเซตจำนวนเต็ม ถ้า f :  →  เป็นฟังก์ชันโดยที่ f(5) = 16
เมื่อ d เป็นจำนวนจริงบวก ถ้าความแปรปรวนของข้อมูลชุดนี้ เท่ากับ 320 แล้ ว  f(n − 2) + 2n เมื่อ n เป็นจำนวนคี่
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ และ f(n) = 
 f(n + 1) − n เมื่อ n เป็นจำนวนคู่
1. 24.5 2. 32 3
3. 39.5 4. 47 แล้วค่าของ  f(n) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
5. 54.5 n =−3

1. 8 2. 10
3. 12 4. 15
5. 24

28) กำหนดตารางแสดงพื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง z ดังนี้


26) ให้ ℝ แทนเซตจำนวนจริง ให้ f : ℝ → ℝ เป็นฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์และสอดคล้อง
กับ f(x+h) - f(x) = 2h3 + (6x+1)h2 + 2x(3x+1)h สำหรับทุกจำนวนจริง x และ h
z 1.30 1.40 1.50 1.60 1.70
1
ถ้าค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ของ f เท่ากับ 4 แล้วค่าของ f(2) + f( − ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ พื้นทีใ่ ต้เส้นโค้ง 0.4032 0.4192 0.4332 0.4452 0.4545
2
1. 28 2. 32
3. 34 4. 36 ความสูงของนักเรียนกลุ่มหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 162
5. 40 เซนติเมตรถ้านักเรียนที่มีความสูงน้อยกว่า 155 เซนติเมตรมีอยู่ 8.08% แล้ว
นักเรียนที่มีความสูงในช่วง 155 - 170 เซนติเมตร มีจำนวนคิดเป็นร้อยละเท่ากับข้อ
ใดต่อไปนี้
1. 82.24 2. 83.84
3. 85.24 4. 86.44
5. 87.46

Page 8
ปี 2562
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
29) กำหนดให้สมการจุดประสงค์ P = ax + by เมื่อ 0  a  b  2a และอสมการ ตอนที่ 2 ข้อ 31-45 ข้อละ 8 คะแนน
ข้อจำกัด ดังนี้ 31) ให้ A แทนเซตของจำนวนจริงทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมการ
x + 3y ≤ 12 2x + 3 x−2
x+y ≥4 +3 = 4 ถ้า a เป็นจำนวนจริงที่น้อยสุดในเซต A และ b
x−2 2x + 3
3y – x ≥ 6 เป็นจำนวนที่มากที่สุดในเซต A แล้ว a2 + b2 มีค่าเท่ากับเท่าใด
และ x ≥ 0 , y ≥ 0
ถ้าค่ามากที่สุดของ P เท่ากับ 15 และค่าน้อยที่สุดของ P เท่ากับ 10.5 แล้วค่าของ
a2 + b2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2. 10
3. 13 4. 20
5. 25

30) จากการสอบถามพนักงานบริษัทแห่งหนึ่งจำนวน n คน ที่มีเงินเดือนตั้งแต่ 10,000 32) คนกลุ่มหนึ่ง มีผู้ชาย 10 คนและผู้หญิง 7 คน โดยมีนาย ก. และนาย ข. รวมอยู่
บาท ถึง 100,000 บาทเกี่ยวกับเงินออมต่อเดือน ดังนี้ ด้วย จะมีกี่วิธีในการเลือกคณะกรรมการ 6 คน จากคนกลุ่มนี้ ประกอบด้วย ผู้ชาย
อย่างน้อย 2 คน และผู้หญิงอย่างน้อย 3 คน โดยมีเงื่อนไขว่านาย ก. และ นาย ข.
พนักงาน เงินเดือน (หมื่นบาท) เงินออม (พันบาท) จะเป็นกรรมการพร้อมกันไม่ได้
คนที่ (a) (b)
1 a1 b1
2 a2 b2
3 a3 b3
⁝ ⁝ ⁝
n an bn
โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตของเงินเดือนเท่ากับ 64,000 บาท ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของเงิน
ออมเท่ากับ 2,000 บาทและความสัมพันธ์ระหว่างเงินเดือนและเงินออมเป็น
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันแบบเส้นตรงถ้าพนักงานมีเงินออม เดือนละ 1,000 บาท
ประมาณได้ว่าพนักงานคนนี้มีเงินเดือน 26,000 บาทแล้วถ้าพนักงานมีเงินออม
เดือนละ 1,500 บาท จะประมาณได้ว่าเขามีเงินเดือนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 39,000 บาท 2. 45,000 บาท
3. 52,000 บาท 4. 58,000 บาท
5. 65,000 บาท

Page 9
ปี 2562
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
33) ให้ a1, a2, a3, …, an, … เป็นลำดับเลขคณิตของจำนวนจริงบวก โดยมีผลบวก n 35) กำหนดให้ U = {1, 2, 3, …, 10} และให้ A และ B เป็นสับเซตของ U โดยที่
พจน์แรกของลำดับเท่ากับ 3n2 + 2n สำหรับ n = 1, 2, 3, … ถ้า AB = {1, 9}, (A-B)(B-A) = {2, 3, 4, 5, 8, 10} และ U-A = {3, 5, 6, 7}
1 1 1 1 จำนวนสมาชิกของเซต A x B เท่ากับเท่าใด
a 2 + 2 a 22 + 3 a 23 + ... + 10 a 210 = m แล้วจำนวนเต็มบวกที่มากที่สุดที่
2 2 2 2
น้อยกว่า m เท่ากับเท่าใด

34) กำหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยที่มุม C เป็นมุมฉาก และมุม A 36) ให้ ℝ แทนเซตของจำนวนจริง ให้ f : ℝ → ℝ และ g : ℝ → ℝ เป็นฟังก์ชัน
สอดคล้องกับสมการ 2cos 2A - 8sin A + 3 = 0 ให้ a, b และ c เป็นความยาว  x + 2; x  1
ของด้านตรงข้ามมุม A มุม B และมุม C ตามลำดับ ถ้า a + c = 30 แล้วค่าของ  x − 2; x  4 
โดยที่ f(x) =  และ g(x) =  1
a sin A + b sin B เท่ากับเท่าใด 3x − 10; x  4  2 (x + 5); x  1
ถ้า (f ๐ g-1)(x) = 2 แล้ว x เท่ากับเท่าใด

Page 10
ปี 2562
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
37) ให้ A เป็นเซตของจำนวนจริงบวก x ทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมการ x x + 1+ x
(log3 9x)2 − 3 log 3 x − 7 = 0 ผลคูณของสมาชิกทั้งหมดในเซต A เท่ากับเท่าใด 39) ค่าของ lim เท่ากับเท่าใด
x →0 3
8+x −2

38) กำหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชันที่นิยามโดย f(x) = x2 – x + a และ 40) กำหนดให้ a, b, c เป็นจำนวนจริงจัดเรียงกันเป็นลำดับเรขาคณิต โดยที่
g(x) = x2 + bx สำหรับทุกจำนวนจริง x เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็ม ถ้า a + b + c = 14 และ a, b + 3, c + 4 จัดเรียงกันเป็นลำดับเลขคณิต ค่าของ
(f ๐ g)(x) = (g ๐ f)(x) สำหรับทุกจำนวนจริง x แล้ว f(b) + g(a) เท่ากับเท่าใด a2 + b2 + c2 เท่ากับเท่าใด

Page 11
ปี 2562
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
41) กำหนดตารางแจกแจงความถี่แสดงผลทดสอบของนักเรียนห้องหนึ่ง ดังนี้ 43) กำหนดให้ A เป็นเซตของลำดับเลขคณิต 1, 4, 7, 10, …
ให้ f(x) = 5x + 3 และ g(x) = x + 4 สำหรับทุกจำนวนจริง x
คะแนน จำนวนนักเรียน (คน)  f(x) ; x  A

0 a-2 ถ้า h(x) =  −1 แล้วค่าของ h(h(h(100))) เท่ากับเท่าใด
g (x) ; x  A

1 a
2 a2
3 (a + 1)2
4 2a
5 a+1

เมื่อ a เป็นจำนวนเต็มบวก ถ้าคะแนนเฉลี่ยเลขคณิตของผลทดสอบเท่ากับ 2.8 แล้ว


จำนวนนักเรียนห้องนี้เท่ากับเท่าใด

42) ให้ ℝ เป็นเซตของจำนวนจริงให้ f : ℝ → ℝ เป็นฟังก์ชัน 44) กล่องใบหนึ่งมีลูกบอลสีแดง ลูกบอลสีเขียวและลูกบอลสีเหลือง โดยมีจำนวนลูก


ax 2 + bx + 4 ; x  0 บอลสีแดงคิดเป็นร้อยละ 30 และมีจำนวนลูกบอลสีเขียวคิดเป็นร้อยละ 20 ถ้าเพิ่ม
โดยที่ f(x) =  เมื่อ a, b และ c เป็นจำนวนจริง
 4x + c ;x  0 จำนวนลูกบอลสีเหลืองอีก 20 ลูก ใส่ลงในกล่องใบนี้ พบว่าจำนวนลูกบอลสีเหลือง
ถ้า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริงและสอดคล้องกับ f’(3) + f(3) คิดเป็นร้อยละ 60 จงหาว่าในกล่องใบนี้มีจำนวนลูกบอลสีแดงทั้งหมดกี่ลูก
1
9
และ  f(x)dx = แล้วค่าของ f(a) + f(b) + f(c) เท่ากับเท่าใด
0
2

Page 12
ปี 2562
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 a 2 −1
 
45) กำหนดให้ B =  3 b 2  เมื่อ a, b และ c เป็นจำนวนจริง และ
 −1 3 c 
 
 1 0 0
3 
 1 
C = 0 − 0 ถ้า A เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ 3 x 3 โดยที่ AB = C และ
 2 
 0 0 1
 
 
 4a + 1  1 
   
A  5b + 2  =  −2  แล้ว ค่าของ a + b + c เท่ากับเท่าใด
 4c + 3   3 
   

Page 13
ปี 2562
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
เฉลย PAT 1 ปี 2562
1) 3 2) 1 3) 5 4) 5 5) 4 6) 4 7) 1 8) 2 9) 1
10) 3 11) 5 12) 2 13) 3 14) 3 15) 4 16) 5 17) 3 18) 5
19) 2 20) 4 21) 4 22) 2 23) 4 24) 3 25) 2 26) 1 27) 1
28) 4 29) 3 30) 2 31) 34 32) 5460 33) 59 34) 20 35) 24 36) 4.5
37) 9 38) 2 39) 12 40) 84 41) 60 42) 76 43) 2498 44) 24 45) 23

Page 14
วิชาคณิตศาสตร์
วิชาPAT 1 63
ปี 2563
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
1) กำหนดให้ P และ Q เป็นประพจน์ที่ (~ P) ∧ (P → Q) มีค่าความจริงเป็นจริง 3) ให้ A, B และ C เป็นเซตใด ๆ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ (ก) ถ้า B ∩ C = ∅ และ A ⊂ (B ∪ C) แล้ว (A ∪ B) ∩ C = A ∩ B
(ก) (~ P → Q) → (P →~ Q) มีคา่ ความจริงเป็นเท็จ (ข) A ∪ (B ∩ C) ⊂ (A ∪ C) ∩ B
(ข) P ↔ (Q ∧ ~ Q) มีค่าความจริงเป็นจริง (ค) ถ้าเซต A มีสมาชิก 9 ตัว เซต B มีสมาชิก 7 ตัว
(ค) (P ∧ Q) → Q มีคา่ ความจริงเป็นจริง และเพาเวอร์เซตของเซต A - B มีสมาชิก 32 ตัว
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน) แล้วเพาเวอร์เซตของเซต B - A มีสมาชิก 16 ตัว
1. ข้อ (ก) และข้อ (ข) ถูก แต่ข้อ (ค) ผิด ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
2. ข้อ (ก) และข้อ (ค) ถูก แต่ข้อ (ข) ผิด 1. ข้อ (ก) และข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด
3. ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 2. ข้อ (ก) และข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูกทั้งสามข้อ 3. ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ผิดทั้งสามข้อ 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก ทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และขอ้ (ค) ผิด ทั้งสามข้อ

2) ให้  แทนเซตของจํานวนจริง กําหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คอื 4) ให้ A = {-3, -2, -1, 0, 1, 2, 3} และ r = {(x, y) ∈ A × A | y = | x | - 2}


 1  ให้ Dr และ Rr เป็นโดเมนและเรนจ์ของ r ตามลําดับ
x ∈  − < x < 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
 2 
 1  (ก) r-1 เป็นฟังก์ชัน
(ก) ∃x  > 2  มีค่าความจริงเป็นเท็จ (ข) จำนวนสมาชิกของเซต r ∩ r-1 เท่ากับ 3
 x + 1  (ค) Dr ∩ Rr = Dr
1
(ข) ∀x  x <  มีค่าความจริงเป็นจริง ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
 2  1. ข้อ (ก) ถูก เพียงข้อเดียว
(ค) ∀x  x 2 − x ≤ 0  มีค่าความจริงเป็นเท็จ 2. ข้อ (ข) ถูก เพียงข้อเดียว
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน) 3. ข้อ (ค) ถูก เพียงข้อเดียว
1. ข้อ (ก) และข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก ทั้งสามข้อ
2. ข้อ (ก) และข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด 5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ผิด ทั้งสามข้อ
3. ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก ทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ผิด ทั้งสามข้อ

Page 2
ปี 2563
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
5) ให้ n(S) แทนจำนวนสมาชิกของเซต S ถ้า A, B และ C เป็นเซต 3π 1
7) ค่าของ tan  + 2 arctan  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
โดยที่ n(A)+n(B)+n(C)=199, n(A ∪ B ∪ C)=100, n((A ∪ B)-C)=35  4 2
และ n(C-(A ∪ B))=9 แล้ว n(A ∩ B) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. -1
(Pat1ก.พ. 63 6 คะแนน) 1
1. 42 2. -
7
2. 43 1
3.
3. 44 7
4. 45 4. 1
5. 46 5. 2

π 5
6) กําหนดให้ 0° < A < 90° 8) กําหนดให้ − < x < 0 และ cos x + sin x =
2 5
ถ้า a เป็นจํานวนจริง ที่สอดคล้องกับสมการ ค่าของ tan x − cot x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
a sin ( −A ) tan ( 270 + A ) 3
− 3 sec 300
= 1. -
sin ( 180 + A ) tan ( 90 − A ) 2
1
แล้ว a มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน) 2. -
2
1. -7
3. 0
2. -5
1
3. 3 4.
2
4. 5
3
5. 7 5.
2

Page 3
ปี 2563
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
9) พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 1 3 7 15
2
11) กําหนดอนุกรม + + + + ... ถ้า Sn เป็นผลบวก n พจน์แรกของอนุกรม
(ก) ( 0.6 ) > 1

3
2 4 8 16
Sn
(ข) ถ้า (0.2)x > (0.2)y แล้ว x < y แล้ว lim เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
x →∞ S
(ค) log5 0.1 > log0.2 0.1 2n

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (Pat1 ก.พ. 63 6ตะแนน) 1. 0


1. ข้อ (ก) และข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 1
2.
2. ข้อ (ก) และข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด 8
3. ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 1
3.
4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ถูก ทั้งสามข้อ 4
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และข้อ (ค) ผิด ทั้งสามข้อ 1
4.
2
5. 1

12) กําหนดให้  แทนเซตของจํานวนจริง


10) กําหนดฟังก์ชันจุดประสงค์ P = 4x + y และอสมการข้อจํากัดดังนี้
ให้ f :  →  และ g :  →  เป็นฟังก์ชันโดยที่
x + ay ≤ 3 เมื่อ a เป็นจํานวนจริงบวก
(ก) f(-x) = - f(x) สําหรับทุกจํานวนจริง x
3x + y ≤ 9
(ข) g(-x) = g(x) สําหรับทุกจํานวนจริง x
และ x ≥ 0, y ≥ 0
(ค) f(x) - g(x) = x2 - 2x สําหรับทุกจํานวนจริง x
ค่าสูงสุดของ P เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
ถ้า a เป็นจํานวนจริงที่ทําให้ f(10 + a) – f(10 – a) = g(10)
1. 9
แล้ว f (g(a)) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
2. 10
1. 1250
3. 11
2. 800
4. 12
3. 0
5. มากกว่า 12
4. -800
5. -1250

Page 4
ปี 2563
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
13) ข้อมูลชุดหนึ่งมี 6 จํานวน จัดเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก ดั้งนี้ 15) จากการสํารวจจํานวนสมาชิกในครัวเรือนของ 30 ครัวเรือนมีตารางแสดงความถี่
a, 5, 7, b, 11, c เมื่อ a, b และ c เป็นจํานวนจริงบวก สะสมสัมพัทธ์ดังนี้
ข้อมูลชุดนี้มีพิสัยเท่ากับค่าเฉลี่ยเลขคณิต ซึ่งเท่ากับ 8 และเดไซล์ที่ 7 ของข้อมูล
เท่ากับ 10.8
ค่าของ a2 + b2 + c2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
1. 234
2. 237
3. 241
4. 269
5. 283
จากข้อมูล ข้างต้นข้อใดต่อไปนี้ผิด (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
1. มัธยฐานของจํานวนสมาชิกในครัวเรือน เท่ากับ 3 คน
2. ฐานนิยมของจํานวนสมาชิกในครัวเรือน เท่ากับ 3 คน
3. มี 24 ครัวเรือนที่มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือน น้อยกว่า 4 คน
4. มี 9 ครัวเรือนที่มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือน อย่างน้อย 4 คน
5. มี 9 ครัวเรือนที่มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือน อย่างมาก 2 คน

1− x
16) กําหนดให้ f ( x ) = เมื่อ x เป็นจํานวนจริงที่ x ≠ -2
14) ให้ A แทนเซตคําตอบของสมการ 9x + 6x - 22x+1 = 0 x+2
และให้ B = {2x | x ∈ A} ถ้า a เป็นจํานวนจริงที่สอดคล้องกับ f(a + f-1(2)) = 1 แล้ว 2a + 1 เท่ากับข้อใด
ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน) ต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
1. 0.25 1. -2
2. 1 2. -1
3. 1.25 3. 0
4. 2 4. 1
5. 2.25 5. 2

Page 5
ปี 2563
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
17) ให้ a และ b เป็นจำนวนจริงที่ไม่เท่ากับศูนย์ 19) ถ้า a และ b เป็นจำนวนจริง ที่สอดคล้องกับ
และให้ f(x) = ax2 + bx + 1 สําหรับทุกจํานวนจริง x และ f(-1) = 0 2 a − log2 b 1 3 + log b log2 b
2
= =และ a 2
2 log2 b − 4 2 2 +4 2a
ถ้าเรนจ์ของ f เท่ากับ [0, ∞) แล้วค่าของ ∫ f ( x ) dx เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
−1 แล้วค่าของ a2 + b2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
(Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน) 1. 25
1. 5 2. 36
2. 7 3. 41
3. 8 4. 58
4. 9 5. 68
5. 11

18) ให้พาราโบลารูปหนึ่งมีจุดยอดอยู่บนเส้นตรงซึ่งมีสมการ 2y = 3x และ มี y = 3 20) ให้ L เป็นเส้นตรงซึ่งทุกจุดบนเส้นตรง L อยู่ห่างจากจุด (-1, -1) และจุด (7, 5)
เป็นแกนสมมาตร ถ้าพาราโบลาผ่านจุด (3,5) แล้ว สมการของพาราโบลารูปนี้ตรง เป็นระยะทางเท่ากันระยะห่าง ระหว่างเส้นตรง L กับจุด (2, 0) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
กับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน) (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
1. y2 - 4x - 6y + 17 = 0 1. 2.0 หน่วย
2. y2 - 4x + 6y - 43 = 0 2. 1.8 หน่วย
3. y2 + 4x - 6y - 7 = 0 3. 1.5 หน่วย
4.y2 + 6x - 4y - 23 = 0 4. 1.4 หน่วย
5.y2 - 6x + 4y - 27 = 0 5. 0.4 หน่วย

Page 6
ปี 2563
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
       
21) กําหนดให้ u = 2i − j + 2k และ v =i + 2j − 2k 1
  23) ถ้า A เป็นเซตคําตอบของอสมการ x + ≥0
เวกเตอร์ในข้อใดต่อไปนี้ไม่ตั้งฉากกับเวกเตอร์ u × v (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน) x
  และ B เป็นเซตคําตอบของอสมการ 2x2 - 3x > 7x - 12
1. 3i + j
   แล้ว A - B เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
2. i − 3j + 4k
   1. (-∞, 0)
3. 4i + 3j − 2k 2. (-2, 2)
  
4. i + j − k 3. (0, 5)
 
5. −5j + 6k 4. (3, 8)
5. (6, ∞)

     
22) กําหนดให้ a,b และ c เป็นเวกเตอร์สามมิติ โดยที่ a + b + c =0 24) ถ้า A เป็นเซตคําตอบของ 3 − 2x − x 2 = x 2 + 2x − 3
   
ถ้า a = i + 2j และขนาดของเวกเตอร์ b และ c เท่ากับ 2 และ 3 หน่วยตามลำดับ
      และ B เป็นเซตคําตอบของ x 2 + x ≤ 12
แล้ว a ⋅ b + b ⋅ c + c ⋅ a เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
แล้วเซต A ∩ B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
(Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
1. {-3, 1}
1. -18
2 .[-3, 1]
2. -9
3. [-4, 3]
3. 8
4. [-4, -3] ∪ [1, 3]
4. 9
5. [-4, 1] ∪ {2, 3}
5. 18

Page 7
ปี 2563
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
25) ให้ Ζ แทนสังยุค (Conjugate) ของจํานวนเซิงซ้อน Ζ และ i2 = -1 27) มีเลขโดด 5 ตัวคือ 1, 2, 3, 4 และ 5 นําเลขโดดเหล่านี้มา 3 ตัวไม่ซ้ำกันและใช้เลข
ถ้า Ζ − ( 1 + i ) เป็นจํานวนจินตภาพแท้และ Ζ − 2 ( 1 + i ) เป็นจํานวนจริง
2 2 โดดทั้ง 3 ตัวนี้ เพือ่ สร้างจํานวนนับสี่หลัก จะมีจำนวนนับสี่หลักที่ต้องการทั้งหมดกี่
จํานวน (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
แล้ว Ζ ⋅ Ζ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
1. 90
1. 2
2. 120
2. 3
3. 360
3. 4
4. 600
4. 5
5. 810
5. 6

26) บริษัทแห่งหนึ่งมีพนักงาน 20 คน เป็นผูช้ าย 10 คน ฝ่ายบริหารมีผู้ชาย 3 คน ฝ่าย 28) ค่าของ lim


( )
x − 1 ( 3x − 2 )
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
ผลิต มี 8 คน และฝ่ายขายมี 7 คน โดยที่ฝ่ายผลิตและฝ่ายขายมีจำนวนผู้หญิง x →1 3x − x − 2
2

เท่ากัน ถ้าสุ่มพนักงานมา 4 คน ความน่าจะเป็นที่จะได้พนักงานฝ่ายผลิตผู้ชาย 1


1. −
จํานวน 3 คน และพนักงานฝ่ายขายผู้หญิง 1 คน เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 10
( Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน) 2. 0
4 1
1. 3.
5 10
8 1
2. 4.
969 5
8 5. 1
3.
4845
16
4.
969
16
5.
4845

Page 8
ปี 2563
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
29) ให้ a , b , c และ d เป็นจํานวนจริงโดยที่ 3
31) กำหนดให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,an ,... เป็นลำดับเรขาคณิตโดยมี ∑n∞=1 an =
1 1 1 1 2
= = =
a + 50 b − 51 c + 52 d − 53 และ b 1 ,b 2 ,b 3, ...,b n ,... เป็นลำดับเรขาคณิตโดยมี ∑n∞=1 b n =
5
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน) an
1. c < a < b < d ถ้า a1 = 1 และ b 1 = 7 แล้ว ∑n∞=1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
bn
2. c < d < a < b (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
3. b < d < c < a 3
4. d < b < a < c 1.
70
5. d < c < a < b
7
2.
70
2
3.
77
5
4.
77
6
5.
77

 3 a b
 
32) ให้ A =  0 a 1 เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริง
30) ห้องเรียนห้องหนึ่งมีนักเรียน 40 คนผลการสำรวจนํ้าหนักของนักเรียนห้องนี้ พบว่า
 −1 1 0 
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของน้ำหนักของนักเรียนห้องนี้เท่ากับ 50 กิโลกรัม  
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5 กิโลกรัม ถ้าห้องเรียนนี้ มีนักเรียนชาย 22 คน โดยที่ ถ้า C21(A) = 2 และ detA = -2 แล้ว a + b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
มีค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของน้ำหนักของนักเรียนชายเท่ากับ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
50 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ตามลำดับแล้วน้ำหนักของนักเรียนหญิงมีสัมประสิทธิ์ 1. -3
ของการแปรผันเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน) 5
2.
1. 0.10 3
2. 0.12 3. 2
3. 0.14 7
4.
4. 0.15 3
5. 0.16 5. 3

Page 9
ปี 2563
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 x ; x<1 35) โรงงานผลิตสินค้าแห่งหนึ่งได้สำรวจยอดขายสินค้าและจํานวนสินค้าที่ผลิตในแต่
33) กําหนดให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริง โดยที่ f ′ ( x ) =  ละเดือนของปีหนึ่ง มีข้อมูล ดังนี้
x-1 ; x>1
ถ้า f(0) = 0 แล้ว f(2) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
1. 1
2. 1.5
3. 2
4. 2.5
5. 3
จากการสํารวจพบว่า
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของจํานวนสินค้าที่ผลิต เท่ากับ 6,000 ชิ้น
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของยอดขายสินค้า เท่ากับ 380,000 บาท
ยอดขายสินค้าและจํานวนสินค้าที่ผลิตมีความสัมพันธ์เซิงฟังก์ชันแบบเส้นตรง
และถ้าจำนวนสินค้าผลิตเพิ่มขึ้น 1,000 ขึ้นแล้วยอดขายสินค้าโดยประมาณเพิ่มขึน้
60,000 บาท ถ้าจํานวนสินต้าผลิต 10,000 ชิ้นแล้วยอดขายสินค้าโดย ประมาณ
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
1. 600,000 บาท
2. 620,000 บาท
3. 660,000 บาท
4. 720,000 บาท
5. 760,000 บาท

 x
 x- x 2 ; x<0
 2
 ax + (b- a) x- b
34) ให้ f เป็นฟังก์ชัน=นิยามโดย f ( x )  ; 0£≤ x < 1
 x- 1
 (x+ b)2 ;x ≥1

เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริง
ถ้าฟังก์ชัน f ต่อเนื่องบนเซตของจำนวนจริง และ f(a + b) เท่ากับข้อใดต่อนี้
(Pat1 ก.พ. 63 6 คะแนน)
1. 25
2. 16
3. 9
4. 4
1
5.
6

Page 10
ปี 2563
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
36) ให้ A เป็นเซตคําตอบทั้งหมดของ 38) กําหนดให้ x, y, z และ k เป็นจํานวนจริงที่สอดคล้องกับ
( ) ( ) 2x = 1 + k , 2y = 2x + 2 และ 2z = 2y + 4
log2 x
+ ( 2x )
log x
สมการ log2 2 x
− 4log 8 =2
ถ้า x, y, z เป็นลําดับเลขคณิต แล้ว x + y + z เท่ากับเท่าใด
แล้วผลคูณของสมาชิกทั้งหมดในเซต A เท่ากับเท่าใด (Pat1 ก.พ. 63 9 คะแนน) (Pat1 ก.พ.63 9 คะแนน)

5 39) ให้ f(x) = 5-x2 สําหรับทุกจํานวนจริง x และให้ Rf เป็นเรนจ์ของ f


37) ให้ sec A = − และ sin A > 0 เมื่อ 0 < A < 2π
3
 f(x + 1) ; x ∈ R f
5 sin A + cot A ถ้า g(x) = 
ค่าของ เท่ากับเท่าใด (Pat1 ก.พ. 63 9 คะแนน)  1 ; x ∉ Rf
1 + cot A cosec A
ค่าของ (f ∘ g)(6) - (g ∘ f)(3) เท่ากับเท่าใด (Pat1 ก.พ. 63 9 คะแนน)

Page 11
ปี 2563
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
40) กําหนดให้ a1, a2, a3, ..., an, ... เป็นลําดับเลขคณิตของจํานวนจริง 42) กําหนดให้ F1 และ F2 เป็นโฟกัสของไฮเพอร์โบลารูปหนึ่ง
โดยที่ a1 + a3 = 7 และ a2 + a4 + a6 + a8 = 74 ซึ่งมีสมการเป็น 5x2 - 4y2 - 10x - 16y = 31
ค่าของ a1 + a2 + a3 + ... + a50 เท่ากับเท่าใด (Pat1 ก.พ. 63 9 คะแนน) ถ้า a, b และ c เป็นจํานวนจริงที่ทําให้วงกลม x2 + y2 + ax + by + c = 0
2 2 2
มี FF
1 2 เป็นเส้นผ่านศูนย์กลาง แล้วค่าของ a + b + c เท่ากับเท่าใด

(Pat1 ก.พ. 63 9 คะแนน)

41) ให้ c เป็นจํานวนจริงและให้ f(x) = -x3 - 12x2 - 45x + c สําหรับทุกจํานวนจริง x 43) กําหนดให้ A เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ 3 × 3 โดยที่ det(A) = - 7
ถ้าค่าสูงสุดสัมพัทธ์ของ f เท่ากับ 53 แล้ว ค่าของ f(c) เท่ากับเท่าใด  −4 −1 x 
(Pat1 ก.พ. 63 9 คะแนน)  
และเมทริกซ์ผูกพันของ A คือ adj ( A ) =
 −2 x −2  เมื่อ x
 1 −5 1 
 
เป็นจำนวนจริงบวก ค่าของ det(x adj(A)) เท่ากับเท่าใด (Pat1 ก.พ. 63 9 คะแนน)

Page 12
ปี 2563
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
44) กําหนดให้ N = {1, 2, 3, ...}
f(1, m) = 1 สําหรับ m ∈ N
f(n,m) = 0 สําหรับ n, m ∈ N โดยที่ n>m
f(n, m + 1) = f(n - 1, m) + f(n, m) + f(n + 1, m) สําหรับ n,
m ∈ N และ n ≥ 2
ค่าของ f(2,4) เท่ากับเท่าใด (Pat1 ก.พ. 63 9 คะแนน)

45) กําหนดตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง z ดังตาราง

คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง มีการแจกแจงปกติ
และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 20 คะแนน นาย ก. และนาย ข. เป็นนักเรียน
ในห้องนี้ นาย ก. สอบได้คะแนนเป็นสองเท่าของคะแนนสอบของนาย ข. และ
คะแนนสอบของนาย ก. คิดเป็นคะแนน มาตรฐานเท่ากับ 1.3 ถ้ามีนักเรียนร้อยละ
24.2 ที่สอบได้คะแนนน้อยกว่า
คะแนนสอบของนาย ข. แล้ว ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบครั้งนี้ เท่ากับเท่าใด
(Pat1 ก.พ. 63 9 คะแนน)

Page 13
ปี 2563
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์

1) 3 2) 2 3) 5 4) 2 5) 2 6) 4 7) 3 8) 5 9) 1 10) 4
11) 4 12) 1 13) 3 14) 2 15) 3 16) 5 17) 4 18) 1 19) 5 20) 1
21) 4 22) 2 23) 3 24) 4 25) 4 26) 5 27) 3 28) 3 29) 1 30) 2
31) 5 32) 5 33) 1 34) 1 35) 2 36) 0.5 37) 52 38) 6 39) 8 40) 6050
41) 33 42) 36 43) 1323 44) 4 45) 54

Page 14
ข้อสอบ PAT 1
ปี 2564
ปี 2564
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
1. พื้นของห้องเก็บสินค้าของโรงงานแห่งหนึ่ง เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าทีม่ ีเส้นทแยงมุม 3. กำหนดให้ a และ b เป็นจำนวนจริงบวก โดยที่ a  1 และ b  1
ยาวกว่าด้านยาว 2 เมตร และด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 14 เมตร ถ้าผู้จัดการ 1
x

โรงงานต้องการปรับปรุงพื้นของห้องนี้ โดยช่างคิดค่าแรงตารางเมตรละ 120 บาท ถ้า f(x) =   และ g(x) = b x เป็นฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล


a
ผู้จัดการโรงงานต้องจ่ายเงินค่าแรงในการปรับปรุงพื้นของห้องเก็บสินค้านี้เป็นเงินกี่ ที่มีลักษณะกราฟดังรูป
บาท
1. 14,400 2. 17,280
3. 28,800 4. 31,200
5. 37,440

เงื่อนไขในข้อใดที่ทำให้กราฟของ f และ g สอดคล้องกับรูปข้างต้น


1. 0  a  1 และ 0  ab  1 2. 0  a  1 และ ab  1
a
3. 0  a  1 และ  1 4. a  1 และ ab  1
b
5. a  1 และ 0  ab  1

4. โรคโควิด-19 เป็นโรคระบาดที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ซึ่ง


สามารถแพร่เชื้อจากคนสู่คนและก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ ข้อมูลการ
ระบาดของโรคโควิด-19 ของประเทศที่อยู่ในทวีปยุโรปจำนวน 9 ประเทศในช่วง 90
วันแรก หลังจากพบผู้ติดเชื้อรายแรกประเภทนั้น แสดงดังตารางต่อไปนี้

2. กำหนดให้ n เป็นจำนวนเต็มบวก เซตของจำนวนจริงบวก x ทั้งหมดที่ทำให้ จำนวน จำนวน อัตราส่วนของจำนวนผู้ติด


(x + 3)2 + (x + 3)4 + (x + 3)6 + … + (x + 3)2n + … ประเทศ ประชากร ผู้ติดเชื้อสะสม เชื้อสะสมต่อจำนวน
เป็นอนุกรมลู่เข้าคือข้อใด (ล้านคน) (คน) ประชากรล้านคน
1. ( −4, −2 ) 2. ( −, −2 ) 3.  −2,1) ฟินแลนด์ 5.54 4,695 847.36
4. ( −1,1) 5. ( 2, 4 ) ฝรั่งเศส 65.27 119,151 1,825.41
เยอรมนี 83.78 154,175 1,840.15
อิตาลี 60.46 201,505 3,332.76
นอร์เวย์ 5.42 8,352 1,540.61
โปแลนด์ 37.85 24,395 644.58
โปรตุเกส 10.20 31,596 3,098.65
สเปน 46.75 215,183 4,602.37
สวีเดน 10.10 20,302 2,010.24

จากข้อมูลในตาราง ข้อใดถูกต้อง
1. ประเทศที่มีจำนวนประชากรน้อยทีส่ ุด มีผู้ติดเชื้อสะสมน้อยสุด
2. ประเทศที่มีจำนวนประชากรมากที่สุด มีผู้ติดเชื้อสะสมมากที่สุด
3. ประเทศทีม่ ีจำนวนผู้ติดเชื้อสะสมน้อยที่สุด มีอัตราส่วนของจำนวนผู้ติดเชื้อ
สะสมต่อจำนวนประชากรล้านคน น้อยที่สุด
4. ประเทศที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อสะสมมากที่สุดมีอัตราส่วนของจำนวนผู้ติดเชื้อสะสม
ต่อประชากรล้านคน มากที่สุด
5. ประเทศที่มีอัตราส่วนของจำนวนผู้ตดิ เชื้อสะสมต่อประชากรจำนวนล้านคนน้อย
ที่สุดมีจำนวนประชากรน้อยที่สุด

Page 2
ปี 2564
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
5. เอกต้องการฝากเงิน 200 บาทเข้าบัญชีธนาคารทุกวันที่ 1 ของเดือน ติดต่อกันเป็น 7. ในการจัดการแข่งขันวิ่งการกุศลประกอบด้วยวิ่ง 3 ประเภท ตามระยะทาง คือ
เวลา 6 เดือน โดยธนาคารให้อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 6 ต่อปี และคิดดอกเบี้ยทบต้น มินิมาธอน (10.5 กิโลเมตร) ฮาล์ฟมาราธอน (21 กิโลเมตร)
ทุกเดือน และมาราธอน (42 กิโลเมตร) โดยมีค่าสมัคร ดังนี้
ถ้าเอกเปิดบัญชีเงินฝากและเริ่มฝากเงินครั้งแรกวันที่ 1 เมษายน 2563 แล้วในวันที่ มินิมาราธอน ค่าสมัครคนละ 400 บาท
31 มีนาคม 2564 เอกจะมีเงินในบัญชีธนาคารรวมทั้งหมดกี่บาท โดยไม่มีการถอน ฮาล์ฟมาราธอน ค่าสมัครคนละ 600 บาท
เงินในระหว่างนี้ มาราธอน ค่าสมัครคนละ 800 บาท

1.
(
200 ( 1.005 ) − ( 1.005 )
13 7
) 2.
(
200 ( 1.005 ) − 1.005
13
) ถ้ามีผู้เข้าร่วมแข่งขันทั้งหมด 1,500 คน โดยแต่ละคนสามารถสมัครได้เพียงประเภท
เดียวเท่านั้น รายได้จากค่าสมัครประเภทฮาล์ฟมาราธอน เท่ากับสองเท่าของรายได้
1.005 − 1 1.005 − 1
จากค่าสมัครมินิมาราธอน และผู้จัดงานได้รายได้จากค่าสมัครทั้งหมด 800,000
3.
(
200 ( 1.005 ) − 1.005
7
) 4.
(
200 ( 1.06 ) − ( 1.06 )
13 7
) บาท
1.005 − 1 1.06 − 1 ข้อใดเป็นเมทริกซ์แต่งเติมที่ใช้ในการหาจำนวนผู้สมัครแต่ละประเภท

5.
(
200 ( 1.06 ) − 1.06
13
)  1

1 1 1, 500 

 1

1 1 1, 500 

1.06 − 1 1.  800 600 0 0  2.  400 0 −1,600 0 
 400 600 800 800,000   400 600 800 800,000 
  

 1 1 1 1, 500   1 1 1 1, 500 
   
3.  800 −600 0 0  4.  400 −1,200 0 0 
 800 600 400 800,000   400 600 800 800,000 
  

 1 1 1 1, 500 
 
5.  800 −600 0 0 
 400 600 800 800,000 
 

6. ร้านค้าแห่งหนึ่งมีพนักงานในแผนกขายและแผนกบัญชี รวม 12 คน โดยร้านค้า


จ่ายเงินโบนัสให้ทั้งสองแผนกเท่ากัน แผนกละ 35,000 บาท และในแต่ละแผนก
พนักงานแต่ละคนได้เงินโบนัสเดือนละเท่าๆ กันถ้าพนักงานแผนกขายได้เงินโบนัส
มากกว่าพนักงานแผนกบัญชีคนละ 2,000 บาท
แล้วพนักงานของแผนกขายมีจำนวนน้อยกว่าพนักงานของแผนกบัญชีกี่คน
1. 2 2. 4
3. 6 4. 8
5. 10

Page 3
ปี 2564
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
8. ชมรมหมากรุกในโรงเรียนแห่งหนึ่งมีสมาชิกจำนวน 9 คนที่มีความสูง น้ำหนัก และ 10. เทศบาลแห่งหนึ่งออกแบบสะพานข้ามแม่น้ำให้มีราวเหล็กโค้งเป็นรูปพาราโบลา
อายุ ดังตารางต่อไปนี้ เชื่อมต่อระหว่างเสาของสะพานสองต้น ดังรูป
นักเรียน ความสูง น้ำหนัก อายุ เสาของสะพาน เสาของสะพาน
(เซนติเมตร) (กิโลกรัม) (ปี)
A 182 65 17
B 180 70 16 12 เมตร 12 เมตร
6 เมตร 6 เมตร
C 175 64 16
D 171 69 15 50 เมตร

E 167 58 16 200 เมตร


F 163 54 17
G 160 50 17 ระยะห่างที่น้อยที่สุดของราวเหล็กกับพื้นของสะพานเท่ากับกี่เมตร
H 158 46 16 1. 1.5 2. 2 3. 2.4 4. 3 5. 4
I 155 48 15
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก) นักเรียนคนที่มีความสูงเท่ากับมัธยฐานของความสูง
มีน้ำหนักเท่ากับมัธยฐานของน้ำหนัก
ข) นักเรียนคนที่มีความสูงน้อยกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 20 ของความสูง
มีน้ำหนักมากกว่าน้ำหนักของนักเรียนคนที่มีความสูงเท่ากับ
เปอร์เซ็นไทล์ที่ 20 ของความสูง
ค) นักเรียนทุกคนที่มีน้ำหนักมากกว่าควอไทล์ที่ 3 ของน้ำหนัก
มีอายุมากกว่า 15 ปี
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านั้น
2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านั้น
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านั้น
4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านั้น
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
11. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
9. กำหนดพาราโบลามีโฟกัสอยู่ที่ (8,1) และ x = 10 เป็นเส้นไดเรกตริกซ์
ก) นิเสธของข้อความ “สำหรับจำนวนจริง x ทุกจำนวน ถ้า x เขียนได้ในรูป
ให้ P1 และ P2 เป็นจุดตัดของพาราโบลากับแกน Y
ทศนิยมไม่ซ้ำ แล้ว x เป็นจำนวนอตรรกยะ” คือ “มีจำนวนจริง x ที่ x
ถ้า E เป็นวงรีที่ผ่านจุด (8,1) และมีโฟกัสอยู่ที่ P1 และ P2 แล้วความยาวของแกน
เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซ้ำ และ x เป็นจำนวนอตรรกยะ”
เอกของวงรี E เท่ากับเท่าใด
ข) กำหนดให้ p , q และ r เป็นประพจน์
1. 10 2. 12
3. 16 4. 20 ( q → r )  ( r → q ) → ( p  q ) เป็นสัจนิรันดร์
5. 22 ค) กำหนดเอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจำนวนจริง
x  x 2  x  → x  x 2  x  มีค่าความจริง
   
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านั้น
2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านั้น
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านั้น
4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านั้น
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง

Page 4
ปี 2564
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
12. กำหนดให้ ℝ แทนเซตของจำนวนจริง 15) ร้านเบเกอรีแห่งหนึ่งขายคุกกี้บรรจุเป็นกล่องขนาดเดียวกัน พบว่า กำไรต่อกล่อง
𝑝 แทนประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง เป็นฟังก์ชันพหุนามกำลังสองของจำนวนกล่องที่ขายได้ต่อวัน โดยที่
และ 𝑞 แทนประพจน์ “ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเรนจ์ของ •ในวันที่ร้านขายคุกกี้ได้ 20 กล่อง ร้านจะได้กำไร 20 บาทต่อกล่อง
ความสัมพันธ์ •ในวันที่ร้านขายคุกกี้ได้ 10 กล่อง ร้านจะมีรายได้จากการขายคุกกี้เท่ากับ
{ (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑥2 + (𝑦2 − 9)2 = 0 } เท่ากับ 3 ” ต้นทุน
ประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็นเท็จ •ในวันทีร่ ้านขายคุกกี้ไม่ได้เลย ร้านจะขาดทุน 40 บาทต่อกล่อง
1. (𝑝  𝑞) ∨ ~(𝑝 ∧ 𝑞) ร้านเบเกอรีจะขายคุกกี้ได้วันละกี่กล่อง จึงจะมีกำไรต่อกล่องมากที่สุด
2. (𝑞  ~𝑝) ∧ (𝑞 → 𝑝) 1. 15 2. 20
3. (𝑝 → 𝑞)  (𝑞 ∨ 𝑞) 3. 25 4. 30
4. (𝑝 → 𝑞) → (𝑞 → ~𝑝) 5. 35
5. (𝑞 → ~𝑝) → (𝑝 → 𝑞)

13) บัตรสีแดงจำนวน 5 ใบ ได้แก่ บัตรหมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5


และบัตรสีน้ำเงินจำนวน 7 ใบ ได้แก่ บัตรหมายเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7
เอมสุ่มเลือกบัตรสองใบจากบัตรสีแดงหนึ่งใบและบัตรสีน้ำเงินหนึ่งใบ เพื่อนำมา 1 x
16) กำหนดให้ f(x) = cos   และ g(x) = 2 sin(2x) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
สร้างเป็นจำนวนที่มีสองหลัก ความน่าจะเป็นที่เอมจะได้จำนวนที่มีสองหลักเป็น 2  2 
จำนวนคู่เท่ากับเท่าใด g
ก) ฟังก์ชัน เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง [0 , 2]
3 29 f
1. 2.
7 70 ข) แอมพลิจูดของฟังก์ชัน g เป็น 4 เท่าของแอมพลิจูดของฟังก์ชัน f
2 6 ค) คาบของฟังก์ชัน f เป็น 2 เท่าของคาบของฟังก์ชัน g
3. 4.
5 35 จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
3 1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านั้น
5.
70 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านั้น
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านั้น
4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านั้น
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง

14) กำหนดรูปสิบเหลี่ยมด้านเท่าแนบในวงกลม ถ้าสร้างส่วนของเส้นตรงเชื่อมระหว่าง


จุดยอด 2 จุดใดๆ ของ รูปสิบเหลี่ยมนี้ แล้วจำนวนของส่วนของเส้นตรงที่ไม่เป็น
ด้านของรูปสิบเหลี่ยมและไม่ผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลม มีทั้งหมดกี่เส้น
1. 30 2. 35
3. 40 4. 75
5. 80

Page 5
ปี 2564
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
17) เครื่องเล่นชิ้นหนึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก 2 ส่วน คือ กระดานลื่น และตาข่าย 19) ร้านแห่งหนึ่งขายไอศกรีมแท่ง 2 รส คือ รสกะทิและรสส้ม โดยกำไรจากการขาย
สำหรับปีนป่าย โดยกระดานลื่น ( AB ) ยาว 1.5 เมตร และทำมุม 15 องศา ไอศกรีมรสส้มแต่ละแท่งมากกว่ากำไรจากการขายไอศกรีมรสกะทิแต่ละแท่งอยู่
1 บาท ถ้าในวันที่ 14 มีนาคม 2564 ร้านนี้ขายไอศกรีมทั้งสองรสรวมกันได้
กับพื้นราบ ดังรูป
26 แท่ง และได้กำไรจากการขายไอศกรีมทั้งหมด 120 บาท โดยกำไรจากการขาย
ไอศกรีมรสส้มเป็น 2 เท่าของกำไรจากการขายไอศกรีมรสกะทิ แล้วในวันดังกล่าว
ร้านนี้ขายไอศกรีมรสกะทิได้จำนวนกี่แท่ง
1. 5 2. 8
3. 10 4. 13
5. 16
เมื่อขึงลวดจากจุด C ไปยังจุด A จะได้แนวของเส้นลวดทำมุม 45 องศากับด้าน CD
และขึงลวดจากจุด C ไปยังจุด B จะได้แนวของเส้นลวดทำมุม 15 องศากับด้าน CD
จุดสูงสุดของเครื่องเล่น (จุด C) อยู่สูงจากพื้นราบกี่เมตร
(กำหนดให้ จุด A จุด B จุด C และ จุด D อยู่ในระนาบเดียวกัน)
6 3 2
1. 4 2. 4
3 6 3 3
3. 4.
2 2
3 6
5.
4

20) สถาบันแห่งหนึ่งทำการศึกษาการขยายพันธุ์ของแบคทีเรีย 2 ชนิด คือ แบคทีเรีย


A และแบคทีเรีย B โดย
• ทำการตรวจนับจำนวนแบคทีเรีย A ทุกวัน เวลา 12.00 น. พบว่าจำนวน
แบคทีเรียจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ของจำนวนแบคทีเรียทีต่ รวจนับในครั้งก่อน
หน้า
• ทำการตรวจนับจำนวนแบคทีเรีย B ทุกๆ 2 วัน เวลา 12.00 น. พบว่า
จำนวนแบคทีเรียจะเพิ่มขึ้นเป็น 5 เท่าของจำนวนแบคทีเรียที่ตรวจนับในครั้ง
ก่อนหน้า
ถ้าเริ่มตรวจนับจำนวนแบคทีเรีย A ครั้งแรกในวันที่ 1 พฤษภาคม 2563 พบ
แบคทีเรีย A จำนวน 1,000 เซลล์ และ เริ่มตรวจนับจำนวนแบคทีเรีย B ครั้งแรกใน
18) วันที่ 1 มีนาคม 2564 อลินซื้อห้องในคอนโดมิเนียมแห่งหนึ่งราคา 600,000 บาท วันที่ 5 พฤษภาคม 2563 พบแบคทีเรีย B จำนวน 1,000 เซลล์ แล้วจำนวน
โดยจ่ายเงินดาวน์จำนวนหนึ่งและผ่อนชำระค่าห้องส่วนที่เหลือเป็นจำนวนเงินเดือน แบคทีเรีย B มากกว่าจำนวนแบคทีเรีย A ครั้งแรกที่มีการตรวจนับในวันใด
ละ 10,000 บาท เป็นเวลา 48 เดือน โดยผ่อนชำระทุกสิ้นเดือน ถ้าผู้ขายกำหนด (กำหนดให้ log 2 ≈ 0.3 )
อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 12 ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุกเดือน แล้วอลิน 1. วันที่ 9 พฤษภาคม 2563 2. วันที่ 29 พฤษภาคม 2563
จ่ายเงินดาวน์จำนวนกี่บาท 3. วันที่ 31 พฤษภาคม 2563 4. วันที่ 2 มิถุนายน 2563
10,000(1 − (1.01)−48 ) 5. วันที่ 6 มิถุนายน 2563
1.
1 − (1.01)−1
10,000((1.01)−1 − (1.01)−49 )
2.
1 − (1.01)−1
10,000(1 − (1.01)−48 )
3. 600,000 −
1 − (1.01)−1
10,000((1.01)−1 − (1.01)−49 )
4. 600,000 −
1 − (1.01)−1
10,000((1.12) −1 − (1.12) −49 )
5. 600,000 −
1 − (1.12)−1

Page 6
ปี 2564
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
21) กำหนดให้รูปสามเหลี่ยม ABC มีมุม B เป็นมุมฉาก และ BD ตั้งฉากกับ AC ดัง  
23) ถ้า z1 = cos   + i sin   เป็นรากที่สิบของจำนวนเชิงซ้อนจำนวนหนึ่ง
รูป 5 5
ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่รากที่สิบของจำนวนเชิงซ้อนจำนวนนี้
4 4  
1. cos   + i sin   2. cos   + i sin  
 5   5  2 2
3. cos (  ) + i sin (  ) 4. cos ( 0 ) + i sin ( 0 )
7 7
ถ้า AC มีความยาวเป็น n เท่าของความยาวของ BD เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก 5. cos   + i sin  
แล้ว n cos(A - C) เท่ากับเท่าใด  5   5 
1. 4 2. 2
3. 1 4. 0
5. -2

22) ตึกหนึ่งและตึกสองตั้งอยู่บนพื้นราบในแนวเส้นตรงเดียวกัน โดยตึกสองสูงกว่าตึก 24) กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงเปิด (0, 6) และกราฟของ f’ เป็นดังรูป


หนึ่ง และมีแนวรั้วกั้นระหว่างตึกทั้งสอง ซึ่งระยะห่างจากแนวรั้วถึงตึกสองเท่ากับ
12 เมตร ชาลียืนอยู่บนดาดฟ้าของตึกหนึ่ง (จุด P) มองเห็นยอดตึกสอง (จุด Q)
เป็นมุมเงย 45 องศา มองเห็นฐานตึกสอง (จุด R) เป็นมุมก้ม 30 องศา และ
มองเห็นฐานของแนวรั้ว (จุด S) เป็นมุมก้ม 60 องศา ดังรูป

ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. f มีจุดวิกฤตที่ x = 1
2. f มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ที่ x = 1 และ x = 4
ถ้าชาลีสูง 180 เซนติเมตร และจุด P จุด Q จุด R และจุด S อยู่ในระนาบเดียวกัน 3. f มีคา่ สูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์บนช่วง [2, 5]
แล้วตึกสองสูงกว่าตึกหนึ่งประมาณกี่เมตร 4. f เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง (1, 3)
1. 18 2. 19.8 5. f เป็นฟังก์ชันค่าคงตัวบนช่วง (0, 1)
3. 13.8 + 6 3 4. 25.8
5. 13.8 + 8 3

Page 7
ปี 2564
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
1 2 27) ถึงแม้ว่าสมาชิกในชมรมจะสามารถว่ายน้ำ แต่สมาชิกแต่ละคนมีท่าว่ายน้ำที่ตนเอง
25) กำหนดให้ f(x) = x(x − 49) เมื่อ x เป็นจำนวนจริงและให้ A, B และ C เป็น
60 ถนัดดังข้อมูลในตารางต่อไปนี้
พื้นที่ของบริเวณที่แรเงา ดังรูป
ท่าการว่ายน้ำในการแข่งขัน รายชื่อสมาชิกที่มีความถนัดในการว่ายน้ำแต่ละท่า
ท่ากรรเชียง แก้ม
ท่ากบ ข้าว คิม
ท่าผีเสื้อ เงาะ เจต
ท่าฟรีสไตล์ แก้ม เงาะ เจต ฉัตร
ข้อใดไม่ถกู ต้อง
0 7 q ถ้าชมรมว่ายน้ำนี้ต้องจัดสมาชิกของชมรม 4 คน เพื่อเป็นทีมเข้าร่วมแข่งขันว่ายน้ำ
1.  f(x)dx = − f(x)dx
−7 0
2. A =  (f(x) − 1)dx แบบผลัดผสม โดยที่แต่ละคนได้ว่ายน้ำในท่าที่ตนเองถนัด แล้วจะมีวิธีในการจัด
p
สมาชิกเพื่อแข่งขันว่ายน้ำแบบผลัดผสมที่แตกต่างกันทั้งหมดกี่วิธี
0 7
3. B =  (1 − f(x))dx 4. A + B = −  f(x)dx 1. 4 2. 8
−7 0 3. 9 4. 15
s 7
5. 16
5. C =  (f(x) + 1)dx −  f(x)dx
r 0

สถานการณ์ต่อไปนี้ใช้ในการตอบคำถามข้อ 26-27 สถานการณ์ต่อไปนี้ใช้ในการตอบคำถามข้อ 28-29


การว่ายน้ำแบบผลัดผสม เป็นการแข่งขันว่ายน้ำที่แต่ละทีมประกอบด้วย วิธีการตรวจโควิด-19 ที่ใช้ในประเทศไทยมีหลายวิธี แต่ละวิธีใช้เวลา และมี
นักว่ายน้ำจำนวน 4 คน โดยนักว่ายน้ำในทีมแต่ละคนจะต้องว่ายน้ำคนละหนึ่งท่า ค่าใช้จ่ายทีแ่ ตกต่างกัน นักวิจัยไทย กลุ่มหนึ่งพัฒนาชุดตรวจโควิด-19 ขึ้นมาสองชุด
ดังนี้ คือ ชุด A และชุด B โดยได้นำไปใช้ทดลองกับผู้ที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย
คนที่ 1 ว่ายท่ากรรเชียง คนที่ 2 ว่ายท่ากบ จำนวน 50 คน
คนที่ 3 ว่ายท่าผีเสื้อ คนที่ 4 ว่ายท่าฟรีสไตล์ ผู้ที่เดินทางเข้าประเทศไทยกลุ่มที่ 1 จำนวน 20 คน ได้รับการตรวจโควิด-19
ชมรมว่ายน้ำ “เงือกสยาม ฉลามไทย” มีสมาชิกจำนวน 6 คน คือ แก้ม ข้าว คิม เงาะ ด้วยชุดตรวจ A พบว่า มีผู้ป่วยโควิด-19 จำนวน 3 คน
เจต และ ฉัตร ผู้ที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 จำนวน 30 คน ได้รับการตรวจ
โควิด-19 ด้วยชุดตรวจ B พบว่า มีผู้ป่วยโควิด-19 จำนวน 12 คน
26) ถ้าชมรมว่ายน้ำ “เงือกสยาม ฉลามไทย” ต้องการจัดสมาชิกของชมรม 4 คน เพื่อ หลังจากนั้นผู้ป่วยโควิด-19 ทั้ง 15 คน ได้เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล
เป็นทีมเข้าร่วมแข่งขันว่ายน้ำแบบผลัดผสม โดยที่สมาชิกในชมรมทุกคนสามารถ
ว่ายน้ำได้ทุกท่าของการว่ายน้ำ แล้วชมรมจะมีวิธีในการจัดสมาชิกเพื่อแข่งขันว่ายน้ำ 28) ถ้าต้องการเลือกผู้ป่วยโควิด-19 ที่ได้รับการตรวจด้วยชุดตรวจ A จำนวน 2 คน
แบบผลัดผสมที่แตกต่างกันทั้งหมดกี่วิธี และ ต้องการเลือกผู้ป่วยโควิด-19 ที่ได้รับการตรวจด้วยชุดตรวจ B จำนวน 7 คน
1. 15 2. 32 แล้วนักวิจัยจะมีวิธีเลือกผู้ป่วยทั้งหมดกี่วิธี
3. 36 4. 360  3   12   3   12 
1.      2.   +  
5. 720 2  7  2  7 
 20   30   20   30 
3.      4.   +  
2 7 2 7
 15 
5.  
9

Page 8
ปี 2564
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
29) ชุดตรวจ A ทีน่ ักวิจัยพัฒนาขึ้นมา พบว่า มีความคลาดเคลือ่ นในการทดสอบ 31) วันที่หนึ่ง ร้านขายขนมปังแห่งนี้ได้ผลิตขนมปัง 25 ก้อน และขายหมดในวันเดียว
โดยชุดตรวจ A ใช้ตรวจกับผู้ป่วยโควิด-19 ทุกๆ 100 คน ผลการตรวจจะผิดพลาด โดยมีต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายประจำคงที่เท่าเดิม
จำนวน 1 คน (ตรวจไม่พบเชื้อโควิด-19) วันทีส่ อง ร้านขายขนมปังแห่งนี้จ้างคนงานเพิ่ม 1 คน และผลิตขนมปังได้ 30 ก้อน
ถ้านักวิจัยได้ใช้ชุดตรวจ A ตรวจผู้ป่วยโควิด-19 จำนวน 15 คน ดังกล่าวอีกครั้ง ทำให้ค่าใช้จ่ายประจำคงที่ เพิ่มขึน้ จากเดิมอีก 100 บาท และขายหมดใน
แล้วความน่าจะเป็นที่ผลการตรวจนี้จะเกิดความผิดพลาดเพียงคนเดียวเท่ากับเท่าใด วันเดียว
14 1 กำไรที่ได้จากการขายขนมปังในวันที่สองเปลี่ยนแปลงจากกำไรที่ได้จากการขายขนม
1. 2.
225 15 ปังในวันที่หนึ่ง ตรงกับข้อใด
3. (15)(0.9)14(0.1) 4. (15)(0.99)(0.01)14 1. กำไรเพิ่มขึ้น 50 บาท 2. กำไรเพิ่มขึ้น 100 บาท
5. (15)(0.99)14(0.01) 3. กำไรเพิ่มขึน้ 150 บาท 4. กำไรลดลง 50 บาท
5. กำไรลดลง 150 บาท

สถานการณ์ต่อไปนี้ใช้ในการตอบคำถามข้อ 30-31 สถานการณ์ต่อไปนี้ใช้ในการตอบคำถามข้อ 32-33


ร้านขายขนมปังแห่งหนึ่ง สามารถผลิตขนมปังได้ไม่เกินวันละ 60 ก้อน โดยมี ทรงกลม คือ เซตของจุดทั้งหมดในระบบพิกัดฉากสามมิติที่หา่ งจากจุดๆ หนึ่ง
ต้นทุนการผลิตขนมปังก้อนละ 20 บาท และมีค่าใช้จ่ายประจำคงที่ เช่น ที่ตรึงอยู่กับที่เป็นระยะทางคงตัว จุดที่ตรึงอยู่กับที่นี้เรียกว่า จุดศูนย์กลางของทรง
ค่าจ้างคนงาน ค่าแก๊ส ค่าไฟฟ้า เท่ากับ 1,600 บาทต่อวัน กลม และส่วนของเส้นตรงที่มีจดุ ศูนย์กลางและจุดบนทรงกลมเป็นจุดปลายเรียกว่า
ร้านแห่งนี้ตั้งราคาขายขนมปังก้อนละ 140 – 2x บาท เมื่อ x แทนจำนวน รัศมีของทรงกลม
ขนมปังที่ผลิตในแต่ละวัน(ก้อน) กำหนดทรงกลมรัศมียาว 9 หน่วย มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด O(0, 0, 0) จุด
P1, P2 และ P3 อยู่บนทรงกลม
30) ร้านขายขนมปังแห่งนี้ต้องผลิตขนมปังจำนวนน้อยที่สุดวันละกี่ก้อนจึงจะได้กำไร หาก 6  −6  7
ร้านแห่งนี้ขายขนมปังที่ผลิตได้หมดทุกวัน      
โดยที่ OP1 =  −6  ,OP2 =  3  และ OP3 =  4 
1. 20 2. 21 3 6  −4 
3. 30 4. 39      
5. 40 0
 
32) ถ้า k1 และ k2 เป็นจำนวนจริงที่ทำให้เวกเตอร์ k 1 OP1 + k 2 OP2 =  −1 แล้ว
3
 
ผลคูณของ k1 และ k2 เท่ากับเท่าใด
1
1. -1 2. −
9
1
3. 4. 1
9
5. 9

Page 9
ปี 2564
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
33) กำหนดให้  เป็นมุมระหว่าง OP1 และ OP2  OP3 ข้อใดถูกต้อง 35) รถไฟเคลื่อนที่จากสถานี ก ถึงสถานี ข ใช้เวลากี่วินาที
1. 0 <  < 45
o o
2. 45 <  < 90
o o S S
1. + T 2. +T
3.  = 90o 4. 90o <  < 180o A AT
S 2S 4T
5.  = 180o 3. 2
+T 4. +
AT AT 3
3S 5T
5. +
AT 3 3

36) โรงเรียนแห่งหนึ่งสำรวจความชอบของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่าย ซึ่ง


สถานการณ์ต่อไปนี้ใช้ในการตอบคำถามข้อ 34-35
ประกอบด้วยฐานวิทยาศาสตร์และฐานคณิตศาสตร์ พบว่า
ในการวางแผนระบบการเดินรถไฟระหว่างสถานี คือ สถานี ก และ สถานี ข ซึ่ง
มีนักเรียนร้อยละ 9 ไม่ชอบกิจกรรมทั้งสองฐาน
อยู่ห่างกันเป็นระยะทาง S เมตร ในแนวเส้นตรง โดยรถไฟเริ่มต้นเคลื่อนจากจุดหยุด
มีนักเรียนร้อยละ 61 ชอบกิจกรรมฐานวิทยาศาสตร์
นิ่งที่สถานี ก ไปจนหยุดนิ่งอีกครั้งที่สถานี ข รถไฟมีความเร่งสูงสุดเท่ากับ A
มีนักเรียนร้อยละ 35 ชอบกิจกรรมทั้งสองฐาน
เมตรต่อวินาที2 โดยรถไฟจะเคลื่อนที่แบบระบบขับเคลื่อนโดยอัตโนมัติเป็น 3 ช่วง
ถ้ากลุ่มนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมค่ายนี้มา 1 คน แล้วความน่าจะเป็นที่นักเรียนคนนี้
ดังนี้
ชอบกิจกรรมฐานคณิตศาสตร์เท่ากับเท่าใด
• ช่วงแรก ช่วงเวลา T วินาทีแรก รถไฟมีความเร่งเพิ่มขึ้นในอัตราสม่ำเสมอ
จาก 0 ถึง A เมตรต่อวินาที2
• ช่วงกลาง รถไฟเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว
• ช่วงท้าย ช่วงเวลา T วินาที ก่อนรถไฟถึงสถานี ข รถไฟจะชะลอตัวใน
ลักษณะที่ความเร่งลดลงในอัตราสม่ำเสมอจาก A ถึง 0 เมตรต่อวินาที2
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาและความเร่งของรถไฟนี้เคลื่อนที่จาก
สถานี ก ไปยังสถานี ข เป็นดังนี้

34) ในช่วงเวลาที่รถไฟเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวนั้น รถไฟวิ่งด้วยความเร็วคงตัวกี่


เมตรต่อวินาที
1. A 2. AT
AT
3. 4. AT2
2
AT 3
5.
3

Page 10
ปี 2564
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
37) นิดซื้อน้ำดื่ม ข้าวสาร และปลากระป๋อง ไปบริจาคเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย 40) จากการสำรวจความสูงของนักเรียน 1,000 คน พบว่า ความสูงของนักเรียนมีการ
ดังนี้ แจกแจงปกติที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 160 เซนติเมตร และความแปรปรวนเท่ากับ
ครั้งที่ 1 ซื้อน้ำดื่ม 2 แพ็ค ข้าวสาร 2 กิโลกรัม และปลากระป๋อง 5 แพ็ค คิด 25 เซนติเมตร2
เป็นเงิน 800 บาท กำหนดตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน ดังนี้
ครั้งที่ 2 ซื้อน้ำดื่ม 4 แพ็ค ข้าวสาร 10 กิโลกรัม และปลากระป๋อง 3 แพ็ค คิด
เป็นเงิน 1,000 บาท
ครั้งที่ 3 ซื้อน้ำดื่ม 7 แพ็ค ข้าวสาร 3 กิโลกรัม และปลากระป๋อง 1 แพ็ค คิด
เป็นเงิน 660 บาท
ถ้าครั้งที่ 4 ซื้อน้ำดื่ม 5 แพ็ค ข้าวสาร 5 กิโลกรัม และปลากระป๋อง 7 แพ็ค โดย
ราคาของน้ำดื่ม ข้าวสาร และปลากระป๋อง ไม่เปลี่ยนแปลง แล้วในการซื้อครั้งที่ 4
นิดจะต้องจ่ายเงินกี่บาท
จากข้อมูลดังกล่าว คาดว่าจะมีนักเรียนที่มีความสูงมากกว่า 167 เซนติเมตร อยู่
จำนวนกี่คน

38) กำหนดให้ f(x) = log a x


g(x) = log a (x − b)
h(x) = (log a x) + c 41) ในช่วงเทศกาลวันปีใหม่ ร้านเบเกอรีแห่งหนึ่งผลิตเค้กสูตรพิเศษที่มีข้อจำกัดในการ
เมื่อ a, b และ c เป็นจำนวนจริง โดยที่ a > 1 และ b < 1 ผลิต จึงจะผลิตตามสั่งได้ไม่เกิน 12 ก้อน โดยมีกำไรจากการขายเค้ก n ก้อน เท่ากับ
ถ้า f(2) = 1, g(1) = 2 และ h(1) = 5 แล้วค่าของ h(13a – 2b) เท่ากับเท่าใด 300n – 45n2 + 2n3 บาท
ร้านเบเกอรีแห่งนี้จะได้กำไรมากที่สุด เมื่อขายเค้กกี่ก้อน

39) กำหนดให้ P(8, -7) เป็นจุดบนเส้นตรง 1 ซึ่งมีสมการเป็น x + y = 1 42) กำหนดให้ xi แทนคะแนนของนักเรียนคนที่ i เมื่อ i  {1, 2, 3, …, 46} ครู
2 เป็นเส้นตรงซึ่งมีสมการเป็น -x + y = 1 46

และ R เป็นจุดตัดของเส้นตรง 1 กับ 2


คำนวนค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้เท่ากับ 55 คะแนน จากนั้นจึงคำนวณ  (x − 55)
i =1
i
2

5 2 แล้วจึงนำมาคำนวณความแปรปรวนได้เท่ากับ 30 คะแนน2 ต่อมาครูพบว่า ค่าเฉลี่ย


ถ้า Q เป็นจุดบนเส้นตรง 2 โดยที่ RQ ยาว หน่วย เลขคณิตเดิมไม่ถูกต้อง เนื่องจากเกิดจากการหารที่ผิดพลาด โดยค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่
2
แล้วรูปสามเหลี่ยมที่ปิดล้อมด้วย 1 , 2 และ PQ มีพื้นที่กี่ตารางหน่วย ถูกต้องเท่ากับ 60 คะแนน คะแนนสอบของวิชานี้มีความแปรปรวนที่ถูกต้องเท่ากับ
เท่าใด

Page 11
ปี 2564
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
43) กำหนดให้ a และ b เป็นจำนวนเต็มที่ทำให้
พหุนาม x3 + ax2 + x + 6 เป็นตัวประกอบของพหุนาม x4 – 10x3 + 25x2 + b
ค่าของ ab เท่ากับเท่าใด

44) กำหนดให้ A เป็นเซตของจำนวนเชิงซ้อนทั้งหมดที่สอดคล้องกับ


z − 2 + i = 3 − 4i
และ B =  z − 8 − 7i z  A 
ค่ามากที่สุดของสมาชิกในเซต B เท่ากับเท่าใด

x + 5 เมื่อ x  a
45) กำหนด f เป็นฟังก์ชัน โดยที่ f(x) =  และ a > 0
 x + 1 เมื่อ x  a
และให้ g เป็นฟังก์ชัน โดยที่ g(x) = x2 สำหรับทุกจำนวนจริง x
ถ้า lim− (g f)(x) − lim+ (f g)( x ) = 2 แล้วค่าของ a เท่ากับเท่าใด
x →a x →a

Page 12
ปี 2564
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์

Page 13

You might also like

  • 02
    02
    Document108 pages
    02
    กาญจนา นุ้ยนิ่ง
    No ratings yet
  • 01
    01
    Document62 pages
    01
    กาญจนา นุ้ยนิ่ง
    No ratings yet
  • 04 กสพท PART เชื่อมโยง
    04 กสพท PART เชื่อมโยง
    Document145 pages
    04 กสพท PART เชื่อมโยง
    กาญจนา นุ้ยนิ่ง
    No ratings yet
  • 01
    01
    Document96 pages
    01
    กาญจนา นุ้ยนิ่ง
    No ratings yet
  • แบบทดสอบ
    แบบทดสอบ
    Document26 pages
    แบบทดสอบ
    กาญจนา นุ้ยนิ่ง
    No ratings yet