You are on page 1of 19

แบบทดสอบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ปีการศึกษา 2564

สำนักทดสอบทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

แบบทดสอบนี้เป็นเอกสารสงวนลิขสิทธิ์ของสำนักทดสอบทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ถ้าคัดลอก ดัดแปลง เฉลยเพื่อ
จำหน่าย หรือนำไปเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาต จะถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย
1. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

ข้อความหมายเลขใดคือใจความสำคัญ
1. หมายเลข (1)
2. หมายเลข (2)
3. หมายเลข (3)
4. หมายเลข (4)

2. จากบทร้อยกรองนี้ ข้อใดเป็นการสรุปความ
1. ใช้สติในการทำงานทุกงาน
2. ทำงานอย่างตั้งใจให้ได้งานมาก
3. ทำงานช้า ๆ จนงานสำเร็จถูกต้อง
4. ตั้งใจทำงานได้ทุกงานไม่ว่าหนักเบา
5. ทำงานตามกำลังกายที่มีอย่างเต็มที่
3. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

ข้อความหมายเลขใดเป็นการแสดงความคิดเห็นของผู้เขียน
1. หมายเลข 1 2. หมายเลข 2
3. หมายเลข 3 4. หมายเลข 4
4. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

จากข้อความ หมายเลขใดเป็นข้อเท็จจริง
1. หมายเลข 1
2. หมายเลข 2
3. หมายเลข 3
4. หมายเลข 4

5. อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถาม

คำว่า “เกาะ” ในข้อใดมีความหมายเดียวกับคำที่ขีดเส้นใต้


1. นกเอี้ยงเกาะบนหลังควายกลางทุ่งนา
2. น้องสาวหัดเดินเกาะมือคุณแม่ตลอดเวลา
3. ลูกเรือประมงติดเกาะแถบจังหวัดสุราษฎร์ธานี
4. ลูกเสือเดินทางไกลในป่า ทุกคนต้องเกาะกลุ่มกันไว้

6. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

สมปองถนัดใช้มือขวาเขียนหนังสือ เพราะฝึกเขียนมาตั้งแต่เด็ก ๆ

ข้อใดสัมพันธ์กับคำว่า “มือขวา” ที่กล่าวถึงข้างต้น (ตอบ 2 ข้อ)


1. มือขวาของผมทำงานที่มอบหมายไม่เคยพลาด
2. ผมใช้มือขวาทำงานเสมอ เพราะผมไม่ถนัดซ้าย
3. เขาใช้มือขวาจับลูกบิดอย่างแรง ประตูจึงเปิดออก
4. มือขวาเขาได้รับบาดเจ็บ จากการไปทำงานแทนเพื่อน
5. ในหน่วยงานนี้ เพื่อนผมเป็นมือขวาของผู้จัดการเลยทีเดียว
7. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

บุคคลใดมีพฤติกรรมสอดคล้องกับคำที่ขีดเส้นใต้
1. นวพร ทาสีห้องอาหารใหม่เพราะสีเดิมหลุดร่อน
2. สุธี เปลี่ยนหลอดไฟห้องครัวให้แม่หลังจากที่เสียมานาน
3. เพชรา ปรับเปลี่ยนระบบการทำงานใหม่ให้เหมาะสมกับยุคสมัย
4. วัชระ สนับสนุนการซื้อรถเก็บขยะของหมู่บ้านเนื่องจากมีไม่เพียงพอ
8. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

ข้อใดมีคำที่มีความหมายเช่นเดียวกับคำที่ขีดเส้นใต้
1. ตลาดร้อยปียังคงมีของขายคึกคักอยู่เหมือนเดิม ผู้คนมาเยี่ยมเยียนไม่ขาดสาย
2. เมืองโบราณแห่งนี้เก็บค่าเข้าชมไม่แพง นักท่องเที่ยวจึงมาชมทุกเพศทุกวัย
3. แหล่งท่องเที่ยวที่มีธรรมชาติ สายลมแสงแดดเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
4. การแสดงหุ่นกระบอกเหมือนจริงราวกับเป็นสิ่งมีชีวิตเรียกเสียงฮือฮาจากผู้ชมได้มาก

9. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

ข้อความในหมายเลขใดเป็นเหตุผลสำคัญของคำว่า “เป็นคนหนักแผ่นดิน”
1. หมายเลข (1)
2. หมายเลข (2)
3. หมายเลข (3)
4. หมายเลข (4)
10. จากบทความนี้ ข้อใดบอกข้อสังเกตและเหตุผลของนาฬิกาปัจจุบันที่เข็มเดินหมุนไปทางขวาเป็นวงกลม
1. สังเกตจากเวลาของดวงอาทิตย์ในประเทศอียิปต์
2. เริ่มทำนาฬิกาจากประเทศที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร
3. ถ้าหมุนเข็มเดินทางซ้ายเป็นวงกลมเวลาจะไม่เที่ยงตรง
4. ทำตามนาฬิกาเรือนแรกเพื่อไม่ให้สับสนในการดูเวลา
5. ทำตามนาฬิกาแดดที่สังเกตจากเงาของวัตถุที่หมุนไปทางขวาเป็นวงกลม

11. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

ข้อความหมายเลขใดมีความน่าเชื่อถือสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
1. หมายเลข 1 2. หมายเลข 2
3. หมายเลข 3 4. หมายเลข 4
12. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

บุคคลในข้อใดนำแนวคิดไปใช้ได้สอดคล้องกับเรื่องนี้
1. เป้วางแผนการใช้จ่ายในการท่องเที่ยวปลายปีนี้
2. ป้อมให้กำลังใจเพื่อนที่ผิดหวังจากการสอบคัดเลือก
3. ป้องทำงานเก็บเงินเพื่อสร้างฐานะที่มั่นคงในอนาคต
4. ปุ้ยตั้งใจทำงานของตนและแสวงหาโอกาสใหม่ ๆ เสมอ

13. พิจารณาข้อความแล้วตอบคำถาม

1. จากสถานการณ์ ถ้านักเรียนเป็นสมใจ จะเขียนข้อความที่สุภาพและเหมาะสมลงไลน์กลุ่มว่าอย่างไร


ตอบ.....................................................................................................................................................

14. จากภาพ ให้นักเรียนเขียนเรียงความเชิงพรรณนาเรื่อง “ประเพณีวิถีไทย” ความยาวไม่น้อกว่า 5บรรทัด

……………………………………………………………………………………………………………………………………….……………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
15. จากข้อความให้นักเรียนเขียนย่อความให้ได้ใจความครบถ้วนสมบูรณ์ (2 บรรทัด) (ตอบสั้น)
1. ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………….
………….………………………………………………………………………………………………......……………………………………

16.
นักเรียนเห็นด้วยกับการกระทำของเศรษฐีหรือไม่ เพราะเหตุใด
เห็นด้วย ........................................................................................................................
ไม่เห็นด้วย.....................................................................................................................
17. อ่านข้อความที่กำหนด แล้วตอบคำถาม

จากข้อความข้างต้น เป็นส่วนหนึ่งของจดหมายประเภทใด
1. จดหมายธุรกิจ
2. จดหมายกิจธุระ
3. จดหมายส่วนตัว
4. จดหมายราชการ
18. พิจารณาข้อมูลแล้วตอบคำถาม

ข้อใดทำให้สินค้านี้ ขาดความน่าเชื่อถือ (เลือกตอบ 2 คำตอบ)


1. ลดราคามาก
2. ไม่ระบุยี่ห้อของสินค้า
3. ไม่บอกค่าความชัดของกล้อง
4. ขาดการรับรองจากผู้ใช้
5. ขาดข้อมูลแหล่งผลิต
19.พิจารณาภาพแล้วตอบคำถาม

โฆษณาข้างต้นใช้กลวิธีใดเพื่อโน้มน้าวใจผู้อ่าน (เลือกตอบ 2 คำตอบ) (มาตรฐาน ท ๓.๑ ม.๑/ตัวชี้วัด ๔.


ประเมินความน่าเชื่อถือของสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจ)เจ้าหน้าที่ ภาษาไทย, ศูนย์ส่วนกลาง
1. ใช้ประโยคหรือวลีสั้น ๆ สื่อสารได้ชัดเจน ตรงประเด็น
2. ใช้ภาพประกอบเป็นหลักในการดึงดูดสายตาให้ผู้อ่านสนใจ
3. เนื้อหาแสดงความมั่นคงของรายได้ และความน่าสนใจของสวัสดิการ
4. เนื้อหาแสดงรายละเอียดที่เกี่ยวข้องครบถ้วน สามารถตัดสินใจได้ทันที
5. ใช้การนำเสนอให้เห็นผลตอบแทนอัตราสูงและเอาใจคนรักความสบาย
20. พิจารณาบทร้อยกรองแล้วตอบคำถาม

บทร้อยกรองวรรคใดมีการใช้คำควบกล้ำมากที่สุด
1. วรรคที่ 1
2. วรรคที่ 2
3. วรรคที่ 3
4. วรรคที่ 4
21. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

ลักษณะพฤติกรรมของ “ดินสอกับยางลบ” สอดคล้องกับสำนวนใด


1. น้ำอดน้ำทน
2. ขิงก็ราข่าก็แรง
3. น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ
4. บัวไม่ให้ช้ำน้ำไม่ให้ขุ่น
22. พิจารณาข้อความแล้วตอบคำถาม
จากข้อความนี้ มีคำใดบ้างที่มีวิธีการสร้างคำเช่นเดียวกับคำที่ขีดเส้นใต้ ให้เขียนมา 4 คำ
ตอบ
1)……………………………………………2)……………………………………………….
3)……………………………………………4)……………………………………………….
23. พิจารณาข้อความแล้วตอบคำถาม

คำที่ขีดเส้นใต้ข้อความหมายเลขใดมีการสร้างคำชนิดเดียวกัน (เลือกตอบ 2 คำตอบ)


1. หมายเลข (1)
2. หมายเลข (2)
3. หมายเลข (3)
4. หมายเลข (4)
5. หมายเลข (5)
24. พิจารณาข้อความแล้วตอบคำถาม

คำในข้อความหมายเลขใดมีการสร้างคำเหมือนคำว่า “ดี ๆ” (มาตรฐาน ท ๔.๑ ม.๑/ตัวชี้วัด


๒.สร้างคำในภาษาไทย)เจ้าหน้าที่ ภาษาไทย, ศูนย์ส่วนกลาง
1. หมายเลข 1
2. หมายเลข 2
3. หมายเลข 3
4. หมายเลข 4
25. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

ข้อความหมายเลขใดใช้บุรุษสรรพนามต่างจากข้ออื่น
1. หมายเลข 1
2. หมายเลข 2
3. หมายเลข 3
4. หมายเลข 4
26. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

ชนิดของคำที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น
1. หมายเลข 1
2. หมายเลข 2
3. หมายเลข 3
4. หมายเลข 4
27. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

ข้อความหมายเลขใดใช้ภาษาพูด
1. หมายเลข 1
2. หมายเลข 2
3. หมายเลข 3
4. หมายเลข 4
พิจารณาข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถาม

28. พิจารณาความแตกต่างของการใช้ภาษาจากข้อความข้างต้น โดยข้อความหมายเลขใดใช้ภาษาพูดทั้งหมด


ให้ทำเครื่องหมาย √ ลงในช่องภาษาพูด และข้อความหมายเลขใดใช้ภาษาเขียนทั้งหมด ให้ทำเครื่องหมาย
ลงในช่องภาษาเขียน

29. พิจารณาบทร้อยกรองแล้วตอบคำถาม

ให้นักเรียนนำคำที่กำหนดให้ต่อไปนี้เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
ได้ใจความสมบูรณ์และสอดคล้องกับบทร้อยกรอง

1…………………………………….
2..........................................
30. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

คำที่ขีดเส้นใต้ในบทร้อยกรองวรรคใดไม่ใช่สำนวน
1. วรรคที่ 1
2. วรรคที่ 2
3. วรรคที่ 3
4. วรรคที่ 4
31. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

ข้อความหมายเลขใดใช้สำนวนไม่เหมาะสม
1. หมายเลข (1)
2. หมายเลข (2)
3. หมายเลข (3)
4. หมายเลข (4)

32. อ่านบทร้อยกรองแล้วตอบคำถาม

วรรคใดคือข้อคิดสำคัญของบทร้อยกรอง
1. วรรคที่ 1
2. วรรคที่ 2
3. วรรคที่ 3
4. วรรคที่ 4
33. อ่านบทร้อยกรองแล้วตอบคำถาม

สาระสำคัญของบทร้อยกรองนี้สรุปได้ตามข้อใด
1. เด็กเขียนหนังสือเหมือนถั่วงอก
2. เขียนหนังสือให้สวยงามตามรูปแบบเดิม
3. เขียนอักษรไทยให้สวยงามจะทำให้อ่านง่าย
4. เขียนหนังสือแบบใหม่ ๆ ทำให้แบบเก่าหายไป
34. พิจารณแล้วตอบคำถาม

จุดประสงค์ของบทร้อยกรองนี้คือข้อใด
1. อธิบายให้ลูกรู้หน้าที่การเป็นลูกที่ดี
2. อธิบายให้ลูกตอบแทนบุญคุณพ่อแม่
3. ส่งเสริมให้พ่อแม่เลี้ยงลูกให้เป็นผู้มีความกตัญญู
4. ส่งเสริมแนวคิดให้ลูกเลี้ยงดูพ่อแม่เพื่อทดแทนบุญคุณ
35. พิจารณาบทร้อยกรองแล้วตอบคำถาม

บทประพันธ์ไม่ได้กล่าวถึงคุณค่าของสตรีในด้านใด
1. ความอดทน
2. ความเข้มแข็ง
3. ความกล้าหาญ
4. ความสวยงาม
36. อ่านบทร้อยกรองแล้วตอบคำถาม

ข้อใดสัมพันธ์กับสาระสำคัญของบทร้อยกรองน้อยที่สุด
1. อันความรู้รู้กระจ่างแต่อย่างเดียว แต่ให้เชี่ยวชาญเถิดจะเกิดผล
2. ปากเป็นเอกเลขเป็นโทโบราณว่า หนังสือตรีมีปัญญาไม่เสียหลาย
3. ลูกผู้ชายลายมือนั้นคือยศ เจ้าจงอตส่าห์ทำสม่ำเสมียน
4. มีความรู้อยู่กับตัวกลัวอะไร ชีวิตไม่ปลดปลงคงได้ดี
37. อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถาม

ใครนำข้อคิดจากข้อความนี้ไปปฏิบัติได้เหมาะสมมากที่สุด
1. กล้ามาโรงเรียนเช้าทุกวัน แม้ว่าบ้านจะอยู่ไกลก็ตาม
2. แก่นฝึกซ้อมแต่งกลอนทุกวัน แม้ว่าเขาจะเรียนหนักก็ตาม
3. เก่งขยันช่วยพ่อแม่เก็บขยะขายทุกวัน แม้จะถูกเพื่อน ๆ ล้อก็ตาม
4. โก๋ใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อศึกษาค้นคว้าทั้งวัน แม้ว่าคุณครูจะแนะนำให้พักบ้างก็ตาม
38. อ่านบทร้อยกรองแล้วตอบคำถาม

บทร้อยกรองนี้กล่าวถึงคุณค่าด้านใดชัดเจนที่สุด
1. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ เพราะใช้คำสัมผัสอักษร สัมผัสสระที่แพรวพราวอยู่ในทุก ๆ วรรค
2. คุณค่าด้านเนื้อหา เพราะอธิบายบุคลิก ลักษณะรูปร่างของยักษ์ได้ชัดเจน น่าสะพรึงกลัว
3. คุณค่าด้านสังคม เพราะแสดงให้เห็นถึงความเชื่อเกี่ยวกับความฝัน และการทำนายฝัน
4. คุณค่าด้านอารมณ์ เพราะเลือกสรรคำที่แสดงความรู้สึกของตัวละครได้อย่างชัดเจน
39. อ่านข้อความแล้วตอบคำถาม

ควรปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเป็นการนำข้อคิดจากข้อความนี้มาใช้ได้เหมาะสม
1. มองทุกอย่างเป็นเรื่องธรรมดา
2. เชื่อว่าทุกสิ่งได้ถูกกำหนดไว้ตายตัว
3. ทำตามกฎกติกาในการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น
4. มอบหมายงานตามความถนัดของแต่ละบุคคล
40. ข้อใดสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองนี้ได้ถูกต้อง
1. คนทุกคนเกิดมาเหมือนกัน
2. คนเลือกเกิดไม่ได้แต่เลือกทำดีได้
3. ความดีความชั่วติดตัวมาตั้งแต่เกิด
4. ความรู้สามารถเรียนได้เท่ากันทุกคน
5. คนประพฤติตัวไม่ดีไม่สามารถแก้ไขได้
***********************************************************************************************

You might also like