You are on page 1of 52

งานสง่ เสริมสุขภาพชอ ่ งปาก

ในโรงเรียนสง ่ เสริมสุขภาพ

ศูนย์ อนามัยที่ 5 ราชบุรี

พฤษภาคม 2562
่ ับเด็กไปตลอดชวี ต
ฟันถาวรจะอยูก ิ
โรงเรี
โรงเรียยน:
น: ทีฝ
่ ึก ัั
สุขนิสย
กสุ

• เด็กเข ้าสูร่ ะบบการศก ึ ษาประถมศก ึ ษา ซงึ่


เป็ นการศก ึ ษาภาคบังคับ เมือ ่ อายุ 6 ปี
• ฟั นกรามถาวรซท ี่ ห
ี่ นึง่ เป็ นฟั นถาวรซแ ี่ รกที่
ขึน้ ในปาก เมือ ่ อายุ 6 ปี
• เด็กใชช้ วี ต ิ ในโรงเรียน ปี ละ 230 วัน วัน
ละ 6-8 ชวั่ โมง
่ งปากเด็กวัยเรียน
ปั ญหาสุขภาพชอ

• ปั ญหาสภาวะสุขภาพชอ ่ งปากในเด็ก
4-12 ปี คือโรคฟั นผุ
• สภาวะเหงือกอักเสบจะเริม ่ เมือ
่ เด็กมีฟัน
แท ้ในชอ ่ งปากชน ั ้ ป. 3- ป. 6 เป็ นชว่ งที่
จะเริม่ มีปัญหาเหงือกอักเสบ
• คราบจุลน ิ ทรีย ์ (plaque or bio-film) เป็ น
ปั จจัยหลัก
สถานการณ์สข ่ งปาก ปี 2561
ุ ภาพชอ
เด็กอายุ 3 ปี ว ัยเรียนอายุ 12 ปี
มีโรคฟันผุ ร้อยละ 40.7 มีโรคฟันผุ ร้อยละ 40.1
แนวโน้มผุลดลง แนวโน้มผุลดลง

กจ สพ กจ สพ
นฐ นฐ
สค สค
รบ สส รบ สส
พบ พบ
ปข ปข
สส 49.0 % กจ 48.0 %
นฐ 44.0 % นฐ 44.7 %
สค 43.2 %

ตํา
่ กว่า 40% 40 – 50 % มากกว่า 50 %

รบ พบ ปข ใชข้ ้อมูล HDC จังหวัดอืน


่ เป็ นข ้อมูลจากการสํารวจเฝ้ าระวังทันตฯ
่ งปาก เขตสุขภาพที่ 5
สุขภาพชอ

่ งปากของประชาชนกลุม
 สภาวะสุขภาพชอ ่ วัยสําคัญ ปี 2561

เด็กอายุ 3 ปี มีฟันนํ้ านมผุร ้อยละ 40.7 เด็กอายุ 12 ปี มีโรคฟั นผุร ้อยละ 40.1
มีแนวโน ้มลดลงในชว่ ง 6 ปี แนวโน ้มคงทีใ่ นชว่ งปี 57-60 แล ้วลดลงในปี 60-61
ร ้อยละของเด็กอายุ 3 ปี มีโรคฟั นผุ ร ้อยละของเด็กอายุ 12 ปี มีโรคฟั นผุ
80 80
70 70
60 49 60
44 43 48 45
50 50
37 37 38 39 41 33 39 40
40 35 40 32 32
27 29
30 30
20 20
10 10
0 0

ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561

แนวโน ้ม 6 ปี (ปี 2556 – 2561)


อัตราฟั นผุ เด็กอายุ 3 ปี (ชุดฟั นนํ้ านม) 58.1 , 51.7 , 51.0 , 47.8 , 46.8 , 40.7
อัตราฟั นผุ เด็กอายุ 12 ปี (ชุดฟั นถาวร) 48.2 , 44.4 , 45.6 , 44.0 , 42.9 , 40.1

ปี 2561 รบ พบ ปข ใชข้ ้อมูล HDC จังหวัดอืน


่ เป็ นข ้อมูลจากการสํารวจเฝ้ าระวังทันตฯ
่ งปาก เขตสุขภาพที่ 5
สุขภาพชอ

 การจัดการสงิ่ แวดล ้อมให ้เอือ ่ งปากทีด


้ ต่อสุขภาพชอ ่ ี ในโรงเรียน
ร้อยละของโรงเรียนทีไ่ ม่มก
ี ารขายขนมกรุบกรอบ/เครือ
่ งดืม ี่ งต่อฟันผุ
่ เสย
100
90 79
80 66
70
60
50 41 44
40 33 32 35
27
30
20
10
0

ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560

2.00
ครง/ว
ั้ ันทีด
่ ม
ื่ นํา้ อ ัดลม 2.50
ครง/ว
ั้ ันทีก
่ น
ิ ขนมกรุบกรอบ
1.80 1.99
1.53 1.85 1.84 1.83
1.60 1.42 2.00 1.68
1.40 1.31
1.16 1.20 1.49
1.20 1.50 1.33
0.97 0.93
1.00
0.80 1.00
0.60
0.40 0.50
0.20
0.00 0.00

ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558


ปี 2559 ปี 2560 ปี 2559 ปี 2560
่ งปาก เขตสุขภาพที่ 5
สุขภาพชอ

 ร ้อยละของเด็กอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่มผ
ี ุ (Cavity free)

ปี งบประมาณ2560 (ข ้อมูลHDC) ปี งบประมาณ2561 (ข ้อมูลHDC)


ี ุ ร ้อยละ 64.0
เด็กอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่มผ ี ุ ร ้อยละ 80.5
เด็กอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่มผ
ร้ อยละของเด็กอายุ 12 ปี ร้ อยละของเด็กอายุ 12 ปี
100 100
84 81 80 84 87
80 79 78 81
80 71 80 73 73 74 68 71
70 68 67 69 62 70
58 56 62 60 63 60 58 5659 54
64 66
60 52 45 60
45
50
40 40

20 20

0 0

Caries free Cavity free Caries free Cavity free

“ฟันดีไม่มผ
ี ”ุ Cavity free = Caries free ปราศจากฟันผุ
+ ผูท
้ ไี่ ด้ร ับการร ักษาฟันผุแล้ว (ไม่นับถอนฟั นแท ้)
่ เสริมสุขภาพ
10 องค์ประกอบของ รร.สง

1.นโยบายของโรงเรียน
2.การบริหารจ ัดการใน รร.

3.โครงการร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน

4.การจ ัดสงิ่ แวดล้อมในโรงเรียนทีเ่ อือ


้ ต่อสุขภาพ

5.บริการอนาม ัยโรงเรียน

ึ ษาในโรงเรียน
6.สุขศก
7.โภชนาการและอาหารทีป
่ ลอดภ ัย
8.การออกกําล ังกาย กีฬา และน ันทนาการ

9.การให้คา ั
ํ ปรึกษาและสน ับสนุนทางสงคม

่ เสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน
10.การสง
โรงเรี ยนไม่จาํ หน่าย
อาหาร เครื่ องดื่ม
โรงเรียนเด็กไทยฟันดี นร.ทุกคน แปรงฟั น
ที่เสี่ ยงต่อฟันผุ ได้แก่ หลังอาหารกลางวัน
ขนม
ท็อฟฟี่ นํ้าอัดลม ขนมถุง แปรงฟัน ด้วยยาสี ฟันF ทุกวัน
เครื่องดืม่
นมเปรี้ ยว นมปรุ งรส อย่างมีประสิ ทธิภาพ

นักเรี ยน เหงือก องค์ ประกอบ ความรู้ นร.ได้รับความรู ้


ร้อยละ50 ขึ้นไป ปกติ รร.ส่ งเสริม ทักษะ เจตคติ และฝึ กทักษะตาม
ไม่มีเหงือกอักเสบ สุ ขภาพ สุ ขบัญญัติฯ

นร.ที่เจ็บป่ วยได้รับการ
ฟันไม่ ผุ ส่ งต่ อ
นักเรียนทุกคน รักษาทางทันตกรรม
ไม่ มฟี ันแท้ ผุ ตรวจ
นร.ได้รับการตรวจสุ ขภาพช่องปาก อย่าง
น้อยปี ละ 1 ครั้ง
ความรอบรู ้ด ้านสุขภาพ หมายถึง...
ระดับความรอบรู ้และความสามารถของบุคคลในการกลัน ่ กรอง ประเมิน
่ งทาง และตัดสน
ข ้อมูลต่างๆ ทีไ่ ด ้รับจากทุกชอ ิ ใจทีจ
่ ะปรับเปลีย
่ นพฤติกรรม
้ การและผลิตภัณฑ์สข
เลือกใชบริ ุ ภาพได ้อย่างเหมาะสม (มติทป
ี่ ระชุม สธ. 8 กพ.60)

V shape กระบวนการเปลีย่ นแปลงภายในตัวบุคคลเพือ


่ ให ้เกิดการเรียนรู ้
Key messages
ป้องก ันฟันผุ

2อ

อ อนาม ัย
อ อาหาร
แปรงฟั นตอนเชา้ และก่อนนอน
** แปรงฟั นก่อนนอนสําคัญมาก **
เพราะการชะล ้างกรดในชอ ่ งปากน ้อย
เนือ
่ งจากตอนนอน อวัยวะในปาก
เคลือ่ นไหวน ้อย นํ้ าลายไหลน ้อย
แปรงฟัน222

่ ทีใ่ ช ้
2 นาที เป็ นเวลาเฉลีย
ในการแปรงฟั นฟั นให ้ทั่วถึงทุกซ ี่
และทุกด ้านของฟั นแต่ละซ ี่

และให ้เวลาฟลูออไรด์
ในยาสฟ ี ั นทําปฏิกริ ย
ิ าทางเคมี
กับตัวฟั น ต่อต ้านฟั นผุ
แปรงฟัน222

เพราะจําเป็ นต ้องให ้ฟลูออไรด์


ทําปฏิกริ ย
ิ าบนฟั นนานเพียงพอ
โดยปราศจากการรบกวน
การดืม ่ นํ้ าเป็ นการชะล ้างฟลูออไรด์
ในขณะทีก ่ ารกินอาหาร/ขนม
นอกจากจะลดฟลูออไรด์บนฟั นแล ้ว
ยังเพิม
่ จํานวนจุลน ิ ทรีย ์ และเพิม

สภาพความเป็ นกรดในชอ ่ งปากด ้วย
ั ในโรงเรียน
สร ้างสุขนิสย
จัดกิจกรรมแปรงฟั นหลังอาหารกลางวัน
• เด็กมีแปรงทีอ่ ยูใ่ นสภาพดี ยาสฟี ั นฟลูออไรด์
• การจัดเก็บแปรงถูกสุขลักษณะ
• สถานทีแ ่ ปรงฟั น มีอา่ ง เหมาะสม
• มีครู/นร.ควบคุมดูแล “แปรงฟั น 2-2-2” บ ้วนนํ้ าน ้อย
• มีการตรวจประสท ิ ธิภาพการแปรงฟั น
ิ ธิภาพการแปรงฟั น
ตรวจประสท

• ใชยาเม็ ี ั น / สผ
ดย ้อมสฟ ี สมอาหาร (สแี ดง)
• ควรทําอย่างสมํา่ เสมอ เป็ นการฝึ กทักษะนักเรียน
• ระยะแรก ย ้อมสก ี อ่ นแปรงฟั น
-> ฝึ กท่าแปรงฟั น ทุกซ ี่ ทุกด ้าน
• ระยะต่อมา ย ้อมสห ี ลังแปรงฟั น -> ทดสอบความสะอาด
ป้องก ันฟันผุ

2อ

อ อนาม ัย
อ อาหาร
อ อาหาร

ลดการบริโภคอาหารหวานในเด็ก
โภชนาการและอาหารทีป
่ ลอดภ ัย

น ักเรียนมีความรูใ้ นการเลือกร ับประทานอาหารทีม


่ ค
ี ณ
ุ ค่า
ถูกหล ักโภชนาการ และความปลอดภ ัย

ไม่มก
ี ารจําหน่ายอาหารทีม
่ ผ ี ต่อสุขภาพ
ี ลเสย
่ ทอฟฟี่ ขนมถุงกรุบกรอบ นํา้ อ ัดลม ฯลฯ
เชน
ปั จจัยแวดล ้อมในโรงเรียน
– นโยบายการจัดการเรือ
่ งอาหาร/ขนม/
เครือ
่ งดืม

• การดูแลเรือ ่ งอาหารกลางวันและอาหารว่าง
• นํ้ าดืม
่ สะอาด
• การจัดระเบียบร ้านขายอาหาร/ขนม
ั เพือ
สุขนิสย ่ งปาก
่ สุขภาพชอ
• การควบคุมอาหารว่าง
และเครือ ่ งดืม

– ไม่เกิน 2 ครัง้ /วัน
– ควบคุมอาหารว่าง/ขนม
ระหว่างมือ ้ ปริมาณ
พลังงาน 100 kcal
– ไม่บริโภคนํ้ าอัดลม
และเน ้นนมจืด
– นํ้ าหวานทีบ ่ ริโภค
นํ้ าตาลไม่เกิน 5%
การบูรณาการในหล ักสูตรการเรียนการสอน

การจัดกระบวนการเรียนรู ้
• มีหลักสูตร กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน เด็กมีสว่ นร่วม
ื่ การสอน พัฒนาทักษะสว่ นบุคคล
• มีสอ
ั้
บทบาทครูอนาม ัย / ครูประจําชน
1. ดูแลให้เด็กน ักเรียนทุกคน แปรงฟันหล ังอาหารกลางว ันทุกว ัน
ด้วยยาสฟี นั ผสมฟลูออไรด์

- เตรียมสถานทีแ ่ ปรงฟัน ไม่มน


ี ํา้ ข ัง ไม่ลน
ื่
- จ ัดหาอุปกรณ์แปรงฟันทีเ่ หมาะสมก ับเด็ก
- ฝึ กท ักษะการแปรงฟัน (ท่าขย ับปัด) และ
ฝึ กให้น ักเรียนตรวจความสะอาดหล ังแปรงฟัน
- การเก็ บอุปกรณ์แปรงฟัน ไม่ปะปนก ัน ไม่อ ับชน ื้
อากาศถ่ายเทสะดวก ปลอดจากแมลง
ั้
บทบาทครูอนาม ัย / ครูประจําชน
2. ครูตรวจเฝ้าระว ังท ันตสุขภาพ

ตรวจฟันผุ เหงือกอ ักเสบ


ภาคเรียนละ 1 ครงั้
และสง่ ต่อไปร ับบริการ
สรุปวิเคราะห์ และนําข้อมูลไปจ ัดทํา
โครงการแก้ไขปัญหา หรือเสนอแนะ
ให้น ักเรียนทําโครงงาน
ั้
บทบาทครูอนาม ัย / ครูประจําชน
3. จ ัดกิจกรรมเรียนรูเ้ รือ ั้ ยน
่ งท ันตสุขภาพในชนเรี
– การดูแลสุขภาพชอ ่ งปาก
– การเลือกร ับประทานอาหาร

4. ควบคุมการจําหน่ายอาหาร ขนม เครือ ่ งดืม


่ ทีเ่ สยี่ งต่อฟันผุ
- ไม่หวานจ ัด ไม่เค็มจ ัด และไม่มไี ขม ันสูง
- ไม่จาํ หน่ายท็ อฟฟี่ ช็อกโกแลต ขนมกรุบกรอบ
ขนมทีม ่ นี ํา้ ตาลสูงเกิน 12 กร ัม หรือ 3 ชอ ้ นชา
- ไม่จา ํ หน่ายนํา้ อ ัดลม นมเปรีย ้ ว
- เครือ
่ งดืม ่ มีนํา้ ตาลไม่เกิน 5%
• กรณีไม่เติมนํา้ แข็ง
นํา้ ตาลครึง่ ขีด (50 กร ัม) ต่อนํา้ 1 ลิตร
• กรณีเติมนํา้ แข็ง
นํา้ ตาล 1 ขีด (100 กร ัม) ต่อนํา้ 1 ลิตร
การสร ้างความร่วมมือกับผู ้ปกครอง ชุมชน จนท

• การสอ ื่ สารปั ญหาสุขภาพชอ ่ งปากเด็กให ้ผู ้ปกครอง


ทราบและชว่ ยดูแล
• แจ ้งปั ญหาเด็กทีต
่ ้องรักษากับเจ ้าหน ้าที่
• ความร่วมมือกับชุมชน กรรมการ รร. อบต
่ งปาก
การจัดบริการสุขภาพชอ

• การมีระบบข ้อมูลทีด ่ ี
• การคัดกรองและบันทึกสภาวะ
สุขภาพชอ ่ งปากของเด็กเป็ น
รายบุคคล
• การจัดบริการทีเ่ หมาะสม
• เน ้นการป้ องกันโรค เชน ่
การใช ้ sealant , fluoride
• การจัดระบบสง่ ต่อทีม ่ ี
ประสท ิ ธิภาพ
บทบาทท ันตบุคลากร
ั้ และ
1. พ ัฒนาความรู ้ และท ักษะ ของครูอนาม ัย / ครูประจําชน
น ักเรียนแกนนํา ด้านการสง ่ เสริมสุขภาพชอ่ งปาก
2. สน ับสนุนการดําเนินงานของครู และน ักเรียนแกนนํา
เชน ่ จ ัดกิจกรรมรณรงค์ เนือ ้ หาการสอน/กิจกรรมในห้องเรียน
ฝึ กท ักษะเด็กน ักเรียน ให้คา
ํ ปรึกษาเรือ
่ งโครงงาน ฯลฯ
3. จ ัดบริการท ันตกรรมป้องก ัน

- ตรวจสุขภาพชอ ่ งปากเด็กน ักเรียน


ั้ ป.1 ทุกคน และวางแผนร ักษา
ชน
- ตรวจสุขภาพชอ ั้ ป.2-6
่ งปาก ชน
- บริการเคลือบหลุมร่องฟัน
น ักเรียนชนั้ ป.1 , ป.6

- จ ัดทํารายงานสรุปผลบริการท ันตกรรมป้องก ัน
แจ้งโรงเรียน
บทบาทท ันตบุคลากร
4. จ ัดบริการท ันตกรรม ตามระบบเฝ้าระว ังท ันตสุขภาพในโรงเรียน

- จ ัดระบบน ัดหมาย หรือ


ออกหน่วยร ักษาท ันตกรรม
เชน ่ อุดฟัน ถอนฟัน ฯลฯ
สง ั อ
่ ต่อร ักษา รพ. กรณีซบซ ้ น

- รายงานสรุปผลการจ ัดบริการ
ร ักษาท ันตกรรม แจ้งโรงเรียน

่ เสริมการแลกเปลีย
5. สง ่ นเรียนรูร้ ะหว่างโรงเรียน

เพือ
่ กระตุน
้ ให้เกิดการถ่ายทอด และแลกเปลีย ่ นเทคนิค
วิธกี าร นว ัตกรรม มีการชว ่ ยเหลือก ันระหว่างโรงเรียน
ชว่ ยให้โรงเรียนพ ัฒนากิจกรรมสง ่ เสริมสุขภาพชอ ่ งปากได้
มากขึน ้ เชน ่ คูห่ โู รงเรียน เครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
เมษายน 2557

You might also like