You are on page 1of 7

ใบงานวิชา พย.

1321 การวิจัยทางการพยาบาล (Nursing Research)


ชื่อ นางสาวพิชญ์สินี สกุล จะเรียนรัมย เลขประจำตัว 64128301060
หัวข้อ การใช้สถิติในวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลผล
4.1 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง
4.2 ความรู้เกี่ยวกับวัณโรคของ
4.3 ความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับป้องกันการติดเชื้อวัณโรค
4.4 พฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อวัณโรคของกลุ่มตัวอย่าง
4.5 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อวัณโรคของกลุ่มตัวอย่าง
4.1 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง

ตารางที่ 4.1 จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุดและค่าสูงสุด


ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง (n=370 คน)

ข้อมูลทั่วไป จำนวน ร้อยละ


1.เพศ
หญิง 307 82.97
ชาย 63 17.03
2.อายุ (ปี)
20-29 ปี 163 44.05
30-39 ปี 129 34.86
40-49 ปี 57 15.41
50-59 ปี 21 5.68
Mean (S.D.) 32.71 (8.66)
Min.-Max: 20-59

A1. ให้แปลผลข้อมูลจากตารางที่ 4.1


จากตารางที่ 4.1 จำนวนตัวอย่างทั้งหมด 370 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 82.97 อายุเฉลี่ย
อยู่ที่ 32.71 ปี (S.D. 8.66 ปี) เมื่อจำแนกจัดกลุ่มอายุ พบว่า มากที่สุดอยู่ที่อายุ 20-29 ปี ร้อยละ 44.05
4.2 ความรู้เกี่ยวกับวัณโรคของกลุ่มตัวอย่าง
4.2.1 ความรู้เกี่ยวกับวัณโรค โดยรวม

ตารางที่ 4.2 จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุดและค่าสูงสุด


ความรู้เกี่ยวกับวัณโรคโดยรวม ของกลุ่มตัวอย่าง (n=370 คน)

ความรู้เกี่ยวกับวัณโรค โดยรวม จำนวน ร้อยละ


ระดับต่ำ (ต่ำกว่าร้อยละ 60) (0 - 5 คะแนน) 77 20.81
ระดับปานกลาง (ร้อยละ 60-79) (6 - 7 คะแนน) 153 41.35
ระดับสูง (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) (8 - 10 คะแนน) 140 37.84
Mean (S.D.): 6.84 (1.67)
Min.-Max.: 3-10

A2. ให้แปลผลข้อมูลจากตาราง 4.2


จากตารางที่ 4.2 กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เฉลี่ยอยู่ที่ 6.84 คะแนน (S.D. 1.67 คะแนน) เมื่อจัดแบบเป็น
คะแนนต่ำสุด-สูงสุด เพื่อจัดแบ่งเป็นระดับความรู้พบว่าส่วนใหญ่ อยู่ระดับปานกลาง ร้อยละ 41.35 รองลงมา
ระดับสูง ร้อยละ 37.84 และระดับต่ำ ร้อยละ 20.81
4.2.2 ความรู้เกี่ยวกับวัณโรค รายข้อ
ตารางที่ 4.3 จำนวน ร้อยละ ความรู้เกี่ยวกับวัณโรค รายข้อของกลุ่มตัวอย่าง (n=370 คน)
ตอบถูก
ข้อที่ ความรู้เกี่ยวกับวัณโรค
จำนวน ร้อยละ

1 สาเหตุของวัณโรคปอดเกิดจากเชื้อ Mycobacterium tuberculosis 287 77.57


2 ผู้ป่วยวัณโรคปอดสามารถแพร่เชื้อให้บุคลากรสาธารณสุขได้ผ่านทางผ่าน 307 82.97
ทางอากาศ โดยการพูด หัวเราะ ไอ จาม รดกัน
3 การตรวจวินิจฉัยวัณโรค มี 3 วิธีหลัก คือ การถ่ายภาพรังสีทรวงอก 172 46.49
การคัดกรองอาการทางคลินิก และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4 อาการสงสัยป่วยวัณโรคมากที่สุด คือ อาการ ไข้ มีไอเรือ้ รัง 2 สัปดาห์ขึ้นไป 317 85.68
หรือไอมีเสมหะ
5 บุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลเป็นป่วยวัณโรคปอดต้อง 202 54.59
ใช้เวลารักษาตามมาตรฐาน 6 เดือน โดยการรักษาวัณโรคแบ่งเป็นระยะ 2
ระยะ คือ การรักษาระยะเข้มข้น 2 เดือน และรักษาระยะต่อเนื่อง 4 เดือน
6 บุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลป่วยเป็นวัณโรคต้องแจ้ง 262 70.81
ข้อมูลต่อหัวหน้างาน เจ้าหน้าที่ควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
เพื่อดำเนินการสอบสวนโรค เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค
7 บุคลากรสาธารณสุขที่เริ่มทำงานในสถานพยาบาล 294 79.46
ควรได้รับการตรวจคัดกรองหาวัณโรคด้วยวิธีการถ่ายภาพรังสีทรวงอกและ
การคัดกรองอาการทางคลินิก
8 ในการให้บริการ การกระตุ้นการไอ การเก็บเสมหะ ในผู้ป่วยวัณโรคปอด 268 72.43
บุคลากรสาธารณสุขต้องสวมอุปกรณ์ป้องการตัวเองด้วยสวมหน้ากาก N 95
กระจังหน้า เสื้อคลุมหมวกคลุม
9 การกักกันผู้สัมผัสทุกคนเป็นเวลา 7 วัน 242 65.41
ไม่ใช่แนวทางปฏิบัติเมื่อพบบุคลากรสาธารณสุขในสถานพยาบาลป่วยเป็น
วัณโรคปอด
10 กรณีที่ตรวจพบเพื่อนร่วมงานป่วยเป็นวัณโรคปอดควรดำเนินการตามมาตร 182 49.19
การเป็นอันอับแรก คือ มาตรการส่วนบุคคล เช่น การสวมหน้ากากอนามัย
เข้ารับการตรวจคัดกรองวัณโรค
A3. ให้แปลผลข้อมูลจากตาราง 4.3
จากตารางที่ 4.3 กลุ่มตัวอย่างตอบความรู้เกี่ยวกับวัณโรคตอบถูกมากที่สุดเรียง 3 ข้อ พบว่า ตอบถูก
มากที่สุด ข้อที่ 4 อาการสงสัยป่วยวัณโรคมากที่สุด คือ อาการ ไข้ มีไอเรื้อรัง 2 สัปดาห์ขึ้นไป หรือไอมีเสมหะ
ร้อยละ 85.68 รองลงมาข้อที่ 2 ผู้ป่วยวัณโรคปอดสามารถแพร่เชื้อให้บุคลากรสาธารณสุขได้ผ่านทางผ่านทาง
อากาศ โดยการพูด หัวเราะ ไอ จาม รดกัน ร้อยละ 82.97 และสุดท้าย ข้อที่ 7 บุคลากรสาธารณสุขที่เริ่มทำ
งานในสถานพยาบาล ควรได้รับการตรวจคัดกรองหาวัณโรคด้วยวิธีการถ่ายภาพรังสีทรวงอกและการคัดกรอง
อาการทางคลินิก ร้อยละ 79.46
4.4 ความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับป้องกันการติดเชื้อวัณโรคของกลุ่มตัวอย่าง
4.4.1 ความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับป้องกันการติดเชื้อวัณโรค โดยรวมและรายด้าน
A4. ให้เติมระดับลงในช่องคอลัมน์การแปลผลในตาราง 4.4 ตามเกณฑ์ดังนี้
เกณฑ์การแปลผล I=Max-Min/จำนวนระดับ
I=4-1/3=3/3=1
ระดับต่ำ (1.00-2.00 คะแนน)
ระดับปานกลาง (2.01-3.00 คะแนน)
ระดับมาก (3.01-4.00 คะแนน
ตารางที่ 4.4 ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับป้องกันการติดเชื้อวัณโรค
โดยรวมของกลุ่มตัวอย่าง (n=370 คน)
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ Mean S.D. การแปลผล
ด้านการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ 3.11 0.56 ระดับมาก
ด้านความเข้าใจข้อมูลทางสุขภาพ 3.22 0.55 ระดับมาก
ด้านการวิเคราะห์ประเมินค่าข้อมูล 3.26 0.52 ระดับมาก
ด้านการประยุกต์ใช้ข้อมูลทางสุขภาพ 3.27 0.54 ระดับมาก
โดยรวม 3.22 0.48 ระดับมาก
4.5 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อวัณโรคปอดของกลุ่มตัวอย่าง
4.5.1 ที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อวัณโรคปอดของกลุ่มตัวอย่าง
วิเคราะห์ด้วยสถิติสมั ประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson correlation coefficient)
ตารางที่ 4.5 การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อวัณโรคของกลุ่มตัวอย่างโดย
ใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) (n=370 คน)
ปัจจัย ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) p-value
อายุ -0.008 0.881
ความรู้เกี่ยวกับวัณโรค 0.114 0.028
ความรอบรู้ด้านสุขภาพด้านการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ 0.314 <0.001
ความรอบรู้ด้านสุขภาพด้านความเข้าใจข้อมูลทางสุขภาพ 0.488 <0.001
ความรอบรู้ด้านสุขภาพด้านการวิเคราะห์ประเมินค่าข้อมูล 0.445 <0.001
ความรอบรู้ด้านสุขภาพด้านการประยุกต์ใช้ข้อมูลทางสุขภาพ 0.370 <0.001

A5. ให้แปลผลข้อมูลจากตาราง 4.5


จากตารางที่ 4.5 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อ วัณ โรคของกลุ่มตั วอย่าง
อย่างมีนัยสำคัญที่สถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ 1) ความรู้เกี่ยวกับวัณโรค (r=0.114, p-value=0.028), 2) ความ
รอบรู้ ด้านสุขภาพด้านการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ (r=0.314, p-value <0.001), 3) ความรอบรู้ด้านสุ ขภาพด้าน
ความเข้ าใจข้อมูลทางสุขภาพ (r=0.488, p-value <0.001), 4) ความรอบรู ้ด ้านสุขภาพด้ านการวิ เคราะห์
ประเมินค่าข้อมูล (r=0.445, p-value <0.001), 5) ความรอบรู้ ด้ านสุขภาพด้านการประยุก ต์ ใช้ข้อมู ลทาง
สุขภาพ (r=0.370, p-value <0.001)
ส่ ว นอายุ ไ ม่ ม ี ค วามสั ม พั น ธ์ ก ั บ คะแนนพฤติ ก รรมป้ อ งกั น การติ ด เชื ้ อ วั ณ โรค ( 7=-0.008,
p-value <0.881)
4.5.1 ที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อวัณโรคปอดของกลุ่มตัวอย่าง
วิเคราะห์ด้วยสถิติสมั ประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson correlation coefficient)
ตารางที่ 4.6 การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อวัณโรคของกลุ่มตัวอย่างโดย
ใช้สถิติ Chi square (n=370 คน)

พฤติกรรมป้องกันการติดเชื้อวัณโรคปอด
ระดับดี ระดับควรปรับปรุง
ปัจจัย (n=247คน) (n=123คน) χ2 p-value
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

เพศ 0.364 0.546


หญิง 207 67.43 100 32.57
ชาย 40 63.49 23 36.51
อายุ(ปี) 6.183 0.013
20-29 ปี 127 61.35 80 38.65
30 ปีขึ้นไป 120 73.62 43 26.38
ความรู้เกี่ยวกับวัณโรค 68.746 <0.001
ระดับต่ำและระดับปานกลาง 32 22.86 91 73.98
ระดับสูง 108 77.14 32 22.86

A6. ให้แปลผลข้อมูลจากตาราง 4.6


จากตารางที่ 4.6 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับพฤดิกรรมป้องกันการติดเชื้อวัณโรคของกลุ่มตัวอย่าง
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ได้แก่ 1) กลุ่มอายุ (χ2=6.183, p-value = 0.013), 2) ระดับความรู้
เกี่ยวกับวัณโรค (χ2=68.746, p-value <0.001), 3) กลุ่มเพศไม่มีความสัมพันธ์กับระดับพฤติกรรมป้องกัน
การติดเชื้อวัณโรคกลุ่มอาย (χ2=0.364, p-value = 0.546)

You might also like