You are on page 1of 37

ศ.พญ.

กุลกัญญา โชคไพบูลย์ กจิ

ประชุม กระทรวง 21 พค 21
สรุป เปรียบเทียบวัคซีน จากการศึกษาระยะที่ 3
วัคซ๊น ชนิด ป้ องกันป่ วย ป้ องกันป่ วย ป้ องกันการ เก็บ (oC)
หนัก แพร่เชือ้
Pfizer mRNA 95% 100% 60% -70 (-20)
Moderna mRNA 94% 100% ไม่มีขอ้ มูล -20
Astra Zeneca Adenovirus 79% 100% 50% 3-5
Johnson Adenovirus 67% (ปานหลาง-หนัก) 78% ไม่มีขอ้ มูล 3-5
Sputnik Adenovirus 92% 100% ไม่มีขอ้ มูล 3-5
Sinovac Inactivated 51% (เบา-กลาง-หนัก) 100% ไม่มีขอ้ มูล 3-5
84% (กลาง-หนัก)
Sinopharm Inactivated 79%-86% ไม่มีขอ้ มูล ไม่มีขอ้ มูล 3-5
วัคซีน อะดีโนไวรัส เวคเตอร์
Adnovirus vector
อะดีโนไวรัสมนุษย์ชนิด5

อะดีโนไวรัสมนุษย์ชนิด26 อะดีโนไวรัสมนุษย์ชนิด5+26

อะดีโนไวรัสชิมแพนซี
ประสิ ทธิผลในการป้ องกัน Regimen (N=11,636 in interim analysis) Total= 23, 848
D1 >D28 VE
ภาพรวมได้ ผลป้ องกันป่ วยได้ 79% Half dose (~2.5 x1010) Full dose 90.0%
ป้ องกันหนักหรื อตายได้ 100% Full dose (~5 x1010) Full 62.3%
วัคซีนมีประสิทธิผล ในกลุ่ม LD/SD มากกว่า
SD/SD เพราะระยะห่างระหว่างโด๊ส ไม่ใช่เพราะขนาด
โด๊สทีม่ าก กว่า
VE 70.4%
22 March 2021 07:00 GMT

79% vaccine efficacy at preventing symptomatic COVID-19

100% efficacy against severe or critical disease and


hospitalisation

Comparable efficacy result across ethnicity and age,


with 80% efficacy in participants aged 65 years and over

Voysey M. Lancet December 08, 2020 Favourable reactogenicity and overall safety profile
Efficacy of ChAdOx1 nCoV-19 after two
standard doses
90
82.4
80 Vaccine Efficacy (%)
70
63.1 63.7 • ระยะห่างระหว่างโด๊สยิง่
59.9
60
49.5
54.9 นาน ประสิทธิภาพยิง่ ดี
• วัคซีนสามารถลดการเกิด
50

40

30 โรค ทุกรู ปแบบได้ ประมาณ


20
50% (54.1% in LS+SD)
10

0
• First indication of
Symptomatic
illness
Any PCR+ Interval <6 wk Interval 6-8 wk Interval 8-12 wk Interval >12 wk reduction in disease
VE transmission of up to
67%
• แนะนาฉีด 10-12 สัปดาห์
Voysey M, et al. Lancet February 19,
2021DOI:https://doi.org/10.1016/S0140-
6736(21)00432-3
ประสิ ทธิผลในการป้องกันโรคของวัคซีนของ แอสตร้า เทียบกับวัคซีน
ของไฟเซอร์ หลังจากฉีด 1 เข็ม ในประเทศสก๊อตแลนด์
ประสิทธิผลของวัคซีนไฟเซอร์ = 91%
ประสิทธิผลของวัคซีนแอสตร้า = 88%
ไฟเซอร์ แอสตร้า เซเนก้า

อายุ 18-64 ปี

อายุ 65-79 ปี

อายุ 80 ปี ขนึ ้ ไป

Vasileiou DE, et al. https://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=3789264 Vasileiou E, et al.Lancet. April 23, 2021


https://doi.org/10.1016/ S0140-6736(21)00677-2
Impact of vaccination on household transmission of
SARS-COV-2 in England วัคซีน AZ และ Pfizer ป้ องกันการแพร่ เชื้อได้
50% วัคซีน AZ เริ่ มป้ องกันได้ ตั้งแต่ ก่อน 10 วันหลังฉีด
..where index cases are recently vaccinated (less than
10 days before testing positive), odds of being a
secondary case are lower for ChAdOx1 nCoV-19, but
Both the ChAdOx1 nCoV-19 and
higher for BNT162b2 BNT162b2 vaccines are associated
with reduced
likelihood of household transmission
by 40-50% from individuals
diagnosed with COVID-19 after
vaccination
Odds ratios for contacts becoming a secondary case
according to vaccination timing of the index case (days
before testing positive) by type of vaccination, vs.
contacts where the index case was not vaccinated. Results
from multivariable logistic regression

Harria RJ, et al. https://khub.net/documents/135939561/390853656/Impact+of+vaccination+on+household+transmission+of+SARS-COV-


2+in+England.pdf/35bf4bb1-6ade-d3eb-a39e-9c9b25a8122a?t=1619601878136
ChAdOx1 nCoV-19 recipients had a AZD1222 induces lower immunity
significantly lower viral load even for
B1.1.7(p<0.0001) and were NAAT positive for a
against B1.1.7; however, VE still high,
shorter time (p<0.0001) than participants who shorter shedding duration
่ี ีดวัคซีนจะมี
received the control vaccine ผู้ทฉ
ระดับไวรัสต่ากว่า แม้จะเป็ นสายพันธุก์ ลาย
วัคซีนป้องกันสายพันธุ์ UK ได้ ดี แม้ ระดับ NT จะ
Vaccine efficacy against symptomatic
ตกไปบ้ าง
NAAT positive infection was similar Virus neutralisation activity by vaccine induced antibodies
for B.1.1.7 and non-B1.1.7 lineages was 9-fold lower against the B.1.1.7 variant than against a
(74.6% [ 41.6-88.9] and 84% [70.7-91.4] canonical nonB.1.1.7 lineage.

Emary, Katherine R. W. 1.7). Available at SSRN: https://ssrn.com/abstract=3779160 or


http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.3779160
วัคซีนชนิดเชื้อตาย
Inactivated

การเลีย้ งเชือ้ ต้ องทาให้ห้อง


แลป BSL3
Efficacy and Safety of a COVID-19
Inactivated Vaccine in Healthcare
Professionals in Brazil: The
PROFISCOV ป้ องกันป่ วยหนัก เข้ ารพ. และ
การติดเชือ้ ทีเ่ กิดขึน้ เสี ยชีวติ ได้ 100% ทั้งๆทีเ่ ป็ นสายพันธุ์
80% เป็ น แบบมี
อาการน้ อย ไม่
Score 2 ต(ไม่้องตอ้ งการการรักษา) มีสดั ส่วนรวม 80% (94% vs 73%) P1,P2
กินยารักษา(94%
ในกลุ่มทีว่ ัคซีน vs Similar GMT against P1 and P2 variant
Score ่ม3ทีต้ไ่ ม่อไงใช้
73%ในกลุ ด้ ยา ¾ of the outbreak strain in Brazil are variant stain
วัคซีน)
Score 4 นอน รพ

Palacios R, et al. SSRN.


https://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=38
22780
Phase II immunogenicity of Sinovac in healthy adults (N=744 )
and elderly (N=349)
ใช้ ในผู้ทสี่ ู งวัยได้ ดี ภูมิขนึ้ พอๆกัน อาการข้ างเคียงน้ อยกว่ า
Neutralizing antibody 28 days after the last dose of 600 SU (medium dose)
Seroconversion in placebo group = 0
Adverse events
120

97.4
100 94.1 97
-Adults = 33.3% (vac)
80
vs 21.7% (pla)
No grade >=3
60
-Elderly = 20%(vac) vs
44.1
40
40.7
20.5% (pla)
23.8 No grade >=3
20

0
Seroconversion 18-59 Seroconversion >=60 yo NT-GMT 18-59 yo NT-GMT >=60 yo
yo 14-d interval 28-day interval Confidential
จากการใช้วคั ซีนของซิโนแว๊กซ์ 10.5 ล้านโดส ในประเทศชิลี พบว่า วัคซีนมี
ประสิ ทธิ ภาพ ทั้งๆที่ สายพันธุ์ที่ระบาดเป็ นสายพันธุ์กลายพันธุ์ P1, P2
ประสิทธิผลในการป้ องกันโรคจากการใช้วัคซีนของ
ซิโนแว๊กซ์

ป้ องกันการนอน ป้ องกันการเสียชีวิต
ป้ องกันป่ วย ป้ องกันการเข้าไอซียู
โรงพยาบาล จากโควิด 19
ทุกวัคซ๊นในโลกนี้ ทาให้เกิดอาการอัน
ไม่พงึ ประสงค์ได้
-อาการข้างเคียง
-การแพ้
-การกระตุ้นให้เกิดภาวะโรคต่างๆ โดย
immune mediated process
แนวทางปฏิบตั ิ กรณี มีอาการอันไม่พึงประสงค์หลังรับวัคซีน
ให้วัคซีนชนิดเดิมซา้ ได้ ห้ามให้วัคซีนชนิดเดิมอีก ให้เปลี่ยนชนิด
อาการไม่รุนแรงดังต่อไปนี้ A. Anaphylaxis คือมีอาการมากกว่าหรือเท่ากับ 2 ข้อดังต่อไปนี้ หลังได้วัคซีนโควิดเข็ม-19 แรกภายใน 30 นาที
• ปวด บวม แดง บริเวณทีฉ่ ีด 1. มีอาการทางระบบผิวหนังหรือเยือ่ บุ เช่น ผื่นลมพิษทั่วตัว คัน ผื่นแดงหรือมีอาการบวมของปากลิน้ และเพดานอ่อน
• ไข้ 2. มีอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น คัดจมูก นา้ มูก ไหล เสียงแหบ หอบเหนื่อย หายใจมีเสียงหวีดจากหลอดลมทีต่ บี ตัน
• อ่อนเพลีย ง่วงนอน เสียงฮืด้ ตอนหายใจเข้า (stridor) มีการลดลงของ peak expiratory flow (PEF) ระดับออกซิเจนในเลือดลดลง
• เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ 3. ความดันเลือดลดลงหรือมีการทางานของระบบต่าง ๆ ล้มเหลว เช่น hypotonia (collapse) เป็ นลม อุจจาระ ปั สสาวะ
• ปวดเมื่อยลาตัว ราด เป็ นต้น
• ผื่น เช่น maculopapular rash 4. มีอาการของระบบทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน เป็ นต้น
B. อาการรุ นแรงอื่นๆ ให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ

แพ้อาหารหรือยา ให้วัคซีนป้ องกัน


พิจารณาให้ non-
ไม่ว่าจะรุ นแรง COVID-19 ได้ สังเกต
อาการไกล้ชิดเพราะอาจ sedative
antihistamine ก่อน
หรือไม่ แพ้ได้

หากมีอาการ ให้การรักษาด้วย
รายงานกระทรวง จะมีการ
Epinephrine ก่อน
รุ นแรงสงสัย และส่ง serum
ทบทวนรายงานผู้ป่วยโดย
คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ
anaphylaxis tryptase ด้วย
การรักษา AEFI และการรักษา หลังจาก
แพ้รุนแรง รับวัคซีน COVID-19

อาการข้างเคียง ให้
รักษาตามอาการ กินยา
ลดไข้ นอนพัก ให้ความ
มั่นใจว่าเป็ นอาการชั่ง
คราว จะหายใน 1-2
วัน
ผลการพิจารณา AEFI 11 พค 64 จากการฉีดวัคซีนไปทัง้ หมด

ทุกรายรับการรีวิว ไม่พบว่า
มีรายฝดเกี่ยวข้องกับการ
ฉีดวัคซีน ยังมีท่ีกรรมการยัง
รอผลชันสูตรอยู่ 2 ราย

ประสบการณ์ท่ี
เราพบ พอๆกับที่
รายงานในชิลี
ข้อมูลเบือ้ งต้นการศึกษาในบุคลากร
ทางการแพทย์ 360 คน ศิรริ าช
ข้อมูลเบือ้ งต้นการศึกษาในบุคลากร
ทางการแพทย์ 360 คน ศิรริ าช
ภาวะลิ่มเลือดทีม่ ีเกร็ดเลือดต่า เกิดหลังการฉีด
วัคซีน AZ 1 :100,000 -1:1,000,000

The MHRA recently confirmed that the evidence to date does not
suggest that the COVID-19 Vaccine AstraZeneca causes venous
thromboembolism without a low platelet count.

It is important to note that this type of blood clot together with


lowered platelets can rarely occur naturally in unvaccinated people as
well as in people with COVID-19 disease.

VITT เกิด 4/ล้าน แต่ไม่เกี่ยวกับ


• By 31 March 20.2 million doses of the COVID-19
thrombosis without Vaccine AstraZeneca had been given in the UK, risk of
thrombocytopenia these blood clots is approximately 4/
Individuals who experience any severe symptoms…… million.
shortness of breath, chest pain, leg swelling, persistent • Anyone who did not have these side effects should
abdominal pain, neurological symptoms, such as severe come forward for their second dose when invited.
and persistent headaches or blurred vision, tiny blood • shortness of breath, chest or persistent
spots under the skin beyond the site of the injection - abdominal pain, leg swelling
• blurred
HLA-DRB1*03:01 andvision, confusion or seizures
HLA-DQB1*02:01
from around 4-20 days following vaccination, should is genetic •riskunexplained
for PF4 antibody คนไทยพบ
pin-prick rash or bruising beyond Thrombocytopenia
Heparin-induced
seek urgent medical attention. 0.12% (อังกฤษ พบthe12.7%)
injection site
The Journal for Nurse Practitioners
Volume 14, Issue 5, May 2018, Pages 402-408.e3
Weighing up the potential benefits and harms of
Base case (~2,000 daily cases)
the AstraZeneca COVID-19 vaccine
การวิเคราะห์ โดย HITAP เปรียบเทียบในสถานการณ์ที่ไม่มีวคั ซีนทางเลือก
For 1,000,000
Potential benefits Potential harms
vaccinated people
ICU admissions due to COVID-19 avoided VITT cases due to the vaccine
Age group
129 20-30 yr 5
Total number of VITT cases
• 20-30 group = 39 (15-62)
189 20-40 yr 5 • 20-40 group = 75 (30-121)
• 20-50 group = 119 (48-190)
• 20-60 group = 162 (65-259)
225 20-50 yr 5

10 people
213 20-60 yr 5 10 people
Research team: Yot Teerawattananon, Nantasit Luangasanatip, Juthamas Prawjaeng, Wanrudee Isaranuwatchai, Wirichada (Pongtavornpinyo) Pan – ngum
Funding support by: World Health Organization (Thailand country office), Health System Research Institute
Cerebral venous thrombosis: a retrospective cohort study of
513,284 confirmed COVID-19 cases and a comparison with
489,871 people receiving a COVID-19 mRNA vaccine: ข้ อมูล
จาก e-health network พบโอกาสเป็ น CVT หลังโควิด = 39/m หลังได้
mRNA vaccine = 4.1/m (หลังได้ AZ Vaccine =5/m ข้ อมูลจาก EMA)

The incidence of CVT after COVID-19 diagnosis was 39.0 per million people (95% CI, 25.2–60.2). This was higher than after influenza (0.0 per million people, 95% CI 0.0–22.2,
adjusted RR=6.73, P=.003) or after receiving BNT162b2 or mRNA-1273 vaccine (4.1 per million people, 95% CI 1.1–14.9, adjusted RR=6.36, P<.001). From the European
Medicines Agency for the incidence associated withChAdOx1 nCoV-19 vaccine (5.0 per million people, 95% CI 4.3–5.8)

Taquet M, et al. https://osf.io/a9jdq/


การร ักษา แนะนาโดยสมาคมโลหิตวิทยาแห่ง
ประเทศไทย
• Avoid platelets
• Give intravenous immunoglobulin
(IVIG)
• Avoid heparin and LMWH
• Give non-heparin anticoagulation
• Argatroban, Fondaparinux,
Apixaban, Rivaroxaban,
Dabigatran
• Sometimes
IVIG, anticoagulant • Steroids
• Plasma exchange
• Rituximab

สไลด์โดย นพ. พันธุเ์ ทพ อังชัยสุขศิริ


Anxiety-Related Adverse Event Clusters After Janssen COVID-19 Vaccination — Five
U.S. Mass Vaccination Sites, April 2021 ภาวะ ISRR จากวัคซีน Johnson ในอเมริกา
Vaccination site, no. (%)
Characteristic A B C* D E 64 anxiety-related
Drive-through site Y Y N Y Y events, including
No. vaccinated, total (per day) 3,901 (881; 1,673; 1,347) 2,323 37 593 1,770 17 events of
Cases per 1,000 vaccinated, total (per day) 7.4 (11.4; 7.2; 5.2) 5.2 10.8 13.5 6.2 syncope (fainting)
Vaccination temporarily suspended N Y Y Y Y after receipt of
Case characteristic, no. (%) Janssen COVID-19
Women 18 (62) 6 (50) 4 (100) 4 (50) 7 (64) vaccine. The
Age range, yrs (median) 23–77 (42) 21–63 (40) 19–33 (20) 25–62 (34) 18–59 (35) reporting rates of
§
Transported to emergency department 6 (21) 3 (25) 1 (25) 1 (13) 2 (18)
syncope to VAERS
Reported history of anxiety related to 7 (24) 4 (33) 1 (25) 0 (0) 1 (9) after Janssen
needles or medical visits
COVID-19 and
Common signs and symptoms
Chest pain 3 (10) 0 (0) 1 (25) 0 (0) 0 (0) influenza vaccines
Hypotension 3 (10) 3 (25) 0 (0) 2 (25) 2 (18) (2019–20) were 8.2
Light-headedness or dizziness 19 (66) 4 (33) 3 (75) 3 (38) 7 (64) and 0.05 per
Nausea/Vomiting 10 (34) 2 (17) 0 (0) 1 (13) 3 (27) 100,000 doses,
Pallor or diaphoresis 7 (24) 2 (17) 1 (25) 6 (75) 4 (36) respectively
Seizure-like activity 0 (0) 0 (0) 1 (25) 3 (38) 1 (9)
Syncope 5 (17) 4 (33) 2 (50) 3 (38) 3 (27)
Tachycardia 2 (7) 1 (8) 1 (25) 0 (0) 0 (0)

Hause AM, et al. MMWR Morb Mortal Wkly Rep. ePub: 30 April 2021
การเตรี ยมการเพื่อป้องกันเหตุการณ์ ISRR
ก่อนการฉีดวัคซีน
• ควรจัดสถานที่ และระบบฉีดวัคซีนให้มีการถ่ายเทอากาศทีด่ ี ไม่ร้อนอบอ้าวจนเกินไป จุดทีใ่ ห้บริการควรห่างกัน ไม่รอนาน
• การคัดกรองผู้รับบริการ ถ้าไม่มีความพร้อมในการรับวัคซีน หรือมีความวิตกกังวล ควรพิจารณาเลื่อนนัดไปก่อน
• ควรมีการให้ความรู้กับผู้รับการฉีดวัคซีนถึงประโยชน์และประสิทธิภาพของวัคซีน และอาการเกิดขึน้ ภายหลังการได้รับวัคซีน
• ควรมีการเตรียมระบบรองรับผู้ทอี่ าจเกิดอาการ ISRR โดยทีมสหสาขาทีป่ ระกอบด้วยแพทย์และบุคคลากรทีม่ ีความเข้าใจ
ระหว่างการฉีดวัคซีน
• หากผู้รับบริการเคยมีประวัตวิ ่าฉีดวัคซีนแล้วเป็ นลม หรือดูมีความวิตกกังวลมาก อาจพิจารณาให้รับวัคซีนในท่านอน ควรชวนพูดคุยขณะฉีด
• ไม่จาเป็ นต้องดูดกลับเพือ่ ทดสอบว่าเข็มเข้าหลอดเลือดหรือไม่ เพราะจะทาให้เจ็บจากการฉีดมากขึน้ และนานขึน้
• ควรฉีดในตาแหน่งทีเ่ หมาะสม โดยฉีดเข้ากล้ามเนือ้ ทีต่ าแหน่งช่วงกลางของกล้ามเนือ้ เดลตอยด์ (mid deltoid) ไม่ควรฉีดสูงเกินไป
หลังการฉีดวัคซีน สังเกตอาการภายใน 30 นาที
• รีบให้การดูแลเมื่อพบผู้ทม่ี ีอาการ ควรให้การดูแลรักษาโดยใช้สหสาขาช่วยดูแล อาการทางกายควรให้รักษาตามอาการ และควรให้การประคับประคองจิตใจ โดยไม่มีการ
ว่ากล่าวหรือทาให้ผู้ทมี่ ีอาการรู้สึกไม่ดี เลี่ยง Over-investigation
• ในระหว่างทีใ่ ห้การรักษาดูแล ควรให้ความมั่นใจเรื่องอาการทีเ่ กิดขึน้ ว่า อาการนีอ้ าจเกิดขึน้ ได้ และส่วนใหญ่จะดีขนึ้ ภายในเวลาไม่นาน โดยไม่มีอันตราย เพือ่ ลดความ
วิตกกังวล
• ทันทีทอี่ าการดีขนึ้ ควรให้กาลังใจ และสนับสนุนให้กลับไปปฏิบัตงิ านหรือภารกิจได้ตามปกติ
24 24 30

Immunization Stress-Related Activate stroke fast track


Response (ISRR) (Stroke syndrome)
1. Hemiparesis MRC grading ≤3
1. Thrombosis
2. Positive symptoms 2. NIHSS ≥4
3. NIHSS <4 severe disable symptoms/clinical
3. large vessel symptoms hemianopia, aphasia
4. Transient abnormal movement
VITT: <150,000/mL
Peripheral blood smear
5. Stroke guidelines
6.
7.
8.
2

acute
• disseminated encephalomyelitis (ADEM),
72 https://e-reports.doe.moph.go.th/aefi Myelitis, Neuropathy Myopathy
• doe_cd@ddc.mail.go.th
ประโยชน์ อาการข้างเคียง
ป้ องกันป่ วยปานกลาง/หนัก 84% ซิโนแว๊กซ์ ไข้ เพลีย ปวดหัว คลื่นใส้ 35 %
ป้ องกันป่ วยหนัก/เสียชีวิต 100% ชา อ่อนแรง ชั่วคราว (ไทย) 0.008% (82/ล้าน)
ภูมคิ ุ้มกันขึน้ เต็มทีห่ ลังเข็ม 2 แพ้รุนแรง (ไทย) 6.6/ล้าน)
ป้ องกันป่ วยทุกแบบ 80% ไข้ เพลีย ปวดหัว คลื่นใส้ 80%
ป้ องกันป่ วยหนัก/เสียชีวิต 100% แอสตร้า เซเนก้า แพ้รุนแรง (ไทย) 8.4/ล้าน)
ภูมคิ ุ้มกันขึน้ เต็มทีห่ ลังเข็ม 1 ภาวะลิ่มเลือด VITT ตปท 4/ล้าน, ไทย <1/ล้ าน
จากการศึกษาระยะ 3 จากการศึกษาระยะ 3 และที่พบจริง
แอสตร้า เซเนก้า ซิโนแว๊กซ์

ป้ องกันป่ วยหนักและตายได้
100%

ภูมิคมุ้ กันเกิด อาการข้างเคียงเช่นไข้ พบอาการข้างเคียง ต้องฉีด 2 เข็มจึงจะ


อ่อนเพลีย เกิดได้บอ่ ย เช่นไข้ อ่อนเพลีย
เกือบจะเต็มที่ ได้ภมู ิคมุ้ กันเต็มที่
โดยเฉพาะในคนที่อายุ น้อย
ตัง้ แต่หลังเข็มที่ 1 น้อย มีรายงาน ชา อ่อน
แรงชั่วคราว พบน้อย
กังวลเรื่อง VITT
ฉีดวัคซีนแล้วยังติดเชือ้ ได้แบบไม่มีอาการและอาการน้อย
โรคทีย่ ังไม่ควรฉีดวัคซีนป้ องกัน โควิด 19
มีโรคเรือ้ รังทีย่ ังควบคุมไม่ได้ อาการยังไม่คงที่
ตัง้ ครรภ์ไตรมาส
กาลังเจ็บป่ วย >> ต้องปรึกษาแพทย์ก่อน ถ้าอาการ แรก (ก่อน 12
หรือโรคประจาตัว -โรคหลอดเลือด สงบ คงที่ สัปดาห์)
กาเริบ ให้ฉีด
-โรคหัวใจ >> ตัง้ ครรภ์หลัง
>> ฉีดได้เมือ่ วัคซีนได้ 12 สัปดาห์ และ
-โรคระบบประสาท
หายป่ วย ให้นมบุตร ให้ฉีด
-ภาวะภูมคิ ุ้มกันต่า เช่นใช้ยากดภูมคิ ุ้มกัน ยาคีโม >>อาจต้อง ได้
หยุดยาบางตัว ก่อนหรือหลังฉีด
คาแนะนาการฉีดวัคซีนป้ องกันโควิด-19 สาหรับผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง
โรคมะเร็ง - BMT ให้เว้นระยะ>3 เดือน, ผ่าตัด เว้นระยะ> 3 วัน
กลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด - ให้ในรายที่อาการ stable ถ้าอาการกาเริบควรปรึกษาแพทย์ หรือควบคุมไม่ได้
ให้ปรึกษาแพทย์ก่อนฉีด
- Anticoagulant ให้ได้ ใช้เข็มเล็ก กดนาน
กลุ่มโรคทางเดินหายใจเรือ้ รัง (ที่ - ฉีดได้หลังจากโรคสงบ 2- 4 สัปดาห์
ควบคุมได้ไม่ด)ี
กลุ่มโรคไตเรือ้ รัง - ฉีดได้ แต่ถา้ กินยากดภูมิ ให้ปรึกษาแพทย์
กลุ่มโรคระบบประสาท (โรคหลอด - อาการ Stable > 4 สัปดาห์ ไม่มี recent attack
เลือดแดง โรคลมชัก โรคภูมคิ ุ้มกัน - กิน anticoagulant ให้ INR<3
ระบบประสาท) - ยากดภูมิคมุ้ กัน หยุดยา methotrexate 1 สัปดาห์หลังการฉีด
- ฉีดวัคซีนก่อนให้ cyclophosphamide 1 สัปดาห์, Rituximab 4 สัปดาห์ etc.
ผู้ทม่ี ภี ูมคิ ุ้มกันบกพร่องโดยทั่วไป - ฉีดได้ พิจารณาเลือก non-live vaccine ก่อน
คาแนะนาการฉีดวัคซีนป้ องกันโควิด-19 สาหรับผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง
ผู้ตดิ เชือ้ เอชไอวี - เลื่อนไปก่อนถ้ามี active OI
ผู้ป่วยแพ้ภมู ติ ัวเอง - ฉีดได้ 1 อาทิตย์หลังฉีด ควรหยุดยา Methotrexate, Tofacitinib, Baricitinib
- Rituximab ให้รอระยะเวลา 5-6 เดือนหลังจากที่ได้รบั ยาครัง้ สุดท้าย
ฉีดพร้อมวัคซืนอืน่ ๆ -ให้ฉีดวัคซีนโควิด-19 ก่อน
-ควรห่าง 2 สัปดาห์ ยกเว้นพิษสุนขั บ้า ที่ให้ฉีดตามกาหนด
-ควรห่าง 4 สัปดาห์ ถ้าเป็ น live/live vaccine
เคยแพ้วัคซีน อาหาร หรือยาต่างๆ -ฉีดได้โดยให้เฝ้าระวังอาการหลังฉีดไกล้ชิด ไม่ตอ้ ง pre-med แต่พิจารณา non-sedative
antihistamine ได้
กาลังมีประจาเดือน -ฉีดได้
กาลังเตรียมมีบุตร -ควรรีบฉีด จะได้มีภมู ิก่อนการตัง้ ครรภ์ ถ้าฉีดแล้วพบว่าตัง้ ครรภ์ให้เลื่อนเข็ม 2 ไปฉีดหลัง 12
สัปดาห์ ไม่ตอ้ งทาแท้ง
สตรีตงั้ ครรภ์ - ฉีดหลังอายุครรภ์ 12 สัปดาห์เป็ นต้น อาจเลือกวัคซีนเชือ้ ไม่มีชีวิตก่อน ไม่จาเป็ นต้องตรวจการ
ตัง้ ครรภ์ก่อนฉีด
สตรีให้นมบุตร - ฉีดได้ ไม่ตอ้ งงดนมแม่
เป็ นแล้วต้องฉีดไหม
ฉีดสลับตัวได้ไหม ต้องฉีดซา้ เมื่อไหร่
-ควรฉีด แต่ควรทิง้ ช่วง
-ได้ถ้าจาเป็ น แนะนาตัว -คาดว่าต้องซา้ ยังไม่
หลังเป็ น 3 เดือนเป็ น
เดิมก่อน ทราบเมื่อไหร่
อย่างน้อย เพียง 1 เข็ม

ฉีดวัคซีนอืน่ ก่อน หรือหลังวัคซีนโค ป้ องกันกลายพันธุไ์ ด้ไหม


วิด ตปทไม่ต้องเว้นช่วง? -ยังป้ องกันได้ แต่
-ระยะแรกนีใ้ ห้เว้นระยะ2 สัปดาห์ ประสิทธิภาพอาจลด แต่
ก่อน ป้ องกันหนัก ตาย ได้ดี
ความเชื่อผิดๆ
มีประจาเดือน ดืม่ ชา กาแฟ กินนา้ 1 ลิตร ห้ามกิน NSAID หลังฉีด ต้องกิน ASA ก่อนฉีด
ระวัง Social Media
การสื อสารสู่ ประชาชน

ให้ข้อมูลก่อน = อาจทาให้กงั วล
ให้ข้อมูลหลังเหตุการณ์ = แก้ตัว
For Those Who
were defeated
by COVID-19
before the
vaccine arrive

THANK
YOU
By
Kulkanya Chokephaibulkit, MD
Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University

You might also like