You are on page 1of 10

ปัจจัยทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั การควบคุมอาการของโรคจมูก

อักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืดในเด็ก
ณ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
กันยากร คงสมบูรณ์*, ประยุทธ ภูวรัตนาวิวิธ**
บทคัดย่อ
โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืด เป็นโรคเรื้อรังของระบบทางเดินหายใจที่
เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในปัจจุบันพบว่ามีผู้ป่วยเด็กจ�ำนวนมากที่ไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้
ผูว้ จิ ยั จึงต้องการประเมินการควบคุมอาการของโรค และ วิเคราะห์หาปัจจัยทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั การ
ควบคุมอาการของโรคในเด็ก
วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง เก็บข้อมูลผู้ป่วยเด็กช่วงอายุระหว่าง 8-12 ปี
ที่เข้ารับการรักษาด้วยโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืด ณ คลินิกโรคภูมิแพ้ สถาบัน
สุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ในช่วงระหว่างเดือน มกราคม ถึง เมษายน พ.ศ. 2560 โดยรวบรวม
ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผปู้ ว่ ยและผูป้ กครอง การทบทวนเวชระเบียนผูป้ ว่ ย และประเมินการควบคุม
อาการของโรคด้วยแบบสอบถาม CARATKids ฉบับภาษาไทย จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ
เชิงพรรณนา และใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ศึกษากับ
การควบคุมอาการของโรค
ผลการศึกษา จากกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมการศึกษาจ�ำนวน 147 คน พบว่ามีผู้ป่วยที่สามารถ
ควบคุมอาการของโรคได้จ�ำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 68 เป็นผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมอาการ
ของโรคได้จ�ำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 32 และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมอาการของ
โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืดอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระยะเวลาที่เป็นโรค
จมูกอักเสบภูมิแพ้ adjusted OR=1.41 95%CI(1.00-1.98) ความรุนแรงของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้
adjusted OR=28.92 95%CI(6.70-124.93) และระดับการควบคุมโรคหืด adjusted OR=49.06
95%CI(9.66-249.27)
สรุป สถานการณ์ปัจจุบันของสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีพบว่า มีผู้ป่วยเด็ก
ประมาณหนึง่ ในสามทีย่ งั ไม่สามารถควบคุมอาการของโรคจมูกอักเสบภูมแิ พ้ทเี่ กิดขึน้ ร่วมกับโรคหืด
ได้ ซึ่งปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมอาการของโรคอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระยะ
เวลาทีเ่ ป็นโรคจมูกอักเสบภูมแิ พ้ ระดับความรุนแรงของโรคจมูกอักเสบภูมแิ พ้ และระดับการควบคุม
โรคหืด ซึง่ จะเป็นข้อมูลให้บคุ คลากรทางการแพทย์ทเี่ กีย่ วข้องใช้วางแผนควบคุม หรือป้องกันไม่ให้
ปัจจัยเหล่านี้แย่ลง จนท�ำให้สามารถควบคุมอาการของผู้ป่วยได้ดีขึ้นต่อไป
ค�ำส�ำคัญ โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืด ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุม
อาการของโรค
*แผนกเภสัชกรรม สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
**ภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมอาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืดในเด็ก 1
ณ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชิน ี
บทน�ำ กับโรคหืดอยู่เป็นจ�ำนวนมาก และยังคงพบปัญหาว่า
โรคจมูกอักเสบภูมแิ พ้ เป็นโรคเรือ้ รังของระบบ มีผู้ป่วยบางส่วนที่ไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้
ทางเดินหายใจที่พบบ่อย และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มี ซึ่งผู้วิจัยหวังว่าการศึกษานี้จะเป็นประโยชน์ในการน�ำ
รายงานความชุกของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ ประมาณ ไปพัฒนาการบริบาลส�ำหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้ เพื่อให้มีผล
ร้อยละ 10-301 แตกต่างกันออกไปในแต่ละพื้นที่ พบ การรักษาที่ดีขึ้นต่อไป
ความชุกของโรคในผู้ป่วยเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ และมี
ผูป้ ว่ ยจ�ำนวนมากทีย่ งั ไม่สามารถควบคุมอาการของโรค วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ได้2 โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้เกิดขึ้น เพื่ อ ประเมิ นการควบคุ มอาการของโรคจมู ก
ร่วมกับโรคหืด3,4 ซึ่งการไม่สามารถควบคุมอาการของ อั ก เสบภู มิ แ พ้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ร่ ว มกั บ โรคหื ด ในเด็ ก และ
โรคได้จะท�ำให้ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนตาม วิเคราะห์หาปัจจัยทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั การควบคุมอาการ
มา5 ท�ำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาเพิ่มสูงขึ้น6 และ ของโรคในผู้ป่วยเด็ก ที่เข้ารับการรักษา ณ คลินิกโรค
น�ำไปสูก่ ารมีคณุ ภาพชีวติ แย่ลง การประเมินการควบคุม ภูมิแพ้ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
อาการของโรคเป็นวิธที จี่ ะช่วยให้ผปู้ ว่ ยได้รบั การรักษาที่
เหมาะสม7 ดังนั้นเครื่องมือประเมินการควบคุมอาการ วิธีด�ำเนินการวิจัย
ของโรคที่ง่าย มีความถูกต้อง และน่าเชื่อถือ จึงมีความ การศึ ก ษานี้ เ ป็ น การศึ ก ษาแบบภาคตั ด ขวาง
ส�ำคัญในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ ปัจจุบันมีการแปลและ (cross-sectional study) ศึกษาในผู้ป่วยเด็กอายุระหว่าง
ทดสอบการใช้งานแบบสอบถามประเมินการควบคุม 8-12 ปี ทีเ่ ข้ารับการรักษาโรคจมูกอักเสบภูมแิ พ้ทเี่ กิดขึน้
อาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้และโรคหื ด ในเด็ ก ร่วมกับโรคหืด ณ คลินกิ โรคภูมแิ พ้ สถาบันสุขภาพเด็ก
(CARATKids) ฉบับภาษาไทย ซึ่งพบว่ามีความถูก แห่งชาติมหาราชินี ในช่วงระหว่างวันที่ 5 มกราคม ถึง 30
ต้องเที่ยงตรงเพียงพอที่จะน�ำมาใช้จริงทางคลินิก8 และ เมษายน พ.ศ. 2560 ค�ำนวณขนาดกลุม่ ตัวอย่างด้วยวิธขี อง
จากการสืบค้นข้อมูลพบว่าในประเทศไทยยังไม่เคยมี Peduzzi et al.9 คัดเลือกกลุม่ ตัวอย่างตามเกณฑ์การคัดเข้า
การน�ำเครื่องมือใดๆมาใช้ประเมินการควบคุมอาการ คือ เป็นผูป้ ว่ ยทีเ่ ข้ารับการรักษาด้วยโรคจมูกอักเสบภูมแิ พ้
ของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืดใน ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืดติดต่อกันไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง
เด็ก และยังไม่มีการศึกษาในอีกหลายประเด็นส�ำคัญ สามารถอ่านและเข้าใจภาษาไทยได้ทั้งตัวผู้ป่วยและ
เช่น การศึกษาจ�ำนวนผู้ป่วยเด็กที่ยังไม่สามารถควบคุม ผู้ปกครอง มีเกณฑ์การคัดออก คือ มีโรคร่วมที่จะมีผล
อาการของโรคได้ การศึกษาลักษณะเฉพาะของผู้ป่วย ต่อการควบคุมอาการของโรคจมูกอักเสบภูมแิ พ้ทเี่ กิดขึน้
เด็กที่ไม่สามารถควบคุมอาการได้ รวมถึงการศึกษา ร่วมกับโรคหืด ได้แก่ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง วัณโรคปอด
เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมอาการของโรคใน หลอดลมอักเสบ ไซนัสอักเสบ หรือการติดเชื้อไวรัส
เด็ก เป็นต้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจประเมินการควบคุม ในระบบทางเดินหายใจ
อาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรค เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยนี้ ได้แก่ แบบบันทึก
หืดในเด็ก โดยใช้แบบสอบถาม CARATKids ฉบับ ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยและปัจจัยที่ศึกษา แบบประเมิน
ภาษาไทย และวิ เ คราะห์ ห าปั จ จั ย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ความร่วมมือในการใช้ยาตามแพทย์สั่ง ซึ่งผู้วิจัยจัดท�ำ
กับการควบคุมอาการของโรค โดยท�ำการศึกษา ณ ขึน้ และมีการทดสอบความถูกต้อง และเทีย่ งตรงก่อนน�ำ
สถาบั น สุ ข ภาพเด็ ก แห่ ง ชาติ ม หาราชิ นี ซึ่ ง เป็ น โรง มาใช้ ด�ำเนินการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผปู้ ว่ ยและผู้
พยาบาลระดั บ ตติ ย ภู มิ ที่ ใ ห้ ก ารบริ ก ารรั ก ษาโรคแก่ ปกครอง และทบทวนเวชระเบียนของผูป้ ว่ ย นอกจากนี้
ผู้ป่วยเด็กในเขตกรุงเทพมหานคร และผู้ป่วยที่ถูกส่งตัว ยังมีการใช้แบบประเมินความถูกต้องของการใช้ยาพ่นสูด
มาจากต่างจังหวัด มีผู้ป่วยโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ร่วม และยาพ่นจมูก เก็บข้อมูลโดยให้ผู้ป่วยหรือผู้ปกครอง

2 กันยากร คงสมบูรณ์ และคณะ วารสารกุมารเวชศาสตร์ กรกฎาคม-กันยายน 2560


สาธิตวิธกี ารใช้ยา (ขึน้ อยูก่ บั ว่าใครเป็นผูพ้ น่ ยาให้ผปู้ ว่ ย) ตารางที่ 1 ลักษณะทั่วไปของผู้ป่วย
โดยผู้วิจัยจะสังเกตวิธีการใช้ยา และประเมินตามเกณฑ์
ลักษณะทั่วไปและปัจจัยที่ศึกษา จ�ำนวน (คน) ร้อยละ
ที่ก�ำหนดไว้ หากผู้ป่วยท�ำขั้นตอนที่ส�ำคัญไม่ถูกต้องจะ
ถือว่าใช้ยาพ่นสูดหรือพ่นจมูกด้วยเทคนิคทีไ่ ม่ถกู ต้อง ใน เพศ ชาย/ หญิง 85/62 57.8/42./2
ส่วนการประเมินการควบคุมอาการของโรค จะใช้แบบ อายุ (ปี ± ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) 9.64±1.6
สอบถาม CARATKids ฉบับภาษาไทย ซึ่งได้รับการ ระยะเวลาที่เป็นโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ 2.7±2.5
(ปี ± ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)
ทดสอบความถูกต้อง ความเทีย่ งตรง แล้วพบว่าสามารถ <1 46 31.3
น�ำมาใช้ในทางคลินกิ ได้8 ข้อมูลลักษณะทัว่ ไปของกลุม่ 1-5 76 51.7
ตัวอย่างจะถูกน�ำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา >5 25 17.0
ส�ำหรับการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ ระยะเวลาที่เป็นโรคหืด 3.7±2.9
ศึกษากับการควบคุมอาการของโรคจะใช้สถิตไิ คสแควร์ (ปี ± ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)
<1 33 22.4
และน�ำปัจจัยที่มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มา 1-5 65 44.2
วิ เ คราะห์ ก ารถดถอยโลจิ ส ติ ก การศึ ก ษานี้ ผ ่ า นการ >5 49 33.3
อนุมัติการท�ำวิจัยโดยคณะกรรมการจริยธรรมในมนุษย์ ผลการตรวจภูมิแพ้ผิวหนัง
สถาบั น สุ ข ภาพเด็ ก แห่ ง ชาติ ม หาราชิ นี เ ลขที่ อ นุ มั ติ ผลบวก/ผลลบ 133/14 90.5/9.5
REC.056/2560 และคณะกรรมการจริยธรรมในมนุษย์ โรคร่วมอื่นๆ ที่ไม่ใช่ภูมิแพ้
มี/ไม่มี 16/131 10.9/89.1
มหาวิทยาลัยนเรศวร IRB NO.824/59 โดยในการ
ระดับการศึกษาของผู้ปกครอง
สัมภาษณ์และเก็บข้อมูลจะต้องได้รับความยินยอมจาก ไม่เกินมัธยมศึกษาตอนต้น 39 26.5
ตัวผู้ป่วยและผู้ปกครองก่อน มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.*/ปวส.** 73 49.7
ปริญญาตรีขึ้นไป 35 23.8
ผลการศึกษา สิทธิการรักษา
จ่ายเงินเอง 63 42.9
การศึกษาครั้งนี้มีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเด็ก ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ 25 17.0
จ�ำนวน 147 คน มีลกั ษณะทัว่ ไป คือ เป็นเพศชายจ�ำนวน สิทธิหลักประกันสุขภาพ 30 บาท ต่าง 44 29.9
85 คน (ร้อยละ 57.8) อายุเฉลี่ย คือ 9.64 ปี ระยะ จังหวัด 15 10.2
เวลาทีเ่ ป็นโรคจมูกอักเสบภูมแิ พ้ของผูป้ ว่ ยส่วนใหญ่ คือ สิทธิหลักประกันสุขภาพ 30 บาท กรุงเทพฯ
ระดับความรุนแรงของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ 77 52.4
1-5 ปี คิดเป็นระยะเวลาที่เป็นโรค เฉลี่ย 2.7 ปี และ
เล็กน้อย 52 35.4
ผูป้ ว่ ยมีระยะเวลาทีเ่ ป็นโรคหืดอยูใ่ นช่วง 1-5 ปีมากทีส่ ดุ ปานกลาง 18 12.2
ผู้ป่วยส่วนใหญ่พบผลการตรวจภูมิแพ้ผิวหนังเป็นบวก มาก
และไม่มีโรคร่วมอื่นๆ ที่ไม่ใช่โรคภูมิแพ้ ผู้ป่วยร้อยละ ระดับการควบคุมโรคหืด 83 56.5
42.9 ใช้สทิ ธิการรักษาแบบจ่ายเงินเอง รองลงมาใช้สทิ ธิ ควบคุมได้ 45 30.6
ควบคุมได้บางส่วน 19 12.9
หลักประกันสุขภาพ 30 บาท ต่างจังหวัด (ร้อยละ29.9) ควบคุมไม่ได้
ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย/ปวช./ปวส. รองลงมา คือ ต�่ำกว่ามัธยมศึกษา หมายเหตุ * ปวช. ย่อมาจาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
** ปวส. ย่อมาจาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง
ตอนปลาย ผูป้ ว่ ยร้อยละ 50 มีความรุนแรงของโรคจมูก *** MDI =meter dose inhaler, ****DPI=dry powder inhaler

อักเสบภูมิแพ้ระดับเล็กน้อย และสามารถควบคุมอาการ
ของโรคหืดได้ ดังแสดงในตารางที่ 1

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมอาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืดในเด็ก 3
ณ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชิน ี
ผลการประเมินการควบคุมอาการของโรคใน ควบคุมอาการของโรคได้นอ้ ยกว่าผูป้ ว่ ยทีไ่ ม่ใช้ยาอย่างมี
ผู้ป่วยจ�ำนวน 147 คน พบว่ามีผู้ป่วยที่สามารถควบคุม นัยส�ำคัญทางสถิติ และผูป้ ว่ ยทีใ่ ห้ความร่วมมือในการใช้
อาการของโรคจมู ก อั ก เสบภู มิ แ พ้ ร ่ ว มกั บ โรคหื ด ได้ ยาดีจะสามารถควบคุมอาการของโรคได้ดกี ว่าผูป้ ว่ ยทีไ่ ม่
จ�ำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 68 และมีผู้ป่วยที่ยัง ให้ความร่วมมือในการใช้ยาอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ผล
ไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้จำ� นวน 47 คน คิด การศึกษาแสดงดังตารางที่ 3
เป็นร้อยละ 32 ผลการศึกษาแสดงดังตารางที่ 2
ตารางที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ศึกษากับการควบคุม
ตารางที่ 2 แสดงจ�ำนวน ร้อยละ ของผู้ป่วยจ�ำแนกตามระดับ อาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ร่วมกับโรคหืด
การควบคุมอาการของโรค
การควบคุมอาการของโรค
ระดับการควบคุมอาการของโรค จำ�นวน (ร้อยละ) ควบคุมไม่ได้ ควบคุมได้
ปัจจัย p-value
ควบคุมอาการได้ 100 (68) จำ�นวน ร้อยละ จำ�นวน ร้อยละ
ควบคุมอาการไม่ได้ 47 (32) - เพศ (คน) ชาย 25 29.4 60 70.6 0.44
หญิง 22 35.5 40 64.5
หมายเหตุ ควบคุมอาการได้ คือ มีคะแนนจากการประเมินโดยใช้ CARATKids ฉบับ - อายุ (ปี) <10 29 35.8 52 64.2 0.27
ภาษาไทย น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 คะแนน ควบคุมอาการไม่ได้ คือ มีคะแนน ≥ 10 18 27.3 48 72.7
จากการประเมินโดยใช้ CARATKids ฉบับภาษาไทย มากกว่า 5 คะแนน - ระยะเวลาที่เป็นโรค AR (ปี)
<1 13 28.3 33 71.7 <0.01*
เมือ่ น�ำปัจจัยทีส่ นใจศึกษามาแยกตามระดับการ 1-5 32 42.1 44 57.9
ควบคุมอาการของโรค และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ >5 2 8.0 23 92.0
- ระยะเวลาที่เป็นโรคหืด (ปี)
กับการควบคุมอาการของโรคพบว่า ระยะเวลาที่เป็น <1 10 30.3 23 69.7 0.14
โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้มีความสัมพันธ์กับการควบคุม 1-5 26 40.0 39 60.0
อาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรค >5 11 22.4 38 77.6
- โรคร่วม ไม่มี 38 29.0 93 71.0 0.03*
หืดอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p<0.01) โดยผู้ป่วยที่เป็น มี 9 56.3 7 43.8
โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้มาแล้วมากกว่า 5 ปี จะสามารถ - สิทธิการรักษา
จ่ายเงินเอง 14 22.2 49 77.8 0.08
ควบคุมอาการของโรคได้ดีที่สุด รองลงมาคือผู้ป่วยที่ ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ 8 32.0 17 68.0
มีระยะเวลาที่เป็นโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้น้อยกว่า 1 ปี บัตรทองต่างจังหวัด 17 38.6 27 61.4
ส�ำหรับผู้ป่วยที่มีโรคร่วมจะควบคุมอาการของโรคได้ บัตรทอง กทม. 8 53.3 7 46.7
- ประวัติภูมิแพ้ในครอบครัว
น้อยกว่าผู้ป่วยที่ไม่มีโรคร่วม(p=0.03) ผู้ป่วยที่มีความ ไม่มีประวัติ 20 35.1 37 64.9 0.52
รุนแรงของโรคน้อยจะควบคุมอาการของโรคได้ดีที่สุด มีประวัติ 27 30.0 63 70.0
รองลงมา คือ ผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของโรคระดับปาน - ภาวะอ้วน
อ้วน 7 28.0 18 72.0 0.64
กลาง (p<0.01) และผู้ป่วยที่สามารถควบคุมอาการของ ไม่อ้วน 40 32.8 82 67.2
โรคหืดได้ดี ก็จะสามารถความคุมอาการของโรคจมูก - ระดับการศึกษาของผู้ปกครอง
อักเสบภูมแิ พ้ทเี่ กิดขึน้ ร่วมกับโรคหืดได้อย่างมีนยั ส�ำคัญ ไม่เกินม.ต้น 10 25.6 29 74.4 0.13
ม.ปลายขึ้นไป 29 39.7 44 60.3
ทางสถิติ (p<0.01) ส�ำหรับผลการศึกษาเกี่ยวกับการใช้ หรือต่ำ�กว่าป.ตรี
ยาพบข้อมูลที่น่าสนใจ คือ ผู้ป่วยที่ใช้ยาพ่นสูดสเตีย ป.ตรีขึ้นไป 8 22.9 27 77.1
รอยด์และผูป้ ว่ ยทีใ่ ช้ยาพ่นจมูกสเตียรอยด์ กลับสามารถ

4 กันยากร คงสมบูรณ์ และคณะ วารสารกุมารเวชศาสตร์ กรกฎาคม-กันยายน 2560


ตารางที่ 3 (ต่อ) ภูมิแพ้เพียงเล็กน้อย จะสามารถควบคุมอาการของโรค
การควบคุมอาการของโรค
จมูกอักเสบภูมแิ พ้ทเี่ กิดขึน้ ร่วมกับโรคหืดได้ดดี ว้ ย แสดง
ควบคุมไม่ได้ ควบคุมได้
ให้เห็นจากการมีค่า adjusted OR=49.06 95%CI (9.66-
ปัจจัย
จำ�นวน ร้อยละ จำ�นวน ร้อยละ
p-value 249.27) และ adjusted OR=28.92 95%CI (6.70-124.93)
ตามล�ำดับ ส่วนผูป้ ว่ ยทีม่ รี ะยะเวลาทีเ่ ป็นโรคจมูกอักเสบ
- ระดับความรุนแรงของโรค AR
เล็กน้อย 4 5.2 73 94.8 <0.01*
ภูมิแพ้ติดต่อกันมานาน จะมีโอกาสควบคุมอาการของ
ปานกลาง 26 50.0 26 50.0 โรคได้ดีกว่าผู้ป่วยที่เพิ่งเป็นโรค adjusted OR=1.41
มาก 17 94.4 1 5.6
- ระดับการควบคุมโรคหืด
95%CI (1.00-1.98) ผลการศึกษาแสดงดังตารางที่ 4
ควบคุมได้ 4 4.8 79 95.2 <0.01*
ควบคุมได้บางส่วน 24 53.3 21 46.7 ตารางที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมอาการของโรค
ควบคุมไม่ได้ 19 100 0 0.0
- สัมผัสบุหรี่ จมูกอักเสบภูมิแพ้และโรคหืด
สัมผัสบุหรี่ 26 40.0 39 60.0 0.06
ไม่สัมผัสบุหรี่ 21 25.6 61 74.4 ปัจจัย Crude odds ratio Adjusted odds ratio
- มีสัตว์เลี้ยง (95%CI) (95%CI)
มีสัตว์เลี้ยง 19 32.8 39 67.2 0.87 ระยะเวลาที่เป็นโรคจมูกอักเสบ 1.20(1.02-1.40)* 1.41(1.00-1.98)*
ไม่มีสัตว์เลี้ยง 28 31.5 61 68.5 ภูมิแพ้
- ยาพ่นสูดสเตียรอยด์
ใช้ยาพ่นสูดสเตียรอยด์ 0.22(0.05-0.98)* 2.31(0.15-36.30)
ใช้ 45 35.2 83 64.8 0.03*
ไม่ใช้ 2 10.5 17 89.5 ใช้ยาพ่นจมูกสเตียรอยด์ 0.40(0.17-0.95)* 1.55(0.33-7.22)
- ใช้ยาพ่นจมูกสเตียรอยด์ ความร่วมมือในการใช้ยา 2.36(1.14-4.90)* 2.25(0.61-8.28)
ใช้ 39 37.1 66 62.9 0.03* โรคร่วม 0.32(0.11-0.92)* 1.33(0.24-7.38)
ไม่ใช้ 8 19.0 34 81.0 ความรุนแรงของโรคจมูก 29.07(9.53-88.69)* 28.92(6.70-124.93)*
- ความร่วมมือในการใช้ยา อักเสบภูมิแพ้ ระดับเล็กน้อย
- ร่วมมือดี 24 27.3 64 72.7 0.02*
- ร่วมมือไม่ดี 23 46.9 26 53.1 การควบคุมโรคหืด ในระดับที่ 40.44(13.04- 49.06(9.66-249.27)*
- ความถูกต้องในการใช้ยาพ่น สามารถควบคุมโรคได้ 125.43)*
จมูก หมายเหตุ ค่า adjusted odds ratio ทีแ่ สดงเป็นการ adjusted ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการควบคุม
ถูกต้อง 12 27.9 31 72.1 0.09 อาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้และโรคหืดในตารางที่4
ไม่ถูกต้อง 27 44.3 34 55.7 เครื่องหมาย * หมายถึง มีความสัมพันธ์ทางสถิติที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05
- ความถูกต้องในการใช้ยาพ่นสูด
ถูกต้อง 37 33.3 74 66.7 0.27
ไม่ถูกต้อง 8 47.1 9 52.9
วิจารณ์
หมายเหตุ เครื่องหมาย * หมายถึง มีความสัมพันธ์ทางสถิติที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 จากการประเมิ น การควบคุ ม อาการของโรค
จมู ก อั ก เสบภู มิ แ พ้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ร่ ว มกั บ โรคหื ด โดยใช้
เมื่อน�ำปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุม แบบสอบถาม CARATKids ฉบับภาษาไทย ณ คลินิก
อาการของโรคจมูกอักเสบภูมแิ พ้ทเี่ กิดขึน้ ร่วมกับโรคหืด โรคภูมแิ พ้ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี พบว่า
อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตมิ าวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก ยังมีผปู้ ว่ ยทีไ่ ม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้คดิ เป็น
พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมอาการของโรค ได้แก่ ร้อยละ 32 ซึง่ ใกล้เคียงกับการศึกษาของ Mary Kampe10
ระยะเวลาทีเ่ ป็นโรคจมูกอักเสบภูมแิ พ้ ความรุนแรงของ ซึง่ พบผูป้ ว่ ยทีไ่ ม่สามารถควบคุมอาการของโรคหืดได้คดิ
โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ และระดับการควบคุมโรคหืด เป็นร้อยละ 38 และการศึกษาของ Youna Wang2 พบ
ตามล�ำดับ โดยพบว่าผู้ป่วยที่ควบคุมอาการของโรคหืด ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมอาการของโรคจมูกอักเสบ
ได้ดี หรือผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของโรคจมูกอักเสบ ภูมิแพ้ได้ร้อยละ 27.7 แสดงให้เห็นว่าในการบริบาล

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมอาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืดในเด็ก 5
ณ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชิน ี
โรคดังกล่าวยังคงมีปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมอาการ ไม่มีโรคร่วมอื่นๆ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยที่
ของโรค ซึ่งเมื่อพิจารณาจากแนวทางเวชปฏิบัติที่เป็น เป็นโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้มามากกว่า 5 ปี จะสามารถ
มาตรฐานสากล11-13 ก็พบว่ายังไม่มีการก�ำหนดแนวทาง ควบคุมอาการได้ดีที่สุด รองลงมาคือเป็นโรคต�่ำกว่า
การประเมินการควบคุมอาการของโรคจมูกอักเสบภูมแิ พ้ 1 ปี แต่ไม่พบความสัมพันธ์ของการควบคุมอาการของ
ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืดไว้อย่างชัดเจน ส�ำหรับสาเหตุที่ โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืด กับระยะ
ผูป้ ว่ ยในการศึกษาครัง้ นีย้ งั ไม่สามารถควบคุมอาการของ เวลาที่เป็นโรคหืด ซึ่งขัดแย้งกับการศึกษาของ Halwani
โรคได้ อาจเนื่องมาจากช่วงที่เก็บข้อมูลเป็นฤดูหนาว R15 ทีแ่ สดงข้อมูลสนับสนุนว่าผูป้ ว่ ยเด็กทีม่ รี ะยะเวลาที่
จึงท�ำให้ผู้ป่วยอาจควบคุมอาการของโรคได้ยากขึ้น ซึ่ง เป็นโรคหืดน้อยกว่า 5 ปี มีโอกาสควบคุมอาการของ
สอดคล้องกับการศึกษาของ สุจติ รา สีดาดี14ทีพ่ บว่าช่วง โรคได้ยากกว่าผูป้ ว่ ยทีม่ รี ะยะเวลาทีเ่ ป็นโรคหืดมากกว่า
ฤดูหนาวหรือฤดูฝน เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการควบคุม 5 ปี OR=28.7 95%CI (13.9-60.3) อาจเป็นเพราะการ
โรคหืดได้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ OR=3.1, 95%CI ศึกษาครั้งนี้ไม่ได้คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับความ
(1.8-5.3) ดังนั้นการศึกษาในอนาคตเกี่ยวกับเรื่องนี้อาจ รุนแรงของโรคหืดในระดับเดียวกันทั้งหมด ดังนั้นจึง
ต้องด�ำเนินการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 1 ปี ยังไม่สามารถสรุปได้ว่าผู้ป่วยที่เป็นโรคมานานหรือเพิ่ง
เพื่อให้เห็นอิทธิพลของปัจจัยที่ส�ำคัญต่างๆ และช่วย เป็นโรค จะสามารถควบคุมอาการได้ดกี ว่าคนทีเ่ ป็นโรค
ท�ำให้วิเคราะห์ข้อมูลออกมาได้อย่างถูกต้องเป็นจริง มาแล้ว 1-5 ปี ส�ำหรับผลการศึกษาในส่วนของโรคร่วม
มากขึ้น กับการควบคุมอาการของโรคพบว่า ถึงแม้ผปู้ ว่ ยทีม่ โี รค
การศึกษาในครั้งนี้ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่าง ร่วมจะสามารถควบคุมอาการของโรคได้น้อยกว่าผู้ป่วย
เพศหญิงกับการควบคุมอาการของโรค ซึง่ ขัดแย้งกับการ กลุ่มที่ไม่มีโรคร่วม แต่เมื่อน�ำไปวิเคราะห์การถดถอย
ศึกษาของ Mary Kampe10 ที่พบว่าเพศหญิงมีโอกาส โลจิสติก กลับพบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับการควบคุม
ไม่สามารถควบคุมอาการของโรคหืดได้มากกว่าเพศ อาการของโรคอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ซึ่งอาจเกิดจาก
ชาย ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากกลุ่มตัวอย่างที่น�ำมาศึกษา โรคร่วมในการศึกษาครั้งนี้เป็นโรคอื่นๆ ที่ไม่ใช่โรค
มี ลั ก ษณะแตกต่างกันโดยเฉพาะช่ว งอายุที่ กว้ า งกว่ า ภูมิแพ้จึงไม่มีพยาธิสภาพที่ส่งผลกระทบต่อการควบคุม
(18-75 ปี) จึงมีโอกาสที่จะเกิดการกระจายของเพศที่ โรค และยังมีผปู้ ว่ ยทีม่ โี รคร่วมในการศึกษาครัง้ นีจ้ ำ� นวน
แตกต่างกันได้ ส�ำหรับผลการศึกษาในส่วนระยะเวลา น้อยมาก จึงท�ำให้ผลการศึกษาที่เกิดขึ้นอาจเป็นไปตาม
ที่เป็นโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้และโรคหืด ผู้วิจัยรวบรวม โอกาส
ข้อมูลจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของโรงพยาบาล ในส่ ว นของระดั บ ความรุ นแรงของโรคจมู ก
ตั้งแต่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคจนถึงปัจจุบันเพื่อให้เกิด อักเสบภูมิแพ้และระดับการควบคุมอาการของโรคหืด
ความสมบูรณ์ของข้อมูลมากทีส่ ดุ แต่กอ็ าจมีความคลาด พบว่า มีความสัมพันธ์กับการควบคุมอาการของโรค
เคลื่อนอยู่บ้างในกรณีที่ผู้ป่วยบางรายไม่ได้ถูกวินิจฉัยที่ จมูกอักเสบภูมิแพ้ร่วมกับโรคหืด การศึกษานี้ประเมิน
โรงพยาบาลนี้เป็นแห่งแรก หรือผู้ปกครองอาจลืมหรือ ระดับการควบคุมอาการของโรคหืดตามแนวทางของ
จ�ำข้อมูลบางอย่างคลาดเคลื่อนไป ดังนั้นผู้วิจัยจึงแบ่ง GINA 2016 เนือ่ งจากไม่มกี ารวัดค่าสมรรถภาพปอด จึง
ข้อมูลระยะเวลาที่เป็นโรคออกเป็น 3 ช่วง คือ ต�่ำกว่า เป็นการประเมินอาการโดยอาศัยการสัมภาษณ์อาการทีย่ งั
1 ปี 1-5 ปี และมากกว่า 5 ปี เพื่อลด recall bias คงมีอยูใ่ นช่วงกลางวัน กลางคืน การใช้ยาบรรเทาอาการ
ผลการศึกษาพบความสัมพันธ์ของระยะเวลาที่เป็นโรค และอาการหอบแบบเฉียบพลันจนต้องเข้าโรงพยาบาล
จมูกอักเสบภูมิแพ้ กับการควบคุมอาการของโรคจมูก จากลักษณะค�ำถามจะเห็นว่าคล้ายกับการประเมินความ
อักเสบภูมแิ พ้ทเี่ กิดขึน้ ร่วมกับโรคหืดเพียงอย่างเดียวโดย รุนแรงของโรค ต่างกันที่การประเมินความรุนแรงของ

6 กันยากร คงสมบูรณ์ และคณะ วารสารกุมารเวชศาสตร์ กรกฎาคม-กันยายน 2560


โรคจะถามเฉพาะความถี่ของอาการหอบหืดที่เกิดขึ้น ร่วมกับโรคหืด ซึ่งขัดแย้งกับการศึกษาของ พรศิลป์
ในช่วงกลางวัน และกลางคืน ในการศึกษานี้ผู้วิจัย บุณยะภักดิ์20, Halwani R15 และ Melani AS22 ที่
จึงเทียบผู้ป่วยที่มีการควบคุมอาการของโรคหืดระดับ สนับสนุนว่าการใช้ยาพ่นสูดสเตียรอยด์ด้วยเทคนิคที่
ควบคุมอาการได้ เทียบเท่ากับความรุนแรงเล็กน้อย การ ไม่ถูกต้อง จะเพิ่มโอกาสไม่สามารถควบคุมอาการ
ควบคุมอาการระดับ ควบคุมได้บางส่วนเทียบเท่าความ ของโรคหืดได้มากกว่าผู้ป่วยที่ใช้ยาพ่นสูดด้วยเทคนิค
รุนแรงระดับปานกลาง และการควบคุมอาการของโรค ที่ ถู ก ต้ อ ง ซึ่ ง อาจเกิ ด จากในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ผู ้ ป ่ ว ย
ระดับ ควบคุมไม่ได้เทียบเท่ากับรุนแรงมาก จะเห็นว่า เกือบร้อยละ 90 สามารถใช้ยาพ่นสูดสเตียรอยด์ได้
ผลการศึกษาที่ได้สอดคล้องกับการศึกษาของ Dalcin อย่างถูกต้อง มีผู้ป่วยเพียง 17 คน เท่านั้นที่ใช้ยาพ่นสูด
P.T.R.16, Papwijitsil R17, Gosavi S.18 และ Yan BD19 ไม่ถูกต้อง เมื่อน�ำมาวิเคราะห์ทางสถิติจึงท�ำให้ผลการ
ที่มีการสรุปไปในทิศทางเดียวกันว่า ผู้ป่วยที่มีความ ศึกษาที่เกิดขึ้นเป็นไปตามโอกาส และอาจแสดงผลที่
รุนแรงของโรคหืดระดับมากจะมีโอกาสควบคุมอาการ ขัดแย้งกับการศึกษาที่ผ่านมา
ของโรคได้ยากขึ้น
ผลการศึกษาในส่ว นของยาที่ใ ช้ รักษาพบว่ า สรุป
ผู ้ ป ่ ว ยที่ ใ ช้ ย าพ่ น สู ด สเตี ย รอยด์ หรื อ ใช้ ย าพ่ น จมู ก ผูป้ ว่ ยเด็กทีเ่ ข้ารับการรักษา ณ คลินกิ โรคภูมแิ พ้
สเตียรอยด์จะสามารถควบคุมอาการของโรคได้นอ้ ยกว่า สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีประมาณหนึ่งใน
กลุม่ ทีไ่ ม่ใช้ยา ซึง่ สอดคล้องกับการศึกษาของ Halwani R15 สามยังไม่สามารถควบคุมอาการของโรคจมูกอักเสบ
ที่ ส รุ ป ว่ า ผู ้ ป ่ ว ยที่ เ ริ่ ม หรื อ เพิ่ ม การใช้ ย าพ่ น สู ด สเตี ย ภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืดได้ ซึ่งปัจจัยที่มีความ
รอยด์จะควบคุมอาการของโรคหืดได้ยากกว่าผู้ป่วยที่ สัมพันธ์กบั การควบคุมอาการของโรค ได้แก่ ระยะเวลา
ไม่ได้ใช้ยาหรือใช้ยาในขนาดเท่าเดิม ซึ่งหากพิจารณา ทีเ่ ป็นโรคจมูกอักเสบภูมแิ พ้ ระดับความรุนแรงของโรค
จากแนวทางการรักษาของ GINA จะพบว่ามีการแนะน�ำ จมูกอักเสบภูมิแพ้ และระดับการควบคุมโรคหืด ดังนั้น
ให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมอาการของโรคหืด เริ่ม บุคคลากรทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องควรใช้ข้อมูลเหล่านี้
ยาพ่นสูดสเตียรอยด์หรือปรับขนาดยาให้สูงขึ้นเพื่อให้ ในการวางแผนควบคุม หรือ ป้องกันไม่ให้ปัจจัยเหล่า
สามารถควบคุมอาการของโรคให้ดีขึ้น ซึ่งการศึกษา นี้แย่ลง จนท�ำให้สามารถควบคุมอาการของผู้ป่วยได้ดี
ในครั้งนี้อาจต้องพิจารณาระยะเวลาที่เริ่มใช้ยาพ่นสูด ขึ้นต่อไป
สเตียรอยด์ด้วย
ผลการศึ ก ษาด้ า นความร่ ว มมื อ ในการใช้ ย า กิตติกรรมประกาศ
ได้แก่ ความร่วมมือในการใช้ยาตามแพทย์สั่ง และการ ขอขอบพระคุณ พญ.มุกดา หวังวีรวงศ์ พันโท
ใช้ยาด้วยเทคนิคที่ถูกต้อง พบว่าผู้ป่วยที่ให้ความร่วม นายแพทย์อาคม สายแวว ภญ.ปิลันธนา เขมะพันธุ์
มือในการใช้ยาดีจะสามารถควบคุมอาการของโรคได้ มนัส ผู้ให้ค�ำแนะน�ำและประเมินความถูกต้องเหมาะ
ดีกว่าผู้ป่วยที่ไม่ให้ความร่วมมืออย่างมีนัยส�ำคัญทาง สมของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ดร.ภก.ประยุทธ
สถิติ adjusted OR=2.25, 95%CI (0.61-8.28) ซึ่ง ภูวรัตนาวิวิธ และ ผศ.ดร.สุคนธา ศิริ ที่ให้ค�ำปรึกษา
สอดคล้องกับการศึกษาหลายการศึกษาที่ผ่านมา ได้แก่ เกี่ ย วกั บ งานวิ จั ย มาโดยตลอด ที ม แพทย์ พยาบาล
การศึกษาของ พรศิลป์ บุณยะภักดิ์20, Zhong N21 เจ้าหน้าที่คลินิกโรคภูมิแพ้ สถาบันสุขภาพเด็กแห่ง
และ Yan BD19 แต่อย่างไรก็ตามการศึกษาครั้งนี้ไม่พบ ชาติมหาราชินีทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือในการเก็บ
ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ยาด้วยเทคนิคที่ถูกต้องกับ รวบรวมข้อมูล ผู้ป่วยและผู้ปกครองทุกท่านที่สละเวลา
การควบคุมอาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้น มาเข้าร่วมการศึกษาในครั้งนี้

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมอาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืดในเด็ก 7
ณ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชิน ี
Number of Events per Variable in Logistic
เอกสารอ้างอิง
Regression Analysis. J Clin Epidemiol. 1996;
1. Wallace DV, Dykewicz MS, Bernstein DI,
49(12): 1373-79.
Blessing-Moore J, Cox L, Khan DA, et al.
10. Kampe M, Lisspers K, Stallberg B, Sundh
The diagnosis and management of rhinitis:
J, Montgomery S, Janson C. Determinants
an updated practice parameter. The Journal of
of uncontrolled asthma in a Swedish asthma
allergy and clinical immunology. 2008; 122
population: cross-sectional observational
(2 Suppl): S1-84.
study. Eur Clin Respir J. 2014; 1
2. Wang Y, Zhu R, Liu G, Li W, Chen H,
11. Pawankar R, Bunnag C, Chen Y, Fukuda T,
Daures JP, et al. Prevalence of uncontrolled
Kim Y-Y, Le LTT, et al. Allergic Rhinitis and
allergic rhinitis in Wuhan, China: a prospective
Its Impact on Asthma Update (ARIA 2008) -
cohort study. American journal of rhinology
Western and Asian-Pacific Perspective. Asian
& allergy. 2014; 28(5): 397-403.
Pac J Allergy Immunol. 2009; 27: 237-43.
3. Sasaki M, Yoshida K, Adachi Y, Furukawa
12. Scadding GK, Durham SR, Mirakian R, Jones
M, Itazawa T, Odajima H, et al. Factors
NS, Leech SC, Farooque S, et al. BSACI
associated with asthma control in children:
guidelines for the management of allergic and
findings from a national Web-based
non-allergic rhinitis. Clinical and experimen-
survey. Pediatric allergy and immunology.
tal allergy. 2008; 38(1): 19-42.
2014; 25(8): 804-9.
13. Global initiative for asthma. Global Srategy for
4. Nanshan Zhong, Jiangtao Lin, Jinping Zheng,
Asthma Management and Prevention (2016
Kefang Lai, Canmao Xie, Ke-Jing Tang,
update). Retrieved Feb 18, 2017, from http://
et al. Uncontrolled asthma and its risk factors
ginasthma.org/wp-content/uploads/2016/04/
in adult Chinese asthma patients. Ther Adv
GINA-2016-main-report_tracked.pdf.
Respir Dis. 2016; 10(6): 507-17.
14. สุจิตรา สีดาดี, ชนนิกานต์ วิไลฤทธิ์. ปัจจัยทีมีความ
5. Barr JG, Al-Reefy H, Fox AT, Hopkins C.
Allergic rhinitis in children. Bmj. 2014;
สั ม พั น ธ์ กั บ ระดั บ การควบคุ ม โรคหื ด ในผู้ ป่ ว ยที่ รั บ
349: g4153.
การรักษาในโรงพยาบาลลำ�ปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์.
6. Meltzer EO, Bukstein DA. The economic
วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2557; 23.
15. Halwani R, Vazquez-Tello A, Horanieh N,
impact of allergic rhinitis and current
Dulgom S, Al-Aseri Z, Al-Khamis N, et al.
guidelines for treatment. Ann Allergy Asthma
Risk factors hindering asthma symptom
Immunol. 2011; 106(2 Suppl): S12-6
control in Saudi children and adolescents.
7. Demoly P. severity and control in allergic
Pediatr Int. 2017.
rhinitis. In: Akdis CA, Hellings PW, Agache
16. Dalcin PTR, Menegotto DM, Zanonato A,
I, editors. global atlas of allergic rhinitis
Franciscatto L, Soliman F, Figueiredo M,
and chronic rhinosinusitis: the European
et al. Factors associated with uncontrolled
Academy of Allergy and Clinical Immu-
asthma in Porto Alegre, Brazil. Braz J Med
nology; 2015. p. 265-7.
Biol Res. 2009; 42: 1097-103.
8. กั น ยากร คงสมบู ร ณ์ , ประยุ ท ธ ภู ว รั ต นาวิ วิ ธ . การ
17. Papwijitsil R, Pacharn P, Areegarnlert N,
พัฒนาเครือ่ งมือประเมินการควบคุมอาการของโรคจมูก
Veskitkul J, Nualanong V, Vichyanond P, et al.
อักเสบภูมิแพ้และโรคหืดในเด็ก ฉบับภาษาไทย. กุมาร
Risk factors associated with poor controlled
เวชศาสตร์. 2560; 56(2).
pediatric asthma in a university hospital.
9. Peduzzi P, John Concato, Kemper E, Holford
Asian Pac J Allergy Immunol. 2013; 31:
TR, Feinstein AR. A Simulation Study of the
253-7.

8 กันยากร คงสมบูรณ์ และคณะ วารสารกุมารเวชศาสตร์ กรกฎาคม-กันยายน 2560


18. Gosavi S, Nadig P, Haran A. Factors 21. Nanshan Zhong, Jiangtao Lin, Jinping Zheng,
Contributing Towards Poor Asthma Control Kefang Lai, Canmao Xie, Ke-Jing Tang, et
in Patients on Regular Medication. J Clin al. Uncontrolled asthma and its risk factors
Diagn Res. 2016; 10(6): OC31-5. in adult Chinese asthma patients. Ther Adv
19. Yan BD, Meng SS, Ren J, Lv Z, Zhang QH, Respir Dis. 2016; 10(6): 507-17.
Yu JY, et al. Asthma control and severe exac- 22. Melani AS, Bonavia M, Cilenti V, Cinti C,
erbations in patients with moderate or severe Lodi M, Martucci P, et al. Inhaler mishandling
asthma in Jilin Province, China: a multicenter remains common in real life and is associated
cross-sectional survey. BMC Pulm Med. with reduced disease control. Respiratory
2016; 16(1): 130. medicine. 2011; 105(6): 930-8.
20. พรศิลป์ บุณยะภักดิ์, ปาลีรัตน์ แก้วประดิษฐ์. ปัจจัย
ที่มีอิทธิพลต่อการควบคุมโรคหืดของผู้ป่วยโรคหืด
โรงพยาบาลปากพนัง. วารสารวิชาการแพทย์เขต 11.
2557; 28: 77-87.

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมอาการของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นร่วมกับโรคหืดในเด็ก 9
ณ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชิน ี
Factors Associated With Allergic Rhinitis
With Asthma Control In Children At Queen
Sirikit National Institute Of Child Health
Kunyakorn Khongsomboon*, Prayuth Poowaruttanawiwit**
*Pharmacy Department, Queen Sirikit National Institute of Child Health
** Department of Pharmacy Practice, Faculty of Pharmaceutical Sciences, Naresuan University,

Abstract
Allergic rhinitis (AR) with asthma is a chronic respiratory disease that is
currently increasing. At present, the patient was found to have many children who
uncontrolled disease. In this study, the researcher wanted to assess controlled
allergic rhinitis with asthma and to identify the factors associated with controlled
allergic rhinitis with asthma at allergy clinic of the Queen Sirikit National Institute of
Child Health.
For the methodology, the study was a cross-sectional study. Data were
collected from patients aged 8-12 who were being treated for allergic rhinitis with
asthma at the allergy clinic, the Queen Sirikit National Institute of Child Health
during January-April 2017. Data were collected by conducting interviews with
patients and their parents and information in patient medical records. The thai
version of CARATKids questionnaire was used to assess the disease control. Data
analysis was done by using descriptive statistics to present general information and
using logistic regression analysis to identify the factors associated with disease
controlled. From the research results, 147 patients were included. There were 100
patients (68%) in the controlled, 47 patients (32%) in uncontrolled allergic rhinitis
with asthma group. There were 3 factors that associated with allergic rhinitis with
asthma control with statistical significance at 0.05 levels: duration of AR disease
adjusted OR=1.41 95%CI(1.00-1.98), AR severity adjusted OR=28.92 95%CI
(6.70-124.93) and the asthma control level adjusted OR=49.06 95% CI(9.66-249.27)
In conclusion, the current situation of the Queen Sirikit National Institute of
Child Health found that have about a third of patients who uncontrolled the disease.
Factors associated with allergic rhinitis with asthma control were duration of AR,
AR severity, and asthma control level, which may be useful for further patient
care development.
Keywords : allergic rhinitis with asthma disease, factors associated with controlled
disease

10 กันยากร คงสมบูรณ์ และคณะ วารสารกุมารเวชศาสตร์ กรกฎาคม-กันยายน 2560

You might also like