You are on page 1of 19

รายงาน

วิชา สถิติสำหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์
เรื่อง ผลการสำรวจพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพ

จัดทำโดย
นางสาวธรรมจารี แก้ววงค์วาน
ตอนที่ 1 รหัสนักศึกษา 6301280364

เสนอ
อาจารย์มนฤดี ม่วงรุ่ง
รายงานนีเ้ ป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา ภพ.201 สถิติสำหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์
ภาคเรียนที่1 ปี การศึกษา 25664
มหาวิทยาลัยพายัพ เชียงใหม่
งานวิชาสถิติสำหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์

1. จงอธิบายระเบียบวิธีการทางสถิติที่นำมาใช้ในการศึกษาหรือการวิจัย
1.การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of data)
เป็นขั้นตอนที่ต้องเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการศึกษาโดยดำเนินการตามระเบียบแบบแผนที่
กำหนดไว้ ซึ่งการเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
ตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพ การเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่สำคัญมี 3 วิธีคือ
1.1 การสำรวจ เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลของสภาพที่เป็นอยู่ว่ามีลักษณะอย่างไรแบ่งได้ 2 ชนิด
1) การสำมะโน (Census)
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลทุกหน่วยสมาชิกของกลุ่มประชากรเป้าหมายที่เราให้ความสนใจต้องการ
ศึกษา ถ้านำค่าของข้อมูลทุกหน่วยที่รวบรวมมาได้ไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ค่าที่คำนวณได้เรียกว่า
พารามิเตอร์ (Parameter)
2) การสำรวจด้วยตัวอย่าง (Sampling survey)
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลทุกหน่วยสมาชิกของกลุ่มตัวอย่าง ที่ถูกเลือกมาเพื่อใช้เป็นตัวแทนของกลุ่ม
ประชากรเป้าหมายที่เราให้ความสนใจต้องการศึกษา ถ้านำค่าของข้อมูลทุกหน่วยของกลุ่มตัวอย่างที่รวบรวมมา
ได้ไปวิเคราะห์คำนวณทางสถิติ ค่าที่คำนวณได้เรียกว่าสถิติ (Statistic) ซึง่ จากผลการสำรวจพฤติกรรมการดูแล
สุขภาพตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจัดเป็นการสำรวจตัวอย่าง
1.2 การทำการทดลอง (Experiment)
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกิดจากการทดลองโดยใช้วิธีการออกแบบการทดลอง (Experiment Design) โดย
ดำเนินการทดลองในห้องปฏิบัติการ หรือนอกห้องปฏิบัติการก็ได้ เช่นการทดลองด้านเคมี การทดลอง
เปรียบเทียบประสิทธิผลของยาที่มีผลต่อการรักษา การวางแผนการทดลองด้านการเกษตร การทดลองเลี้ยงสุกร
ด้วยอาหารสูตรต่างๆ การวิจัยข้าวเพื่อคัดเลือกพันธุ์ที่ดีที่สุดนำไปปลูก เป็นต้น
1.3 การจดทะเบียน (Registration)หรือการลงทะเบียน
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยมีแบบฟอร์มเฉพาะ ข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการจดทะเบียนจะเป็นไปตามสภาพการ
บังคับตามกฎระเบียบ หรือกฎหมายที่กำหนดไว้ การลงทะเบียนเรียนประจำภาคเรียนต่างๆของนักศึกษา การ
กรอกแบบฟอร์มเพื่อรายงานตัวเป็นนักศึกษาใหม่ การจดทะเบียนยานพาหนะการจดทะเบียนการค้า เป็นต้น
นอกจากนี้ยังรวมถึงการรายงานข้อมูลต่างๆ เช่น รายงานประจำปีของหน่วยงานทางราชการ องค์การของรัฐ
หรือรายงานประจำปีของบริษัทเอกชน ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการจดทะเบียนหรือรายงานต่างๆเหล่านี้อาจเป็นข้อมูล
ที่มีความสำคัญและมีประโยชน์สามารถนำไปประกอบการตัดสินใจได้เช่นกัน
2.การนำเสนอข้อมูล (Presentation of Data)
เป็นการจัดรวบรวมข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่เพื่อง่ายต่อการเข้าใจ และสะดวกในการที่จะวิเคราะห์และ
ตีความหมายการนำเสนอข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
2.1 การนำเสนอข้อมูลไม่มีแบบแผน (Informal Presentation)
เช่น การนำเสนอแบบบทความ (Text Presentation) หรือการนำเสนอแบบบทความกึ่งตาราง (Semi-Tabular
Presentation)
2.2 การนำเสนอข้อมูลโดยมีแบบแผน (Formal Presentation)
เช่นการนำเสนอแบบตาราง (Tabular Presentation) การนำเสนอโดยกราฟ (Graphical Presentation) การ
นำเสนอโดยแผนภูมิ (Chart Presentation) การนำเสนอแบบรูปภาพ (Pictogram)
3.การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of data)
ภายหลังที่มีการนำข้อมูลมาจากแจงความถี่ นำเสนอรูปตาราง กราฟ แผนภูมิ หรือแผนภาพแล้ว จะมีการนำ
ข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์ซึ่งอาจใช้สถิติเชิงพรรณนา หรือสถิติเชิงอนุมานทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ใน
การศึกษา ซึ่งจากการศึกษาในครั้งนี้จะใช้สถิติเชิงพรรณาในการศึกษา และในปัจจุบันนิยมใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
ทางสถิติช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวได้
4. การแปลความหมายข้อมูล (Interprtation of data)
เมื่อดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลเสร็จควรทำการสรุปผลในส่วนที่เป็นสาระสำคัญและแปลความหมายของค่าที่
วิเคราะห์ได้เพื่อช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายได้ชัดเจนขึ้นตลอดจนสามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจได้
2. จากแบบสอบถามเรื่อง “พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพ”
จงเลือกคำต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 2.1 – 2.7
สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงอนุมาน ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลทุติยภูมิ ตัวแปรชนิดต่อเนื่อง
ตัวแปรชนิดไม่ต่อเนื่อง มาตรวัดนามบัญญัติ มาตรวัดเรียงลำดับ มาตรวัดอันตรภาค
มาตรวัดอัตราส่วน ข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณ การสำรวจด้วยตัวอย่าง
การทำสำมะโน การจดบันทึก

2.1 การศึกษาครั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้“แบบสอบถามออนไลน์”ข้อมูลที่ได้จัดเป็นข้อมูลประเภทใดเมื่อจำแนก
ตามแหล่งที่มาของข้อมูล
ตอบ ข้อมูลปฐมภูมิ
2.2 ข้อมูลเกรดเฉลี่ยสะสมใช้มาตรวัดระดับใด
ตอบ มาตราแบบอันตรภาค
2.3 ข้อมูลค่าใช้จ่ายต่อเดือนใช้มาตรวัดระดับใด
ตอบ มาตราอัตราส่วน
2.4 ข้อมูลน้ำหนักเป็นตัวแปรชนิดใด
ตอบ ตัวแปรต่อเนื่อง
2.5 ข้อมูลแหล่งที่มาของรายได้ใช้มาตรวัดระดับใด
ตอบ มาตรานามบัญญัติ
2.6 ข้อมูลรายได้ใช้มาตรวัดระดับใด
ตอบ มาตราอัตราส่วน
2.7 การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลทางสถิติด้วยวิธีใด
ตอบ การสำรวจด้วยตัวอย่าง
3. ให้นักศึกษา Download ไฟล์ข้อมูล (ไฟล์ Excel) ใน MS Team ที่หน้าหลัก (General) โดยให้
Download ไฟล์ของตัวเองตามรายชื่อของนักศึกษา เพื่อนำไปใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลและจากข้อมูลที่
Download จงแสดงวิธีการคำนวณหาค่าสถิติเบื้องต้นดังต่อไปนี้
3.1 น้ำหนักเฉลี่ย
3.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของน้ำหนัก
3.3 มัธยฐานของอายุ
3.4 ฐานนิยมของรายได้ที่ได้รับต่อเดือน
3.5 จงเปรียบเทียบการกระจายระหว่างข้อมูลอายุและข้อมูลน้ำหนัก

จากการสำรวจพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วย
แบบสอบถามออนไลน์มีกลุ่มตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพตอบแบบสอบถามจำนวน 20 คน ผลการ
สำรวจมีดังนี้
1.การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) จากข้อมูลส่วนที่1

ตารางที่1 แสดงจำนวนเพศของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาจำนวน 20 คน
เพศ จำนวนนักศึกษา (คน) ความถี่สัมพัทธ์ ร้อยละความถี่สัมพัทธ์
ชาย 5 0.25 25
หญิง 15 0.75 75
รวม 20 1.00 100
จากตารางที่ 1 พบว่าส่วนใหญ่ร้อยละ 75 ของเพศหญิงในกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามมีจำนวน
มากที่สุดรองลงมาร้อยละ 25 เป็นจำนวนเพศชาย

ตารางที่2 แสดงชั้นปีที่กำลังศึกษาของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาจำนวน 20 คน
ชั้นปีที่กำลังศึกษา จำนวนนักศึกษา (คน) ความถี่สัมพัทธ์ ร้อยละความถี่สัมพัทธ์
ชั้นปีที่2 8 0.4 40
ชั้นปีที่3 8 0.4 40
ชั้นปีที่4 4 0.2 20
รวม 20 1.0 100
จากตารางที่ 2 พบว่าส่วนใหญ่ร้อยละ 40 เป็นจำนวนกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 ซึ่งมีจำนวน
เท่ากันที่ตอบแบบสอบถาม รองลงมาร้อยละ 20 เป็นกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาชั้นปีที่ 4
ตารางที่ 3 แสดงแหล่งที่มารายได้ต่อเดือนของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาจำนวน 20 คน
แหล่งที่มารายได้ต่อเดือน จำนวนนักศึกษา (คน) ความถี่สัมพัทธ์ ร้อยละความถี่สัมพัทธ์
บิดา-มารดาหรือผู้ปกครอง 20 1.0 100
รวม 20 1.0 100
จากตารางที่ 3 พบว่าแหล่งที่มารายได้ต่อเดือนของกลุ่มตัวอย่างได้มาจากบิดามารดาหรือผู้ปกครองทั้งหมดมี
จำนวนร้อยละ 100

ตารางที่4 แสดงค่าใช้จ่ายต่อเดือนของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาจำนวน 20 คน
ค่าใช้จ่ายต่อเดือน จำนวนนักศึกษา (คน) ความถี่สัมพัทธ์ ร้อยละความถี่สัมพัทธ์
ต่ำกว่า 4000 บาท 3 0.15 15
4000-5,999 บาท 5 0.25 25
6,000-7,999 บาท 7 0.35 35
8,000-9,999 บาท 2 0.10 10
1,0000 บาทขึ้นไป 3 0.15 15
รวม 20 1.00 100
จากตารางที่ 4 พบว่าส่วนใหญ่ค่าใช้จ่ายต่อเดือนในกลุ่มตัวอย่างนักศึกษา 6,000-7,999 บาทมีจำนวนมากที่สุด
ร้อยละ 35 รองลงมาค่าใช้จ่ายต่อเดือน 4000-5,999 บาท ร้อยละ 25 รองลงมาค่าใช้จ่ายต่อเดือนต่ำกว่า 4000
บาทและ1,0000 บาทขึ้นไปมีจำนวนเท่ากัน ร้อยละ 15 และอันดับสุดท้ายค่าใช้จ่ายต่อเดือนในกลุ่มตัวอย่าง
นักศึกษา 8,000-9,999 บาทมีจำนวนน้อยที่สุด ร้อยละ 10

ตารางที่ 5 แสดงโรคประจำตัวของกลุ่มนักศึกษาตัวอย่างจำนวน 20 คน
โรคประจำตัว จำนวนนักศึกษา (คน) ความถี่สัมพัทธ์ ร้อยละความถี่สัมพัทธ์
ไม่มีโรคประจำตัว 19 0.95 95
มีโรคประจำตัว 1 0.05 5
รวม 20 1.00 100
จากตารางที่ 5 พบว่าส่วนใหญ่ร้อยละ 95 ในกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาไม่มีโรคประจำตัว รองลงมาร้อยละ 5 มีโรค
ประจำตัว
2.การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) ทำได้ดังนี้

1) หาน้ำหนักเฉลี่ย
วิธีทำ
น้ำหนักกลุ่มนักศึกษาตัวอย่างจำนวน 20 คน มีน้ำหนักตัวเป็นกิโลกรัมดังนี้ 37, 44, 45, 46, 48, 49, 49, 50.5,
52, 53, 53, 60, 60, 61, 65, 65, 65, 69, 77, 94
n
ใช้สูตรค่าเฉลี่ยข้อมูลตัวอย่าง X =  Xni = X 1 + X 2 + Xn 3 + ... + X n จะได้ว่า
i 1 =
n
X
X =  ni
i =1

37+44+45+46+48+49+49+50.5+52+53+53+60+60+61+65+65+65+69+77+94
=
20

1,142.5
=
20

=57.125

ดังนั้น น้ำหนักตัวเฉลี่ยของกลุ่มนักศึกษาตัวอย่างจำนวน 20 คน เท่ากับ 57.125 กิโลกรัม

2) หาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของน้ำหนัก
วิธีทำ น้ำหนักกลุ่มนักศึกษาตัวอย่างจำนวน 20 คน มีน้ำหนักตัวเป็นกิโลกรัมดังนี้ 37, 44, 45, 46, 48, 49, 49,
50.5, 52, 53, 53, 60, 60, 61, 65, 65, 65, 69, 77, 94
ใช้สูตรส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลตัวอย่าง
2
 n 
n   Xi 
 (x ) 2  i =1
 Xi − n 
N 2
i −x
S = i =1
= i =1
n −1
N
n-1
xi xi −x (x i − x ) 2
37 -20.125 405.015
44 - 13.125 172.265
45 - 12.125 147.015
46 -11.125 123.765
48 -9.125 83.265
49 -8.125 66.015
49 -8.125 66.015
50.5 -6.625 43.890
52 -5.125 26.265
53 -4.125 17.015
53 -4.125 17.015
60 2.875 8.265
60 2.875 8.265
61 3.875 15.015
65 7.875 62.015
65 7.875 62.015
65 7.875 62.015
69 11.875 141.015
77 19.875 395.015
94 36.875 1,359.765
 (x )
N 2

xi = 1,142.5 N

i −x = 3,280.925
i =1 i =1

 (x )
N 2
−x
จากสูตร S = i =1
i

N
n-1

3,280.925
แทนค่า จะได้ S = √
20−1

3,280.925
S = √
19

= √172.680

= 13.140
ดังนั้น ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานน้ำหนักตัวเฉลี่ยของกลุ่มนักศึกษาตัวอย่างจำนวน 20 คน เท่ากับ 13.140 กิโลกรัม
3) หามัธยฐานของอายุ
วิธีทำ
อายุของกลุ่มนักศึกษาตัวอย่างจำนวน 20 คน มีอายุเป็นปีดังนี้ 19, 19, 19, 19, 20, 20 , 20, 20, 20, 20, 21,
21, 21, 21, 21, 21, 21, 22, 22, 22
N N
กรณี N เป็นเลขคู่ ค่ามัธยฐาน คือ ค่าเฉลี่ยของข้อมูลอยู่ที่ตำแหน่ง กับ +1 จะได้ว่า
2 2
N 20
N = 20 ตำแหน่ง คือ = 10 ซึง่ ตำแหน่งที่ 10 มีค่าเท่ากับ 20
2 2

N
ตำแหน่ง +1 = 10+1 = 11 ซึง่ ตำแหน่งที่ 11 มีค่าเท่ากับ 21
2

20+21 41
ค่ามัธยฐาน = = = 20.5
2 2

ดังนั้น ค่ามัธยฐานของอายุ เท่ากับ 20.5 ปี

4) ฐานนิยมของรายได้ที่ได้รับต่อเดือน
วิธีทำ
รายได้ที่ได้รับต่อเดือนของกลุ่มนักศึกษาตัวอย่างจำนวน 20 คน มีจำนวนเงินดังนี้
รายได้ที่ได้ต่อเดือนโดยประมาณ (บาท) จำนวนนักศึกษา (คน)
5,000 3
6,000 4
6,500 1
7,000 2
8,000 3
10,000 5
12,000 1
15,000 1
รวม 20
ฐานนิยม คือ ค่าของข้อมูลที่มีจำนวนซ้ำกันมากที่สุด โดยรายได้ที่ได้ต่อเดือนโดยประมาณของกลุ่มนักศึกษา
ตัวอย่างจำนวน 20 คนที่มีจำนวนซ้ำกันมากที่สุด คือ รายได้ 10,000 บาทต่อเดือนโดยประมาณ
ดังนั้น ฐานนิยมของรายได้ที่ได้รับต่อเดือน เท่ากับ 10,000 บาท
5) จงเปรียบเทียบการกระจายระหว่างข้อมูลอายุและข้อมูลน้ำหนัก
วิธีทำ
อายุของกลุ่มนักศึกษาตัวอย่างจำนวน 20 คน มีอายุเป็นปีดังนี้ 19, 19, 19, 19, 20, 20 , 20, 20, 20, 20, 21,
21, 21, 21, 21, 21, 21, 22, 22, 22
น้ำหนักกลุ่มนักศึกษาตัวอย่างจำนวน 20 คน มีน้ำหนักตัวเป็นกิโลกรัมดังนี้ 37, 44, 45, 46, 48, 49, 49, 50.5,
52, 53, 53, 60, 60, 61, 65, 65, 65, 69, 77, 94
สูตร สัมประสิทธิ์การกระจาย (cv.) = XS  100%
ค่า S เท่ากับ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ค่า X เท่ากับ ค่าเฉลี่ย

xi xi −x (x i − x ) 2
19 -1.45 2.10
19 -1.45 2.10
19 -1.45 2.10
19 -1.45 2.10
20 -0.45 0.20
20 -0.45 0.20
20 -0.45 0.20
20 -0.45 0.20
20 -0.45 0.20
20 -0.45 0.20
21 0.55 0.30
21 0.55 0.30
21 0.55 0.30
21 0.55 0.30
21 0.55 0.30
21 0.55 0.30
21 0.55 0.30
22 1.55 2.40
22 1.55 2.40
22 1.55 2.40
 (x )
N 2

 x = 409
N
i i −x = 18.9
i =1 i =1
n
หาค่าเฉลี่ยของอายุ โดย ใช้สูตรค่าเฉลี่ยข้อมูลตัวอย่าง X =  Xni = X 1 + X 2 + Xn 3 + ... + X n จะได้ว่า
i 1 =
n
X
X =  ni
i =1

19+19+19+19+ 20+20+20+20+20+20+21+21+ 21+21+21+21+21+22+22+22


=
20

409
=
20

=20.45
2
 n 
n   Xi 
 (x ) 2  i =1
 Xi − n 
N 2
i −x
หาค่า S ของอายุ จากสูตร S = i =1
= i =1
n −1 จะได้ว่า
N
n-1

 (x )
N 2
−x
จากสูตร S = i =1
i

N
n-1
18.9
แทนค่า จะได้ S = √
20−1

18.9
S = √
19

= √0.9947

= 0.9973
หาสัมประสิทธิ์การกระจายของอายุ (cv.) = XS  100%
0.9973
= × 100
20.45

= 0.0487 × 100

= 4.87 %
หาสัมประสิทธิ์การกระจายของน้ำหนัก (cv.) = XS  100%

จากข้อ1. ( X ) ค่าเฉลี่ยของน้ำหนัก เท่ากับ 57.125 กิโลกรัม


จากข้อ2. (S) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของน้ำหนัก เท่ากับ 13.140 กิโลกรัม จะได้ว่า
13.140
สัมประสิทธิ์การกระจายของนา้ หนัก (cv.) = × 100
57.125

= 0.23 × 100

= 23 %
ดังนั้น ข้อมูลน้ำหนักมีค่าการกระจายข้อมูลมากกว่าข้อมูลอายุ เพราะข้อมูลน้ำหนักมีค่าสัมประสิทธิ์การ
กระจาย(cv.) มากกว่า ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย(cv.)ของข้อมูลอายุ

4. จากข้อมูลส่วนที่ 2 ในแบบสอบถาม จงเลือกวิธีนำเสนอข้อมูล และสรุปผลข้อมูลพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ


ตนเองของนักศึกษา
การนำเสนอข้อมูลโดยมีแบบแผน (Formal Presentation)
ใช้วิธีการนำเสนอแบบแผนภาพงวกลม (Pie Chart)
1.แผนภูมิวงกลมแสดงการแจกแจงร้อยละความถี่สัมพัทธ์ของการมีโรคประจำตัวและไม่มีโรคประจำตัว
ท่านมีโรคประจาตัวหรือไม่
มีโรคประจาตัว 1%
ไม่มีโรคประจาตัว มีโรคประจาตัว

0 19 คน 0 1 คน

ไม่มโี รคประจำตัว 99 %

สรุปผล จากรูปแผนภูมิวงกลมแสดงให้เห็นถึงจำนวนร้อยละความถี่สัมพัทธ์ของการมีโรคประจำตัวและไม่มีโรค
ประจำตัว โดยจากรูปแผนภูมิวงกลมคนที่ไม่มีโรคประจำตัวมีจำนวนมากที่สุด คือ ร้อยละ99 และจำนวนคนทีม่ ี
โรคประจำตัวมีน้อยที่สุด คือ ร้อยละ 1
ใช้วิธีการนำเสนอแบบแผนภูมิแท่ง (Bar Chart)
2. แผนภูมิแท่งแสดงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความบ่อยในการอด
อาหารเช้า
จานวนนักศึกษา (คน) ท่านอดอาหารเช้า เพราะต้องรีบมาเรียนให้ทนั
10

0
มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ

ระดับความบ่อยในการอดอาหาร
สรุปผล จากรูปแผนภูมิแท่งนี้แสดงให้เช้เห็านถึงจำนวนนักศึกษาที่อดอาหารเช้าที่ระดับความบ่อยมากที่สุดมีจำนวน
สูงที่สุด คือ 8 คน รองลงมาคือระดับความบ่อยปานกลางมีจำนวน 9 คน รองลงมาคือ ระดับความบ่อยน้อยมี
จำนวน 2 คน รองลงมาคือ ระดับความบ่อยมากมีจำนวน 1 คน และระดับความบ่อยในการอดอาหารเช้าที่ไม่มี
จำนวนคนเป็น 0 คนหรือไม่มีคน คือระดับความบ่อยมากในการอดอาหารเช้าน้อยที่สุด

3.แผนภูมิแท่งแสดงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับปริมาณในการ
รับประทานอาหารครบทั้ง5หมู่

จานวนนักศึกษา (คน) ในแต่ละวันท่านรัปประทานอาหารครบทัง้ 5 หมู่


7

0
มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ

ระดับปริมาณในการรับประทานอาหารครบทัง้ 5หมู่
สรุปผล จากรูปแผนภูมิแท่งนี้แสดงให้เห็นถึงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับ
ปริมาณในการรับประทานอาหารครบทั้ง5หมู่ทมี่ ีปริมาณปานกลางและปริมาณน้อยมีจำนวนนักศึกษาสูงที่สุด
คือ 6 คน รองลงมาคือระดับปริมาณมากมีจำนวน 5 คน รองลงมาคือ ระดับปริมาณมากที่สุดมีจำนวน 3 คน
และระดับปริมาณน้อยที่สุดในการรับประทานอาหารครบทั้ง5หมู่ไม่มีจำนวนคนเลย

4. แผนภูมิแท่งแสดงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความบ่อยการพูดจาไม่
สุภาพเวลาโกรธ

จานวนนักศึกษา (คน) ท่านพูดจาไม่สภุ าพเวลาโกรธ


8

0
มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ

ระดับความบ่อยในการพูดจาไม่สภุ าพเวลาโกรธ

สรุปผล จากรูปแผนภูมิแท่งนี้แสดงให้เห็นถึงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความ
บ่อยการพูดจาไม่สุภาพเวลาโกรธที่ระดับปานกลางมีจำนวนนักศึกษาสูงสุด คือ 7 คน รองลงมาคือ ระดับมากมี
จำนวนนักศึกษา 6 คน รองลงมา คือ ระดับระดับน้อยมีจำนวนนักศึกษา 5 คน และระดับความบ่อยการพูดจาไม่
สุภาพเวลาโกรธมากที่สุดและน้อยที่สุดมีจำนวนนักศึกษาน้อยที่สุดคือ 1 คน โดยมีจำนวนนักศึกษาเท่ากันทั้ง2
ระดับ
5. แผนภูมิแท่งแสดงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความกล้าที่จะเข้าหา
ผู้ปกครองเมื่อมีปัญหาเพื่อขอคำปรึกษา
จานวนนักศึกษา (คน) ท่านกล้าที่จะเข้าหาผูป้ กครองเมือ่ มีปัญหาเพื่อขอคาปรึกษา
8

0
มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ
ระดับความกล้าที่จะเข้าหาผูป้ กครองเมื่อมีปัญหา
เพื่อขอคาปรึกษา
สรุปผล จากรูปแผนภูมิแท่งนี้แสดงให้เห็นถึงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความ
กล้าที่จะเข้าหาผู้ปกครองเมื่อมีปัญหาเพื่อขอคำปรึกษาที่ระดับความกล้าปานกลางมีจำนวนนักศึกษาสูงที่สุด คือ
7 คน รองลงมา คือระดับความกล้ามากที่สุดจำวน 5 คน รองลงมา คือระดับความกล้ามาก คือ 4 คน รองลงมา
คือระดับความกล้าน้อยจำนวน 3 คน และระดับความกล้าน้อยที่สุดทีจ่ ะเข้าหาผู้ปกครองเมื่อมีปัญหาเพื่อขอ
คำปรึกษามีจำนวนนักศึกษาน้อยที่สุดจำนวน 1 คน

6. แผนภูมิแท่งแสดงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความบ่อยในการเล่นกีฬา
หรือออกกำลังกายไม่ต่ำกว่าสัปดาห์ละ 3 วัน
จานวนนักศึกษา (คน) ท่านเล่นกีฬาหรือออกกาลังกายไม่ต่ากว่าสัปดาห์ละ 3 วัน
9

0
มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ

ระดับความบ่อยในการเล่นกีฬาหรือออกกาลังกายไม่ต่ากว่าสัปดาห์ละ 3 วัน
สรุปผล จากรูปแผนภูมิแท่งนี้แสดงให้เห็นถึงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความ
บ่อยในการเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายไม่ต่ำกว่าสัปดาห์ละ 3 วันทีร่ ะดับความบ่อยปานกลางมีจำนวนนักศึกษา
สูงที่สุด คือ 8 คน รองลงมา คือระดับความบ่อยน้อยจำนวน 4 คน รองลงมา คือ ระดับความบ่อยมากและน้อย
ที่สุดมีจำนวนนักศึกษาเท่ากัน คือ 3 คน และระดับความบ่อยมากที่สุดในการเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายไม่ต่ำ
กว่าสัปดาห์ละ 3 วันมีจำนวนนักศึกษาน้อยที่สุดอยู่จำนวน 2 คน

7. แผนภูมิแท่งแสดงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความบ่อยทีไ่ ด้รับการ
บาดเจ็บระหว่างการออกกำลังกาย
จานวนนักศึกษา (คน) ท่านได้รบั การบาดเจ็บระหว่างการออกกาลังกาย
12

10

0
มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ

ระดับความบ่อยที่ได้รบั การบาดเจ็บระหว่างการออกกาลังกาย

สรุปผล จากรูปแผนภูมิแท่งนี้แสดงให้เห็นถึงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความ
บ่อยที่ได้รับการบาดเจ็บระหว่างการออกกำลังกายที่ระดับความบ่อยน้อยที่สุดมีจำนวนนักศึกษาสูงที่สุด คือ 11
คน รองลงมาคือ ระดับความบ่อยน้อยที่สุดจำนวน 5 คน รองลงมาคือ ระดับความบ่อยปานกลางจำนวน 4 คน
และระดับความบ่อยมากที่สุดกับระดับความบ่อยมากที่ได้รับการบาดเจ็บระหว่างการออกกำลังกายมีจำนวน
นักศึกษาน้อยที่สุดอยู่ที่ 0 คนหรือไม่มนี ักศึกษาเลย
8. แผนภูมิแท่งแสดงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความบ่อยในการชั่งน้ำหนัก
ของตนเอง
จานวนนักศึกษา (คน) ท่านมีการชั่งนา้ หนักของตัวเอง
7

0
มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ

ระดับความบ่อยในการชั่งนา้ หนักของตนเอง
สรุปผล จากรูปแผนภูมิแท่งนี้แสดงให้เห็นถึงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความ
บ่อยในการชั่งน้ำหนักของตนเองที่ระดับความบ่อยมากที่สุดและปานกลางมีจำนวนนักศึกษาสูงที่สุด เท่ากันคือ 6
คน รองลงมาคือ ระดับความบ่อยมากจำนวน 5 คน รองลงมาคือ ระดับความบ่อยน้อยจำนวน 2 คน และระดับ
ความบ่อยน้อยที่สุดทีช่ ั่งน้ำหนักของตนเองมีจำนวนนักศึกษาน้อยที่สุดอยู่ที่ 1 คน

9. แผนภูมิแท่งแสดงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความบ่อยในการใช้ของใช้
ส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น
จานวนนักศึกษา (คน) ท่านใช้ของใช้สว่ นตัวร่วมกับผูอ้ ื่น
12

10

0
มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ

ระดับความบ่อยในการใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกับผูอ้ ื่น
สรุปผล จากรูปแผนภูมิแท่งนี้แสดงให้เห็นถึงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความ
บ่อยในการใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกับผู้อื่นที่ระดับความบ่อยน้อยที่สุดมีจำนวนนักศึกษาสูงที่สุด คือ 11 คน
รองลงมาคือ ระดับความบ่อยน้อยจำนวน 6 คน รองลงมาคือ ระดับความบ่อยมากจำนวน 2 คน รองลงมาคือ
ระดับความบ่อยปานกลางจำนวน 1 คน และระดับความบ่อยมากที่สุดทีใ่ ช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกับผู้อื่นมีจำนวน
นักศึกษาน้อยที่สุดอยู่ที่ 0 คนหรือไม่มนี ักศึกษาเลย

10. แผนภูมิแท่งแสดงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความบ่อยในการทำความ
สะอาดบ้านทุกสัปดาห์
จานวนนักศึกษา (คน) ท่านทาความสะอาดบ้านทุกสัปดาห์
9

0
มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ

ระดับความบ่อยในการทาความสะอาดบ้านทุกสัปดาห์

สรุปผล จากรูปแผนภูมิแท่งนี้แสดงให้เห็นถึงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความ
บ่อยในการทำความสะอาดบ้านทุกสัปดาห์ที่ระดับความบ่อยปานกลางมีจำนวนนักศึกษาสูงที่สุด คือ 8 คน
รองลงมาคือ ระดับความบ่อยมากทีส่ ุดจำนวน 4 คน รองลงมาคือ ระดับความบ่อยมากกับระดับความบ่อยน้อย
จำนวน 3 คนเท่ากัน และระดับความบ่อยน้อยที่สุดที่ใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกับผู้อื่นมีจำนวนนักศึกษาน้อยที่สุดอยู่
ทีจ่ ำนวน 2 คน
11. แผนภูมิแท่งแสดงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความบ่อยในการเที่ยว
กลางคืนในสถานเริงรมย์ เช่น ผับ เธค บาร์ และแหล่งอื่นๆ

จานวนนักศึกษา (คน) ท่านเที่ยวกลางคืนในสถานเริงรมย์ เช่น เธค ผับ บาร์ และแหล่งอื่นๆ


10

0
มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สดุ

ระดับความบ่อยในการเที่ยวกลางคืนในสถานเริงรมย์ เช่น ผับ เธค บาร์ และแหล่งอื่นๆ

สรุปผล จากรูปแผนภูมิแท่งนี้แสดงให้เห็นถึงจำนวนตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพจำแนกตามระดับความ
บ่อยในการเที่ยวกลางคืนในสถานเริงรมย์ เช่น ผับ เธค บาร์ และแหล่งอื่นๆที่ระดับความบ่อยน้อยที่สุดมีจำนวน
นักศึกษาสูงที่สุด คือ 9 คน รองลงมาคือ ระดับความบ่อยปานกลางจำนวน 5 คน รองลงมาคือ ระดับความบ่อย
น้อย และระดับความบ่อยมากที่สุดและมากในการเที่ยวกลางคืนในสถานเริงรมย์ เช่น ผับ เธค บาร์ และแหล่ง
อื่นๆมีจำนวนนักศึกษาน้อยที่สุดอยู่ที่จำนวน 0 คนหรือไม่มีเลย

You might also like