You are on page 1of 24

แผนการเรียนรู้ที่ 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชา
คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน(ค 23101)
หน่วยการเรียนรู้ สถิติ (3)
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
เรื่อง ควอร์ไทล์ จำนวน 1 ชั่วโมง . ใช้สอนวัน
ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ.2563
________________________________________________________________________________
________________________________________

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด
สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็ น
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทาง
สถิติในการแก้ปัญหา
ตัวชีว
้ ัด
ค 3.1 ม.3/1 เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำเสนอ
และวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภาพ
กล่อง และแปลความหมายผลลัพธ์ รวมทัง้ นำสถิติ
ไปใช้ในชีวิตจริง โดยใช้
เทคโนโลยีที่เหมาะสม

2. สาระสำคัญ
แผนภาพกล่องเป็ นเครื่องมือหนึ่งทางสถิติที่ใช้นำเสนอข้อมูล
โดยใช้ควอร์ไทล์แบ่งข้อมูลออกเป็ น 4 ส่วน แต่ละส่วนมีจำนวนข้อมูล
เท่า ๆ กัน แผนภาพกล่องช่วยให้เห็นภาพการกระจายของข้อมูลทัง้
ชุดในแต่ละช่วงได้ชัดเจนกว่าการพิจารณาจากควอร์ไทล์โดยตรง ทัง้ นี ้
แผนภาพกล่องยังสามารถใช้ในการเปรียบเทียบกากระจายของข้อมูล
ที่มีลักษณะและหน่วยวัดเดียวกันตัง้ แต่สองชุดขึน
้ ไป

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K) : นักเรียนสามารถ
1) หาควอร์ไทล์ของข้อมูลที่กำหนดให้ โดยใช้มัธยฐาน
ด้านทักษะกระบวนการ (P) : นักเรียนมีความสามารถใน
1) การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2) การเชื่อมโยง
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) : นักเรียน
1) ใฝ่ เรียนรู้
2) มุ่งมั่นในการทำงาน
3) ซื่อสัตย์สุจริต
4. สาระการเรียนรู้
ควอร์ไทล์ (quartile)
ควอร์ไทล์ ได้มาจากการแบ่งข้อมูลที่มีการเรียงข้อมูลจากน้อย
ไปมาก ออกเป็ น 4 ส่วนเท่า ๆ กันโดยประมาณ ค่า ณ ตำแหน่งที่แบ่ง
แต่ละส่วนเรียกว่า ควอร์ไทล์ที่ 1 (Q1) ควอร์ไทล์ที่ 2 (Q2) และควอร์
ไทล์ที่ 3 (Q3) ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลทัง้ หมดจะเป็ น 100%

ข้อมูลที่เรียงจาก
25% ของ 25% ของ 25% ของ 25% ของ
น้อยไปมาก
ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล

Q Q Q
1 2 3

ตัวอย่างที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับคะแนนสอบระหว่างภาคเรียนวิชา
ภาษาอังกฤษของนักเรียนห้องหนึง่ จำนวน 25 คน เป็ น
ดังนี ้
20 30 18 24 18 28 14 12 18
27 20 19 12 11 19 15 16 22
15 22 26 25 19 28 24
จงหาควอร์ไทล์ทงั ้ สามของข้อมูลนี ้
วิธีทำ เมื่อเรียงคะแนนจากน้อยไปหามาก แล้วหามัธยฐาน
ของข้อมูล
11, 12, 12, 14, 15, 15, 16, 18, 18, 18, 19, 19, 19, 20, 20, 22,
22, 24, 24, 25, 26, 27, 28, 28, 30

มัธยฐา

จะได้ว่า มัธยฐานของข้อมูลทัง้ หมด เท่ากับ 19


ดังนัน
้ Q2 = 19

หามัธยฐานของข้อมูลที่อยู่ในลำดับที่ต่ำกว่า Q2 คือ
ข้อมูลที่ประกอบด้วย
11, 12, 12, 14, 15, 15, 16, 18, 18, 18, 19, 19
มัธยฐา
15+16
จะได้ว่า มัธยฐาน = 2 = 15.5

ดังนัน
้ Q1 = 15.5

หามัธยฐานของข้อมูลที่อยู่ในลำดับที่สูงกว่า Q2 คือ
ข้อมูลที่ประกอบด้วย
20, 20, 22, 22, 24, 24, 25, 26, 27, 28, 28, 30

มัธยฐา
24+25
จะได้ว่า มัธยฐาน = 2 = 24.5

ดังนัน
้ Q3 = 24.5

ตอบ ควอร์ไทล์ที่ 1 ควอร์ไทล์ที่ 2 และควอร์ไทล์ที่ 3 เท่ากับ


15.5, 19 และ 24.5
ตามลำดับ

✤ การหาควอร์ไทล์ สามารถทำได้โดย
1) เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก
2) หามัธยฐานของข้อมูล จะได้ ควอร์ไทล์ที่ 2
3) หามัธยฐานของข้อมูลเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในลำดับที่ต่ำกว่าค
วอร์ไทล์ที่ 2 จะได้มัธยฐานดังกล่าวเป็ น ควอร์ไทล์ที่ 1
4) หามัธยฐานของข้อมูลเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในลำดับที่สูงกว่าค
วอร์ไทล์ที่ 2 จะได้มัธยฐานดังกล่าวเป็ น ควอร์ไทล์ที่ 3

มัธยฐานของข้อมูลทัง้ หมด
คือ Q2
ข้อมูลที่เรียงจาก
น้อยไปมาก
มัธยฐานของข้อมูลกลุ่มนี ้ มัธยฐานของข้อมูลกลุ่ม
คือ Q1 นี ้ คือ Q3

5. กิจกรรมการเรียนรู้
ขัน
้ นำเข้าสู่บทเรียน
5.1 ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เรื่อง สถิติ (2) ที่เคย
เรียนมาแล้ว โดยใช้การถามตอบในหัวข้อต่อไปนี ้
✤ แผนภาพจุดและแผนภาพต้น–ใบ (เพื่อเป็ นพื้นฐานในการนึก
ภาพการกระจายของข้อมูลและเชื่อมโยงกับการกระจายของข้อมูลที่
แสดงด้วยแผนภาพกล่อง)
✤ พิสัยของข้อมูล (เพื่อเป็ นพื้นฐานในการพิจารณาการกระจาย
ของข้อมูลอย่างคร่าว ๆ)
✤ มัธยฐาน (เพื่อเป็ นพื้นฐานในการหาควอร์ไทล์ต่าง ๆ)
5.2 ครูยกตัวอย่างของค่าวัดตำแหน่งของข้อมูลที่นักเรียนรู้จัก
มาแล้ว คือ มัธยฐาน เพื่อโยงเข้าสู่ค่าวัดตำแหน่งของข้อมูลที่สำคัญ
และจำเป็ นในการเรียนรู้แผนภาพกล่อง ซึง่ เรียกว่า ควอร์ไทล์

ขัน
้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
5.3 ครูแนะนำให้นักเรียนรู้จักคำว่า ควอร์ไทล์ (quartile) เพื่อ
ให้นักเรียนเข้าใจในเบื้องต้นพร้อมทัง้ เขียนแสดงภาพบนกระดาน
ดังนี ้
ควอร์ไทล์ (quartile) ได้มาจากการแบ่งข้อมูลที่มีการเรียง
ข้อมูลจากน้อยไปมาก ออกเป็ น 4 ส่วนเท่า ๆ กันโดยประมาณ ค่า ณ
ตำแหน่งที่แบ่งแต่ละส่วนเรียกว่า ควอร์ไทล์ที่ 1 (Q1) ควอร์ไทล์ที่ 2
(Q2) และควอร์ไทล์ที่ 3 (Q3) ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลทัง้ หมดจะเป็ น
100%

ข้อมูลที่เรียงจาก
25% ของ 25% ของ 25% ของ 25% ของ
น้อยไปมาก
ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล

Q Q Q
1 2 3

5.4 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม “พลังงานจากผลไม้” เพื่อให้


นักเรียนเข้าใจและเห็นภาพตำแหน่งของควอร์ไทล์ทงั ้ สาม และเข้าใจ
ความหมายของควอร์ไทล์มากยิ่งขึน

5.5 ครูใช้การถามตอบจนนักเรียนสามารถตอบคำถามท้าย
กิจกรรมทัง้ สองข้อได้ว่า
คำตอบข้อ 1) เพราะบนแถบกระดาษได้มีการบันทึกแคลอรี
ที่เรียงลำดับจากน้อยไปหามาก และจากการพับครึ่งแถบกระดาษสอง
ทบ เมื่อคลี่ออกมาจะปรากฏรอยพับ 3 รอย ที่แบ่งแถบกระดาษออก
เป็ น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน แต่ละส่วนจะมีจำนวนข้อมูลประมาณ 25%
ของข้อมูลทัง้ หมด จึงทำให้ค่าแคลอรี ณ ตำแหน่งรอยพับที่แบ่งแต่ละ
ส่วนนัน
้ เป็ นค่าของควอร์ไทล์แต่ละตำแหน่ง
คำตอบข้อ 2) อาจแตกต่างกันหรือไม่แตกต่างกันก็ได้ ขึน
้ อยู่
กับการเลือกผลไม้ที่ชอบเพิ่มอีก 4 ชนิด และปริมาณที่บริโภค
5.6 ครูยกตัวอย่างที่ 1 ที่กำหนดชุดข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อ
ทบทวนมัธยฐาน แล้วอธิบายขัน
้ ตอนการหาควอร์ไทล์ต่าง ๆ โดยใช้
มัธยฐาน นักเรียนบันทึกตัวอย่างที่ 1 ลงในสมุด

ตัวอย่างที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับคะแนนสอบระหว่างภาคเรียนวิชา
ภาษาอังกฤษของนักเรียนห้องหนึง่ จำนวน 25 คน เป็ น
ดังนี ้
20 30 18 24 18 28 14 12 18
27 20 19 12 11 19 15 16 22
15 22 26 25 19 28 24
จงหาควอร์ไทล์ทงั ้ สามของข้อมูลนี ้
วิธีทำ เมื่อเรียงคะแนนจากน้อยไปหามาก แล้วหามัธยฐาน
ของข้อมูล
11, 12, 12, 14, 15, 15, 16, 18, 18, 18, 19, 19, 19, 20, 20, 22,
22, 24, 24, 25, 26, 27, 28, 28, 30

มัธยฐา

จะได้ว่า มัธยฐานของข้อมูลทัง้ หมด เท่ากับ 19


ดังนัน
้ Q2 = 19
หามัธยฐานของข้อมูลที่อยู่ในลำดับที่ต่ำกว่า Q2 คือ
ข้อมูลที่ประกอบด้วย
11, 12, 12, 14, 15, 15, 16, 18, 18, 18, 19, 19

มัธยฐา
15+16
จะได้ว่า มัธยฐาน = 2 = 15.5

ดังนัน
้ Q1 = 15.5

หามัธยฐานของข้อมูลที่อยู่ในลำดับที่สูงกว่า Q2 คือ
ข้อมูลที่ประกอบด้วย
20, 20, 22, 22, 24, 24, 25, 26, 27, 28, 28, 30

มัธยฐา
24+25
จะได้ว่า มัธยฐาน = 2 = 24.5

ดังนัน
้ Q3 = 24.5

ตอบ ควอร์ไทล์ที่ 1 ควอร์ไทล์ที่ 2 และควอร์ไทล์ที่ 3 เท่ากับ


15.5, 19 และ 24.5
ตามลำดับ

5.7 ครูสงั เกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคลด้านทักษะ


กระบวนการ (การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
และการเชื่อมโยง) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ใฝ่ เรียนรู้ มุ่ง
มั่นในการทำงาน และซื่อสัตย์สุจริต)
ขัน
้ สรุป
5.9 ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเพื่อสรุปวิธีการหาควอร์ไทล์
โดยใช้ความรู้เรื่องมัธยฐาน ว่า
การหาควอร์ไทล์ สามารถทำได้โดย
1) เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก
2) หามัธยฐานของข้อมูล จะได้ ควอร์ไทล์ที่ 2
3) หามัธยฐานของข้อมูลเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในลำดับที่ต่ำกว่า
ควอร์ไทล์ที่ 2
จะได้มัธยฐานดังกล่าวเป็ น ควอร์ไทล์ที่ 1
4) หามัธยฐานของข้อมูลเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในลำดับที่สูงกว่า
ควอร์ไทล์ที่ 2
จะได้มัธยฐานดังกล่าวเป็ น ควอร์ไทล์ที่ 3

มัธยฐานของข้อมูลทัง้ หมด
คือ Q2
ข้อมูลที่เรียงจาก
น้อยไปมาก
มัธยฐานของข้อมูลกลุ่มนี ้ มัธยฐานของข้อมูลกลุ่ม
คือ Q1 นี ้ คือ Q3

5.10 นักเรียนทำแบบฝึ กหัด 6.1 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้น


ฐานคณิตศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 เล่ม 1 หน้า 225 ข้อ 1 ใหญ่
เป็ นการบ้าน เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ

6. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
6.1 ใบกิจกรรม “พลังงานจากผลไม้” พร้อมอุปกรณ์
6.2 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
3 เล่ม 1

7. การวัดผลประเมินผล

วิธีการวัดและ เครื่องมือวัดและ
เกณฑ์การผ่าน
ประเมินผล ประเมินผล
7.1 ด้านความรู้
1) ประเมินจากการ 1) กิจกรรม “พลังงาน ได้คะแนนจาก
ทำ จากผลไม้” การประเมินไม่
กิจกรรม “พลังงาน 2) แบบฝึ กหัด 6.1 ข้อ น้อยกว่าร้อยละ
จากผลไม้” 1 ใหญ่ 70
2) ประเมินจากการ
ทำแบบทดสอบหลัง
เรียน
7.2 ด้านทักษะกระบวนการ
สังเกตพฤติกรรมการ แบบบันทึกคะแนน ผ่านระดับดีขน
ึ ้ ไป
ปฏิบัติกิจกรรม พฤติกรรมนักเรียนด้าน
ทักษะกระบวนการ
7.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สังเกตพฤติกรรมการ แบบบันทึกคะแนน ผ่านระดับดีขน
ึ ้ ไป
เรียน พฤติกรรมนักเรียนด้าน
คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
8. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
ได้ทำการตรวจแผนการเรียนรู้ของนางสาวเพ็ญพร ทิพย์อโนทัย แล้วมี
ความคิดเห็นดังนี ้
8.1 เป็ นแผนการเรียนรู้ที่
 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง

8.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้นำกระบวนการเรียนรู้
 ที่เน้นนักเรียนเป็ นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ที่ยังไม่เน้นนักเรียนเป็ นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

8.3 เป็ นแผนการเรียนรู้ที่


 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้

8.4 ข้อเสนอแนะอื่นๆ
..........................................................................................
..............................................
....................................................................................................
..................................................
....................................................................................................
..................................................

ลงชื่อ

( นายกระเสิม มงคุณ )
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ
โรงเรียนวัดบ้านไร่
วัน
ที.่ ........เดือน.........................พ.ศ.............

บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

ผลการจัดการเรียนรู้
...................................................................................................
...................................................
.............................................................................................................
.......................................................
.............................................................................................................
.......................................................
.............................................................................................................
.......................................................
.............................................................................................................
.......................................................
.............................................................................................................
.......................................................
.............................................................................................................
.......................................................
.............................................................................................................
.......................................................
.............................................................................................................
.......................................................

ปั ญหา/อุปสรรค

...................................................................................................
...................................................
.............................................................................................................
.......................................................
.............................................................................................................
.......................................................

ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข

...................................................................................................
...................................................
.............................................................................................................
.......................................................
.............................................................................................................
.......................................................
ลงชื่อ ครูผู้

สอน

( นางสาวเพ็ญพร ทิพย์อโนทัย )
ตำแหน่ง ครู โรงเรียน
วัดบ้านไร่
วัน
ที.่ ........เดือน.........................พ.ศ.............

แบบบันทึกคะแนนการกิจกรรมและแบบฝึ กหัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ สถิติ (3) แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ควอร์ไทล์

คะแนนจากการทำบัตร
สรุปผลกาประเมิน

กิจกรรม
เล กิจกรรม แบบฝึ กหัด รวม
ชื่อ – นามสกุล
ขที่ พลังงานจาก 6.1
ผลไม้ ข้อ 1 ใหญ่
(10) (10) (20)
เด็กชายวิทวัส อาสา
1
นอก
เด็กชายวิทยา อาสา
2
นอก
เด็กชายชลันธร รัก
3
สุจริต
เด็กชายณัฐพล โคตร
4
โพธิ ์
เด็กชายนาวิน พันธ์
5
สวัสดิ ์
เด็กชายนวปองพล พา
6
รื่นรัมย์
เด็กชายผดุงเกียรติ
7
หลั่นเวียง
8 เด็กชายมนตรี มุง่ มี
เด็กหญิงช่อผกา บุญ
9
มา
เด็กหญิงธารวารินทร์
10
สุนทรรส
เด็กหญิงปิ่ นแก้ว จูม
11
จันทร์
เด็กหญิงปรียาณัฐ
12
อิสระวิภาต
เด็กหญิงภควดี สาร
13
นอก
14 เด็กหญิงมยุรี ใหม่
มงคล
เด็กหญิงศิราณี น้อย
15
บัวทิพย์

สรุปผลการประเมิน พิจารณาเกณฑ์ ดังนี ้


- ได้คะแนนรวม ตัง้ แต่ 14 คะแนนขึน
้ ไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ () น้อยกว่า
14 คะแนน ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ ()

แบบบันทึกคะแนนพฤติกรรมนักเรียนด้านทักษะกระบวนการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ สถิติ (3) แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ควอร์ไทล์
การสื่อสาร และสื่อ
ความหมายทาง

ระดับคุณภาพ
การเชื่อมโยง

เลข รวม หมายเ


ชื่อ – สกุล
ที่ หตุ

(3) (3) (6)


1 เด็กชายวิทวัส อาสา
นอก
2 เด็กชายวิทยา อาสา
นอก
3 เด็กชายชลันธร รัก
สุจริต
4 เด็กชายณัฐพล
โคตรโพธิ ์
5 เด็กชายนาวิน พันธ์
สวัสดิ ์
6 เด็กชายนวปองพล
พารื่นรัมย์
7 เด็กชายผดุงเกียรติ
หลั่นเวียง
8 เด็กชายมนตรี มุง่ มี
9 เด็กหญิงช่อผกา บุญ
มา
10 เด็กหญิงธารวารินทร์
สุนทรรส
11 เด็กหญิงปิ่ นแก้ว จูม
จันทร์
12 เด็กหญิงปรียาณัฐ
อิสระวิภาต
13 เด็กหญิงภควดี สาร
นอก
14 เด็กหญิงมยุรี ใหม่
มงคล
15 เด็กหญิงศิราณี น้อย
บัวทิพย์
จำนวนนักเรียนที่ผ่าน
เกณฑ์ (คน)
คิดเป็ นร้อยละ

เกณฑ์การให้คะแนนพฤติกรรมนักเรียนด้านทักษะกระบวนการ

ทักษะ คะแนน
กระบวนการ 3 2 1
การสื่อสาร และ ใช้ภาษาและ ใช้ภาษาและ ใช้ภาษาและ
สื่อความหมาย สัญลักษณ์ทาง สัญลักษณ์ทาง สัญลักษณ์ทาง
ทาง คณิตศาสตร์ที่ คณิตศาสตร์ที่ คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ ถูกต้อง นำ ถูกต้อง นำ อย่างง่าย นำ
เสนอได้ตาม เสนอได้ เสนอได้ไม่
ลำดับขัน
้ ตอน แต่รายละเอียด ชัดเจน
เป็ นระบบ ไม่สมบูรณ์
กระชับ ชัดเจน
และมีราย
ละเอียด
สมบูรณ์
การเชื่อมโยง เชื่อมโยงความ เชื่อมโยงความ เชื่อมโยงความ
รู้ใหม่และความ รู้ใหม่และความ รู้ใหม่และความ
รู้เดิมได้ถูกต้อง รู้เดิมได้ถูกต้อง รู้เดิมได้บาง
บอกความ แต่บอกความ ส่วน
สัมพันธ์ สัมพันธ์
ระหว่างความรู้ ระหว่างความรู้
ใหม่และความรู้ ใหม่และความรู้
เดิมได้ เดิมได้เพียง
บางส่วน

เกณฑ์การประเมิน

นักเรียนมีคุณภาพระดับดีขน
ึ ้ ไป ถือว่าผ่านเกณฑ์

คะแนน ระดับคุณภาพ
5 – 6 คะแนน ดี
3 – 4 คะแนน พอใช้
1 – 2 คะแนน ต้องปรับปรุง
แบบบันทึกคะแนนพฤติกรรมนักเรียนด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ สถิติ (3) แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ควอร์ไทล์

ระดับคุณภาพ
ซื่อสัตย์สุจริต
มุ่งมั่นในการ
เลข หมาย

ใฝ่ เรียนรู้
ชื่อ – สกุล

ทำงาน
ที่ เหตุ

รวม
(3) (3) (3) (9)
1 เด็กชายวิทวัส อาสา
นอก
2 เด็กชายวิทยา อาสา
นอก
3 เด็กชายชลันธร รัก
สุจริต
4 เด็กชายณัฐพล โคตร
โพธิ ์
5 เด็กชายนาวิน พันธ์
สวัสดิ ์
6 เด็กชายนวปองพล พา
รื่นรัมย์
7 เด็กชายผดุงเกียรติ
หลั่นเวียง
8 เด็กชายมนตรี มุง่ มี
9 เด็กหญิงช่อผกา บุญ
มา
10 เด็กหญิงธารวารินทร์
สุนทรรส
11 เด็กหญิงปิ่ นแก้ว จูม
จันทร์
12 เด็กหญิงปรียาณัฐ
อิสระวิภาต
13 เด็กหญิงภควดี สาร
นอก
14 เด็กหญิงมยุรี ใหม่
มงคล
15 เด็กหญิงศิราณี น้อย
บัวทิพย์
จำนวนนักเรียนที่ผ่าน
เกณฑ์ (คน)
คิดเป็ นร้อยละ

เกณฑ์การให้คะแนนพฤติกรรมนักเรียนด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
คุณลักษณะ คะแนน
อันพึงประสงค์ 3 2 1
ใฝ่ เรียนรู้ เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา
ตัง้ ใจเรียน เอาใจ ตัง้ ใจเรียน เอาใจ ตัง้ ใจเรียน เอาใจ
ใส่ในการเรียน ใส่ในการเรียน ใส่ในการเรียน
และมีส่วนร่วมใน และมีส่วนร่วมใน และมีส่วนร่วมใน
การเรียนรู้ และ การเรียนรู้ และ การเรียนรู้ และ
เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
ทัง้ ภายในและ บ่อยครัง้ เป็ นบางครัง้
ภายนอกโรงเรียน
เป็ นประจำ
มุ่งมั่นในการ ตัง้ ใจและรับผิด ตัง้ ใจและรับผิด ตัง้ ใจและรับผิด

ทำงาน ชอบในการปฏิบัติ ชอบในการปฏิบัติ ชอบ


หน้าที่ที่ได้รับมอบ หน้าที่ที่ได้รับมอบ ในการปฏิบัติ
หมายให้สำเร็จ มี หมายให้สำเร็จ มี หน้าที่ที่ได้รับมอบ
การปรับปรุงและ การปรับปรุงและ หมายให้สำเร็จ
พัฒนาการทำงาน พัฒนาการทำงาน
ให้ดีขน
ึ ้ ภายในเวลา ให้ดีขน
ึ้
ที่กำหนด
ซื่อสัตย์สุจริต ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง
และ และเป็ นจริง ไม่ และเป็ นจริง ไม่นำ
เป็ นจริง ไม่นำ นำสิ่งของและผล สิ่งของและผลงาน
สิ่งของและ งานของผู้อ่ น
ื มา ของผู้อ่ น
ื มาเป็ น
ผลงานของผู้อ่ น
ื มา เป็ นของตนเอง ของตนเอง
เป็ นของตนเอง ปฏิบัติตนต่อผู้อ่ ืน
ปฏิบัติตนต่อผู้อ่ น
ื ด้วยความซื่อตรง
ด้วยความซื่อตรง
เป็ นแบบอย่างที่ดี
ด้านความซื่อสัตย์

เกณฑ์การประเมิน

นักเรียนมีคุณภาพระดับดีขน
ึ ้ ไป ถือว่าผ่านเกณฑ์

คะแนน ระดับคุณภาพ
7 – 9 คะแนน ดี
4 – 6 คะแนน พอใช้
1 – 3 คะแนน ต้องปรับปรุง

You might also like