You are on page 1of 11

ใบงานทบทวน เรื่อง แผนภาพต้น–ใบ

รายวิชา คณิตศาสตร์ 5 รหัสวิชา ค23101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

แผนภาพต้น–ใบ (STEM-AND-LEAF PLOT หรือ STEM PLOT) ใช้เพื่อจัดข้อมูลเป็นกลุ่มๆ และข้อมูลทุกตัวจะถูก


แสดงในแผนภาพ เป็นการนำเสนอข้อมูลที่สามารถรักษาความละเอียดของข้อมูลไว้ได้ครบถ้วน

1. คะแนนการสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีคะแนนเต็ม 50 คะแนน ของนักเรียน จำนวน 30 คน เป็นดังนี้


45 26 46 23 32 42 40 37 34 25
40 42 27 30 30 34 36 44 43 28
20 27 31 38 46 42 39 40 22 38
จงสร้างแผนภาพต้น–ใบ
สร้างแผนภาพต้น–ใบ แสดงคะแนนการสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ได้ดังนี้
ต้น ใบ

2. จงสร้างแผนภาพต้น-ใบ จากข้อมูลที่เป็นความดันโลหิต (มิลลิเมตรปรอท) ของคนไข้ จำนวน 30 คนต่อไปนี้


154 151 148 131 160 154 150 161 144 183
160 206 176 166 129 151 137 159 175 129
198 189 180 158 135 123 185 153 132 170
สร้างแผนภาพต้น–ใบ แสดงความดันโลหิต (มิลลิเมตรปรอท) ของคนไข้ ได้ดังนี้
ต้น ใบ
3. นักเรียนห้องหนึ่งมีผลการสอบของวิชาภาษาไทย และวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่งแต่ละวิชามีคะแนนเต็ม 100 คะแนน
เป็นดังนี้
คะแนนสอบวิชาภาษาไทย
40 53 55 58 60 62 65 66 69 70
72 72 75 75 81 82 85 100 100 100
คะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ
32 39 68 70 75 78 78 78 79 80
82 84 85 85 85 86 90 93 95 98
จงสร้างแผนภาพต้น–ใบ
สร้างแผนภาพต้น–ใบ แสดงคะแนนสอบของวิชาภาษาไทยและวิชาภาษาอังกฤษ ได้ดังนี้
ใบ (คะแนนสอบวิชาภาษาไทย) ต้น ใบ (คะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ)

4. จงเขียนแผนภาพต้น–ใบ จากข้อมูลแสดงระดับของแผ่นดินไหวที่มีหน่วยเป็นริคเตอร์ (RICHTER) ของเมืองแห่งหนึ่ง


ดังนี้
1.0 8.3 3.1 1.1 5.1 1.2 1.0 4.1 1.1 4.0
2.0 1.9 1.4 6.3 1.3 3.3 2.2 2.3 2.1 2.1
1.4 2.7 2.4 3.0 4.1 5.0 2.2 1.2 7.7 1.5
(กำหนดแผนภาพต้น–ใบ 8 | 3 แทนข้อมูล 8.3)
สร้างแผนภาพต้น–ใบ แสดงระดับของแผ่นดินไหวที่มีหน่วยเป็นริคเตอร์ ได้ดังนี้
ต้น ใบ
ใบงานทบทวน เรื่อง แผนภาพจุด
รายวิชา คณิตศาสตร์ 5 รหัสวิชา ค23101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

แผนภาพจุด หรือ Dot Plot เป็นรูปแบบหนึ่งของการนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณที่ทำได้ไม่ยาก โดยจะเขียนจุด


แทนข้อมูลแต่ละตัวไว้เหนือเส้นในแนวนอนที่มีสเกลให้ตรงกับตำแหน่งที่แสดงค่าของข้อมูลนั้น แผนภาพจุดช่วยให้เห็น
ภาพรวมของข้อมูลได้รวดเร็วกว่าการพิจารณาจากข้อมูลโดยตรงโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อสนใจจะพิจารณาลักษณะของข้อมูล
ว่ามีการกระจายมากน้อยเพียงใด
1. คะแนนสอบรายวิชาคณิตศาสตร์คะแนนเต็ม 100 คะแนน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 19 คน เรียงลำดับ
ตามคะแนนดังนี้ 70, 61, 74, 61, 81, 64, 67, 71, 80, 71, 74, 71, 72, 73, 75, 77, 79, 81, 83 จงเขียนแผนภาพ
จุดแทนคะแนนสอบดังกล่าว
วิธีทำ ขั้นตอนที่ 1 เขียนเส้นในแนวนอน กำหนดสเกลเป็นช่วง ช่วงละเท่า ๆ กัน พร้อมทั้งกำหนดชื่อ เพื่อให้ทราบว่าข้อมูล
เหล่านี้เกี่ยวข้องกับสิ่งใด
ขั้นตอนที่ 2 เขียนจุดแทนข้อมูลแต่ละข้อมูลเหนือเส้นในแนวนอน จะได้แผนภาพจุดแสดงข้อมูลที่ต้องการ

ข้อที่2 จำนวนเงินที่นักเรียนแต่ละคนได้รับมาโรงเรียนต่อหนึ่งวันเป็นดังนี้
5, 10, 10, 10, 15, 16, 17, 20, 20, 20, 20, 22, 25, 25, 25, 25, 25, 30, 30 30, 40, 40, 40, 40, 50, 50, 50,
50, 50, 50, 50, 80, 80, 90, 100
วิธีทำ
ใบความรู้เรื่อง การสร้างแผนภาพกล่อง
รายวิชา คณิตศาสตร์ 5 รหัสวิชา ค23101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

แผนภาพกล่อง เป็นเครื่องมือหนึ่งช่วยให้เห็นภาพและเข้าใจข้อมูลเชิงปริมาณได้ดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะการกระจาย


ของข้อมูลซึ่งเป็นผลจากการวัดค่าตำแหน่งของข้อมูล ตัวอย่างการวัดค่าตำแหน่งที่ของข้อมูลที่นักเรียนเคยศึกษามาแล้วคือ
มัธยฐาน การวัดค่าตำแหน่งของข้อมูลที่สำคัญและจำเป็นในการเรียนเรียนรู้เรื่องแผนภาพกล่อง ซึ่งเรียกว่า ควอร์ไทล์
แผนภาพกล่องยังสามารถใช้ในการเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลที่มีลักษณะและหน่วยวัดเดียวกันตั้งแต่สองชุดขึ้นไป
ควอร์ไทล์
คลอไทล์ได้จากการแบ่งข้อมูลที่มีการเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ โดยประมาณ ค่าตำแหน่งที่
แบ่งแต่ละส่วนเรียกว่า ควอร์ไทล์ที่ 1 (Q1 ) ควอร์ไทล์ที่ 2 (Q2 ) และควอร์ไทล์ที่ 3 (Q3 ) ตามลำดับ ซึ่งหากพิจารณา
ข้อมูลทั้งหมดเป็น 100 % และแต่ละส่วนนั้นจะมีข้อมูลประมาณ 25 % ของข้อมูลทั้งหมดดังรูป

การหาควอไทล์สามารถทำได้หลายวิธี แต่ในที่นี้จะใช้ความรู้ในเรื่องมัธยฐานของข้อมูล ซึ่งทำได้ดังนี้


1. เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก
2. หามัธยฐานของข้อมูลซึ่งจะได้ควอไทล์ที่ 2
3. หามัธยฐานเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งต่ำกว่าควอไทล์ที่ 2 ค่ามัธยฐานดังกล่าวเป็นควอไทล์ที่ 1
4. หามัธยฐานเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งสูงกว่าควอไทล์ที่ 2 ค่ามัธยฐานดังกล่าวเป็นควอไทล์ที่ 3
ตัวอย่าง ข้อมูลต่อไปนี้เป็นคะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มหนึ่งจำนวน 25 คน ดังนี้
20 30 18 24 18 28 14 12 18 27
20 19 12 11 19 15 16 22 15 22
26 25 19 28 24
จงหาควอไทล์ทั้งสาม
1. เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้ดังนี้

11 12 12 14 15 15 16 18 18 18 19 19 19 20 20 22 22 24 24 25 26 27 28 28 30

จะได้ว่ามัธยฐานของข้อมูลทั้งหมดเท่ากับ.................. ดังนั้น ควอร์ไทล์ที่ 2 ( Q2 ) =…………………..


2. หามัธยฐานเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งต่ำกว่าควอไทล์ที่ 2 ค่ามัธยฐานดังกล่าวเป็นควอไทล์ที่ 1
ข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งต่ำกว่าควอไทล์ที่ 2 ได้แก่

............................................................................................................................................................

ดังนั้น ควอร์ไทล์ที่ 1 ( Q1 ) =…………………………..


3. หามัธยฐานเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งสูงกว่าควอไทล์ที่ 2 ค่ามัธยฐานดังกล่าวเป็นควอไทล์ที่ 3
ข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งสูงกว่าควอไทล์ที่ 2 ได้แก่

............................................................................................................................................................

ดังนั้น ควอร์ไทล์ที่ 3 ( Q3 ) =…………………………..

แผนภาพกล่อง
การสร้างแผนภาพกล่องต้องใช้ค่าที่สำคัญ 5 ค่า คือ ค่าต่ำสุดของข้อมูล ค่าสูงสุดของข้อมูล ควอร์ไทล์ที่ 1 ( Q1 )
ควอร์ไทล์ที่ 2 ( Q2 ) และควอร์ไทล์ที่ 3 ( Q3 ) ที่ใช้ในการบอกตำแหน่งที่ของข้อมูลเพื่อช่วยให้เห็นลักษณะการวัดการ
กระจายของข้อมูลดังแผนภาพต่อไปนี้

25% 25%
25% 25%

ตัวกล่องจะแสดงการกระจายของข้อมูลที่อยู่ตรงกลางตั้งแต่ตำแหน่งที่เป็นควอไทล์ที่ 1 ถึงควลอไทล์ที่ 3 ซึ่งมี


ข้อมูลคิดเป็นประมาณ 50 % ของข้อมูลทั้งหมดโดยเส้นที่อยู่ภายในกล่องจะแสดงตำแหน่งที่เป็นมัธยฐานของข้อมูล เส้นที่
ลากจาก Q1 ไปยังค่าต่ำสุด และเส้นที่ลากจาก Q3 ไปยังค่าสูงสุดแต่ละเล้นเรียกว่า วิสเกอร์ (Whisker) วิสเกอร์แต่
ละเส้นจะแสดงการกระจายของข้อมูลซึ่งมีอยู่ประมาณ 25 % ของข้อมูลทั้งหมด
ตัวอย่าง จงสร้างแผนภาพกล่องจากข้อมูลต่อไปนี้

99 56 17 13 89 51 47 74 20 76 86 22 98 75 37 53 38 68 62 17

วิธีทำ 1.1 เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้ดังนี้

1.2 หาค่าต่ำสุดของข้อมูล ค่าสูงสุดของข้อมูล ควอร์ไทล์ที่ 2 ( Q2 ) ควอร์ไทล์ที่ 1 ( Q1 ) และควอร์ไทล์ที่ 3 ( Q3 )


1.2.1 ค่าต่ำสุดของข้อมูล คือ................
1.2.2 ค่าสูงสุดของข้อมูล คือ..................
1.2.3 มัธยฐานของข้อมูลทั้งหมดเท่ากับ.............. ดังนั้น ควอร์ไทล์ที่ 2 ( Q2 ) =…………………..
1.2.4 หาค่า Q1 โดยหาจากมัธยฐานเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งต่ำกว่าควอไทล์ที่ 2
ซึ่งข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งต่ำกว่าควอไทล์ที่ 2 ได้แก่

ดังนั้น ควอร์ไทล์ที่ 1 ( Q1 ) =…………………………..


1.2.5 หาค่า Q โดยหาจากมัธยฐานเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งสูงกว่าควอไทล์ที่ 2
3

ซึ่งข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งสูงกว่าควอไทล์ที่ 2 ได้แก่

ดังนั้น ควอร์ไทล์ที่ 3 ( Q )
3
=………………………….

1.3 สร้างแผนภาพกล่องได้ดังนี้
แบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างแผนภาพกล่อง
ชื่อ...........................................................................ชั้นม.3/......................เลขที่......................

1). 53 50 55 67 62 52 69 55 59 65
68 50 68 69 68 66 64 60 58 50
66 56 61 62 50 50 56 70 56 59
วิธีทำ 1.1 เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้ดังนี้

1.2 หาค่าต่ำสุดของข้อมูล ค่าสูงสุดของข้อมูล ควอร์ไทล์ที่ 2 ( Q2 ) ควอร์ไทล์ที่ 1 ( Q1 ) และควอร์ไทล์ที่ 3 ( Q3 )


1.2.1 ค่าต่ำสุดของข้อมูล คือ................
1.2.2 ค่าสูงสุดของข้อมูล คือ..................
1.2.3 มัธยฐานของข้อมูลทั้งหมดเท่ากับ.............. ดังนั้น ควอร์ไทล์ที่ 2 ( Q2 ) =…………………..
1.2.4 หาค่า Q1 โดยหาจากมัธยฐานเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งต่ำกว่าควอไทล์ที่ 2
ซึ่งข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งต่ำกว่าควอไทล์ที่ 2 ได้แก่

ดังนั้น ควอร์ไทล์ที่ 1 ( Q1 ) =…………………………..


1.2.5 หาค่า Q โดยหาจากมัธยฐานเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งสูงกว่าควอไทล์ที่ 2
3

ซึ่งข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งสูงกว่าควอไทล์ที่ 2 ได้แก่

ดังนั้น ควอร์ไทล์ที่ 3 ( Q ) 3
=…………………………..
1.3 สร้างแผนภาพกล่องได้ดังนี้
2). 8 9 5 9 7 6 7 8 5 8 10 8
6 9 5 9 6 8 8 7 10 5 7 5
8 8 7 10 8 8 6 10 6 10 8
วิธีทำ 2.1 เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้ดังนี้

2.2 หาค่าต่ำสุดของข้อมูล ค่าสูงสุดของข้อมูล ควอร์ไทล์ที่ 2 ( Q2 ) ควอร์ไทล์ที่ 1 ( Q1 ) และควอร์ไทล์ที่ 3 ( Q3 )


2.2.1 ค่าต่ำสุดของข้อมูล คือ................
2.2.2 ค่าสูงสุดของข้อมูล คือ..................
2.2.3 มัธยฐานของข้อมูลทั้งหมดเท่ากับ.............. ดังนั้น ควอร์ไทล์ที่ 2 ( Q2 ) =…………………..
2.2.4 หาค่า Q1 โดยหาจากมัธยฐานเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งต่ำกว่าควอไทล์ที่ 2
ซึ่งข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งต่ำกว่าควอไทล์ที่ 2 ได้แก่

ดังนั้น ควอร์ไทล์ที่ 1 ( Q1 ) =…………………………..


2.2.5 หาค่า Q โดยหาจากมัธยฐานเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งสูงกว่าควอไทล์ที่ 2
3

ซึ่งข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งสูงกว่าควอไทล์ที่ 2 ได้แก่

ดังนั้น ควอร์ไทล์ที่ 3 ( Q )
3
=…………………………..

2.3 สร้างแผนภาพกล่องได้ดังนี้
ใบความรู้ การอ่านและการแปลความหมายจากแผนภาพกล่อง
รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค23101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ตัวอย่างที่ 1 จากข้อมูลคะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มหนึ่งจำนวน 40 คน เรียงตามลำดับจากน้อยไปมากดังนี้


41 44 49 52 53 53 55 56 57 60
61 65 65 66 66 67 68 68 70 71
72 72 72 73 73 75 77 78 78 78
80 82 84 86 87 87 87 87 94 97
จะได้ ค่าต่ำสุด = 41 ค่าสูงสุด = 97
60 + 61
Q1 = = 60.5 ( Q1 เป็นข้อมูลที่อยู่ระหว่างตำแหน่งที่ 10 และ 11)
2
71 + 72
Q2 = = 71.5 ( Q2 เป็นข้อมูลที่อยู่ระหว่างตำแหน่งที่ 20 และ 21)
2
78 + 80
Q3 = = 79 ( Q1 เป็นข้อมูลที่อยู่ระหว่างตำแหน่งที่ 30 และ 31)
2

ข้อมูลดังกล่าวเขียนแนภาพกล่องได้ดังนี้

จากแผนภาพกล่องแสดงคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 40 คน สามารถแบ่งออกได้ 4 ส่วน ส่วนละ 25 % ของ


จำนวนนักเรียนทั้งหมด โดยแต่ละส่วน ได้คะแนนสอบดังนี้
ส่วนที่ 1 จำนวนนักเรียน ประมาณ 25 % ได้คะแนนสอบอยู่ในช่วง..........................................................
ส่วนที่ 2 จำนวนนักเรียน ประมาณ 25 % ได้คะแนนสอบอยู่ในช่วง..........................................................
ส่วนที่ 3 จำนวนนักเรียน ประมาณ 25 % ได้คะแนนสอบอยู่ในช่วง..........................................................
ส่วนที่ 4 จำนวนนักเรียน ประมาณ 25 % ได้คะแนนสอบอยู่ในช่วง..........................................................
เมื่อพิจารณาแผนภาพจุดประกอบกันจะเห็นได้ว่าคะแนนสอบของนักเรียนมีการกระจายดังนี้
- ในช่วง........................................... ข้อมูลมีการกระจายตัวน้อยกว่าช่วงอื่น ๆ (ได้คะแนนกระจุกตัวหรือแออัด
ใกล้เคียงกันมาก )
- ในช่วง........................................... ข้อมูลมีการกระจายตัวมากกว่าช่วงอื่น ๆ (ได้คะแนนกระจายตัวห่างกันมาก )
- ในช่วง............................................ ข้อมูลมีการกระจายตัวมากกว่าช่วง...........................................
- ในช่วง............................................ ข้อมูลมีการกระจายตัวมากกว่าช่วง...........................................
ตัวอย่างที่ 2 พิจารณาการกระจายของข้อมูล 2 ชุดต่อไปนี้ซึ่งเป็นคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของ
นักเรียนห้องหนึ่งซึ่งมีคะแนนเต็ม 20 คะแนน เป็นดังนี้

จากข้อมูลดังกล่าวสามารถสร้างแผนภาพกล่องแสดงการกระจายของข้อมูลได้ดังนี้

1.คะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ช่วงใดมีการกระจุกตัวมากกว่าช่วงอื่น ๆ เพราะเหตุใด
............................................................................................................................. .....................................................................
.......................................................................................................................................................................................... ........
2.นักเรียนที่สอบวิชาวิทยาศาสตร์ได้ 15 คะแนนขึ้นไปคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของนักเรียนทั้งหมด
............................................................................................................................................................. .....................................
..................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
3.นักเรียนที่สอบวิชาคณิตศาสตร์ได้ไม่เกิน 12 คะแนนขึ้นไปคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของนักเรียนทั้งหมด
....................................................................................................................... ...........................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
.......................................................................................................................................................................................... ........
4.นักเรียนคิดว่านักเรียนห้องนี้คะแนนสอบวิชาใดดีกว่ากัน
................................................................................................................................................................................................ ..
............................................................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
ตัวอย่างที่ 3 พิจารณาการกระจายของข้อมูล 2 ชุดต่อไปนี้ซึ่งเป็นคะแนนสอบของนักเรียนห้องม.3/1 และม.3/2 ของ
นักเรียนห้องละ 40 คนโดยมีคะแนนเต็ม 30 คะแนน

1. นักเรียนชั้นม.3/1 ที่ได้คะแนนสอบไม่เกิน 12 คะแนนมีกี่คน


............................................................................................................................. .....................................................................
.......................................................................................................................................................................................... ........
..................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
2.นักเรียนชั้นม.3/2 ที่ได้คะแนนสอบตั้งแต่ 13 คะแนนขึ้นไปมีกี่คน
............................................................................................................................. .....................................................................
.......................................................................................................................................................................... ........................
..................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
3.คะแนนสอบของนักเรียนทั้งสองห้องมีมัธยฐานต่างกันหรือไม่อย่างไร
4.คะแนนสอบในแต่ละช่วงของห้องม.3/1 มีการกระจายตัวอย่างไร ตอบ...........................................................................
5.คะแนนสอบในแต่ละช่วงของห้องม.3/2 มีการกระจายตัวอย่างไร ตอบ...........................................................................
6.คะแนนสูงสุดของนักเรียนห้องม.3/1......................ของนักเรียนห้องม.3/2 ตอบ..............................................................
7.คะแนนต่ำสุดของนักเรียนห้องม.3/1......................ของนักเรียนห้องม.3/2 ตอบ..............................................................
8.พิสัยของคะแนนสอบของนักเรียนห้องม.3/1......................ของนักเรียนห้องม.3/2 ตอบ................................................
9.คะแนนสอบของนักเรียนในแต่ละช่วงของห้องม.3/1 มีการกระจายตัว....................................ห้องม.3/2

You might also like