You are on page 1of 5

สำหรับเผยแพร,ทันที

องค%กรภาคประชาสังคมเรียกร3องให3อาเซียนแสดงบทบาทผู3นำบรรลุสนธิสัญญาพลาสติกโลกที่เข3มงวดเพื่อยุติมลพิษจาก
พลาสติก
องค4กรภาคประชาสังคมเรียกร<องให<ผู<นำอาเซียนมีจุดยืนที่เข<มแข็งต,อการเจรจาที่กำลังดำเนินอยู, เพื่อพัฒนาเครื่องมือที่มีผลผูกพัน
ทางกฎหมายระหว,างประเทศเพื่อยุตมิ ลพิษจากพลาสติก รวมถึงในสภาพแวดล<อมทางทะเล

วันที่ 18 เมษายน 2567 กรุงจากาต<าร4 ประเทศ อินโดนีเซีย — เครือข,าย Global Alliance for Incinerator Alternatives
(GAIA) ภูมิภาคเอเชียอาคเนย4 ร,วมกับองค4กรภาคประชาสังคม อาทิ Environmental Justice Foundation และ Basel Action
Network ส,งจดหมายเปoดผนึกถึงสำนักงานเลขาธิการสมาคมประชาชาติแห,งเอเชียตะวันออกเฉียงใต< (อาเซียน) เรียกร<องให<ผู<นำ
อาเซียนมีจุดยืนที่เข<มแข็งต,อการเจรจาเพื่อพัฒนาเครื่องมือที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว,างประเทศเพื่อยุตมิ ลพิษจากพลาสติก ที่
กำลังดำเนินอยู, โดยมีองค4กรภาคประชาสังคมร,วมลงนามกว,า 100 องค4กรจากทวีปเอเชียและนานาชาติ

ผู<แทนจากประเทศสมาชิกอาเซียน พร<อมด<วยรัฐสมาชิกของสหประชาชาติกว,า 170 ประเทศจะรวมตัวกันที่เมืองออตตาวา


ประเทศแคนาดา เพื่อเข<าร,วมการประชุมครั้งที่สี่ของคณะกรรมการเจรจาระหว,างประเทศ (INC-4) เพื่อพัฒนาเครื่องมือที่มีผล
ผูกพันทางกฎหมายระหว,างประเทศเพื่อยุติมลพิษจากพลาสติก รวมถึงในสภาพแวดล<อมทางทะเลตั้งแต,วันที่ 23 ถึง 29 เมษายน
2567

เอเชียตะวันออกเฉียงใต< ซึ่งพื้นที่ส,วนใหญ,เป•นชายฝƒ„งและหมู,เกาะ ได<รับผลกระทบอย,างรุนแรงจากปƒญหาขยะทะเล และมลพิษ


ตลอดห,วงโซ,อุปทานพลาสติก ตั้งแต,การสกัดเชื้อเพลิงฟอสซิลไปจนถึงการผลิตพลาสติกและผลิตภัณฑ4พลาสติก การขนส,ง การใช<
งาน และการกำจัด อีกทั้ง ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต<หลากหลายประเทศยังต<องเผชิญกับปƒญหาการค<าขยะพลาสติกผิด
กฎหมายจากประเทศที่พัฒนาแล<วอย,างต,อเนื่อง ทำให<ภูมิภาคนี้เป•นที่ทิ้งขยะที่ไม,สามารถรีไซเคิลได< เช,นพลาสติกแบบใช<ครั้งเดียว
ก,อให<เกิดไมโครพลาสติก รวมไปถึงมลพิษจากเตาเผาขยะ การทีท่ ั่วโลกยังไม,ลดการผลิตพลาสติกใหม, จะทำให<เอเชียตะวันออก
เฉียงใต<ตกต<องแบกรับภาระมลพิษที่เป•นพิษอย,างไม,เป•นธรรม อย,างไรก็ตาม สถานการณ4สามารถเปลี่ยนแปลงได< หากผู<นำอาเซียน
ลุกขึ้นเปลี่ยนแปลงมัน

“ผู<นำอาเซียนต<องใช<การเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลกเป•นโอกาสในการแก<ไขช,องว,างทางกฎหมายและนโยบายทีเ่ กี่ยวกับการทิ้ง
ขยะ และผลักดันให<รัฐบาลในประเทศที่พัฒนามากกว,าเกิดความรับผิดชอบ ลดการผลิตซ้ำวาทกรรมที่ว,าอาเซียนเป•นภูมิภาคทีส่ ร<าง
มลพิษมากที่สุด และยกเลิกการลงทุนในวิธีการแก<ปƒญหาที่ผิดจุด เช,น เทคโนโลยีจัดการขยะที่เป•นพิษ ผ,านกลไกความร,วมมือเพื่อ
การพัฒนาระหว,างประเทศ ในขณะที่เขายังมาทิ้งขยะพลาสติกไว<ที่ชายแดนของเรา” Mayang Azurin รองผู<อำนวยการฝŽาย
รณรงค4ของ Global Alliance for Incinerator Alternatives (GAIA) ภูมิภาคเอเชียแปซิฟoก กล,าว “เราขอเรียกร<องให<ผู<นำ
อาเซียนปกป•องภูมิภาคของเรา ในฐานะที่ภูมิภาคนี้เป•นแหล,งรวมพลัง ความยั่งยืน และวิธีแก<ปƒญหาที่ถูกจุด ผ,านการผลักดันให<
สนธิสัญญาพลาสติกโลกมีความทะเยอทะยานมากที่สุด”

องค4กรภาคประชาสังคมจากทั่วทั้งภูมิภาคเรียกร<องให<ผู<แทนอาเซียนยกระดับสนธิสัญญาที่มีผลผูกพันในการจัดการกับมลพิษตลอด
วงจรชีวิตของพลาสติกอย,างแท<จริง โดยให<ความสำคัญกับการลดการผลิตพลาสติกทั่วโลก และการเลิกใช<สารเคมีอันตราย รวมถึง
โพลีเมอร4ที่ประกอบเป•นพลาสติก ถึงเวลาแล<วทีก่ ารส,งผ,านมลพิษพลาสติกข<ามพรมแดน กำจัดสารเคมีที่เป•รพิษ รับประกันความ
โปร,งใสและตรวจสอบย<อนกลับของสารเคมีตลอดวงจรชีวิตของพลาสติก เพิ่มขนาดโครงสร<างพื้นฐานการใช<ซ้ำและการเติม
ดำเนินการขยายความรับผิดชอบของผู<ผลิต ปกป•องสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะสิทธิของประชาชนในเรื่องสุขภาพ อากาศและน้ำที่
สะอาด สนับสนุนเพียงการเปลี่ยนแปลง และยุติการแก<ปƒญหาที่ผิดจุด เช,น กลไกพลาสติกเครดิตและเทคโนโลยีที่ไม,จัดการกับ
มลพิษที่แหล,งกำเนิด ตลอดจนสิ่งทดแทนพลาสติกทีน่ ,าห,วงกังวล เช,น พลาสติกชีวภาพ ซึ่งทำให<ปƒญหารุนแรงขึ้นเท,านั้น เหลือเวลา
อีกเพียงไม,กี่เดือนในการเจรจาสนธิสัญญา INC-4 ถือเป•นโอกาสที่สำคัญสำหรับประเทศสมาชิกในการปกป•องสิทธิของประชาชนให<
มีความเป•นอยู,ที่ดี ปกป•องความยุติธรรมว,าเราจะไม,ผลักภาระให<คนรุ,นหลัง รวมไปถึงความเหลื่อมล้ำทางเพศ ทั้งหมดทั้งมวลล<วน
ขึ้นอยู,กับผลลัพธ4ของการเจรจาสนธิสัญญาครั้งนี้

“เราขอเรียกร<องให<ประเทศสมาชิกอาเซียนเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกให<มีบทบัญญัติการควบคุมที่เข<มงวดและมีผลผูกพันทาง
กฎหมายเพื่อปกป•องสุขภาพของมนุษย4และสิ่งแวดล<อม” Chinkie Pelino-Golle เครือข,ายกำจัดมลพิษระหว,างประเทศ (IPEN) ผู<
ประสานงานภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต<และเอเชียตะวันออก กล,าว “ในการทำเช,นนั้น จะต<องให<ความสำคัญกับวิธีแก<ปƒญหาที่
ป•องกันผลกระทบต,อสุขภาพของมนุษย4และสิ่งแวดล<อม รวมถึงการกำจัดสารเคมีที่เป•นพิษ และการเพิ่มความโปร,งใสและการ
ตรวจสอบย<อนกลับตลอดวงจรชีวิตของพลาสติก”

องค4กรต,าง ๆ ยังเน<นย้ำว,าอาเซียนสามารถผลักดันสนธิสัญญาที่มีประสิทธิผลได< เนื่องจากเป•นภูมิภาคที่มแี นวทางแก<ไขปƒญหาที่นำ


โดยประชาชนจำนวนมาก แสดงให<เห็นถึงความพยายามของรัฐบาลในภูมิภาคต,อการดำเนินนโยบายเพื่อลดมลพิษจากพลาสติกใน
ประเทศ ขณะนี้ เป•นเวลาทีส่ ำคัญจะใช<แนวทางเหล,านี้ในระดับโลก โดยการผลักดันให<มีข<อตกลงที่มีผลผูกพันทางกฎหมาย

“อาเซียนเป•นภูมิภาคที่รวบรวมวิธีการแก<ไขปƒญหามลพิษพลาสติกทีส่ ร<างสรรค4และใช<ได<จริง แต,เป•นเวลานานเกินไปแล<วที่ภูมิภาคนี้


ต<องเผชิญกับปƒญหาบรรจุภัณฑ4พลาสติกแบบใช<ครั้งเดียวและไม,จำเป•นที่มากเกินควร ซึ่งมักประกอบด<วยสารเคมีที่เป•นพิษที่ไม,ได<รับ
การควบคุม” ศลิษา ไตรพิพิธสิริวัฒน4 นักรณรงค4อาวุโสและผู<จัดการโครงการพลาสติกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต<ของมูลนิธิความ
ยุติธรรมด<านสิ่งแวดล<อม กล,าว “ด<วยเหตุผลด<านโครงสร<างพื้นฐานและช,องว,างด<านนโยบายที่ไม,เพียงพอ ส,งผลให<อาเซียนต<องรับ
วิธีการแก<ไขปƒญหาทีห่ ลายครั้งผิดจุดมาดำเนินการ ซึ่งเป•นวิธีแก<ไขปƒญหาทีท่ ำให<ระบบยังคงเดิม การเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก
ถือเป•นโอกาสสำคัญสำหรับผู<นำอาเซียนในการแสดงให<เห็นถึงความสามารถ ความมุ,งมั่น และความพร<อมในการจัดการกับมลพิษ
จากพลาสติก INC-4 และ INC-5 เป•นช,วงเวลาที่สำคัญสำหรับผู<นำอาเซียน—ผู<นำของเรา—ในการเรียกร<องสนธิสัญญาที่เข<มแข็ง
และทะเยอทะยานทีค่ ำนึงถึงคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล<อมเป•นหลัก”

หลังจากการประชุม INC-4 ประเทศสมาชิกสหประชาชาติจะจัดการประชุมอีกครั้งในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2567 ที่เกาหลีใต<


สำหรับการเจรจารอบที่ 5 และรอบสุดท<าย

Abdul Ghofar นักรณรงค4ด<านมลพิษและความยุติธรรมในเมืองของ Wahana Lingkungan Hidup Indonesia (WALHI)


กล,าวว,า:
“ประเทศในกลุ,มอาเซียนหลายประเทศแหล,งรวมขยะประเทศที่พัฒนาแล<วมาทิ้งในนามของการค<าขยะ อาเซียนเป•นตลาดที่ใหญ,
ที่สุดสำหรับบริษัทข<ามชาติที่ผลิตบรรจุภัณฑ4พลาสติกหลายล<านตัน โดยเฉพาะซองขนาดเล็ก (sachets) พวกเขาทำกำไรในขณะที่
เราประสบปƒญหา สนธิสัญญาพลาสติกโลกถือเป•นโอกาสที่ดีสำหรับประเทศในอาเซียนในการแสดงให<โลกเห็นว,าเราไม,ใช,แหล,งที่มา
หลักของมลพิษจากพลาสติก แต,เราคือแหล,งที่มาของแนวทางแก<ไขเพื่อเอาชนะมลพิษจากพลาสติก เราในฐานะพลเมืองอาเซียน
หวังว,าผู<นำอาเซียนจะเป•นผูน< ำผ,านการสนับสนุนความพยายามในการยุตกิ ารค<าขยะข<ามชาติ ลดการผลิตพลาสติก และสร<างการ
เปลี่ยนผ,านสูร, ะบบใช<ซ้ำสำหรับอนาคต”

Mageswari Sangaralingam เจ<าหน<าที่วิจัยอาวุโสของ Consumers' Association of Penang และ Sahabat Alam


Malaysia กล,าวว,า:
“เห็นได<ชัดว,าเราไม,สามารถรีไซเคิลเพื่อเอาตัวรอดจากวิกฤติพลาสติกได< ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนหรือความยั่งยืนของพลาสติกไม,
มีอยู,จริง โลกจำเป•นต<องหยุดการผลิตพลาสติกที่ไม,จำเป•นและเป•นอันตราย และลดการผลิตพลาสติกโดยรวม ขณะเดียวกันต<อง
รับประกันการเปลี่ยนผ,านที่เป•นธรรมยุตธิ รรมสำหรับกลุ,มที่เปราะบางที่สุด ชุมชนพื้นเมือง และผูม< ีส,วนได<ส,วยเสียตลอดห,วงโซ,
คุณค,าของพลาสติก เช,น คนเก็บขยะ คนงานกำจัดขยะ และผู<ที่ทำงานในระบบรีไซเคิล อาเซียนควรอยูก, <าวเป•นผู<นำในการเจรจา
เพราะชุมชนชาวอาเซียนของเรามีแนวทางแก<ไขที่พร<อมยุติวิกฤตพลาสติก”
Xuan Quach ผู<ประสานงาน/ผู<อำนวยการประจำประเทศของ Vietnam Zero-Waste Alliance/Pacific Environment
Vietnam กล,าวว,า:
“มีอุปสรรคมากมายที่พยายามขัดขวางความก<าวหน<าของการร,างสนธิสัญญา หนึ่งในนั้นคือการออกแบบสนธิสัญญาอย,างไรให<
ครอบคลุมการเปลี่ยนผ,านที่เป•นธรรม ซึ่งอาจเป•นในรูปแบบบทบัญญัตยิ กเว<น อย,างไรก็ตาม การออกแบบโดยใช<ข<อมูลทาง
วิทยาศาสตร4เพื่อกำหนดเกณฑ4และตัวชี้วัดสำคัญอย,างยิ่งต,อการกำหนดสิทธิการยกเว<นที่สมเหตุสมผลสำหรับประเทศต,าง ๆ
เครือข,าย Break Free From Plastic เสนอให<ใส,เกณฑ4และตัวชี้วัดในการพิจารณาสิทธิการยกเว<นไว<ในภาคผนวก และดำเนินการ
พัฒนาเกณฑ4และตัวชี้วัดชุดนี้ นอกจากนี้ การดำเนินการบังคับตามข<อกำหนดเกี่ยวกับ "การออกแบบผลิตภัณฑ4 องค4ประกอบ และ
ประสิทธิภาพ" ทั่วโลกจะต<องสร<างโอกาสให<ประเทศสมาชิกทั้งหมดทำงานร,วมกันอย,างใกล<ชิดกับผู<มีส,วนได<ส,วนเสียทั้งหมดในห,วง
โซ,อุปทานทั่วโลก ไปสู,การผลิตและการบริโภคพลาสติกที่ยั่งยืน"

###

หมายเหตุถึงบรรณาธิการ

• ดูโควทเพิ่มเติมเสียงจากทั่วเอเชียแปซิฟoกได<ทนี่ ี่
• ดูรูปภาพและวิดีโอเพิ่มเติมจาก INC3 ได<ที่นี่
• อ<างถึงผู<ให<สัมภาษณ4 / วิทยากรที่มีอยูท, ี่นี่

เกี่ยวกับ BFFP — #BreakFreeFromPlastic เป•นเครือข,ายเคลื่อนไหวระดับโลกที่มุ,งหวังอนาคตที่ปราศจากมลพิษพลาสติก


นับตั้งแต,เปoดตัวในป™ 2559 องค4กรมากกว,า 2,700 แห,งและผู<สนับสนุนรายบุคคล 11,000 รายจากทั่วโลกได<เข<าร,วมการเคลื่อนไหว
เพื่อเรียกร<องให<ลดการใช<พลาสติกแบบใช<ครั้งเดียว และผลักดันให<เกิดแนวทางแก<ไขที่ยั่งยืนต,อวิกฤตมลพิษจากพลาสติก องค4กร
และสมาชิกบุคคลภายใตเครือข,ายของ BFFP รวมตัวกันเพื่อการคุ<มครองสิ่งแวดล<อมและความยุติธรรมทางสังคม และทำงาน
ร,วมกันผ,านแนวทางความร,วมมือเพื่อทำให<เกิดการเปลี่ยนแปลงอย,างเป•นระบบ ไม,ว,าจะเป•นต,อการจัดการกับมลพิษจากพลาสติก
ตลอดทั้งห,วงโซ,คุณค,าของพลาสติก ตั้งแต,การกลัน่ น้ำไปจนถึงการกำจัดพลาสติกที่ปลายทาง โดยมุ,งเน<นที่การป•องกันมากกว,าการ
รักษา และการจัดหาวิธีแก<ปƒญหาที่มีประสิทธิภาพ www.breakfreefromplastic.org

เกี่ยวกับ GAIA - Global Alliance for Incinerator Alternatives ก,อตั้งขึ้นในป™ พ.ศ. 2543 โดยเป•นเครือข,ายของกลุ,มราก
หญ<า ตลอดจนพันธมิตรระดับชาติและระดับภูมิภาคที่เป•นตัวแทนขององค4กรต,างๆ มากกว,า 1,000 องค4กรจาก 92 ประเทศ ซึ่งมี
วิสัยทัศน4สูงสุดคือโลกทีไ่ ร<ขยะ ที่ยุติธรรมและสร<างขึ้นโดยคำนึงถึงขีดจำกัดทางนิเวศน4 และสิทธิชุมชน โดยที่ประชาชนปลอดภัยจาก
ภาระมลพิษที่เป•นพิษ และทรัพยากรได<รับการอนุรักษ4อย,างยั่งยืน ไม,ถูกเผาทิ้ง https://www.no-burn.org/

เกี่ยวกับ IPEN - International Pollutants Elimination Network เป•นเครือข,ายระดับโลกที่รวบรวมองค4กรพัฒนาเอกชน


เพื่อสาธารณประโยชน4มากกว,า 600 องค4กรใน 125 ประเทศ เพื่อสร<างโลกที่มีสุขภาพดียิ่งขึ้น โดยที่ผู<คนและสิ่งแวดล<อมจะไม,ได<
รับอันตรายจากการผลิต การใช< และการกำจัดสารเคมีที่เป•นพิษอีกต,อไป IPEN ทำงานเพื่อเสริมสร<างนโยบายด<านสารเคมีและของ
เสียในระดับโลกและระดับประเทศ มีส,วนร,วมในการวิจัยที่ก<าวหน<า และสร<างการเคลื่อนไหวระดับโลกเพื่ออนาคตที่ปราศจาก
สารพิษ https://ipen.org/; https://stoppoisonplastic.org/

เกี่ยวกับมูลนิธิความยุติธรรมเชิงสิ่งแวดล<อม (Environmental Justice Foundation: EJF) ทำงานในระดับนานาชาติ เพื่อ


ผลักดันนโยบายและขับเคลื่อนการปฏิรูปอย,างเป•นระบบและยั่งยืน เพื่อปกป•องสิ่งแวดล<อมและสิทธิมนุษยชนผ,านการตรวจสอบ
และการสนับสนุนนักกิจกรรมด<านสิ่งแวดล<อม กลุ,มชาติพันธ4 ชุมชน และนักข,าวอิสระ โดยเป•าหมายของการรณรงค4 คือเพื่อการ
ธำรงไว<ซึ่งอนาคตที่สมบูรณ4 เสมอภาค และยั่งยืน

ติดต,อฝŽายสือ่ :

● Asia Pacific:
○ Eah Antonio | eah@breakfreefromplastic.org | +63 927 827 7960
○ Sonia Astudillo | sonia@no-burn.org | +63 917 596 9286
● Malaysia: Mageswari Sangaralingam | magesling@gmail.com | +60 12 878 2706
● Thailand: Salisa Traipipitsiriwat | salisa.t@ejfoundation.org | +66649915522
● Philippines: Chinkie Peliño-Golle | cpelino@ecowastecoalition.org | +63 965 741 5490

You might also like