You are on page 1of 8

เครื่องรีดยางเครป

Rolling rubber machine

นายสิทธิไชย สิงหมหาไชย1 นายอภิสิทธิ์ ทินาพิมพ2 และ นายชลพรรษ บทมาตร3

1
สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สังกัด วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย จังหวัดหนองคาย รหัสไปรษณีย43000
2
สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สังกัด วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย จังหวัดหนองคาย รหัสไปรษณีย43000
3
สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สังกัด วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย จังหวัดหนองคาย รหัสไปรษณีย43000

บทคัดยอ conducting experiments on their effectiveness.


การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อออกแบบและพัฒนาเครื่อง The first 3 hours of hardening of the rubber crepe
รีดยางเครป ชวยลดปญหากลิ่นเหม็นระหวางการขนสงและ was 850 kg, the loss of 15 %, the second took 3
น้ํ า จากยางพาราที่ ไ หลลงบนพื้ น ถนนเสี่ ย งต อ การเกิ ด hours, the rubber was 880 kg, the loss of 12% The
อุบัติเหตุได และยังช วยเพิ่ มราคาขายยางพาราใหเพิ่มขึ้ น third time, 3 hours, 870 kg of rubber tires, 13%
เฉลี่ย 1 บาทตอกิโลกรัม เพราะในปนจุบัน ราคายางพารามี loss. The standard loss rate will not exceed 20%,
ราคาขายที่ ต่ํ า ลง ส ง ผลให เกษตรกรชาวสวนยาง รายได which means the amount of rubber to be sold.
ลดลง โดยดําเนินการทดลองหาประสิทธิผลไดดังนี้ ทดลอง Keywords : Crap rubber, Rolling rubber machine
รีดยางเครปครั้งที่ 1 ใชเวลา 3 ชั่วโมง รีดยางเครปได 850
กิ โ ลกรั ม มี อั ต ราสู ญ เสี ย ร อ ยละ 15 ครั้ ง ที่ 2 ใช เ วลา 3 1. บทที่ 1 บทนํา
ชั่วโมง รีดยางเครปได 880 กิโลกรัม มีอัตราสูญเสียรอยละ 1.1 ที่มาและความสําคัญ
12 และครั้ ง ที่ 3 ใช เ วลา 3 ชั่ ว โมง รี ด ยางเครปได 870 ประเทศไทยเป น ประเทศที่ มี ร ายได จ ากการจํ า หน า ย
กิ โ ลกรั ม มี อั ต ราสู ญ เสี ย ร อ ยละ 13 โดยอั ต ราสู ญ เสี ย ผลผลิตจากยางพาราในรูปแบบตางๆอยูใน ลําดับตนๆ ของ
มาตรฐานจะไมเกินรอยละ 20 ซึ่งจะหมายถึงปริมาณยาง หมวดสินคาการเกษตร จากขอมูลของสํานักงานเศรษฐกิจ
เครปที่จะจําหนาย การเกษตร (2559) ประเทศไทยมีพื้นที่ เปดกรีดยางทั้งสิ้น
คําสําคัญ : ยางเครป, เครื่องรีดยางเครป 18,223,833 ไร โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด
จะพบกลุ ม จั ง หวั ด ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตอนบน
Abstract (อุดรธานี , หนองคาย , เลย , หนองบัวลําภู และบึงกาฬ) มี
พื้ น ที่ เ ป ด กรี ด รวมกั น ไม น อ ยกว า 1,486,391 ไร จาก
This research aims to design and develop a 2,752,031 ไร ของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ โดยเฉพาะ
rubber grating machine. Reduce the smell of จังหวัดบึงกาฬมีพื้นที่ปลูกไมต่ํากวา 1 ลานไร ผลผลิตรวม
transportation and water from the rubber that 759,560 ตัน มูลคา 17,565 ลานบาท ราคายางแผนดิบชั้น
runs on the road, the risk of accidents. It also 3 ที่ 53.81 บาท [1]
helped increase the average selling price of rubber
by 1 baht per kilogram. Because in the capacity.
Rubber prices have lower prices. As a result,
rubber farmers have reduced their income by

1
2.ทฤษฎีที่เกี่ยวของ
จังหวัดหนองคายอยูติดกับจังหวัดบึงกาฬเปนศูนยกลาง 2.1 ยางพารา
การปลูกยางที่มีศักยภาพสูง มีพื้นที่ปลูกยางพารามากที่สุด ชาวพื้นเมืองในอเมริกากลางและอเมริกาใตเรียกตนไมที่
ของภาคอีสานกวา 1 ลานไร และเปนศูนยกลางยางพารา ใหยางวา คาอุทชุค (Caoutchouc) แปลวาตนไมรองไห
ของอาเซี ย น ซึ่ ง จะต องเตรี ย มพร อมให ช าวสวนยางและ จนถึงป พ.ศ. 2313 (1770) โจเซฟ พริสลี่ [4] จึงพบวา ยาง
องค ก รเกษตรมี ค วามเข ม แข็ ง สามารถพั ฒ นาระบบการ สามารถลบ รอยดํา ของดิ นสอได โดยที่ กระดาษไมเสีย จึ ง
บริหารจัดการยางพาราใหมีประสิทธิภาพ และเปนเอกภาพ เรียกยางวา ยางลบหรือตัวลบ (Rubber) ซึ่งเปน คําเรียก
เกี่ยวกับการแกปญหาราคายางพาราตกต่ํา โดยเฉพาะการ ยางเฉพาะในอังกฤษและฮอลแลนดเทานั้น สวนใน ประเทศ
ผลักดันใหมีการแปรรูปอยางจริงจัง เชน การนํามาผสมทํา ทางยุ โ รป ในสมั ย นั้ น ล ว นเรี ย กยางว า คาอุ ท ชุ ก ทั้ ง สิ้ น
ถนนยางพารา สนามกีฬา และการแปรรูปเปนผลิตภัณฑตาง จนถึ ง สมั ย ที่ โ ลกได มี การปลู กยางกั น มากในประเทศแถบ
ๆ เพื่อสรางมูลคาเพิ่ม เชน หมอนยางพารา หรือใหรัฐบาล อเมริกาใตนั้น จึงไดคนพบวา พันธุยางที่มีคุณภาพดีที่สุดคือ
จางผลิตยางรถยนตใหหนวยงานราชการ ซึ่งจะชวยระบาย ยางพันธุ Hevea Brasiliensis ซึ่ง มีคุณภาพดีกวาพันธุ
ยางในประเทศไดจํานวนมาก ตัวอยางเชน "หากปนี้ขายยาง Hevea ธรรมดามาก จึงมีการปลู กและซื้อขายยางพัน ธุ
3 ลานตัน ไดเงิน 240,000 ลานบาท การขนยายยางกอน ดังกลาวกัน มาก และศูนยกลางของการซื้อขายยางก็อยูที่
ถ ว ยจะมี ป ญ หาน้ํ า ยางไหลลงบนพื้ น ถนน และยั ง ส ง กลิ่ น เมืองทาชื่อ พารา (Para) บนฝงแมน้ําอเมซอน ประเทศ
เหม็นกระทบตอการจราจรบนถนนอยางมาก [2] บราซิล ดวยเหตุดังกลาว ยางพันธุ Hevea Brasiliensis จึง
จากปญหาดังกลาวทางคณะผูวิจัยจึงตระหนักถึงปญหา มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา ยางพารา
จากมลพิษทางอากาศที่สงกลิ่นเหม็นรุนแรงจากการขนยาย ยางมี คุ ณ สมบั ติ พิ เ ศษหลายอย า งที่ มี ค วามสํ า คั ญ ต อ
และในพื้นที่สวนมากไมมีระบบไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส จึง มนุษยคือ มีความยืดหยุน [5] กัน น้ําได เปนฉนวนกันไฟได
มีแนวคิด ที่จะสรา งเครื่องรีดยางเครปติด ตั้งเพลารถไถขึ้ น เก็บและพองลมไดดี เปนตน ดังนั้นมนุษยจึงยังจะตองพึ่งยาง
เพื่ อ ให เ กษตรกรสามารถผลิ ต ยางเครปได ใ นบริ เวณสวน ตอ ไปอีกนาน แมในปจจุบนั มนุษยสามารถผลิตยางเทียมได
ยางพาราของตน เพื่อรีดน้ําและลดปญหามลพิษทางอากาศ แล ว ก็ ต าม แต คุ ณ สมบั ติ บ างอย า ง ของยางเที ย มก็ สู ย าง
ลงซึ่ งจะสามารถชวยให ไม เกิด น้ํา จากยางพาราไหลเปอน ธรรมชาติไมได ในโลกนี้ยังมีพืชอีกมากมายหลายชนิดที่ให
พื้นผิวถนนและลดการสงกลิ่นเหม็นรุนแรงลงไดจึงเปนที่มา น้ํายาง (Rubber Bearing Plant) ซึ่งอาจจะมีเปนพันๆ
ของการจะสรางเครื่องรีดยางเครปติดตั้งเพลารถไถ ชนิดในทวีปตางๆ ทั่วโลก แตน้ํายางที่ไดจาก ตนยางแตละ
1.2 วัตถุประสงคของโครงการ ชนิดก็จะมีคุณสมบัติที่แตกตางกันไป บางชนิดก็ใชทําอะไร
1.2.1 เพื่อออกแบบและสรางเครื่องรีดยางเครปได ไมไดเลย แตยาง บางชนิดเชน ยางกัตตาเปอรชาที่ไดจาก
1.3 ขอบเขตของโครงการ ตนกัตตา (Guttar Tree) ใชทํายางสําเร็จรูปเชน ยางรถยนต
1.3.1 ออกแบบและสรางเครื่องรีดยางเครป หรือรองเทา ไมไดแตใชทําสายไฟได หรือยางเยลูตง และ
1.4 ประโยชนที่จะไดรับ ยางบาลาตา ที่ได จากตนยางชื่อเดียวกัน ถึงแมจะมีความ
1.4.1 เครื่องรีดยางเครปที่สามารถใชมอเตอรไฟฟา หรือ เหนียวของยาง (Natural Isomer of Rubber) อยูบ าง แตก็
เพลาอํานวยกําลังเปนตนกําลังได มีเพียงสูตรอณู (Melecular Formula) เทานั้นที่เหมือนกัน
1.4.2 เครื่องรีดยางเครปจะชวยกลุมเกษตรกรชาวสวน แตโดยที่มี HighRasin Content จึงเหมาะที่จะใชทําหมาก
ยางให ร าคาขายยางพาราเพิ่ ม ขึ้ น เฉลี่ ย 1 บาทต อ ฝรั่งมากกวา ยางที่ไดจากตน Achas Sapota ในอเมริกา
กิโลกรัม กลาง ซึ่งมีความเหนียวกวายางกัตตาเปอรชาและยางบาลา
1.5 คํานิยามศัพท ตามาก คนพื้นเมืองเรียกยางนี้ วา ชิเคิ้ล (Chicle) ดังนั้น
1.5.1 ยางเครป บริษัท ผูผลิตหมากฝรั่งที่ทํามาจากยางชนิดนี้จึงตั้งชื่อหมาก
ยางเครป (Crepe Rubber) [3] เปนยางที่ไดจากการนํา ฝรั่ง นั้นวา Chiclets
เศษยางไปรีดดวยเครื่องรีดยางเครปสองลูกกลิ้ง โดยทั่วไป
เรียกวาเครื่องเครป จะมีการใชน้ําในการทําความสะอาดใน
ระหวางการรีด เพื่อนําสิ่งสกปรกออกจากยางในขณะรีดยาง

2
รูปที่ 2 ลานประมูลยางกอนถวย
รูปที่ 1 ตนยางพารา
2.3 ยางเครป
2.2 ความสําคัญของยางพารา ยางเครป (Crepe Rubber) [8] เปนยางที่ไดจากการนํา
ยางพาราเป น พื ช ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ทางเศรษฐกิ จ ของ เศษยางไปรีดดวยเครื่องรีดยางเครป สองลูกกลิ้ง โดยทั่วไป
ประเทศไทยอีกชนิดหนึ่ง [6] พบวามีเกษตรกรตลอดจนผูที่ เรียกวาเครื่องเครป จะมีการใชน้ําในการทําความสะอาดใน
ทําธุรกิจเกี่ยวของกับยางพาราประมาณ 1 ลานครอบครัว ระหวางการรีด เพื่อนําสิ่งสกปรกออกจากยางในขณะรีดยาง
จํานวนไมนอยกวา 6 ลานคน ประเทศไทยเปนประเทศที่ เนื่องจากยางที่ใชโดยมากเปนยางที่มีมูลคาต่ํามีสิ่งสกปรก
สงออกยางพาราและผลิตภัณฑยางพาราเปนอันดับ 1 ของ เจือปนคอนขางมาก เชน น้ํายาง สกิม เศษยางกนถวย เศษ
โลก นับตั้งแต พ.ศ. 2534 เปนตนมา โดยใน พ.ศ. 2552 ยางที่ติดบนเปลือกไมหรือติดบนดิน และเศษยางที่ไดจาก
ประเทศไทยมีการผลิตยางพารา จํานวน 3.16 ลานตัน มี การผลิตยางแผนรมควัน เปนตน หลังจากรีดในเครื่องเครป
การสงออก จํานวน 2.73 ลานตัน (รอยละ 86ของผลผลิต แลวจะนํายางไปผึ่งแหง หรืออบแหงดวยลมรอน ยางเครปที่
ทั้งหมด)ผลิตเพื่อใชในประเทศจํานวน399,415 ตัน (รอยละ ไดจะมีสีคอนขางเขม และมีหลายรูปแบบ เชน ยาง Brown
12 ของผลผลิตทั้งหมด) ซึ่งสามารถทํารายไดเขาประเทศได crepe, Flat bark crepe , Skim crepe และ Blanket
ปละกวา 400,000 ลานบาท แตการสงออกยางพาราสวน crepe เปนตน ทั้งนี้จะขึ้นอยูกับความบริสุทธิ์และชนิดของ
ใหญอยูในรูปวัตถุดิบแปรรูปขั้นตน ซึ่งมีมูลคาเพิ่มต่ํา เชน วัตถุดิบที่ใชในการผลิต สวนยางเครปขาวเปนยาง เครปที่
ยางแผนรมควัน ยางแทง และน้ํายางขน ทําใหมีผลตอการ ไดมาจากน้ํายาง ที่มีการกําจัดสารเกิดสีในน้ํายางคือ สาร
สร า งรายได เ ข า สู ป ระเทศและการยกระดั บ รายได ข อง บีตาแคโรทีน ซึ่งมีสีเหลืองออน โดยการฟอกสียางใหมีสีขาว
เกษตรกรไมมากเทาที่ควร และหากเรื่องนี้ไดรับการพัฒนา ดว ยสารเคมี ยางเครปขาวเป น ยางที่ มี คุ ณภาพและราคา
ให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ก็ จ ะส ง ผลดี ต อ ประเทศและ คอนขางสูงเชื้อเพลิงและการเผาไหม
เกษตรกรชาวสวนยางพาราอยางมหาศาล ดังนั้นยางพาราก็
ยั ง คงเป น พื ช เศรษฐกิ จ ชนิ ด หนึ่ ง ที่ มี ค วามจํ า เป น ในการ
สงเสริมอาชีพและมีโอกาสในการพัฒนาใหดียิ่งขึ้น
ยางพาราเป น พื ช เศรษฐกิ จ [7] ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ต อ
เศรษฐกิจของภาคใตและของประเทศไทย โดยเฉพาะน้ํายาง
(Latex) ซึ่งเปนผลิตผลที่ไดจากทอลําเลียงอาหารในสวน
เปลือกของตนยางพารา สามารถนํามาใชเปนวัตถุดิบในการ
ทําผลิตภัณฑยางชนิดตางๆ สําหรับใชในอุตสาหกรรมหลาย
ประเภท ตั้งแตอุตสาหกรรมหนัก เชน การผลิตยางรถยนต รูปที่ 3 ยางเครป
ไปจนถึ ง อุ ป กรณ ที่ ใ ช ใ นครั ว เรื อ น น้ํ า ยางที่ ไ ด จ ากต น
ยางพารามีคุณสมบัติบางอยางที่ยางสังเคราะห (Synthetic
Rubber) ไมสามารถทําใหเหมือนได

3
ตารางที่ 1 ราคารับซื้อยางพารา กระบวนการรีดเย็นลดขนาดความหนา [9] คือการรีด
ราคารับซื้อ โลหะที่อุณ หภูมิต่ํากวาอุณหภู มิของการเกิดผลึกใหม โดย
ชนิดยาง
บาท ตอ กิโลกรัม อาศัยเทคโนโลยีการรีดลดขนาดความหนาจากเครื่องรีดแบบ
ยางกอนถวย 23 - 24 ตางๆ โดยลูกรีดจะกดทับเนื้อสเตนเลสดวยแรง มหาศาล
ยางเครป 27 - 28 ขณะที่มีการดึงแผนสเตนเลสใหยึดออกไปดวย จนสเตนเล
: ที่มา สํานักงานตลาดกลางยางพาราหนองคาย คนหาเมื่อวันที่ 21 ก.ย. 60 สมีขนาดความหนาลดลงตามที่เราตองการ
การลดขนาดจากความหนาหนึ่งลงไปอีกความหนาหนึ่ง
2.4 รถแทรกเตอร ตามที่เราตองการ หรือเรียกวาสัดสวนการ ลดขนาดตองไม
แทรกเตอรในอดีตมักมีขนาดใหญ น้ําหนักมาก เคลื่อนที่ มากเกินไป เพราะสเตนเลสบางกลุมยิ่งรีดลดขนาดสเตนเลส
ไดชา ไมมีความคลองตัวในการทํางาน ดังนั้น งานสวนมาก ก็จะยิ่งมีความแข็งมากขึ้น ทําให ลูกรีดตองใชแรงมากขึ้น
จึงเปนงานประเภทการไถเตรีย มดินและใชกับเครื่องนวด และหากมากเกินอาจสงผลใหสเตนเลสเกิดการแตกหักได
เมล็ดพืชหลังจากที่ไดพัฒนาและปรับปรุง ใหแทรกเตอรใน ดวย ดังนั้น การลดขนาด ความหนาจะลดไดระดับหนึ่ ง
ปจจุบันมีลักษณะและรูปรางที่แตกตางกันออกไป มีกําลังตอ เทานั้น ซึ่งปกติจะตองไมเกินรอยละ 85 จากนั้นจะตองนํา
น้ําหนัก มากขึ้ น การบังคับ เลี้ยว และการเคลื่อนที่ มีความ สเตเนลสไปอบออน คลายความเครียดกอน เพื่อใหสเตนเล
คลองตั วมาก นอกจากนี้ ยัง สามารถทํ างานตางๆไดหลาย สมีสมบัติเชิงกลเหมาะแกการรีด จึงนํากลับมารีดตออีกครั้ง
ประเภท สามารถนํากําลัง จากไฮดรอลิก กําลังจากเพลา ในการรีด อาจใชเครื่องรีดเดี่ยว รีดไปรีดกลับ หรือจะใช
อํานวยกําลังมาใชรวมกับอุปกรณอื่น ๆ ไดอีกมาก สําหรับ เครื่องรีดแบบแทนเด็ม (Tandem) ที่มีหลายหองรีดตอเนื่อง
แทรกเตอรในปจจุบันสามารถจําแนกออกเปน 2 ประเภท การไป จนไดขนาดความหนาที่เราตองการก็ได
คือ ประเภทของการขับเคลื่อนของแทรกเตอร และประเภท ทางผูจัดทํา จึงไดนําทฤษฎีการรีดเย็น มาใชกับการรีด
ของลักษณะการใชงาน ยางเครปเพื่อลดขนาด และทําความสะอาดยางเครป
2.7 แบบรางเครื่องรีดยางเครป
2.5 เพลาอํานวยกําลัง (เพลา PTO)
รถแทรกเตอรสวนใหญจะมีเพลาอํานวยกําลัง สําหรับขับ
อุ ป กรณ ซึ่ ง จะอยู ด า นท า ยของรถแทรกเตอร แต ร ถ
แทรกเตอรบางแบบอาจจะมีเพลาอํานวยกําลังเสริมที่ตรง
กลาง หรือทางดานหนาตัวรถ

รูปที่ 5 เครื่องรีดยางเครป

รูปที่ 4 แบบรางเครื่องรีดยางเครป
เพลาอํานวยกําลังมี 2 ระบบ ระบบแรกนั้นการหมุนของ
เพลาอํานวยกําลั งจะแยกอิส ระจากชุดเกียรหลัก เรียกว า
เพลาอํ า นวยกํ า ลั ง อิ ส ระ เพลาอํ า นวยกํ า ลั ง แบบนี้ ใ ช ขั บ รูปที่ 6 แบบรางเครื่องรีดยางเครป แบบใชตน
เครื่องตัดหญาเปนสวนใหญ และอีกระบบนั้นการหมุนของ กําลังจากเครื่องยนตรถไถคูโบตา
เพลาอํ า นวยกํ า ลั ง จะเป น สั ด ส ว นกั บ การหมุ น ของล อ
ขับเคลื่อน ซึ่งขึ้นอยูกับชุดเกียรหลักเรียกวา เพลาอํานวย
กําลังสัมพันธกับความเร็วรถ ซึ่งนิยมใชกับเครื่องหยอดเมล็ด
2.6 กระบวนการรีดเย็น
4
สํ า หรั บ เครื่ อ งรี ด ยางเครปด ว ยมอเตอร ไ ฟฟ า จะใช
มอเตอร ไ ฟฟ า 3 เฟส ขนาดตั้ ง แต 10 แรงม า ขึ้ น ไปตาม
ขนาดของเครื่อง
รีดยางเครปโดยจะมาชุดเฟองทดรอบมอเตอร เพื่อให
รอบต่ําลงจะไดกําลังในการรีด

3.1.2 การออกแบบและสรางเครื่องรีดยางเครป
การสรางเครื่องรีดยางเครปผูวิจัยดําเนินการดังนี้
รูปที่ 7 เครื่องรีดยางเครป แบบใชตนกําลังจาก 1) การวางแผนสรางเครื่องรีดยางเครป โดยมีระบบการ
เครื่องยนตรถไถคูโบตา ทํางานไมซับซอน ใชหลักการรีด โดยมีลูกรีดเหล็กหลอ 2
ลูกใช ตน กํ าลั งจาก เพลาขั บท ายรถไถ (PTO) ของรถไถคู
3.วิธีการทดลอง โบตาซึ่งจะใหกําลังขับทดแทน มอเตอรไฟฟา 3 เฟสได โดย
3.1การสรางเครื่องรีดยางเครปผูวิจัยดําเนินการตาม เพลาขับทายรถไถมีความเร็วรอบใหเลือก
ขั้นตอนดังนี้ 2) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณที่ใชสําหรับการสรางเครื่องรีด
ยางเคลื่อนที่ตามที่ออกแบบไว
3) จัดทําโครงสรางของเครื่องรีดยางเครป
เริ่ม 4) ประกอบอุปกรณลูกรีด ชุดเฟองทด ชุดติดตั้งเฟองขับ
ทายรถไถ
5) ผูวิจัยนําเครื่องรีดยางเครป ไปทดลองดูประสิทธิภาพ
ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ ดวยการรีดยางเครป จากยางกอนถวย
6) นําเครื่องรีดยางเครปไปใหผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน
ตรวจสอบเพื่อประเมินคุณภาพของเครื่องรีดยางเครปดาน
ออกแบบเครื่องรีดยาง โครงสรางทั่วไป ดานออกแบบ และดานการใชงาน
เครปเคลื่อนที่ ปรับปรุงแกไข
7) ผูวิจัยนําผลที่ไดจากการทดลองใชงานเครื่องรีดยาง
เครป และคํ า แนะนํ า ของผู เ ชี่ ย วชาญ มาปรั บ ปรุ ง แก ไ ข
จากนั้น ทดลองรวบรวมข อมู ล นํา ผลที่ไ ด มาวิ เคราะห แ ละ
เขียนรายงานวิจัยตอไป
พิจารณาโดย
ผูเชี่ยวชาญ 3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง
3.2.1 ประชากรที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป น ชาวสวน
ยางพารา
3.2.2 กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย เป น ชาวสวน
สรางเครื่องรีดยางเครป ยางพาราใน จ.หนองคาย จํานวน 20 คน ซึ่งไดมาจากการ
เคลื่อนที่ เลือกแบบเจาะจง
3.3 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ป ระกอบไปด ว ยแบบ
จบ
ประเมินประเมินคุณภาพ แบบบันทึกผลการทดลอง และ
แบบสอบถามความพึงพอใจ ผูวิจัยดําเนินการสรางและหา
3.1.1 ศึกษาขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับวิธีการรีดยางกอน ประสิทธิภาพดังตอไปนี้
ถวย ไดแก 1) การรีดดวยลูกรีด 2 ลูกดวยมอเตอรไฟฟา 3.3.1 แบบประเมินคุณภาพเครื่องรีดยางเครป ผูวิจัยได
สร า งแบบประเมิ น สํ า หรั บ ผู เ ชี่ ย วชาญประเมิ น ความ

5
สอดคลอง (IOC) ดา นโครงสรางทั่ วไป ดา นการออกแบบ 4) กลุมตัวอยางตอบแบบสอบถามความพึงพอใจเครื่อง
และดานการใชงาน รี ด ยางเครปหลั ง ทดลองใช เก็ บ ผลรวบรวมข อ มู ล เพื่ อ
3.3.2 แบบบั น ทึ ก ข อ มู ล การทดลองเป น ตารางที่ วิเคราะหผล
ออกแบบไว สํ า หรั บ บั น ทึ ก ข อ มู ล ในการทดลองหา
ประสิทธิภาพของเครื่องรีดยางเครป 3.5 การวิเคราะหและสรุปผล
3.3.3 แบบสอบถามความพึงพอใจของผูใชที่มีตอเครื่อง 3.5.1 วิเคราะหคาเฉลี่ย
รี ด ยางเครป เป น แบบมาตราส ว นประมาณค า (Ratting จากระดับความพึงพอใจของผูใชเครื่องรีดยางเครป และ
Scale) 5 ระดับ ดังนี้ หาคาเฉลี่ยของจํานวนยางเครปที่รีดไดตอเวลา โดยใชขอมูล
คะแนนเฉลี่ย ระดับความพึง จากแบบบันทึกขอมูลมาหาคาเฉลี่ย
พอใจ 3.5.2 วิเคราะหคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน
4.50-5.00 มากที่สุด เพื่ อ หาค า การกระจายของระดั บ ความพึ ง พอใจของ
3.50-4.49 มาก ผูใชเครื่องรีดยางเครปจากแบบสอบถาม
2.50-3.49 ปานกลาง 3.5.3 วิเคราะหคุณภาพของเครื่องรีดยางเครป
1.50-2.49 นอย จากการประเมินของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการทํางานของ
1.00-1.49 นอยที่สุด เครื่องเป นไปตามเกณฑ ที่กํา หนดไวหรื อไม โดยวิเคราะห
3.4 การทดลองใชและเก็บรวบรวมขอมูล ความสอดคลอง 3 ดาน
3.4.1 การหาคุณภาพการทํางานของเครื่องรีดยางเครป 3.5.4 วิเคราะหประสิทธิภาพของเครื่องรีดยางเครปใช
ผูวิจัยดําเนินการวิจัยดังตอไปนี้ สถิติรอยละ
1) ผู วิ จั ย สาธิ ต การทํ า งานของเครื่ อ งรี ด ยางเครปให
ผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ 4. ผลการวิจัย
2) ผูเชี่ยวชาญประเมินการทํางานของเครื่องรีดยางเคร 4.1 เครื่องรีดยางเครป
ปตามเกณฑที่กําหนด โดยใชแบบประเมินความสอดคลอง มีเพลาขับPTOเปนตนกําลังในการรีด มีลูกรีดเหล็กหลอ
การทํางานของเครื่องในดา นตางๆเก็บรวบรวมขอมูลเพื่ อ ขนาด 12x24 นิ้ว มีชุดเฟองทอความเร็วที่ 1 ตอ 60 รอบ มี
วิเคราะหผล กําลังการผลิตยางเครปที่ 3-5 ตัน ตอวัน
3.4.2 การหาประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องรีดยาง
เครป ผูวิจัยดําเนินการวิจัยดังตอไปนี้ 4.2 ผลการประเมินเครื่องรีดยางเครปโดยผูเชี่ยวชาญ
1) นํายางกอนถวยจํานวน 1,000 กิโลกรัม มาเทลงลูก
รีด พรอมเปดน้ําลางไปตลอดการรีด โดยจะทําการรีดวนซ้ํา ตารางที่ 2 คาเฉลี่ยผลการประเมินเครื่องรีดยางเครปโดย
3 รอบ เพื่อใหยางเครปที่สะอาดและน้ําจากยางพาราไหล ผูเชี่ยวชาญ
ออก ผลการประเมินโดยผูเชี่ยวชาญ
รายการประเมิน
2) จะน้ํายางเครปที่รีดแลวไปเรียงเปนชั้นๆ คาเฉลี่ย S.D. ผลการประเมิน
3) เก็บผลทดลองโดยชั่งน้ําหนัก ยางพารากอนรีดและ ดานโครงสรางทั่วไป 3.8 0.58 เห็นดวย
หลังรีดเปนยางเครป ดานการออกแบบ 3.7 0.52 เห็นดวย
3.4.3 การหาความพึงพอใจของผูใชท่ีมีตอเครื่องรีดยาง ดานการใชงาน 4.2 0.63 เห็นดวย
เครป ผูวิจัยดําเนินการดังตอไปนี้
1) สาธิ ต การทํ า งานของเครื่ อ งรี ด ยางเครปต อ กลุ ม จากตารางที่ 1 พบว า การประเมิ น คุ ณ ภาพโดย
ตัวอยาง ผูเชี่ยวชาญ ดานโครงสราง ดานการออกแบบ และดานการ
2) อธิ บายหลักการทํางาน ระบบความปลอดภั ย ของ ใช ง านของเครื่ อ งรี ด ยางเครป ผู เ ชี่ ย วชาญมี ค วามเห็ น
เครื่องรีดยางเครป สอดคลองกันทั้งสามหัวขอการประเมิน ซึ่งหัวขอที่มีคาเฉลี่ย
3) กลุม ตัวอยา งทดลองใชเครื่ องรีดยางเครปสอบถาม สูงสุดคือดานการใชงานมีคาเฉลี่ยอยูที่ 4.2 รองลงมาคือดาน
จากการใชงาน และบันทึกผล

6
โครงสรางทั่วไปมีคาเฉลี่ยอยูที่ 3.8 และดานการออกแบบมี อัตราสูญเสีย (รอยละ)
คาเฉลี่ยอยูที่ 3.7
20 15
12 13
4.3 ผลการประเมินประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องรีด 10
ยางเครป 0
ผลการทดลองใชเครื่องรีดยางเครปทดลอง 3 ครั้ง โดย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3
ใชยางกอนถวย 1,000 กิโลกรัมในการทดลอง
อัตราสูญเสีย (รอยละ)
ตารางที่ 3 ผลการทดลองประสิ ท ธิ ภ าพการทํ า งานของ
เครื่องรีดยางเครปเคลื่อนที่
ทดลองใชงาน เวลาที่ใช ปริมาณยาง อัตราสูญเสีย กราฟกราฟผลการทดลองใชเครื่องรีดยางเครปทดลอง 3
(ชั่วโมง) เครป (กก.) (รอยละ) ครั้ ง โดยใช ยางกอนถว ย 1,000 กิโ ลกรั ม ทดลองรีด ด ว ย
ครั้งที่ 1 3 850 15 เครื่องรีดยางเครป 3 ครั้ง ผลที่ไดพบวาอัตราสูญเสีย นอย
ครั้งที่ 2 3 880 12 ที่สุดอยูที่รอยละ 12 รองลงมาอยูที่รอยละ 13 และรอยละ
ครั้งที่ 3 3 870 13 15

จากตารางที่ 2 ผลการทดลองการใชงานเครื่องรีดยาง 4.4 ผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชเครื่องรีดยางเครป


เครป 3 ครั้ง ผลการบันทึกไดวาครั้งที่ 1 ใชเวลา 3 ชั่วโมง
รีดยางเครปได 850 กิโลกรัม มีอัตราสูญเสียรอยละ 15 ครั้ง ตารางที่ 4 คาเฉลี่ยผลการประเมินเครื่องรีดยางเครปโดย
ที่ 2 ใชเวลา 3 ชั่วโมง รีดยางเครปได 880 กิโลกรัม มีอัตรา ผูใช
สูญเสียรอยละ 12 และครั้งที่ 3 ใชเวลา 3 ชั่วโมง รีดยาง ผลการประเมินโดยผูใช
รายการประเมิน
เครปได 870 กิโลกรัม มีอัตราสูญเสียรอยละ 13 โดยอัตรา คาเฉลี่ย S.D. ผลการประเมิน
สูญเสียมาตรฐานจะไมเกินรอยละ 20 ซึ่งจะหมายถึงปริมาณ ดานโครงสรางทัว่ ไป 4.2 0.75 มาก
ยางเครปที่จะจําหนาย ดานการออกแบบ 3.9 0.72 มาก
ดานการใชงาน 4.5 0.80 มาก
900
880
ปริมาณยางเครป (กก.)

880 870 จากตารางที่ 3 พบวาการประเมินคุณภาพโดยผูใช ดาน


860 850 โครงสราง ดานการออกแบบ และดานการใชงานของเครื่อง
840 รีดยางเครป ผูใชมีความเห็นสอดคลองกันทั้งสามหัวขอการ
820 ประเมิ น ซึ่ ง หั ว ข อ ที่ มี ค า เฉลี่ ย สู ง สุ ด คื อ ด า นการใช ง านมี
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 คาเฉลี่ยอยูที่ 4.5 รองลงมาคือดานโครงสรางทั่วไปมีคาเฉลี่ย
ปริมาณยางเครป อยูที่ 4.2 และดานการออกแบบมีคาเฉลี่ยอยูที่ 3.9

5. สรุปผล
กราฟผลการทดลองใชเครื่องรีดยางเครปทดลอง 3 ครั้ง 5.1 เครื่องรีดยางเครป
โดยใชยางกอนถวย 1,000 กิโลกรัม ทดลองรีดดวยเครื่องรีด มีเพลาขับPTOเปนตนกําลังในการรีด มีลูกรีดเหล็กหลอ
ยางเครป 3 ครั้ง ผลที่ไดพบวา การรีดครั้งที่ 2 ไดน้ําหนักสูง ขนาด 12x24 นิ้ว มีชุดเฟองทอความเร็วที่ 1 ตอ 60 รอบ มี
สูดที่ 880 กิโลกรัม รองลงมาอยูที่ 870 กิโลกรัม และ850 กําลังการผลิตยางเครปที่ 3-5 ตัน ตอวัน
กิโลกรัมตามลําดับ

7
5.2 ปญหาที่พบ [6] สํานักงานกองทุน สงเคราะหการทําสวนยาง. 2540.
5.2.1 คุณภาพของยางกอนถวยที่นํามารีดเปนยางเครป สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง. หลักวิชา
มีการใชกรดซัลฟูริค ผสมในการจับตัวของน้ํายางสด เปน และเทคนิคการทําสวนยาง. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ.
อันตรายตอผูที่สัมผัส หรือสูดดมกลิ่น วิตตอรีเ่ พาเวอรพอยด. 2539.
5.2.2 ยางกอนถวยที่นํามารีดเปนที่ กรีด 3 ถึง 4 มีด ซึ่ง [7] อุดม โกสัยสุก. การทํายางแผนชัน้ ดี. เอกสารตลาด
พบวา จะมีน้ํ าผสมอยูในน้ํายางพาราอยูม าก เมื่อนํา มารี ด ประมูลยางพารา. สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทํา
แลวจะทําใหสูญเสียน้ําหนัก สวนยาง. 2536.
5.3 แนวทางการแกไข [8] ผดุงชาติยังดี. 2556. การประยุกตใชระบบภูมิ
5.3.1 การผสมการจับตัวของน้ํายางสด ควรใชกรดฟอร สารสนเทศเพื่อศึกษาการกระจายเชิงพืน้ ที่ และการ
มิ ค หรื อ กรดอะซิ ติ ด จะช ว ยให น้ํ า ยางจั บ ตั ว และเป น ยอมรับการเพาะปลูกยางพาราของเกษตรกรในจังหวัด
อันตรายนอยกวากรดซัลฟูริค บุรีรัมย. วารสารวิชาการรมยสาร : 11-28.
5.3.2 ยางกอนถวยที่นํามารีดยางเครป ควรเปนยางที่ [9] วรวิทย อึ้งภากรณ และชาญ ถนัดงาน. การออกแบบ
กรีดไมต่ํากวา 6 มีด เพราะจะมีน้ําผสมอยูนอยเวลารีดยาง เครื่องจักรกล 2. ซีเอ็ดยูเคชั่น, กรุงเทพฯ. 2536.
เครปจะสูญเสียน้ําหนักนอย

กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุ ณทา นผูอํานวยการอุ ดมภู เบศว สมบูรณ เรศ
ผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคหนองคาย ที่ใหความสนับสนุน
ตลอดจนงานวิจัยไดสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

เอกสารอางอิง
[1] กฤษณา คงศิลปและคณะ. น้ํายางและการเก็บรักษาน้าํ
ยาง. เอกสารประกอบการฝกอบรมหลักสูตร "การ
ปรับปรุงคุณภาพยางแผน" ณ ศูนยวิจัยยางสงขลา. อ.
หาดใหญ จ. สงขลา.
[2] พงษธร แซอุย, ยาง : ชนิด สมบัติ และการใชงาน, ศูนย
เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ, 2547
[3] บุญธรรม นิธิอุทัยและคณะ. เทคโนโลยีน้ํายางขน. คณะ
วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยสงขลานคริ
นทรปตตานี. 2536
[4] ชลลิกา ทิพยกุล, สุภาพร บัวแกว และ สมจิตตศิขริน
มาศ. 2545. สถานการณการผลิตและการใชยาง ของ
โลก. แหลงที่มา: http://www.rubberthai.com, 10
มีนาคม 2560.
[5] สถิตพันธ ธรรมสถิตย. คูมือกํากับกรรมวิธีการผลิตในโรง
อบ/รมยาง. เอกสารประกอบการอบรมเกษตรกร.
กรุงเทพฯ. สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง.
2537.

You might also like