You are on page 1of 3

บทที่ 1

บทนำ

1. ที่มำและควำมสำคัญ

การสืบทอดวัฒนธรรมในด้านการปลูกหม่อน การเลี้ยงไหม การทอผ้า หรือแม้แต่การนา


วัตถุดิบจากธรรมชาติในท้องถิ่นมาใช้ในกระบวนการย้อมสี โดยวัสดุธรรมชาติต่างๆ ได้มาจากวัสดุของ
พืช สัตว์ และแร่ธาตุ การนาสีธรรมชาติมาย้อมสี ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ผลิต สิ่งแวดล้อม และ
ผู้บริโภค อีกทั้งวัตถุดิบให้สียังมีมากหาได้ง่ายในท้องถิ่นของประเทศไทย เช่น การย้อมสีจากคราม เป็น
สีย้อมธรรมชาติที่เก่าแก่มาก ซึ่งมนุษย์รู้จักกันมามากว่า 6,000 ปี ประชากรที่อาศัยในเขตร้อนของ
โลกล้วนเคยทาสีครามจากต้ นไม้ชนิดต่างๆตาม ภูมิภาคนั้น ๆ แต่สีครามคุณภาพดีผลิตจากเอเชีย
ดังเช่น สีครามจากอินเดียเป็นที่นิยมของคนอังกฤษมากกว่าสีครามจากเยอรมันและฝรั่งเศส แต่การใช้
สีครามลดลงเหลือเพียง 4 % ของประเทศไทย (วารุณี และพรพิมล, 2544)
เมือ่ เอ่ยถึงสีคราม หรือสีน้าเงินทีม่ ีโทนออกไปทางสีฟ้า เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า indigo เป็น
สี ที่ได้จ าก พืช กลุ่ มหนึ่ งที่ น ามาใช้ประโยชน์ในการย้ อ มผ้ ามาอย่างยาวนานกว่า 2,000 ปีห รือ มี
รายงานการใช้สีครามใน ประเทศจีนมานานกว่า 6,000 ปีสีครามจึงเป็นสีย้อมธรรมชาติทเี่ ก่าแก่ที่สุด
ที่ ม นุ ษ ย์ รู้ จั ก องค์ ป ระกอบทางเคมี ข อง สี ย้ อ มครามเรี ย กว่ า indican ในยุ ค โบราณสี ย้ อ มคราม
นอกจากสกัดจากต้นพืชแล้ว ยังพบว่าได้มาจากเปลือกหอย ทากทะเลโฟนีเซียน (Phoenician sea
snail) ในปั จ จุ บั น สามารถสังเคราะห์ได้เพื่อนาไปใช้ในอุ ตสาหกรรม สี ย้ อม เช่น การย้อมผ้ ายีนส์
การรู้จักใช้สีย้อมครามที่ได้จากธรรมชาติเป็นวัฒนธรรมการใช้พืชมาสร้างกรรมวิธีสกัด ย้อม และถัก
ทอเส้นใยให้เกินโทนสีลวดลายบนผืนผ้า จนเกิดเป็นความรู้ เฉพาะท้องถิ่นของชนเผ่าของมนุษยชาติ
เกิด มรดกทางวัฒนธรรมที่ประเมิ นค่ามิได้ที่เราทุกคนสมควรให้การอนุรักษ์ (อรุณี และ อภิศักดิ์,
2552)
สิ่ ง บ่ ง ชี้ ท างภู มิ ศ าสตร์ (Geographical Indications หรื อ GI) เป็ น ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา
ประเภทหนึ่ง ซึ่งจะเกิดขึ้น ได้ก็ต่อเมื่อมีความเชื่อมโยง (Links) ระหว่างปัจจัยสาคัญสองประการ
คือ ธรรมชาติและมนุ ษย์ กล่ าวคือ ชุมชนได้อาศัย ลั ก ษณะเฉพาะที่มี อ ยู่ ในแหล่ ง ภูมิ ศ าสตร์ ต าม
ธรรมชาติ เช่น สภาพดินฟ้าอากาศ หรือวัตถุดิบเฉพาะในพื้นที่ มาใช้ประโยชน์ในการผลิตสินค้าใน
ท้องถิ่นของตนขึ้นมา ทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณลักษณะพิเศษที่มาจากพื้นที่ดังกล่าว คุณลักษณะ
พิเศษนี้อาจหมายถึง คุณภาพ ชื่อเสียงหรือคุณลักษณะเฉพาะอื่นๆที่มาจากแหล่งภูมิศาสตร์นั้น ๆ
จังหวัดสกลนคร มีสินค้า GI มากที่สุดในประเทศถึง 5 ชนิด กรมทรัพย์สินทางปัญญา จึงมี
แผนที่จ ะใช้ส กลนคร เป็ น จั งหวัดนาร่ อ งพั ฒ นาแหล่ งผลิ ตสิ น ค้า GI เชื่อมโยงกั บแหล่ ง ท่ องเที่ ย ว
เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า ทางเศรษฐกิ จ ให้ กั บ ชุ ม ชน ผ้ า ครามธรรมชาติ ส กลนครได้ รั บ ตราสั ญ ลั ก ษณ์ GI
จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ จะกอบกู้ความเชื่อมั่นนี้ได้ เพราะการจัดทาระบบ
2

มาตรฐานสินค้า GI สามารถควบคุมคุณภาพด้วยการตรวจสอบย้อนกลับถึงแหล่งผลิตได้ ทาให้ผู้บริโภค


สั่งซื้อเพิ่มขึ้น ดึงกาลังการผลิตผ้าย้อมครามเพิ่มขึ้นจาก 8 พันผืน เป็นหมื่นผืนต่อปี ส่วนรายได้หลัง
ได้รับตรา GI จะเพิ่มจาก 1,200 ล้านบาท ในปี 2559 เป็น 1,500 ล้านบาท
ประมาณในปี พ.ศ. 2535 ประเทศของเราพบกับปัญหา มลพิษจากสิ่งแวดล้อม สาเหตุหนึ่ง
เกิดจากสารเคมีสังเคราะห์ซึ่งรวมถึงสีย้อมด้วย สีย้อมผ้าส่วนใหญ่เป็นออกไซด์ของโลหะหนัก ซึ่งโลหะ
หนักหลายชนิดเป็นสารก่อมะเร็ง ใส่แล้วรู้สึกร้อน ดังนั้น จึงหันมานิยมสีย้อมธรรมชาติ ซึ่งในขณะ
เดี ย วกั น ก็ ไ ด้ น าภู มิ ปั ญ ญาเก่ า ๆ ที่ ไ ด้ สื บ ทอดกั น มาแต่ ส มั ย โบราณจากเดิ ม เกื อ บลื อ หายไปแล้ ว
นั้ น กลั บ มาพั ฒ นาเป็ น อาชี พ หลั ก ของลู ก หลาน ซึ่ ง กลุ่ ม ทอผ้ า ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด สกลนครนี้ ก็
ประสบปัญหานี้เช่นเดียวกัน ศูนย์ ความเป็นเลิศทางนวัตกรรมไหม ได้มีการทดลองวิจัยและพัฒนา
ในด้านการย้อมสีธรรมชาติ และได้มีการอนุรักษ์การย้อมสีคราม
ดังนั้ น จึ งได้แนวคิดจากคณะผู้จัดทาเห็น ปัญหาเหล่ านี้ และได้นามาเป็นปัญหาเพื่อจะหา
วิธีแก้ไข จากการศึกษาค้นคว้า และสารวจเรื่องมหัศจรรย์นครแห่งคราม อาจทาให้นักเรียนเกิดการ
สั ง เกตและสามารถน าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นชี วิ ต ประจ าวั น ฝึ ก ฝนทั ก ษะกระบวนการความคิ ดตาม
จิ น ตนาการ และความเป็น จริ งอย่างมีเหตุ ผล ส่ งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ ม
สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ในตั ว เอง แสดงความสามารถตามศั ก ยภาพของตน น าความคิ ด สร้ า งสรรค์
มาประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ให้น่าสนใจและสนุกสนานเพิ่มมากขึ้น
ด้วยเหตุนี้กลุ่มของข้าพเจ้าจึงมีความสนใจในเรื่องมหัศจรรย์นครแห่งคราม ในการศึกษา
ครั้งนี้วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้าเพื่อศึกษารูปแบบของผ้าคราม กระบวนการย้อมครามด้วย
สีครามธรรมชาติ และ คุณประโยชน์ของต้นคราม

2. วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำค้นคว้ำ
2.1 เพือ่ ศึกษารูปแบบของผ้าคราม
2.2 เพื่อศึกษากระบวนการย้อมครามด้วยสีครามธรรมชาติ
2.3 เพื่อศึกษาคุณประโยชน์ของต้นคราม
3. คำถำมของกำรศึกษำค้นคว้ำ
3.1 รูปแบบของผ้าครามมีกี่ชนิด มีอะไรบ้าง
3.2 กระบวนการย้อมครามด้วยสีครามธรรมชาติเป็นอย่างไร
3.3 คุณประโยชน์ของต้นครามมีอะไรบ้าง
4. ขอบเขตของกำรศึกษำค้นคว้ำ
กล่าวถึง รูปแบบของผ้าคราม กระบวนการย้อมครามด้วยสีครามธรรมชาติ และ
คุณประโยชน์ของต้นคราม
3

5. นิยำมศัพท์
ผ้ำย้อมครำม คือผ้าที่ทอด้วยมือ หรือทอด้วยเครื่องจักรที่ย้อมสีด้วยครามธรรมชาติ มีเฉดสี
ฟ้าถึงสีน้าเงิน เข้ม ผ้าย้อมครามนิ ยมใช้กันแพร่ห ลายในหลายเขตพื้นที่ของโลก โดยเฉพาะเอเชีย
เช่น ญี่ปุ่น จีน เกาหลี อินเดีย ลาวและประเทศไทย เนื่องจากมีองค์ความรู้ในการปลูกต้นครามและ
การย้อมคราม ผ้าย้อมครามในประเทศไทยมีมากในภาคอีสาน โดยเฉพาะจังหวัดสกลนครซึ่งมักจะ
ย้อมครามที่เส้นฝ้าย เส้นฝ้ายก่อนนาไปทอด้วยมือให้เป็นผืน บ้างมัดหมี่ให้เป็นลวดลายก่อนแล้วจึง
นาไปย้อมและทอมือด้วยกี่พื้นบ้าน เกิดเป็นผ้ามัดหมี่ทอมือย้อมครามที่มีเอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่ น
ในปัจจุบันมีการผสมเทคนิคใหม่ๆ เช่นการมัดย้อม การเขียนเทียน บาติก เพื่ อให้ได้ลวดลายและสีสัน
ที่ร่วมสมัย

6. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
6.1 ได้ศึกษารูปแบบของผ้าครามการมัดย้อม การเขียนเทียน บาติก เป็นต้น
6.2 ได้ศึกษากระบวนการย้อมครามด้วยสีครามธรรมชาติ
6.3 ได้ศึกษาคุณประโยชน์ของต้นครามและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

You might also like